SlideShare a Scribd company logo
1 of 37
Download to read offline
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
เรื่อง การพัฒนาแบบฝึกทักษะการปฏิบัติประกอบสื่อการสอนโปรแกรม App inventor
เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2
รายวิชา โปรแกรมสาเร็จรูปบนอุปกรณ์พกพา
โดย
นางสาวศรารัตน์ วรรณแจ่ม
ตาแหน่ง ครูค.ศ. 1
วิทยาลัยสารพัดช่างนครราชสีมา
สังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
ห น้ า | ก
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษา
ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักเรียนในรายวิชาโปรแกรมสาเร็จรูปบนอุปกรณ์พกพาหลังการใช้สื่อการ
สอน App inventor 2 เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักเรียนก่อน-หลังการใช้สื่อการ
สอน App inventor 2 ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยสารพัดช่าง
นครราชสีมา
ผลของการวิจัยการเรียนการสอนใช้การสอนการสอนด้วยแบบฝึกการปฏิบัติประกอบการใช้สื่อ
การสอนโปรแกรม App inventor เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ระดับชั้น
ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 รายวิชา โปรแกรมสาเร็จรูปบนอุปกรณ์พกพา วิทยาลัยสารพัดช่าง
นครราชสีมา ผลของการหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุ่มตัวอย่าง ได้จากคะแนนก่อนเรียนและหลัง
เรียน พบว่า ค่า t-Stat (15.00) มากกว่าค่า t-Critical One-tail (1.94) นั่นคือ คะแนนหลังเรียนสูง
กว่าคะแนนก่อนเรียน ถ้าจะพิจารณาจากค่า P พบว่า ค่า P(T<=t) one-tail มีค่า 0.00 ซึ่งน้อยกว่า
ค่าระดับความเชื่อมั่นที่ตั้งไว้คือ 0.05 หรือพูดได้ว่า p < 0.05 ดังนั้น คะแนนหลังเรียนสูงกว่าคะแนน
ก่อนเรียนและ ผลการวิเคราะห์ระดับความพึงพอใจเกี่ยวกับการเรียนการสอนด้วยแบบฝึกการปฏิบัติ
ประกอบการใช้สื่อการสอนโปรแกรม App inventor โดยกลุ่มตัวอย่าง มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก
มีค่าเฉลี่ย 3.94 ระดับความพึงพอใจมากที่สุดได้แก่ ความถูกต้องของเนื้อหา มีค่าเฉลี่ย 4.43 ,ระดับ
ความพึงพอใจรอง ลงมาคือ ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ง่าย และสามารถจดจาได้นาน ,มีความถูก
ต้อง และสอดคล้องกับเนื้อหาวิชา และความเหมาะสมของระยะเวลาที่ใช้ มีค่าเฉลี่ย 4.14 และระดับ
ความพึงพอใจน้อยที่สุด คือช่วยให้ผู้เรียนได้ข้อสรุปที่ถูกต้อง ,กระตุ้นให้เกิดกระบวนการคิด ค่าเฉลี่ย
3.57กิจกรรมการเรียนการสอนชุดแบบฝึกหัดเสริมทักษะ ที่สร้างขึ้นก่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจมาก
ขึ้น ซึ่งแสดงว่ากลุ่มตัวอย่างเกิดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจริง ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้
คาสาคัญ : โปรแกรมสาเร็จรูปบนอุปกรณ์พกพา/ App inventor / แบบฝึกการปฏิบัติ
ห น้ า | ข
กิตติกรรมประกาศ
งานวิจัยฉบับนี้สาเร็จลุล่วงด้วยดี เนื่องด้วยความกรุณา และการให้การสนับสนุนเกี่ยวกับ
งานวิจัยอย่างดียิ่งจากฝ่ายงานวิจัยและพัฒนา วิทยาลัยสารพัดช่างนครราชสีมา ทั้งหลักการทฤษฎี
แนวคิด และให้คาปรึกษา รวมทั้งข้อปฏิบัติต่างๆ สาหรับการดาเนินการวิจัย ตลอดจนแก้ไขข้อบกพร่อง
ต่าง จนงานวิจัยเสร็จสมบูรณ์และถูกต้องที่สุด อันเป็นประโยชน์ต่องานวิจัย ผู้วิจัยขอขอบพระคุณเป็น
อย่างสูง
ขอขอบพระคุณอาจารย์สุทัศน์ สังข์สนิท หัวหน้าแผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยสารพัดช่าง
นครราชสีมา ที่ให้คาปรึกษา แนวทางและคาแนะนาต่างๆ ช่วยเหลือในการตรวจสอบความสมบูรณ์และ
ความถูกต้อง เพื่อให้งานวิจัยมีคุณภาพมากขึ้น และสุดท้ายนี้ผู้วิจัย ขอขอบพระคุณบิดา มารดา ที่ให้การ
อุปการะส่งเสริมสนับสนุน จนทาให้งานวิจัยเล่มนี้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี ผู้วิจัยขอขอบพระคุณทุกท่านมา
ณ โอกาสนี้
นางสาวศรารัตน์ วรรณแจ่ม
ผู้วิจัย
ห น้ า | ค
สารบัญ
เรื่อง หน้า
บทคัดย่อ ______________________________________________________________ ก
กิตติกรรมประกาศ________________________________________________________ ข
สารบัญ _______________________________________________________________ ค
สารบัญตาราง __________________________________________________________ จ
บทที่ 1 บทนา __________________________________________________________ 1
๑.๑ ความสาคัญและความเป็นมาของปัญหา _______________________________________1
๑.๒ วัตถุประสงค์ของการวิจัย__________________________________________________2
1.เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักเรียนในรายวิชาโปรแกรมสาเร็จรูปบนอุปกรณ์พกพาหลัง
การใช้สื่อการสอน APP INVENTOR _______________________________________________2
2.เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาในการเรียนที่มีต่อสื่อการสอนโปรแกรม APP INVENTOR ___2
๑.๓ คาถามเกี่ยวกับงานวิจัย___________________________________________________2
๑.๔ สมมุติฐานของการวิจัย ___________________________________________________2
๑.๕ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัยครั้งนี้____________________________________2
๑.๖ กรอบแนวคิดในการวิจัย __________________________________________________2
๑.๗ ขอบเขตของการวิจัย_____________________________________________________2
๑.๘ นิยามศัพท์เฉพาะ _______________________________________________________3
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ________________________________________ 3
2.๑ แบบฝึกเสริมทักษะ ______________________________________________________4
2.2 สื่อการเรียนการสอนโปรแกรม APP INVENTOR ___________________________________6
2.๓ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน___________________________________________________9
2.4 ความพึงพอใจต่อการเรียนการสอน_________________________________________ 11
๒.๕ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ____________________________________________________ 12
บทที่ 3 วิธีการดาเนินงานวิจัย ______________________________________________13
3.1 ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง_______________________________________ 13
3.2 การกาหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ______________________________________ 13
3.3 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ________________________________________________ 13
3.4 การดาเนินการทดลองและเก็บรวมรวมข้อมูล _________________________________ 16
บทที่ 4 ผลการดาเนินงานวิจัย______________________________________________19
ห น้ า | ง
๔.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุ่มตัวอย่าง ที่ได้จากการเรียนการสอนด้วยแบบฝึกการปฏิบัติ
ประกอบการใช้สื่อการสอนโปรแกรม APP INVENTOR ________________________________ 19
๔.๓ ผลจากการประเมินความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างที่มีต่อการเรียนการสอนด้วยแบบฝึกการ
ปฏิบัติประกอบการใช้สื่อการสอนโปรแกรม APP INVENTOR ___________________________ 20
บทที่ 5 สรุปและอภิปรายผล _______________________________________________22
5.1 สรุปผลการวิจัย_______________________________________________________ 22
5.3 ข้อเสนอแนะ_________________________________________________________ 23
บรรณานุกรม __________________________________________________________24
ภาคผนวก ____________________________________________________________25
ภาพการจัดกิจกรรม_______________________________________________________ 26
ประวัติย่อผู้วิจัย ________________________________________________________29
ห น้ า | จ
สารบัญตาราง
เรื่อง หน้า
ตารางที่ 1 แสดงการทดลองใช้แบบแผนการทดลอง กลุ่มทดสอบกลุ่มเดียวที่มีการทดสอบก่อนเรียน
และหลังเรียน (One-Group Pretest-Posttest Design) ______________________________ 16
ตารางที่ 2 แสดงเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ
ชั้นสูง ปีที่ 2 จากการปฏิบัติประกอบการใช้สื่อการสอนโปรแกรม App inventor_____________ 19
ตารางที่ 3 แสดงประสิทธิภาพทางด้านการเรียนของกลุ่มตัวอย่าง________________________ 20
ตารางที่ 4 แสดงระดับค่าเฉลี่ย ( 𝑥) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ความพึงพอใจต่อการเรียนการ
สอนด้วยแบบฝึกการปฏิบัติประกอบการใช้สื่อการสอนโปรแกรม App inventor _____________ 20
ห น้ า | ฉ
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาแบบฝึกทักษะการปฏิบัติประกอบการใช้สื่อการสอนโปรแกรม App
inventor เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ระดับชั้นประกาศนียบัตร
วิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 รายวิชาโปรแกรมสาเร็จรูปบนอุปกรณ์พกพา แผนกคอมพิวเตอร์
ธุรกิจ วิทยาลัยสารพัดช่างนครราชสีมา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563
ผู้วิจัย นางสาวศรารัตน์ วรรณแจ่ม
ตาแหน่ง ครูค.ศ. 1
วุฒิการศึกษา ปริญญาตรี (ครุศาสตร์อุสาหกรรมบัณฑิต สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า เอกวิศวกรรม
คอมพิวเตอร์)
สถานที่ติดต่อ วิทยาลัยสารพัดช่างนครราชสีมา
ระยะเวลาในการดาเนินการวิจัย
วันที่เริ่มโครงการ 15 พฤษภาคม 2563
วันที่คาดว่าโครงการจะเสร็จสิ้น 30 ตุลาคม 2563
ลักษณะผลงาน วิจัยการเรียนการสอน
ห น้ า | 1
บทที่ 1 บทนา
๑.๑ ความสาคัญและความเป็นมาของปัญหา
หากจะกล่าวถึงการพัฒนาการศึกษาในยุคปัจจุบัน ผู้สอนต้องคานึงถึงการใช้เครื่องมือเพื่อสร้าง
การเรียนรู้และเปลี่ยนแปลงในกิจกรรมการเรียนการสอน เนื่องจากการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เป็นการ
กาหนดแนวทางยุทธศาสตร์ในการจัดการเรียนรู้ โดยร่วมกันสร้างรูปแบบและแนวปฏิบัติในการ
เสริมสร้างประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยเน้นที่องค์ความรู้ ทักษะ ความ
เชี่ยวชาญและสมรรถนะที่เกิดกับตัวผู้เรียน เพื่อใช้ในการดารงชีวิตในสังคมแห่งความเปลี่ยนแปลงใน
ปัจจุบัน โดยจะอ้างถึงรูปแบบ (Model) ที่พัฒนามาจากเครือข่ายองค์กรความร่วมมือเพื่อทักษะแห่งการ
เรียนรู้ในศตวรรษ ที่ 21 (Partnership For 21st Century Skills) ที่มีชื่อย่อว่า เครือข่าย P21 ซึ่งได้
พัฒนากรอบแนวคิดเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยผสมผสานองค์ความรู้ ทักษะเฉพาะด้าน ความ
ชานาญการและความรู้เท่าทันด้านต่างๆ เข้าด้วยกัน เพื่อความสาเร็จของผู้เรียนทั้งด้านการทางานและ
การดาเนินชีวิต1
ในการเรียนการสอนโปรแกรมสาเร็จรูปบนอุปกรณ์พกพานั้น เป็นการศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ
หลักการเทคโนโลยีพกพาฮารดแวรและซอฟตแวรของอุปกรณพกพา (Mobile Devices) ลักษณะเฉพาะ
ทางของโปรแกรมประยุกตบนอุปกรณพกพา (Mobile Applications) การใชโปรแกรมประยุกต
ประเภทตางๆ และเนื่องจากความแตกต่างของพื้นฐานในการเขียนโปรแกรมของนักศึกษา ดังนั้นการที่
จะให้นักศึกษาสามารถปฏิบัติเพื่อพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนอุปกรณ์พกพานั้น จึงต้องใช้สื่อการสอน
โปรแกรมApp inventor มาช่วยเพื่อทาให้ง่ายต่อความเข้าใจและปฏิบัติเองได้จริง
ดังนั้นผู้วิจัย จึงได้หาวิธีการแก้ไขปัญหาโดยสนใจที่จะใช้แบบฝึกทักษะการปฏิบัติประกอบการ
เรียนผ่านเว็บไซต์ www. appinventor.mit.edu/ เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้กับนักเรียน
ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นชั้นสูงปีที่ 2 โดยได้ใช้แบบฝึกการปฏิบัติจากตัวอย่างของโปรแกรม
App inventor และแบบฝึกปฏิบัติที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเพิ่มเติม ทาให้นักศึกษาสามารถเข้าใจหลักการในการ
พัฒนาแอปพลิเคชั่นและสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในอนาคต รวมถึงผู้สอนมีวิธีการสอนที่หลากหลายและ
มีประสิทธิภาพเพื่อนาไปใช้ในอนาคตต่อไป
1 การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก สานักงานศึกษาธิการจังหวัดสระแก้ว: www.sk1edu.go.th/dta/8939 การศึกษาใน
ทศวรรษที่ 2021.docx
ห น้ า | 2
๑.๒ วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1.เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักเรียนในรายวิชาโปรแกรมสาเร็จรูปบนอุปกรณ์พกพา
หลังการใช้สื่อการสอน App inventor
2.เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาในการเรียนที่มีต่อสื่อการสอนโปรแกรม App
inventor
๑.๓ คาถามเกี่ยวกับงานวิจัย
การพัฒนาแบบฝึกปฏิบัติการประกอบสื่อการเรียนการสอนโปรแกรม App inventor มีผลต่อ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอย่างไร
๑.๔ สมมุติฐานของการวิจัย
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับความรู้ของนักศึกษาเมื่อใช้แบบฝึกปฏิบัติการประกอบโปรแกรม
App inventor หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน
๑.๕ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัยครั้งนี้
1. ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในรายวิชาโปรแกรมสาเร็จรูปบนอุปกรณ์พกพา โดยใช้แบบ
ฝึกทักษะการปฏิบัติประกอบการใช้สื่อการสอนโปรแกรม App inventor ผ่านเกณฑ์ที่กาหนด
2. ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนการเรียน ในรายวิชา โปรแกรมสาเร็จรูปบนอุปกรณ์พกพา
3. ครูผู้สอนได้แนวทางการพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอน ที่ผ่านการวิจัยทดลองใช้แล้วเป็น
แนวทางในการพัฒนาการการสอนต่อไป
๑.๖ กรอบแนวคิดในการวิจัย
รูปที่ 1 แสดงกรอบแนวคิดในการวิจัย
๑.๗ ขอบเขตของการวิจัย
- ขอบเขตด้านเนื้อหา
การใช้แบบฝึกปฏิบัติ จานวน 8 แบบ
ฝึกโดยใช้ App inventor ดังนี้
• 1. ApplicationPaintpot
• 2. ApplicationBallBounce
• 3.ApplicationDigitalDoodle
• 4.ApplicationTalkToMe
• 5.ApplicationMusic player
• 6.ApplicationVideoplayer
• 7.ApplicationCalculateBMI
• 8.ApplicationTipCalculator
ตัวแปรต้น
• 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนจากการใช้สื่อการ
สอน App inventor
• 2. ระดับความพึงพอใจ
ของนักเรียนที่มีต่อการ
ใช้สื่อการสอน App
inventor
ตัวแปร
ตาม
ห น้ า | 3
- ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
เป็นนักเรียนระดับชั้นคธส.2 สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ จานวน 7 คน
- ตัวแปรที่ใช้ศึกษา
ตัวแปรต้น ได้แก่ นักศึกษาที่ทาแบบฝึกปฏิบัติ จานวน 8 แบบฝึกโดยใช้โปรแกรม
App inventor
ตัวแปรตาม ได้แก่
- ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักศึกษา
- ผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการใช้สื่อการ
สอนโปรแกรม App inventor
๑.๘ นิยามศัพท์เฉพาะ
1. สภาพการจัดการเรียนการสอน หมายถึง รูปแบบการฝึกทักษะโดยใช้การฝึกจากการลงมือ
มีปฏิบัติตามขั้นตอนการฝึกในใบกิจกรรมหรือแบบฝึก เพื่อฝึกฝนให้ผู้เรียนเกิดทักษะตามจุดประสงค์ของ
แบบฝึกทักษะนั้น ๆ ที่ต้องการจะมุ่งเน้น โดยอาศัยรูปแบบการฝึกที่หลากหลายให้ผู้เรียนได้พัฒนา
กระบวนการคิดการฝึกฝนจากการลงมือปฏิบัติอย่างต่อเนื่องจนเกิดความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาอย่าง
ชัดเจน ซึ่งแบบฝึกทักษะส่วนใหญ่จะสร้างขึ้นประกอบการฝึกทักษะต่าง ๆ เช่น ทักษะการปฏิบัติกลุ่ม
ร่วมมือ
2. การพัฒนา หมายถึง กระบวนการของการเปลี่ยนแปลงที่มีการวางแผนไว้แล้ว คือการทาให้
ลักษณะเดิมเปลี่ยนไปโดยมุ่งหมายว่า ลักษณะใหม่ที่เข้ามาแทนที่นั้นจะดีกว่าลักษณะเก่า สภาพเก่า แต่
โดยธรรมชาติแล้วการเปลี่ยนแปลงย่อมเกิดปัญหาในตัวมันเอง เพียงแต่ว่าจะมีปัญหามาก หรือปัญหา
น้อย “การทาสิ่งๆ หนึ่งให้ดีขึ้นในหลายด้านจนถึงทุกด้าน”
3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ความสามารถจากการทาแบบฝึกปฏิบัติ จานวน 8 แบบ
ฝึกโดยใช้โปรแกรม App inventor ที่วัดได้จากการทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนและหลังเรียน
ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเป็นแบบปฏิบัติ จานวน 3 ข้อ ซึ่งคานวณจากสูตรการทดสอบการหาผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนของผู้เรียน t – test แบบ Dependent โดยมีนัยสาคัญที่ 0.05
4. ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกที่ดีของผู้เรียนที่มีต่อการใช้โปรแกรม App inventor
เกี่ยวกับ ความถูกต้องของเนื้อหา รวมทั้คุณค่าและประโยชน์ที่ได้รับ ซึ่งได้มาจากผู้เรียนตอบ
แบบสอบถาม ความพึงพอใจ ซึ่งค่าที่ยอมรับได้คือ 3.5 ขึ้นไป
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ห น้ า | 4
งานวิจัยการพัฒนาแบบฝึกปฏิบัติการประกอบการใช้สื่อการสอนโปรแกรม App inventor
เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 รายวิชา
โปรแกรมสาเร็จรูปบนอุปกรณ์พกพา ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้
2.1 แบบฝึกเสริมทักษะ
2.2.1 ความหมายของแบบฝึกทักษะ
2.2.2 ความสาคัญของแบบฝึก
2.2.3 ประโยชน์ของแบบฝึก
2.2 สื่อการเรียนการสอนโปรแกรม App inventor
2.2.1 ทาความรู้จักกับสื่อการสอนโปรแกรม App inventor
2.2.2 ขั้นตอนการใช้งานสื่อการสอนโปรแกรม App inventor
2.๓ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
๒.๓.๑ ความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
๒.๓.๓ เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
2.4 ความพึงพอใจต่อการเรียนการสอน
2.๔.1 ความหมายของความพึงพอใจ
2.๔.2 บรรยากาศในการเรียนการสอนกับความพึงพอใจ
2.5 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.๑ แบบฝึกเสริมทักษะ
2.2.1 ความหมายของแบบฝึกทักษะ
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน 2525 ได้ให้ความหมายของแบบฝึกไว้ว่า “แบบฝึก
หมายถึง แบบตัวอย่าง ปัญหา หรือ คาสั่งที่ตั้งขึ้นเพื่อให้นักเรียนฝึกตอบ” ส่วน ชัยยงค์ พรหมวงศ์
กล่าวถึงความหมายของแบบฝึกสรุปได้ว่า แบบฝึกหมายถึง สิ่งที่นักเรียนต้องใช้ควบคู่กับการเรียน มี
ลักษณะเป็นแบบฝึกหัดที่ครอบคลุมกิจกรรมที่นักเรียนพึงกระทาจะแยกกันเป็นหน่วยหรือจะรวมเล่มก็
ได้ แบบฝึกทางภาษาหมายถึง สิ่งที่สร้างขึ้นเสริมสร้างความเข้าใจทางภาษาตามแนวหลักสูตรของ
กระทรวงศึกษาธิการ และเสริมเพิ่มเติมเนื้อหาบางส่วนที่ช่วยให้นักเรียนนาความรู้ไปใช้ได้อย่างถูกต้อง
จากความหมายของแบบฝึกดังกล่าว สรุปได้ว่า แบบฝึก หมายถึง สิ่งที่สร้างขึ้นเพื่อเสริมสร้าง
ทักษะให้แก่นักเรียน มีลักษณะเป็นแบบฝึกหัดให้นักเรียนได้กระทากิจกรรมโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนา
ความสามารถของนักเรียนให้ดีขึ้น (“การสร้างแบบฝึก ::::::กระทรวงศึกษาธิการ”:;, ม.ป.ป.)
2.2.2 ความสาคัญของแบบฝึกทักษะ
เชาวนี เกิดเพทางค์ (2524 : 23) ได้กล่าวถึงความสาคัญของแบบฝึกไว้ว่า “แบบฝึกเป็น
เครื่องมือที่ช่วยให้เกิดการเรียนรู้ ทาให้นักเรียนเกิดความสนใจ และช่วยให้ครูทราบผลการเรียนของ
นักเรียนอย่างใกล้ชิด” ส่วน ได้กล่าวถึงความสาคัญของแบบฝึกสรุปได้ว่า แบบฝึกเป็นเครื่องมือที่ช่วย
ให้เกิดการเรียนรู้ที่เกิดจากการกระทาจริง เป็นประสบการณ์ตรงที่ผู้เรียนมีจุดมุ่งหมายที่แน่นอน ทา
ห น้ า | 5
ให้นักเรียนเห็นคุณค่าของสิ่งที่เรียน สามารถเรียนรู้ และจดจาสิ่งที่เรียนได้ดีและนาไปใช้ใน
สถานการณ์เช่นเดียวกันได้
แบบฝึกเป็นส่วนเพิ่มหรือเสริมจากหนังสือเรียนในการเรียนทักษะ เป็นอุปกรณ์การสอนที่ช่วย
ลดภาระของครูได้มาก เพราะแบบฝึกเป็นสิ่งที่ทาขึ้นอย่างเป็นระเบียบ ระบบ ช่วยให้นักเรียนฝึกทักษะ
การใช้ภาษาดีขึ้น และช่วยเสริมทักษะทางภาษาให้คงทน นอกจากนี้แบบฝึกยังใช้เป็นเครื่องมือ
วัดผลการเรียนหลังจากบทเรียนในแต่ละครั้ง
แบบฝึกเป็นสื่อการเรียนชนิดหนึ่งที่ทาขึ้นอย่างเป็นระบบ สามารถพัฒนาการเรียนของ
นักเรียนได้ เป็นประโยชน์ต่อการจัดการเรียนการสอน คือ เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้เกิดการเรียนรู้
เป็นเครื่องมือวัดผลและประเมินผลการเรียน ช่วยให้ครูทราบความก้าวหน้าหรือข้อบกพร่องของ
นักเรียน และช่วยให้นักเรียนประสบผลสาเร็จในการเรียน
2.2.3 ประโยชน์ของแบบฝึก
1. ใช้เสริมหนังสือแบบเรียนในการเรียนทักษะ
2. เป็นสื่อการสอนที่ช่วยแบ่งเบาภาระของครู
3. เป็นเครื่องมือที่ช่วยฝึกฝนและส่งเสริมทักษะการใช้ภาษาให้ดีขึ้น แต่จะต้องได้รับการ
ดูแลและเอาใจใส่จากครูด้วย
4. แบบฝึกที่สร้างขึ้นโดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลจะเป็นการช่วยให้เด็ก
ประสบความสาเร็จ ตามระดับความสามารถของเด็ก
5. จะช่วยเสริมทักษะให้คงอยู่ได้นาน
6. เป็นเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังจบบทเรียนแต่ละครั้ง
7. แบบฝึกที่จัดทาเป็นรูปเล่มจะอานวยความสะดวกแก่นักเรียนในการเก็บรักษาไว้เพื่อ
ทบทวนด้วยตนเองได้
8. ช่วยให้ครูมองเห็นปัญหาและข้อบกพร่องในการสอน ตลอดจนทราบปัญหาและ
ข้อบกพร่องและจุดอ่อนของนักเรียน ช่วยให้ครูสามารถแก้ปัญหาได้ทันท่วงที
9. ช่วยให้เด็กมีโอกาสฝึกทักษะได้อย่างเต็มที่
10. แบบฝึกทักษะที่จัดพิมพ์ไว้เรียบร้อยแล้วจะช่วยครูประหยัดเวลา และแรงงานใน
การสอนการเตรียมการสอน การสร้างแบบฝึกทักษะ และช่วยให้นักเรียนประหยัดเวลาในการ
ลอกโจทย์แบบฝึกหัด
จากความสาคัญของแบบฝึกดังกล่าว สรุปได้ว่า แบบฝึกนอกจากจะช่วยให้นักเรียนได้มี
โอกาสฝึกฝนทักษะ และทบทวนได้ด้วยตนเองแล้ว ยังช่วยให้ครูมองเห็นปัญหาและข้อบกพร่องใน
การสอน ทราบปัญหา และข้อบกพร่อง จุดอ่อนของนักเรียน เพื่อครูจะได้แก้ไขได้ทันท่วงที
นอกจากนี้ยังช่วยประหยัดเวลา แรงงาน ในการเตรียมการสอนของครู ตลอดจนช่วยประหยัดเวลา
ในการลอกโจทย์แบบฝึกหัดของนักเรียนด้วย
ห น้ า | 6
2.2.4 ลักษณะของแบบฝึกที่ดี
ลักษณะของแบบฝึกที่ดีนั้นต้องใช้ภาษาให้เหมาะสมกับนักเรียนตลอดจนคานึงถึงจิตวิทยา
เกี่ยวกับสิ่งเร้าและการตอบสนองพัฒนาการของเด็ก และลาดับขั้นของการเรียน นอกจากนั้นจะต้อง
พิจารณาให้เหมาะสมกับวัย และความสามารถของเด็กซึ่งแบบฝึกจะประกอบด้วยคาชี้แจงและ
ตัวอย่างสั้น ๆ ที่จะทาให้เด็กเข้าใจง่าย ใช้เวลาเหมาะสมและมีลักษณะที่เกี่ยวข้องกับบทเรียนที่เรียนไป
แล้ว นอกจากนี้แบบฝึกควรมีหลายแบบเพื่อสร้างความสนใจและท้าทายให้แสดงความสามารถ
2.2 สื่อการเรียนการสอนโปรแกรม App inventor
2.2.1 ทาความรู้จักกับสื่อการเรียนการสอนโปรแกรม App inventor
Google ร่วมมือกับ MIT พัฒนาโปรแกรม App inventor สาหรับเขียนโปรแกรมบน
โทรศัพท์มือถือ Android เพื่อส่งเสริมการใช้งานมือถือ Android ให้มากยิ่งขึ้น ต่อมา Google ถอนตัว
ออกมา ให้ MIT พัฒนาต่อเอง ในนาม MIT App inventor
MIT App inventor ใช้หลักการเขียนโปรแกรมด้วยการต่อบล็อกคาสั่ง เน้นการออกแบบเพื่อ
แก้ปัญหา (problem solving) ด้วยการสร้างโปรแกรมที่ผู้เรียนสนใจ บนโทรศัพท์มือถือ
การเขียนโปรแกรมบนมือถือ Android ด้วย MIT App inventor ในภาพรวมแสดงได้ตามรูปที่
2 นี้
รูปที่ 2 ภาพรวมการเขียนโปรแกรมบนมือถือ Android ด้วย MIT App inventor
App Inventor servers เป็นเครื่องที่ให้บริการและเก็บงานโปรเจกต่างๆ ที่ผู้ใช้สร้างขึ้นมา ผู้ใช้
พัฒนาโปรแกรมมือถือ Android โดยสร้างโปรเจกและเขียนโปรแกรมบนเว็บเบราว์เซอร์ ที่เชื่อมต่อไป
ห น้ า | 7
ยัง App Inventor servers เมื่อได้โปรแกรมมา ก็สามารถทดสอบกับโปรแกรมมือถือจาลอง (Android
emulator) หรือโทรศัพท์มือถือ Android จริงๆ ก็ได้
2.2.1 ขั้นตอนการใช้งานสื่อการเรียนการสอนโปรแกรม App Inventor
ขั้นตอนการสร้างโปรแกรม เริ่มจากออกแบบหน้าตาโปรแกรมบนมือถือ ด้วยโปรแกรม App
Inventor Designer ซึ่งใช้สาหรับสร้างส่วนโปรแกรมต่างๆ (components) เพื่อใช้งานในโปรแกรมมือ
ถือที่จะสร้างขึ้น
จากนั้นเขียนโปรแกรมให้แต่ละส่วนโปรแกรม ด้วยโปรแกรม App Inventor Blocks Editor
ซึ่งใช้วิธีการต่อบล็อกคาสั่ง เพื่อให้ส่วนโปรแกรมนั้นๆ ทาหน้าที่ของมัน ตามที่ออกแบบเอาไว้ระหว่าง
เขียนโปรแกรม อาจมีการแก้ไข เพิ่มเติม หรือลบบางส่วนโปรแกรมออกไป ทาให้ต้องแก้ไขโปรแกรม
(debug) จนกว่าจะได้โปรแกรมตามที่ออกแบบไว้ เมื่อทุกส่วนโปรแกรมถูกสร้างเสร็จแล้ว ก็ได้เวลา
ทดสอบการใช้งาน โดยการติดตั้งโปรแกรมลงไปบนมือถือ Android แล้วทดสอบการใช้งานผ่านมือถือ
จริงๆ แต่ถ้าไม่มีมือถือ ก็ยังสามารถทดสอบได้ ผ่านโปรแกรมมือถือจาลอง (Android emulator) ใน
คอมพิวเตอร์แทน
เริ่มต้นเขียนโปรแกรมบนมือถือ Android ด้วย App Inventor
การเขียนโปรแกรมบนมือถือ Android โดยภาพรวม จะต้องออกแบบหน้าตาโปรแกรมบน
คอมพิวเตอร์ก่อน ด้วยโปรแกรม Designer เมื่อได้หน้าตาโปรแกรมมาแล้ว ก็ต้องเขียนโค้ดหรือเขียน
โปรแกรมให้แต่ละส่วนโปรแกรมที่ออกแบบไว้ ด้วยโปรแกรม Blocks Editor
จากนั้นก็ต้องทดสอบดูว่าโปรแกรมทางานได้จริง หรือถูกต้องหรือเปล่า ด้วยการส่งโปรแกรมไป
ยังมือถือจริงๆ หรือโปรแกรมมือถือจาลอง เพื่อทดสอบการทางาน ถ้าโปรแกรมยังทางานไม่ถูกต้อง
จะต้องกลับไปแก้ไขโปรแกรมบนคอมพิวเตอร์อีกครั้ง อาจจะต้องแก้ไขในส่วนการออกแบบ หรือส่วน
การเขียนโค้ด หรือทั้งคู่เลยก็เป็นได้
การเข้าใช้งานครั้งแรก
1. เข้าเว็บ http://appinventor.mit.edu
2. คลิกที่ปุ่ม Create
รูปที่ 3 การเข้าใช้งานครั้งแรก
ห น้ า | 8
3. จะปรากฏให้ใส่รหัสผ่านโดยใช้ E-mail ของ google
รูปที่ 4 การใส่รหัสผ่านโดยใช้ E-mail ของ google
4. หน้าจอให้ยืนยัน ให้เลือก Allow
รูปที่ 5 หน้าจอให้ยืนยัน
ห น้ า | 9
5. จะเข้าหน้าให้สร้างโปรเจค
รูปที่ 6 หน้าจอสร้างโปรเจค
2.๓ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
๒.๓.๑ ความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ไพศาล หวังพานิช ( 2545 : 89 ) ที่ให้ความหมายผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนว่าหมายถึง
คุณลักษณะและความสามารถของบุคคลอันเกิดจากการเรียนการสอนเป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
และประสบการณ์การเรียนที่เกิดขึ้นจากการฝึกอบรมหรือการสอบ จึงเป็นการตรวจสอบระดับ
ความสามารถของบุคคลว่าเรียนแล้วมีความรู้เท่าใด สามารถวัดได้โดยการใช้แบบทดสอบต่าง ๆ เช่น ใช้
ข้อสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ข้อสอบ วัดภาคปฏิบัติ เป็นต้น
บุญชม ศรีสะอาด (2545 : 52) ได้ให้ความหมายของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ว่า หมายถึง
แบบทดสอบที่ใช้ความรู้ ความสามารถของบุคคลในด้านวิชาการซึ่งเป็นผลจากการเรียนรู้ในเนื้อหาสาระ
และตามจุดประสงค์ของวิชาหรือเนื้อหาที่สอบนั้น
๒.๓.2 หลักเกณฑ์ในการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ในการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วัญญา วิศาลาภรณ์ ( 2540 : 16 )
กล่าวถึงหลักเกณฑ์ไว้สอดคล้องกัน ดังนี้
1. เนื้อหาหรือทักษะที่ครอบคลุมในแบบทดสอบนั้น จะต้องเป็นพฤติกรรมที่สามารถวัด
ผลสัมฤทธิ์ได้
2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ใช้แบบทดสอบวัดนั้น ถ้านาไปเปรียบเทียบกันจะต้องให้ทุกคนมี
โอกาสเรียนรู้ในสิ่งต่าง ๆ เหล่านั้นได้ครอบคลุมและเท่าเทียมกัน
ห น้ า | 10
3. วัดให้ตรงกับจุดประสงค์ การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ควรจะวัดตาม
วัตถุประสงค์ทุกอย่างของการสอน และจะต้องมั่นใจว่าได้วัดสิ่งที่ต้องการจะวัดได้จริง
4. การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เป็นการวัดความเจริญงอกงามของนักเรียนการเปลี่ยนแปลง
และความก้าวหน้าไปสู่วัตถุประสงค์ที่วางไว้ ดังนั้น ครูควรจะทราบว่าก่อนเรียนนักเรียนมีความรู้
ความสามารถอย่างไร เมื่อเรียนเสร็จแล้วมีความรู้แตกต่างจากเดิมหรือไม่โดยการทดสอบก่อนเรียนและ
ทดสอบหลังเรียน
5. การวัดผลเป็นการวัดผลทางอ้อม เป็นการยากที่จะใช้ข้อสอบแบบเขียนตอบ วัดพฤติกรรม
ตรง ๆ ของบุคคลได้ สิ่งที่วัดได้ คือ การตอบสนองต่อข้อสอบ ดังนั้น การเปลี่ยนวัตถุประสงค์ให้เป็น
พฤติกรรมที่จะสอบ จะต้องทาอย่างรอบคอบและถูกต้อง
6. การวัดการเรียนรู้ เป็นการยากที่จะวัดทุกสิ่งทุกอย่างที่สอนได้ภายในเวลาจากัด สิ่งที่วัดได้
เป็นเพียงตัวแทนของพฤติกรรมทั้งหมดเท่านั้น ดังนั้น ต้องมั่นใจว่าสิ่งที่วัดนั้นเป็นตัวแทนแท้จริงได้
7. การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นเครื่องช่วยพัฒนาการสอนของครู และเป็นเครื่องช่วยใน
การเรียนของเด็ก
8. ในการศึกษาที่สมบูรณ์นั้น สิ่งสาคัญไม่ได้อยู่ที่การทดสอบแต่เพียงอย่างเดียวการทบทวน
การสอนของครูก็เป็นสิ่งสาคัญยิ่ง
9. การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ควรจะเน้นในการวัดความสามารถในการใช้ความรู้ให้เป็น
ประโยชน์ หรือการนาความรู้ไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ ๆ
10. ควรใช้คาถามให้สอดคล้องกับเนื้อหาวิชาและวัตถุประสงค์ที่วัด
11. ให้ข้อสอบมีความเหมาะสมกับนักเรียนในด้านต่าง ๆ เช่น ความยากง่าย พอเหมาะมีเวลา
พอสาหรับนักเรียนในการทาข้อสอบ
สรุปได้ว่า ในการสร้างแบบทดสอบให้มีคุณภาพ วิธีการสร้างแบบทดสอบที่เป็นคาถาม เพื่อวัด
เนื้อหาและพฤติกรรมที่สอนไปแล้วต้องตั้งคาถามที่สามารถวัดพฤติกรรมการเรียนการสอนได้อย่าง
ครอบคลุมและตรงตามจุดประสงค์การเรียนรู้
๒.๓.๓ เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ล้วน สายยศ และ อังคณา สายยศ (2540 : 125-126) ได้แบ่งแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ได้
เป็น 2 พวก คือ
1. แบบทดสอบของครู หมายถึง ชุดคาถามที่ครูเป็นผู้สร้างขึ้น ซึ่งเป็นข้อคาถามเกี่ยวกับความรู้
ที่นักเรียนได้เรียนในห้องเรียนว่า นักเรียนมีความรู้มากแค่ไหน บกพร่องที่ตรงไหน จะได้สอนซ่อมเสริม
หรือเป็นการวัดดูความพร้อมที่จะเรียนบทเรียนใหม่ ซึ่งขึ้นอยู่กับความต้องการของครู
2. แบบทดสอบมาตรฐาน แบบทดสอบประเภทนี้สร้างขึ้นจากผู้เชี่ยวชาญในแต่ละสาขาวิชา
หรือจากครูที่สอนวิชานั้น แต่ผ่านการทดลองคุณภาพหลายครั้ง จนกระทั้งคุณภาพดีพอจึงสร้างเกณฑ์
ปกติของแบบทดสอบนั้น สามารถใช้เป็นหลักเปรียบเทียบผลเพื่อประเมินค่าของการเรียนการสอนใน
เรื่องใด ๆ ก็ได้ แบบทดสอบมาตรฐานจะมีคู่มือดาเนินการสอบ บอกวิธีสอบและยังมีมาตรฐานในด้าน
การแปลคะแนนด้วย
ห น้ า | 11
ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้สร้างชุดการสอนแบบบรรยายประกอบการสาธิต เรื่องการปรับแต่ง
รูปภาพเบื้องต้น ในรายวิชา โปรแกรมกราฟิก ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปีที่ ๑ กลุ่ม ๑ ซึ่ง
ประกอบด้วยคู่มือครู (ประกอบด้วยคาแนะนาในการใช้ชุดฝึกการสอน แผนการจัดการเรียนรู้ ใบ
เนื้อหา แบบฝึกหัดท้ายบทเรียน เฉลยแบบฝึกหัด แบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน ใบเฉลย
แบบฝึกหัด แบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน) คู่มือนักเรียน(เอกสารประกอบการเรียน ประกอบด้วย
เนื้อหา แบบฝึกหัดการปฏิบัติ ประกอบการเรียน)
2.4 ความพึงพอใจต่อการเรียนการสอน
2.๔.1 ความหมายของความพึงพอใจ
การจัดการเรียนการสอนให้ประสบความสาเร็จนอกจากจะวัดลักษณะด้านพุทธิพิสัยของ
นักเรียนแล้วผู้สอนจะต้องคานึงถึงผลทางด้านจิตพิสัยซึ่งเป็นความพึงพอใจของนักเรียนด้วยเพราะถ้า
ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนแล้วย่อมส่งผลถึงประสิทธิภาพในการเรียนการสอนด้วยซึ่ง
จากการศึกษาเกี่ยวกับความพึงพอใจนักการศึกษาหลายท่านได้ให้ความหมายของความพึงพอใจไว้ได้
ดังนี้
[วอลเลอร์สเตน (Wallerstein, 1971: 112)] ให้ความหมายของความพึงพอใจไว้ว่า “ความ
พึงพอใจหมายถึงความรู้สึกที่เกิดขึ้นเมื่อได้รับผลสาเร็จตามความมุ่งหมาย” [กู๊ด (Good, 1973: 518)]
ให้ความหมายของความพึงพอใจไว้ว่า “ความพึงพอใจหมายถึงคุณภาพสภาพหรือระดับความพึงพอใจ
ซึ่งเป็นผลจากความสนใจต่างๆและทัศนคติของบุคคลที่มีต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง”
[โวแมน (Wolman, 1973 : 217)]ให้ความหมายของความพึงพอใจไว้ว่า “ความพึงพอใจ
หมายถึงความรู้สึกเมื่อได้รับผลสาเร็จตามความมุ่งหมายความต้องการหรือแรงจูงใจ” จากความหมาย
ของความพึงพอใจข้างต้นสรุปได้ว่าความพึงพอใจหมายถึงความรู้สึกของบุคคลต่อผลของสิ่งเร้าต่างๆที่
บุคคลใดบุคคลหนึ่งได้รับและอาจจะมีความรู้สึกหรือทัศนคติในทางที่ดีหรือไม่ดีก็ได้ดังนั้นความพึงพอใจ
ต่อการเรียนการสอนจึงหมายถึงความรู้สึกของนักเรียนที่มีต่อรูปแบบและกิจกรรมการเรียนการสอนใน
ด้านต่างๆเช่นบรรยากาศการเรียนการสอนลักษณะของกิจกรรมวิธีการประเมินผลเป็นต้น
2.๔.2 บรรยากาศในการเรียนการสอนกับความพึงพอใจ
การสร้างบรรยากาศในการเรียนการสอนมีอิทธิพลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนซึ่งบรรยากาศที่ดี
อาจส่งเสริมให้ผู้เรียนมีสุขภาพจิตที่ดีมีความพึงพอใจและตั้งใจที่จะเรียนบรรยากาศในการเรียนการสอน
โดยเน้นชั้นเรียนเป็นตัวแปรที่สาคัญที่ช่วยส่งเสริมสนับสนุนให้การเรียนดีขึ้น
[พิมพันธ์เดชะคุปต์ (2544 : 257)]ได้ให้ความหมายความสาคัญของบรรยากาศในการเรียน
การสอนไว้ 2 ประเภทคือ
1. บรรยากาศทางกายภาพคือการสร้างบรรยากาศสิ่งแวดล้อมที่ดีในห้องเรียนมีผลต่อการเรียน
การสอนและต่อเจตคติที่ดีของผู้เรียนซึ่งลักษณะของห้องเรียนที่มีบรรยากาศทางกายภาพเหมาะสมควร
มีรูปแบบคือมีสีสันน่าดูและเหมาะสมสบายตาอากาศถ่ายเทได้ดีปราศจากเสียงรบกวนและมีขนาดกว้าง
เพียงพอกับจานวนนักเรียน
ห น้ า | 12
2. บรรยากาศทางจิตใจคือการเรียนการสอนจะดาเนินอย่างมีชีวิตชีวาและราบรื่นนั้นผู้เรียนกับ
ผู้เรียนและผู้สอนกับผู้เรียนต้องมีความสัมพันธ์และร่วมมือกันอย่างไม่มีความหวาดระแวงกันสิ่งดังกล่าว
ครูผู้สอนต้องมีวิธีการเสริมแรงอย่างเช่นการเสริมแรงทางด้านภาษาและท่าทางคือการกล่าวชมดีดีมาก
น่าสนใจถูกต้องควรปรับปรุงการตั้งใจฟังการปรบมือการใช้สายตาแสดงความสนใจความพึงพอใจและอีก
อย่างหนึ่งคือการเสริมแรงด้วยการให้รางวัลและสัญลักษณ์ต่างๆคือการให้วัตถุสิ่งของการนาผลงานมา
แสดงยกย่องและการใช้เครื่องหมายดีเด่น
ดังนั้นผู้สอนจะต้องจัดหาสิ่งจูงใจต่างๆเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้เรียนให้ได้รับความพึง
พอใจเช่นวิธีการจัดการเรียนการสอนที่จะส่งผลให้บรรยากาศการเรียนการสอนไม่น่าเบื่อหน่ายเป็นต้น
จะเห็นได้ว่าในการจัดการเรียนการสอนที่จะทาให้ผู้เรียนเกิดความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนจนทาให้
ประสิทธิภาพในการเรียนสูงขึ้นผู้สอนจะต้องคานึงถึงความต้องการของผู้เรียนด้านความรู้สึกทัศนคติที่
เป็นเรื่องของจิตใจควบคู่ไปด้วยในการวัดความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนสามารถวัดได้หลายวิธีเช่น
การสังเกตการสัมภาษณ์การใช้แบบสอบถามเป็นต้นสาหรับการวิจัยในครั้งนี้ผู้วิจัยใช้แบบสอบถามใน
การวัดความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนโดยการใช้บทเรียนออนไลน์
๒.๕ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
มิสนรีลักษณ์ ปัทมะทัตต์ (............) ได้ทาการศึกษา เรื่องการใช้สื่อการสอน Kahoot เพื่อเพิ่ม
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 4 รายวิชา Fundamental English แผนก
วิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ภาคเรียนที่ 1/2559 โดยวิธีการใช้สื่อการสอน Kahoot ผลการดาเนินการวิจัย
ครั้งนี้พบว่า ว่าการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนด้วยการใช้สื่อการสอน Kahoot ของนักเรียน มี
เฉลี่ยเท่ากับ 17.50 ของคะแนนเต็ม 20คะแนน มีผลคะแนนที่เพิ่มขึ้น 5 คะแนน มีผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนอยู่ในระดับมาก ความพึงพอใจในการใช้สื่อการสอน Kahoot ของนักเรียน มีค่าเฉลี่ยในระดับมาก
(X= 4.28) และค่า SD เท่ากับ 0.54 ซึ่งถือว่านักเรียนมี ความพึงพอใจมาก นักเรียนส่วนใหญ่ให้ความ
สนใจในกิจกรรม มากกว่าการเรียนการสอนในรูป แบบเดิมและการใช้เทคนิคใหม่ ๆ หรือกระบวนการ
ใหม่ที่จะฝึกประสบกรการณ์การเรียนให้ผู้เรียน จะทาให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีขึ้น การใช้
เทคนิค หรือวิธีการสอนแนวใหม่ถือเป็นกิจกรรมการเรียนการสอนแบบหนึ่งที่สามารถช่วยพัฒนาการ
เรียน การสอนเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้นักเรียนนอกจากนี้ยังช่วยสร้างให้นักเรียน เพิ่ม
กระบวนการเรียนรู้ มีมนุษยสัมพันธ์และการกล้าแสดงออกมายิ่งขึ้น รวมทั้งการเอื้ออาทร และการ อยู่
ร่วมกับสังคมอย่างมีความสุข
ห น้ า | 13
บทที่ 3 วิธีการดาเนินงานวิจัย
งานวิจัยการใช้สื่อการสอนโปรแกรม App inventor เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของ
นักเรียน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 รายวิชา โปรแกรมสาเร็จรูปบนอุปกรณ์พกพา
ผู้วิจัยได้ดาเนินตามขั้นตอนดังนี้
3.1 ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
3.2 กาหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
3.3 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
3.4 การดาเนินการทดลองและเก็บรวมรวมข้อมูล
3.5 การวิเคราะห์และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
3.1 ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
1.1 ศึกษาข้อมูลหนังสือเอกสารวารสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับทฤษฏีความพึงพอใจ
และการสร้างบรรยากาศในการเรียนการสอนให้ผู้เรียนเกิดความพึงพอใจ
1.2 ศึกษาหลักสูตรวิชา โปรแกรมสาเร็จรูปบนอุปกรณ์พกพา ของนักเรียนระดับชั้น
ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 และหนังสือคู่มือประกอบการเรียนเรื่อง โปรแกรมสาเร็จรูปบน
อุปกรณ์พกพา
1.3 ศึกษาข้อมูลหนังสือ, เว็บไซต์ เกี่ยวกับทฤษฎีการเรียนการสอนแบบวิธีการสร้างแบบฝึก
ทักษะการปฏิบัติ และเว็บไซต์ App inventor
1.4 ศึกษาหลักการและวิธีการสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนโดย
วิธีการใช้แบบฝึกทักษะการปฏิบัติ และเว็บไซต์ App inventor
3.2 การกาหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากร ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ นักเรียนแผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยสารพัดช่าง
นครราชสีมา
กลุ่มตัวอย่าง ผู้วิจัยได้เลือกแบบเจาะจงโดยเลือกนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2
แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยสารพัดช่างนครราชสีมา ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา 2558 จานวน
7 คน
3.3 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นการพัฒนาแบบฝึกปฏิบัติการประกอบสื่อการสอนโปรแกรม
App inventor เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปี
ที่ 2 รายวิชา โปรแกรมสาเร็จรูปบนอุปกรณ์พกพา แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยสารพัดช่าง
นครราชสีมา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 ซึ่งมีขั้นตอนในการสร้างดังนี้
ห น้ า | 14
3.3.1 การสร้างแบบฝึกทักษะการปฏิบัติ
มีจานวน 8 แบบฝึก ซึ่งผู้วิจัยได้ ดาเนินตามขั้นตอนดังนี้
ขั้นที่ 1 ศึกษาหลักสูตร คาอธิบายรายวิชา โปรแกรมสาเร็จรูปบนอุปกรณ์พกพา เพื่อกาหนด
จุดประสงค์การเรียนรู้และขอบข่ายเนื้อหา
ขั้นที่ ๒ สร้างแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรม คือวิธีการใช้แบบฝึกทักษะการปฏิบัติ
ขั้นที่ ๓ นาแบบฝึกทักษะการปฏิบัติ ที่สร้างเสร็จแล้วไปนาเสนอต่อผู้เชี่ยวชาญ 2 ท่าน เพื่อ
ตรวจสอบความถูกต้องของเนื้อหาและกิจกรรม
ขั้นที่ ๔ เมื่อปรับแก้ไขแบบฝึกทักษะการปฏิบัติ ตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญเรียบร้อยแล้ว
จึงนาไปใช้งานจริงนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที 2 วิทยาลัยสารพัดช่างนครราชสีมา ภาคเรียน
ที่ 1 ปีการศึกษา 2560
ขั้นที่ ๕ ดาเนินการสร้างนวัตกรรม
๕.๑ สร้างแบบฝึกทดสอบ มีจานวน 8 แบบฝึก ประกอบด้วย
1. ApplicationPaintpot
2. ApplicationBallBounce
3.ApplicationDigitalDoodle
4.ApplicationTalkToMe
5.ApplicationMusic player
6.ApplicationVideoplayer
7.ApplicationCalculateBMI
8.ApplicationTipCalculator
รูปที่ 7 ตัวอย่างหน้าต่างแบบฝึกการปฏิบัติ
ห น้ า | 15
ขั้นที่ ๖ นาไปทดลองใช้กับผู้เรียน
๖.๑ ทดสอบด้วยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ก่อนเรียน (Pretest) กับ
นักศึกษากลุ่มตัวอย่าง ตรวจแบบทดสอบและบันทึกคะแนนเป็นรายบุคคล จากเครื่องมือของสื่อการ
เรียน App inventor
๖.๒ ผู้วิจัยดาเนินการสอนก่อนการใช้นวัตกรรม ให้นักเรียนกลุ่มตัวอย่างทา
แบบทดสอบก่อนเรียน ก่อนจากนั้นจึงเรียนด้วยแบบฝึกทักษะการปฏิบัติ
๖.๓ เมื่อเรียนด้วยแบบฝึกทักษะการปฏิบัติเรียนเสร็จ ผู้วิจัยให้กลุ่มตัวอย่าง ทา
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้หลังเรียน (Posttest) ตรวจแบบทดสอบและบันทึกคะแนนเป็น
รายบุคคลด้วยเครื่องมือของสื่อ App inventor
ขั้นที่ ๗ ผู้วิจัยให้ผู้เรียนทาาแบบประเมินถามความพึงพอใจที่มีต่อแบบฝึกประกอบสื่อการสอน
โปรแกรม App inventor
ขั้นที่ 8 ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งหมดไปวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิต
3.3.2 แบบทดสอบสาหรับหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
เป็นแบบทดสอบ เพื่อหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสาหรับกลุ่มตัวอย่างจากแบบฝึกทักษะการ
ปฏิบัติ โดยใช้เทคนิคทางการศึกษาคือ
- แบบทดสอบก่อนเรียน เป็นข้อสอบแบบปฏิบัติ จานวน 2 ข้อ
- แบบทดสอบหลังเรียน เป็นข้อสอบแบบปฏิบัติ จานวน 2 ข้อ
๓.๓.๓ สร้างแบบวัดความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนด้วยการพัฒนาแบบฝึกปฏิบัติการประกอบ
สื่อการสอนโปรแกรม App inventor
ลักษณะของแบบวัดเป็นแบบมาตราส่วนประเมินค่า 5 ระดับจานวน 1๕ ใช้แบบมาตราส่วน
ประมาณค่า (Rating scale) โดยกาหนดค่าของคาตอบเป็น 5 ระดับ [Likert Scale] คือ
เกณฑ์การให้คะแนน
ถ้าเลือกตอบพึงพอใจระดับมากที่สุด ให้ 5 คะแนน
พึงพอใจระดับมาก ให้ 4 คะแนน
พึงพอใจระดับปานกลาง ให้ 3 คะแนน
พึงพอใจระดับน้อย ให้ 2 คะแนน
พึงพอใจระดับน้อยที่สุด ให้ 1 คะแนน
เกณฑ์การประเมินผล
ค่าเฉลี่ย 4.51 – 5.00 หมายความว่า มีพึงพอใจระดับมากที่สุด
ค่าเฉลี่ย 3.51 – 4.50 หมายความว่า มีพึงพอใจระดับมาก
ค่าเฉลี่ย 2.51 – 3.50 หมายความว่า มีพึงพอใจระดับปานกลาง
ห น้ า | 16
ค่าเฉลี่ย 1.51 – 2.50 หมายความว่า มีพึงพอใจระดับน้อย
ค่าเฉลี่ย 1.00 – 1.50 หมายความว่า มีพึงพอใจระดับน้อยที่สุด
3.4 การดาเนินการทดลองและเก็บรวมรวมข้อมูล
การวิจัยการพัฒนาแบบฝึกปฏิบัติการประกอบสื่อการสอนโปรแกรม App inventor เพื่อเพิ่ม
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 รายวิชา โปรแกรม
สาเร็จรูปบนอุปกรณ์พกพา แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยสารพัดช่างนครราชสีมา ภาคเรียนที่
1 ปีการศึกษา 2560 ครั้งนี้ผู้วิจัยดาเนินการทดสองกับกลุ่มตัวอย่าง การทดลองใช้แบบแผนการ
ทดลองกลุ่มเดียวที่มีการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน (One-Group Pretest-Posttest Design)
โดยให้มีการทดสอบก่อนเรียน (Pretest) จากนั้นให้ผู้เรียนเรียนด้วยแบบฝึกปฏิบัติ และทาการทดสอบ
หลังเรียน (Posttest) ซึ่งมีขั้นตอนในการด าเนินการวิจัยดังนี้
3.4.1แบบแผนการทดลอง
การทดลองใช้แบบแผนการทดลอง กลุ่มทดสอบกลุ่มเดียวที่มีการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
(One-Group Pretest-Posttest Design)
ตารางที่ 1 แสดงการทดลองใช้แบบแผนการทดลอง กลุ่มทดสอบกลุ่มเดียวที่มีการทดสอบก่อนเรียน
และหลังเรียน (One-Group Pretest-Posttest Design)
สอบก่อนเรียน การจัดการกระทา สอบหลังเรียน
T1 X T2
ความหมายของสัญลักษณ์
X แทน การจัดการกระทา (Treatment) เป็นช่วงการเรียนจากแบบฝึกปฏิบัติการประกอบสื่อ
การสอนโปรแกรม App inventor
T1 แทน การทดสอบก่อนเรียน (Pretest)
T2 แทน การทดสอบหลังเรียน (Posttest) โดยใช้แบบทดสอบปฏิบัติจานวน 2 ข้อ
วิธีการดาเนินการวิจัยมีราละเอียด ดังนี้
1. ทดสอบก่อนเรียน (Pretest) เมื่อกลุ่มตัวอย่างผ่านการแนะนาแบบฝึกปฏิบัติแล้วผู้วิจัยจะให้
กลุ่มตัวอย่างทุกคนทาแบบทดสอบก่อนเรียน (Pretest) เพื่อให้ทราบว่ากลุ่มตัวอย่างก่อนเรียน
มีความสามารถอยู่ในระดับใดและทาการเก็บผลคะแนนจากการทดสอบจากกลุ่มตัวอย่างไว้
2. การจัดการกระทา (Treatment)ให้กลุ่มตัวอย่างทุกคนศึกษาแบบฝึกปฏิบัติการประกอบสื่อ
การสอนโปรแกรม App inventor
ห น้ า | 17
3. ทดสอบหลังเรียน (Posttest) หลังจากที่กลุ่มตัวอย่างได้ศึกษาแบบฝึกปฏิบัติการประกอบสื่อ
การสอนโปรแกรม App inventor เรียบร้อยแล้ว ผู้วิจัยจะให้กลุ่มตัวอย่างทุกคนทา
แบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) โดยใช้แบบฝึกปฏิบัติ เพื่อให้ทราบว่ากลุ่มตัวอย่างเกิดความรู้
หลังจากเรียนผ่านแบบฝึกปฏิบัติการประกอบสื่อการสอนโปรแกรม App inventor เพิ่มขึ้นใน
ระดับใดและทาการเก็บผลคะแนนจากการทดสอบจากกลุ่มตัวอย่างไว้
4. การประเมินความพึงพอใจ หลังจากที่กลุ่มตัวอย่างได้ทาแบทดสอบหลังเรียน ผู้วิจัยให้กลุ่ม
ตัวอย่างที่ศึกษาผ่านแบบฝึกปฏิบัติการประกอบสื่อการสอนโปรแกรม App inventor ทาแบบ
ประเมินความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่าง
๓.๕ การวิเคราะห์และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
หลังจากทาการเรียนการสอนการพัฒนาแบบฝึกปฏิบัติการประกอบสื่อการสอนโปรแกรม App
inventor เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2
รายวิชา โปรแกรมสาเร็จรูปบนอุปกรณ์พกพา ได้นาผลโดยกลุ่มตัวอย่างมาวิเคราะห์ตามหลักสถิติ ดังนี้
๓.๕.๑ หาค่าประสิทธิภาพแบบทดสอบให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ โดยใช้ร้อยละ
๓.๕.๒ การวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ของกลุ่มตัวอย่างที่ทาแบบทดสอบ
ในระดับการให้คะแนนการวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ของกลุ่มตัวอย่างก่อนเรียนที่เรียนด้วยแบบฝึก
ปฏิบัติงานและหลังเรียนที่เรียนด้วยแบบฝึกปฏิบัติงาน โดยวิเคราะห์ค่านัยสาคัญไว้ที่ระดับ 0.05 ซึ่งให้
เปรียบเทียบค่าที่เปิดตารางค่าวิกฤติที่ t=1.725 ถ้าหากค่าt ที่หาได้นั้นมากกว่า t ที่กาหนดไว้สรุปได้ว่า
กลุ่มตัวอย่างเกิดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
๓.๖ สถิติที่ใช้ในการวิจัย
๓.๖.1 วิธีการการวิเคราะห์ผลจากแบบประเมินความพึงพอใจ
- วิธีการวิเคราะห์ผลโดยการคานวณหาค่าเฉลี่ยแบบแจกแจงความถี่ ของกลุ่ม
ตัวอย่างตามหลักสถิติ ซึ่งอาศัยสูตรคานวณดังนี้
สูตร 𝒙
̅ =
∑ 𝒇𝒙
∑ 𝐟
เมื่อ 𝒙
̅ = ค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง
𝒇 = ค่าความถี่ของแต่ละคะแนน
𝑥 = คะแนนที่ได้ของแต่ละกลุ่มตัวอย่าง
- วิธีการการวิเคราะห์ผลโดยการคานวณหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของกลุ่มตัวอย่าง
สูตร 𝒔 =
√∑ 𝒇(𝒙−𝒙)
̅̅̅𝟐
𝒏
𝒊=𝒍
𝒏
เมื่อ 𝒔= ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
∑𝒏
𝒊=𝒍 = ผลรวมของข้อมูลตั้งแต่ 1 ถึง n
ห น้ า | 18
𝑥̅ = คะแนนที่ได้ของแต่ละกลุ่มของกลุ่มตัวอย่าง
𝑓 = ความถี่ของคะแนน
𝑛 = จานวนผู้ทาแบบประเมิน
3.6.2 การหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุ่มตัวอย่าง
สูตร t –test แบบ Dependent
นาผลต่างระหว่างการทดสอบหลังเรียนและก่อนเนียนไปเปรียบเทียบกับตาราง
นัยสาคัญที่ระดับ 0.05 ด้วยการคานวณจากสูตรดังนี้
สูตร 𝑡 =
∑ 𝐷
√𝑛 ∑ 𝐷2−(∑ 𝐷)
2
𝑛−1
df(V) = N-1
เมื่อ
T = ทดสอบความแตกต่างของข้อมูลก่อนเรียนและหลังเรียน
D = ความแตกต่างของคะแนนแต่ละคู่
N = จานวนผู้เรียน
ห น้ า | 19
บทที่ 4 ผลการดาเนินงานวิจัย
งานวิจัยครั้งนี้ เป็นการพัฒนาแบบฝึกปฏิบัติการประกอบการใช้สื่อการสอนโปรแกรม App
inventor เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2
รายวิชา โปรแกรมสาเร็จรูปบนอุปกรณ์พกพา เมื่อทาการทดลองเสร็จกระบวนการแล้วได้ผลดังต่อไปนี้
๔.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุ่มตัวอย่าง ที่ได้จากการเรียนการสอนด้วยแบบฝึกการ
ปฏิบัติประกอบการใช้สื่อการสอนโปรแกรม App inventor
๔.๒ ผลการประเมินความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างที่มีการเรียนการสอนด้วยแบบฝึกการ
ปฏิบัติประกอบการใช้สื่อการสอนโปรแกรม App inventor
๔.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุ่มตัวอย่าง ที่ได้จากการเรียนการสอนด้วยแบบฝึก
การปฏิบัติประกอบการใช้สื่อการสอนโปรแกรม App inventor
จากการให้กลุ่มตัวอย่างทากิจกรรมจากการเรียนการสอน โดยใช้การจัดการการเรียนรู้แบบฝึก
การปฏิบัติประกอบการใช้สื่อการสอนโปรแกรม App inventor เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของ
นักเรียน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 รายวิชา โปรแกรมสาเร็จรูปบนอุปกรณ์พกพา
ผู้วิจัยได้นาคะแนนที่ได้จาการทาแบบทดสอบการปฏิบัติก่อนเรียน (Post-test) กับผลที่ได้จากการทา
แบบทดสอบหลังเรียน (Pre-test) จานวน 2 ข้อ มีผลการวิเคราะห์ดังตารางที่ 2
ตารางที่ 2 แสดงเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ
ชั้นสูง ปีที่ 2 จากการปฏิบัติประกอบการใช้สื่อการสอนโปรแกรม App inventor
คนที่ คะแนนก่อนเรียน (10คะแนน) คะแนนหลังเรียน (10คะแนน)
1 5 7
2 7 9
3 6 8
4 5 8
5 6 8
6 6 8
7 7 9
การพัฒนาแบบฝึกทักษะการปฏิบัติประกอบสื่อการสอนโปรแกรม App inventor เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 รายวิชา โปรแกรมสำเร็จรูปบนอุปกรณ์พกพา
การพัฒนาแบบฝึกทักษะการปฏิบัติประกอบสื่อการสอนโปรแกรม App inventor เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 รายวิชา โปรแกรมสำเร็จรูปบนอุปกรณ์พกพา
การพัฒนาแบบฝึกทักษะการปฏิบัติประกอบสื่อการสอนโปรแกรม App inventor เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 รายวิชา โปรแกรมสำเร็จรูปบนอุปกรณ์พกพา
การพัฒนาแบบฝึกทักษะการปฏิบัติประกอบสื่อการสอนโปรแกรม App inventor เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 รายวิชา โปรแกรมสำเร็จรูปบนอุปกรณ์พกพา
การพัฒนาแบบฝึกทักษะการปฏิบัติประกอบสื่อการสอนโปรแกรม App inventor เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 รายวิชา โปรแกรมสำเร็จรูปบนอุปกรณ์พกพา
การพัฒนาแบบฝึกทักษะการปฏิบัติประกอบสื่อการสอนโปรแกรม App inventor เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 รายวิชา โปรแกรมสำเร็จรูปบนอุปกรณ์พกพา
การพัฒนาแบบฝึกทักษะการปฏิบัติประกอบสื่อการสอนโปรแกรม App inventor เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 รายวิชา โปรแกรมสำเร็จรูปบนอุปกรณ์พกพา
การพัฒนาแบบฝึกทักษะการปฏิบัติประกอบสื่อการสอนโปรแกรม App inventor เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 รายวิชา โปรแกรมสำเร็จรูปบนอุปกรณ์พกพา
การพัฒนาแบบฝึกทักษะการปฏิบัติประกอบสื่อการสอนโปรแกรม App inventor เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 รายวิชา โปรแกรมสำเร็จรูปบนอุปกรณ์พกพา
การพัฒนาแบบฝึกทักษะการปฏิบัติประกอบสื่อการสอนโปรแกรม App inventor เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 รายวิชา โปรแกรมสำเร็จรูปบนอุปกรณ์พกพา
การพัฒนาแบบฝึกทักษะการปฏิบัติประกอบสื่อการสอนโปรแกรม App inventor เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 รายวิชา โปรแกรมสำเร็จรูปบนอุปกรณ์พกพา

More Related Content

What's hot

คู่มือการอบรมครู การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน ด้วย MIT App Inventor
คู่มือการอบรมครู การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน ด้วย MIT App Inventorคู่มือการอบรมครู การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน ด้วย MIT App Inventor
คู่มือการอบรมครู การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน ด้วย MIT App InventorSomchart Phaeumnart
 
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุนMint NutniCha
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Sarocha Makranit
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานpam123145
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงานTanyarad Chansawang
 
การพัฒนาทักษะการอ่านสะกดและการจดจำความหมายคำศัพท์คอมพิวเตอร์โดยใช้บัตร คำรูปภ...
การพัฒนาทักษะการอ่านสะกดและการจดจำความหมายคำศัพท์คอมพิวเตอร์โดยใช้บัตร คำรูปภ...การพัฒนาทักษะการอ่านสะกดและการจดจำความหมายคำศัพท์คอมพิวเตอร์โดยใช้บัตร คำรูปภ...
การพัฒนาทักษะการอ่านสะกดและการจดจำความหมายคำศัพท์คอมพิวเตอร์โดยใช้บัตร คำรูปภ...Mjjeje Mint
 
บทที่4 ผลการดำเนินการ
บทที่4 ผลการดำเนินการบทที่4 ผลการดำเนินการ
บทที่4 ผลการดำเนินการBeeiiz Gubee
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องTheeraWat JanWan
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนyudohappyday
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานSattawat Backer
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานSiriporn Kusolpiamsuk
 
บทที่4 ผมการดำเนินงาน
บทที่4 ผมการดำเนินงานบทที่4 ผมการดำเนินงาน
บทที่4 ผมการดำเนินงานChamp Wachwittayakhang
 
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทซอฟต์แวร์ เรื่อง การศึกษาความนิยมผลิตภัณฑ์จากช...
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทซอฟต์แวร์ เรื่อง  การศึกษาความนิยมผลิตภัณฑ์จากช...รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทซอฟต์แวร์ เรื่อง  การศึกษาความนิยมผลิตภัณฑ์จากช...
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทซอฟต์แวร์ เรื่อง การศึกษาความนิยมผลิตภัณฑ์จากช...Kanyanat Kate
 
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีแผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีเทวัญ ภูพานทอง
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตSarocha Makranit
 
ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูป
ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูปข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูป
ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูปpeter dontoom
 
สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5
สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5
สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5WitthayaMihommi
 

What's hot (20)

ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 
คู่มือการอบรมครู การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน ด้วย MIT App Inventor
คู่มือการอบรมครู การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน ด้วย MIT App Inventorคู่มือการอบรมครู การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน ด้วย MIT App Inventor
คู่มือการอบรมครู การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน ด้วย MIT App Inventor
 
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4.ผลการดำเนินงานบทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
 
การพัฒนาทักษะการอ่านสะกดและการจดจำความหมายคำศัพท์คอมพิวเตอร์โดยใช้บัตร คำรูปภ...
การพัฒนาทักษะการอ่านสะกดและการจดจำความหมายคำศัพท์คอมพิวเตอร์โดยใช้บัตร คำรูปภ...การพัฒนาทักษะการอ่านสะกดและการจดจำความหมายคำศัพท์คอมพิวเตอร์โดยใช้บัตร คำรูปภ...
การพัฒนาทักษะการอ่านสะกดและการจดจำความหมายคำศัพท์คอมพิวเตอร์โดยใช้บัตร คำรูปภ...
 
บทที่4 ผลการดำเนินการ
บทที่4 ผลการดำเนินการบทที่4 ผลการดำเนินการ
บทที่4 ผลการดำเนินการ
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
บทที่4 ผมการดำเนินงาน
บทที่4 ผมการดำเนินงานบทที่4 ผมการดำเนินงาน
บทที่4 ผมการดำเนินงาน
 
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทซอฟต์แวร์ เรื่อง การศึกษาความนิยมผลิตภัณฑ์จากช...
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทซอฟต์แวร์ เรื่อง  การศึกษาความนิยมผลิตภัณฑ์จากช...รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทซอฟต์แวร์ เรื่อง  การศึกษาความนิยมผลิตภัณฑ์จากช...
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทซอฟต์แวร์ เรื่อง การศึกษาความนิยมผลิตภัณฑ์จากช...
 
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีแผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ต
 
ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูป
ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูปข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูป
ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูป
 
สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5
สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5
สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 

Similar to การพัฒนาแบบฝึกทักษะการปฏิบัติประกอบสื่อการสอนโปรแกรม App inventor เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 รายวิชา โปรแกรมสำเร็จรูปบนอุปกรณ์พกพา

การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายว...
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายว...การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายว...
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายว...Mjjeje Mint
 
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายว...
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายว...การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายว...
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายว...Mjjeje Mint
 
Utilization of Digital Camera Simulation Media
Utilization of Digital Camera Simulation MediaUtilization of Digital Camera Simulation Media
Utilization of Digital Camera Simulation MediaAM Publications
 
Effectiveness of advance organizer model based mobile application for B.Ed. s...
Effectiveness of advance organizer model based mobile application for B.Ed. s...Effectiveness of advance organizer model based mobile application for B.Ed. s...
Effectiveness of advance organizer model based mobile application for B.Ed. s...jagannath Dange
 
Uo W – 25th Annual Distance Learning Conference
Uo W – 25th Annual Distance Learning ConferenceUo W – 25th Annual Distance Learning Conference
Uo W – 25th Annual Distance Learning ConferenceGary Marrer
 
mRIDGE project - final presentation in evaluation of WP4 and WP5
mRIDGE project - final presentation in evaluation of WP4 and WP5mRIDGE project - final presentation in evaluation of WP4 and WP5
mRIDGE project - final presentation in evaluation of WP4 and WP5Manuel Castro
 
IRJET- Academic Performance Analysis System
IRJET- Academic Performance Analysis SystemIRJET- Academic Performance Analysis System
IRJET- Academic Performance Analysis SystemIRJET Journal
 
Penilaian kendiri-Tugasan 4
Penilaian kendiri-Tugasan 4Penilaian kendiri-Tugasan 4
Penilaian kendiri-Tugasan 4Azhar Yusoff
 
An Android Application Studhelper for Engineering Students
An Android Application Studhelper for Engineering StudentsAn Android Application Studhelper for Engineering Students
An Android Application Studhelper for Engineering StudentsIJCSIS Research Publications
 
Evaluating Mobile Learning
Evaluating Mobile LearningEvaluating Mobile Learning
Evaluating Mobile Learninggiasemi
 
Jisc learning analytics-studentapp-alt-c2015
Jisc learning analytics-studentapp-alt-c2015Jisc learning analytics-studentapp-alt-c2015
Jisc learning analytics-studentapp-alt-c2015Paul Bailey
 
DEVELOPING THE APPLICATION FOR LEARNING PLACE VALUE
DEVELOPING THE APPLICATION FOR LEARNING PLACE VALUE DEVELOPING THE APPLICATION FOR LEARNING PLACE VALUE
DEVELOPING THE APPLICATION FOR LEARNING PLACE VALUE ijma
 
Models of evaluation in educational technology
Models of evaluation in educational technologyModels of evaluation in educational technology
Models of evaluation in educational technologyu083486
 

Similar to การพัฒนาแบบฝึกทักษะการปฏิบัติประกอบสื่อการสอนโปรแกรม App inventor เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 รายวิชา โปรแกรมสำเร็จรูปบนอุปกรณ์พกพา (20)

การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายว...
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายว...การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายว...
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายว...
 
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายว...
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายว...การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายว...
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายว...
 
Utilization of Digital Camera Simulation Media
Utilization of Digital Camera Simulation MediaUtilization of Digital Camera Simulation Media
Utilization of Digital Camera Simulation Media
 
Effectiveness of advance organizer model based mobile application for B.Ed. s...
Effectiveness of advance organizer model based mobile application for B.Ed. s...Effectiveness of advance organizer model based mobile application for B.Ed. s...
Effectiveness of advance organizer model based mobile application for B.Ed. s...
 
PowerPoint-based quizzes in wave motion: Performance and experiences of students
PowerPoint-based quizzes in wave motion: Performance and experiences of studentsPowerPoint-based quizzes in wave motion: Performance and experiences of students
PowerPoint-based quizzes in wave motion: Performance and experiences of students
 
CATHERINENAVARRO_TTL2-1.pptx
CATHERINENAVARRO_TTL2-1.pptxCATHERINENAVARRO_TTL2-1.pptx
CATHERINENAVARRO_TTL2-1.pptx
 
TOOL PRESENTATION.pptx
TOOL PRESENTATION.pptxTOOL PRESENTATION.pptx
TOOL PRESENTATION.pptx
 
Uo W – 25th Annual Distance Learning Conference
Uo W – 25th Annual Distance Learning ConferenceUo W – 25th Annual Distance Learning Conference
Uo W – 25th Annual Distance Learning Conference
 
P T Module 4
P T  Module 4P T  Module 4
P T Module 4
 
mRIDGE project - final presentation in evaluation of WP4 and WP5
mRIDGE project - final presentation in evaluation of WP4 and WP5mRIDGE project - final presentation in evaluation of WP4 and WP5
mRIDGE project - final presentation in evaluation of WP4 and WP5
 
The effect of virtual reality laboratory on conceptual understanding in elect...
The effect of virtual reality laboratory on conceptual understanding in elect...The effect of virtual reality laboratory on conceptual understanding in elect...
The effect of virtual reality laboratory on conceptual understanding in elect...
 
IRJET- Academic Performance Analysis System
IRJET- Academic Performance Analysis SystemIRJET- Academic Performance Analysis System
IRJET- Academic Performance Analysis System
 
Recognition of an optimal study modality in a continuous education program in...
Recognition of an optimal study modality in a continuous education program in...Recognition of an optimal study modality in a continuous education program in...
Recognition of an optimal study modality in a continuous education program in...
 
Penilaian kendiri-Tugasan 4
Penilaian kendiri-Tugasan 4Penilaian kendiri-Tugasan 4
Penilaian kendiri-Tugasan 4
 
An Android Application Studhelper for Engineering Students
An Android Application Studhelper for Engineering StudentsAn Android Application Studhelper for Engineering Students
An Android Application Studhelper for Engineering Students
 
Evaluating Mobile Learning
Evaluating Mobile LearningEvaluating Mobile Learning
Evaluating Mobile Learning
 
Jisc learning analytics-studentapp-alt-c2015
Jisc learning analytics-studentapp-alt-c2015Jisc learning analytics-studentapp-alt-c2015
Jisc learning analytics-studentapp-alt-c2015
 
Unit 9-6503.pptx
Unit 9-6503.pptxUnit 9-6503.pptx
Unit 9-6503.pptx
 
DEVELOPING THE APPLICATION FOR LEARNING PLACE VALUE
DEVELOPING THE APPLICATION FOR LEARNING PLACE VALUE DEVELOPING THE APPLICATION FOR LEARNING PLACE VALUE
DEVELOPING THE APPLICATION FOR LEARNING PLACE VALUE
 
Models of evaluation in educational technology
Models of evaluation in educational technologyModels of evaluation in educational technology
Models of evaluation in educational technology
 

Recently uploaded

Alper Gobel In Media Res Media Component
Alper Gobel In Media Res Media ComponentAlper Gobel In Media Res Media Component
Alper Gobel In Media Res Media ComponentInMediaRes1
 
ECONOMIC CONTEXT - LONG FORM TV DRAMA - PPT
ECONOMIC CONTEXT - LONG FORM TV DRAMA - PPTECONOMIC CONTEXT - LONG FORM TV DRAMA - PPT
ECONOMIC CONTEXT - LONG FORM TV DRAMA - PPTiammrhaywood
 
History Class XII Ch. 3 Kinship, Caste and Class (1).pptx
History Class XII Ch. 3 Kinship, Caste and Class (1).pptxHistory Class XII Ch. 3 Kinship, Caste and Class (1).pptx
History Class XII Ch. 3 Kinship, Caste and Class (1).pptxsocialsciencegdgrohi
 
Enzyme, Pharmaceutical Aids, Miscellaneous Last Part of Chapter no 5th.pdf
Enzyme, Pharmaceutical Aids, Miscellaneous Last Part of Chapter no 5th.pdfEnzyme, Pharmaceutical Aids, Miscellaneous Last Part of Chapter no 5th.pdf
Enzyme, Pharmaceutical Aids, Miscellaneous Last Part of Chapter no 5th.pdfSumit Tiwari
 
“Oh GOSH! Reflecting on Hackteria's Collaborative Practices in a Global Do-It...
“Oh GOSH! Reflecting on Hackteria's Collaborative Practices in a Global Do-It...“Oh GOSH! Reflecting on Hackteria's Collaborative Practices in a Global Do-It...
“Oh GOSH! Reflecting on Hackteria's Collaborative Practices in a Global Do-It...Marc Dusseiller Dusjagr
 
KSHARA STURA .pptx---KSHARA KARMA THERAPY (CAUSTIC THERAPY)————IMP.OF KSHARA ...
KSHARA STURA .pptx---KSHARA KARMA THERAPY (CAUSTIC THERAPY)————IMP.OF KSHARA ...KSHARA STURA .pptx---KSHARA KARMA THERAPY (CAUSTIC THERAPY)————IMP.OF KSHARA ...
KSHARA STURA .pptx---KSHARA KARMA THERAPY (CAUSTIC THERAPY)————IMP.OF KSHARA ...M56BOOKSTORE PRODUCT/SERVICE
 
CARE OF CHILD IN INCUBATOR..........pptx
CARE OF CHILD IN INCUBATOR..........pptxCARE OF CHILD IN INCUBATOR..........pptx
CARE OF CHILD IN INCUBATOR..........pptxGaneshChakor2
 
Pharmacognosy Flower 3. Compositae 2023.pdf
Pharmacognosy Flower 3. Compositae 2023.pdfPharmacognosy Flower 3. Compositae 2023.pdf
Pharmacognosy Flower 3. Compositae 2023.pdfMahmoud M. Sallam
 
call girls in Kamla Market (DELHI) 🔝 >༒9953330565🔝 genuine Escort Service 🔝✔️✔️
call girls in Kamla Market (DELHI) 🔝 >༒9953330565🔝 genuine Escort Service 🔝✔️✔️call girls in Kamla Market (DELHI) 🔝 >༒9953330565🔝 genuine Escort Service 🔝✔️✔️
call girls in Kamla Market (DELHI) 🔝 >༒9953330565🔝 genuine Escort Service 🔝✔️✔️9953056974 Low Rate Call Girls In Saket, Delhi NCR
 
DATA STRUCTURE AND ALGORITHM for beginners
DATA STRUCTURE AND ALGORITHM for beginnersDATA STRUCTURE AND ALGORITHM for beginners
DATA STRUCTURE AND ALGORITHM for beginnersSabitha Banu
 
Incoming and Outgoing Shipments in 1 STEP Using Odoo 17
Incoming and Outgoing Shipments in 1 STEP Using Odoo 17Incoming and Outgoing Shipments in 1 STEP Using Odoo 17
Incoming and Outgoing Shipments in 1 STEP Using Odoo 17Celine George
 
How to Configure Email Server in Odoo 17
How to Configure Email Server in Odoo 17How to Configure Email Server in Odoo 17
How to Configure Email Server in Odoo 17Celine George
 
Earth Day Presentation wow hello nice great
Earth Day Presentation wow hello nice greatEarth Day Presentation wow hello nice great
Earth Day Presentation wow hello nice greatYousafMalik24
 
Introduction to ArtificiaI Intelligence in Higher Education
Introduction to ArtificiaI Intelligence in Higher EducationIntroduction to ArtificiaI Intelligence in Higher Education
Introduction to ArtificiaI Intelligence in Higher Educationpboyjonauth
 
Employee wellbeing at the workplace.pptx
Employee wellbeing at the workplace.pptxEmployee wellbeing at the workplace.pptx
Employee wellbeing at the workplace.pptxNirmalaLoungPoorunde1
 
Painted Grey Ware.pptx, PGW Culture of India
Painted Grey Ware.pptx, PGW Culture of IndiaPainted Grey Ware.pptx, PGW Culture of India
Painted Grey Ware.pptx, PGW Culture of IndiaVirag Sontakke
 

Recently uploaded (20)

Alper Gobel In Media Res Media Component
Alper Gobel In Media Res Media ComponentAlper Gobel In Media Res Media Component
Alper Gobel In Media Res Media Component
 
ECONOMIC CONTEXT - LONG FORM TV DRAMA - PPT
ECONOMIC CONTEXT - LONG FORM TV DRAMA - PPTECONOMIC CONTEXT - LONG FORM TV DRAMA - PPT
ECONOMIC CONTEXT - LONG FORM TV DRAMA - PPT
 
Model Call Girl in Bikash Puri Delhi reach out to us at 🔝9953056974🔝
Model Call Girl in Bikash Puri  Delhi reach out to us at 🔝9953056974🔝Model Call Girl in Bikash Puri  Delhi reach out to us at 🔝9953056974🔝
Model Call Girl in Bikash Puri Delhi reach out to us at 🔝9953056974🔝
 
9953330565 Low Rate Call Girls In Rohini Delhi NCR
9953330565 Low Rate Call Girls In Rohini  Delhi NCR9953330565 Low Rate Call Girls In Rohini  Delhi NCR
9953330565 Low Rate Call Girls In Rohini Delhi NCR
 
History Class XII Ch. 3 Kinship, Caste and Class (1).pptx
History Class XII Ch. 3 Kinship, Caste and Class (1).pptxHistory Class XII Ch. 3 Kinship, Caste and Class (1).pptx
History Class XII Ch. 3 Kinship, Caste and Class (1).pptx
 
Enzyme, Pharmaceutical Aids, Miscellaneous Last Part of Chapter no 5th.pdf
Enzyme, Pharmaceutical Aids, Miscellaneous Last Part of Chapter no 5th.pdfEnzyme, Pharmaceutical Aids, Miscellaneous Last Part of Chapter no 5th.pdf
Enzyme, Pharmaceutical Aids, Miscellaneous Last Part of Chapter no 5th.pdf
 
“Oh GOSH! Reflecting on Hackteria's Collaborative Practices in a Global Do-It...
“Oh GOSH! Reflecting on Hackteria's Collaborative Practices in a Global Do-It...“Oh GOSH! Reflecting on Hackteria's Collaborative Practices in a Global Do-It...
“Oh GOSH! Reflecting on Hackteria's Collaborative Practices in a Global Do-It...
 
KSHARA STURA .pptx---KSHARA KARMA THERAPY (CAUSTIC THERAPY)————IMP.OF KSHARA ...
KSHARA STURA .pptx---KSHARA KARMA THERAPY (CAUSTIC THERAPY)————IMP.OF KSHARA ...KSHARA STURA .pptx---KSHARA KARMA THERAPY (CAUSTIC THERAPY)————IMP.OF KSHARA ...
KSHARA STURA .pptx---KSHARA KARMA THERAPY (CAUSTIC THERAPY)————IMP.OF KSHARA ...
 
CARE OF CHILD IN INCUBATOR..........pptx
CARE OF CHILD IN INCUBATOR..........pptxCARE OF CHILD IN INCUBATOR..........pptx
CARE OF CHILD IN INCUBATOR..........pptx
 
ESSENTIAL of (CS/IT/IS) class 06 (database)
ESSENTIAL of (CS/IT/IS) class 06 (database)ESSENTIAL of (CS/IT/IS) class 06 (database)
ESSENTIAL of (CS/IT/IS) class 06 (database)
 
Pharmacognosy Flower 3. Compositae 2023.pdf
Pharmacognosy Flower 3. Compositae 2023.pdfPharmacognosy Flower 3. Compositae 2023.pdf
Pharmacognosy Flower 3. Compositae 2023.pdf
 
call girls in Kamla Market (DELHI) 🔝 >༒9953330565🔝 genuine Escort Service 🔝✔️✔️
call girls in Kamla Market (DELHI) 🔝 >༒9953330565🔝 genuine Escort Service 🔝✔️✔️call girls in Kamla Market (DELHI) 🔝 >༒9953330565🔝 genuine Escort Service 🔝✔️✔️
call girls in Kamla Market (DELHI) 🔝 >༒9953330565🔝 genuine Escort Service 🔝✔️✔️
 
DATA STRUCTURE AND ALGORITHM for beginners
DATA STRUCTURE AND ALGORITHM for beginnersDATA STRUCTURE AND ALGORITHM for beginners
DATA STRUCTURE AND ALGORITHM for beginners
 
Incoming and Outgoing Shipments in 1 STEP Using Odoo 17
Incoming and Outgoing Shipments in 1 STEP Using Odoo 17Incoming and Outgoing Shipments in 1 STEP Using Odoo 17
Incoming and Outgoing Shipments in 1 STEP Using Odoo 17
 
How to Configure Email Server in Odoo 17
How to Configure Email Server in Odoo 17How to Configure Email Server in Odoo 17
How to Configure Email Server in Odoo 17
 
Earth Day Presentation wow hello nice great
Earth Day Presentation wow hello nice greatEarth Day Presentation wow hello nice great
Earth Day Presentation wow hello nice great
 
Introduction to ArtificiaI Intelligence in Higher Education
Introduction to ArtificiaI Intelligence in Higher EducationIntroduction to ArtificiaI Intelligence in Higher Education
Introduction to ArtificiaI Intelligence in Higher Education
 
Employee wellbeing at the workplace.pptx
Employee wellbeing at the workplace.pptxEmployee wellbeing at the workplace.pptx
Employee wellbeing at the workplace.pptx
 
TataKelola dan KamSiber Kecerdasan Buatan v022.pdf
TataKelola dan KamSiber Kecerdasan Buatan v022.pdfTataKelola dan KamSiber Kecerdasan Buatan v022.pdf
TataKelola dan KamSiber Kecerdasan Buatan v022.pdf
 
Painted Grey Ware.pptx, PGW Culture of India
Painted Grey Ware.pptx, PGW Culture of IndiaPainted Grey Ware.pptx, PGW Culture of India
Painted Grey Ware.pptx, PGW Culture of India
 

การพัฒนาแบบฝึกทักษะการปฏิบัติประกอบสื่อการสอนโปรแกรม App inventor เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 รายวิชา โปรแกรมสำเร็จรูปบนอุปกรณ์พกพา

  • 1. รายงานวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การพัฒนาแบบฝึกทักษะการปฏิบัติประกอบสื่อการสอนโปรแกรม App inventor เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 รายวิชา โปรแกรมสาเร็จรูปบนอุปกรณ์พกพา โดย นางสาวศรารัตน์ วรรณแจ่ม ตาแหน่ง ครูค.ศ. 1 วิทยาลัยสารพัดช่างนครราชสีมา สังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. ห น้ า | ก บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษา ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักเรียนในรายวิชาโปรแกรมสาเร็จรูปบนอุปกรณ์พกพาหลังการใช้สื่อการ สอน App inventor 2 เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักเรียนก่อน-หลังการใช้สื่อการ สอน App inventor 2 ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยสารพัดช่าง นครราชสีมา ผลของการวิจัยการเรียนการสอนใช้การสอนการสอนด้วยแบบฝึกการปฏิบัติประกอบการใช้สื่อ การสอนโปรแกรม App inventor เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ระดับชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 รายวิชา โปรแกรมสาเร็จรูปบนอุปกรณ์พกพา วิทยาลัยสารพัดช่าง นครราชสีมา ผลของการหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุ่มตัวอย่าง ได้จากคะแนนก่อนเรียนและหลัง เรียน พบว่า ค่า t-Stat (15.00) มากกว่าค่า t-Critical One-tail (1.94) นั่นคือ คะแนนหลังเรียนสูง กว่าคะแนนก่อนเรียน ถ้าจะพิจารณาจากค่า P พบว่า ค่า P(T<=t) one-tail มีค่า 0.00 ซึ่งน้อยกว่า ค่าระดับความเชื่อมั่นที่ตั้งไว้คือ 0.05 หรือพูดได้ว่า p < 0.05 ดังนั้น คะแนนหลังเรียนสูงกว่าคะแนน ก่อนเรียนและ ผลการวิเคราะห์ระดับความพึงพอใจเกี่ยวกับการเรียนการสอนด้วยแบบฝึกการปฏิบัติ ประกอบการใช้สื่อการสอนโปรแกรม App inventor โดยกลุ่มตัวอย่าง มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 3.94 ระดับความพึงพอใจมากที่สุดได้แก่ ความถูกต้องของเนื้อหา มีค่าเฉลี่ย 4.43 ,ระดับ ความพึงพอใจรอง ลงมาคือ ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ง่าย และสามารถจดจาได้นาน ,มีความถูก ต้อง และสอดคล้องกับเนื้อหาวิชา และความเหมาะสมของระยะเวลาที่ใช้ มีค่าเฉลี่ย 4.14 และระดับ ความพึงพอใจน้อยที่สุด คือช่วยให้ผู้เรียนได้ข้อสรุปที่ถูกต้อง ,กระตุ้นให้เกิดกระบวนการคิด ค่าเฉลี่ย 3.57กิจกรรมการเรียนการสอนชุดแบบฝึกหัดเสริมทักษะ ที่สร้างขึ้นก่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจมาก ขึ้น ซึ่งแสดงว่ากลุ่มตัวอย่างเกิดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจริง ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ คาสาคัญ : โปรแกรมสาเร็จรูปบนอุปกรณ์พกพา/ App inventor / แบบฝึกการปฏิบัติ
  • 3. ห น้ า | ข กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยฉบับนี้สาเร็จลุล่วงด้วยดี เนื่องด้วยความกรุณา และการให้การสนับสนุนเกี่ยวกับ งานวิจัยอย่างดียิ่งจากฝ่ายงานวิจัยและพัฒนา วิทยาลัยสารพัดช่างนครราชสีมา ทั้งหลักการทฤษฎี แนวคิด และให้คาปรึกษา รวมทั้งข้อปฏิบัติต่างๆ สาหรับการดาเนินการวิจัย ตลอดจนแก้ไขข้อบกพร่อง ต่าง จนงานวิจัยเสร็จสมบูรณ์และถูกต้องที่สุด อันเป็นประโยชน์ต่องานวิจัย ผู้วิจัยขอขอบพระคุณเป็น อย่างสูง ขอขอบพระคุณอาจารย์สุทัศน์ สังข์สนิท หัวหน้าแผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยสารพัดช่าง นครราชสีมา ที่ให้คาปรึกษา แนวทางและคาแนะนาต่างๆ ช่วยเหลือในการตรวจสอบความสมบูรณ์และ ความถูกต้อง เพื่อให้งานวิจัยมีคุณภาพมากขึ้น และสุดท้ายนี้ผู้วิจัย ขอขอบพระคุณบิดา มารดา ที่ให้การ อุปการะส่งเสริมสนับสนุน จนทาให้งานวิจัยเล่มนี้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี ผู้วิจัยขอขอบพระคุณทุกท่านมา ณ โอกาสนี้ นางสาวศรารัตน์ วรรณแจ่ม ผู้วิจัย
  • 4. ห น้ า | ค สารบัญ เรื่อง หน้า บทคัดย่อ ______________________________________________________________ ก กิตติกรรมประกาศ________________________________________________________ ข สารบัญ _______________________________________________________________ ค สารบัญตาราง __________________________________________________________ จ บทที่ 1 บทนา __________________________________________________________ 1 ๑.๑ ความสาคัญและความเป็นมาของปัญหา _______________________________________1 ๑.๒ วัตถุประสงค์ของการวิจัย__________________________________________________2 1.เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักเรียนในรายวิชาโปรแกรมสาเร็จรูปบนอุปกรณ์พกพาหลัง การใช้สื่อการสอน APP INVENTOR _______________________________________________2 2.เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาในการเรียนที่มีต่อสื่อการสอนโปรแกรม APP INVENTOR ___2 ๑.๓ คาถามเกี่ยวกับงานวิจัย___________________________________________________2 ๑.๔ สมมุติฐานของการวิจัย ___________________________________________________2 ๑.๕ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัยครั้งนี้____________________________________2 ๑.๖ กรอบแนวคิดในการวิจัย __________________________________________________2 ๑.๗ ขอบเขตของการวิจัย_____________________________________________________2 ๑.๘ นิยามศัพท์เฉพาะ _______________________________________________________3 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ________________________________________ 3 2.๑ แบบฝึกเสริมทักษะ ______________________________________________________4 2.2 สื่อการเรียนการสอนโปรแกรม APP INVENTOR ___________________________________6 2.๓ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน___________________________________________________9 2.4 ความพึงพอใจต่อการเรียนการสอน_________________________________________ 11 ๒.๕ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ____________________________________________________ 12 บทที่ 3 วิธีการดาเนินงานวิจัย ______________________________________________13 3.1 ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง_______________________________________ 13 3.2 การกาหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ______________________________________ 13 3.3 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ________________________________________________ 13 3.4 การดาเนินการทดลองและเก็บรวมรวมข้อมูล _________________________________ 16 บทที่ 4 ผลการดาเนินงานวิจัย______________________________________________19
  • 5. ห น้ า | ง ๔.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุ่มตัวอย่าง ที่ได้จากการเรียนการสอนด้วยแบบฝึกการปฏิบัติ ประกอบการใช้สื่อการสอนโปรแกรม APP INVENTOR ________________________________ 19 ๔.๓ ผลจากการประเมินความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างที่มีต่อการเรียนการสอนด้วยแบบฝึกการ ปฏิบัติประกอบการใช้สื่อการสอนโปรแกรม APP INVENTOR ___________________________ 20 บทที่ 5 สรุปและอภิปรายผล _______________________________________________22 5.1 สรุปผลการวิจัย_______________________________________________________ 22 5.3 ข้อเสนอแนะ_________________________________________________________ 23 บรรณานุกรม __________________________________________________________24 ภาคผนวก ____________________________________________________________25 ภาพการจัดกิจกรรม_______________________________________________________ 26 ประวัติย่อผู้วิจัย ________________________________________________________29
  • 6. ห น้ า | จ สารบัญตาราง เรื่อง หน้า ตารางที่ 1 แสดงการทดลองใช้แบบแผนการทดลอง กลุ่มทดสอบกลุ่มเดียวที่มีการทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียน (One-Group Pretest-Posttest Design) ______________________________ 16 ตารางที่ 2 แสดงเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูง ปีที่ 2 จากการปฏิบัติประกอบการใช้สื่อการสอนโปรแกรม App inventor_____________ 19 ตารางที่ 3 แสดงประสิทธิภาพทางด้านการเรียนของกลุ่มตัวอย่าง________________________ 20 ตารางที่ 4 แสดงระดับค่าเฉลี่ย ( 𝑥) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ความพึงพอใจต่อการเรียนการ สอนด้วยแบบฝึกการปฏิบัติประกอบการใช้สื่อการสอนโปรแกรม App inventor _____________ 20
  • 7. ห น้ า | ฉ ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาแบบฝึกทักษะการปฏิบัติประกอบการใช้สื่อการสอนโปรแกรม App inventor เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ระดับชั้นประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 รายวิชาโปรแกรมสาเร็จรูปบนอุปกรณ์พกพา แผนกคอมพิวเตอร์ ธุรกิจ วิทยาลัยสารพัดช่างนครราชสีมา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 ผู้วิจัย นางสาวศรารัตน์ วรรณแจ่ม ตาแหน่ง ครูค.ศ. 1 วุฒิการศึกษา ปริญญาตรี (ครุศาสตร์อุสาหกรรมบัณฑิต สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า เอกวิศวกรรม คอมพิวเตอร์) สถานที่ติดต่อ วิทยาลัยสารพัดช่างนครราชสีมา ระยะเวลาในการดาเนินการวิจัย วันที่เริ่มโครงการ 15 พฤษภาคม 2563 วันที่คาดว่าโครงการจะเสร็จสิ้น 30 ตุลาคม 2563 ลักษณะผลงาน วิจัยการเรียนการสอน
  • 8. ห น้ า | 1 บทที่ 1 บทนา ๑.๑ ความสาคัญและความเป็นมาของปัญหา หากจะกล่าวถึงการพัฒนาการศึกษาในยุคปัจจุบัน ผู้สอนต้องคานึงถึงการใช้เครื่องมือเพื่อสร้าง การเรียนรู้และเปลี่ยนแปลงในกิจกรรมการเรียนการสอน เนื่องจากการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เป็นการ กาหนดแนวทางยุทธศาสตร์ในการจัดการเรียนรู้ โดยร่วมกันสร้างรูปแบบและแนวปฏิบัติในการ เสริมสร้างประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยเน้นที่องค์ความรู้ ทักษะ ความ เชี่ยวชาญและสมรรถนะที่เกิดกับตัวผู้เรียน เพื่อใช้ในการดารงชีวิตในสังคมแห่งความเปลี่ยนแปลงใน ปัจจุบัน โดยจะอ้างถึงรูปแบบ (Model) ที่พัฒนามาจากเครือข่ายองค์กรความร่วมมือเพื่อทักษะแห่งการ เรียนรู้ในศตวรรษ ที่ 21 (Partnership For 21st Century Skills) ที่มีชื่อย่อว่า เครือข่าย P21 ซึ่งได้ พัฒนากรอบแนวคิดเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยผสมผสานองค์ความรู้ ทักษะเฉพาะด้าน ความ ชานาญการและความรู้เท่าทันด้านต่างๆ เข้าด้วยกัน เพื่อความสาเร็จของผู้เรียนทั้งด้านการทางานและ การดาเนินชีวิต1 ในการเรียนการสอนโปรแกรมสาเร็จรูปบนอุปกรณ์พกพานั้น เป็นการศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ หลักการเทคโนโลยีพกพาฮารดแวรและซอฟตแวรของอุปกรณพกพา (Mobile Devices) ลักษณะเฉพาะ ทางของโปรแกรมประยุกตบนอุปกรณพกพา (Mobile Applications) การใชโปรแกรมประยุกต ประเภทตางๆ และเนื่องจากความแตกต่างของพื้นฐานในการเขียนโปรแกรมของนักศึกษา ดังนั้นการที่ จะให้นักศึกษาสามารถปฏิบัติเพื่อพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนอุปกรณ์พกพานั้น จึงต้องใช้สื่อการสอน โปรแกรมApp inventor มาช่วยเพื่อทาให้ง่ายต่อความเข้าใจและปฏิบัติเองได้จริง ดังนั้นผู้วิจัย จึงได้หาวิธีการแก้ไขปัญหาโดยสนใจที่จะใช้แบบฝึกทักษะการปฏิบัติประกอบการ เรียนผ่านเว็บไซต์ www. appinventor.mit.edu/ เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้กับนักเรียน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นชั้นสูงปีที่ 2 โดยได้ใช้แบบฝึกการปฏิบัติจากตัวอย่างของโปรแกรม App inventor และแบบฝึกปฏิบัติที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเพิ่มเติม ทาให้นักศึกษาสามารถเข้าใจหลักการในการ พัฒนาแอปพลิเคชั่นและสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในอนาคต รวมถึงผู้สอนมีวิธีการสอนที่หลากหลายและ มีประสิทธิภาพเพื่อนาไปใช้ในอนาคตต่อไป 1 การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก สานักงานศึกษาธิการจังหวัดสระแก้ว: www.sk1edu.go.th/dta/8939 การศึกษาใน ทศวรรษที่ 2021.docx
  • 9. ห น้ า | 2 ๑.๒ วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1.เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักเรียนในรายวิชาโปรแกรมสาเร็จรูปบนอุปกรณ์พกพา หลังการใช้สื่อการสอน App inventor 2.เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาในการเรียนที่มีต่อสื่อการสอนโปรแกรม App inventor ๑.๓ คาถามเกี่ยวกับงานวิจัย การพัฒนาแบบฝึกปฏิบัติการประกอบสื่อการเรียนการสอนโปรแกรม App inventor มีผลต่อ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอย่างไร ๑.๔ สมมุติฐานของการวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับความรู้ของนักศึกษาเมื่อใช้แบบฝึกปฏิบัติการประกอบโปรแกรม App inventor หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน ๑.๕ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัยครั้งนี้ 1. ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในรายวิชาโปรแกรมสาเร็จรูปบนอุปกรณ์พกพา โดยใช้แบบ ฝึกทักษะการปฏิบัติประกอบการใช้สื่อการสอนโปรแกรม App inventor ผ่านเกณฑ์ที่กาหนด 2. ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนการเรียน ในรายวิชา โปรแกรมสาเร็จรูปบนอุปกรณ์พกพา 3. ครูผู้สอนได้แนวทางการพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอน ที่ผ่านการวิจัยทดลองใช้แล้วเป็น แนวทางในการพัฒนาการการสอนต่อไป ๑.๖ กรอบแนวคิดในการวิจัย รูปที่ 1 แสดงกรอบแนวคิดในการวิจัย ๑.๗ ขอบเขตของการวิจัย - ขอบเขตด้านเนื้อหา การใช้แบบฝึกปฏิบัติ จานวน 8 แบบ ฝึกโดยใช้ App inventor ดังนี้ • 1. ApplicationPaintpot • 2. ApplicationBallBounce • 3.ApplicationDigitalDoodle • 4.ApplicationTalkToMe • 5.ApplicationMusic player • 6.ApplicationVideoplayer • 7.ApplicationCalculateBMI • 8.ApplicationTipCalculator ตัวแปรต้น • 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนจากการใช้สื่อการ สอน App inventor • 2. ระดับความพึงพอใจ ของนักเรียนที่มีต่อการ ใช้สื่อการสอน App inventor ตัวแปร ตาม
  • 10. ห น้ า | 3 - ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง เป็นนักเรียนระดับชั้นคธส.2 สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ จานวน 7 คน - ตัวแปรที่ใช้ศึกษา ตัวแปรต้น ได้แก่ นักศึกษาที่ทาแบบฝึกปฏิบัติ จานวน 8 แบบฝึกโดยใช้โปรแกรม App inventor ตัวแปรตาม ได้แก่ - ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักศึกษา - ผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการใช้สื่อการ สอนโปรแกรม App inventor ๑.๘ นิยามศัพท์เฉพาะ 1. สภาพการจัดการเรียนการสอน หมายถึง รูปแบบการฝึกทักษะโดยใช้การฝึกจากการลงมือ มีปฏิบัติตามขั้นตอนการฝึกในใบกิจกรรมหรือแบบฝึก เพื่อฝึกฝนให้ผู้เรียนเกิดทักษะตามจุดประสงค์ของ แบบฝึกทักษะนั้น ๆ ที่ต้องการจะมุ่งเน้น โดยอาศัยรูปแบบการฝึกที่หลากหลายให้ผู้เรียนได้พัฒนา กระบวนการคิดการฝึกฝนจากการลงมือปฏิบัติอย่างต่อเนื่องจนเกิดความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาอย่าง ชัดเจน ซึ่งแบบฝึกทักษะส่วนใหญ่จะสร้างขึ้นประกอบการฝึกทักษะต่าง ๆ เช่น ทักษะการปฏิบัติกลุ่ม ร่วมมือ 2. การพัฒนา หมายถึง กระบวนการของการเปลี่ยนแปลงที่มีการวางแผนไว้แล้ว คือการทาให้ ลักษณะเดิมเปลี่ยนไปโดยมุ่งหมายว่า ลักษณะใหม่ที่เข้ามาแทนที่นั้นจะดีกว่าลักษณะเก่า สภาพเก่า แต่ โดยธรรมชาติแล้วการเปลี่ยนแปลงย่อมเกิดปัญหาในตัวมันเอง เพียงแต่ว่าจะมีปัญหามาก หรือปัญหา น้อย “การทาสิ่งๆ หนึ่งให้ดีขึ้นในหลายด้านจนถึงทุกด้าน” 3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ความสามารถจากการทาแบบฝึกปฏิบัติ จานวน 8 แบบ ฝึกโดยใช้โปรแกรม App inventor ที่วัดได้จากการทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนและหลังเรียน ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเป็นแบบปฏิบัติ จานวน 3 ข้อ ซึ่งคานวณจากสูตรการทดสอบการหาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียน t – test แบบ Dependent โดยมีนัยสาคัญที่ 0.05 4. ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกที่ดีของผู้เรียนที่มีต่อการใช้โปรแกรม App inventor เกี่ยวกับ ความถูกต้องของเนื้อหา รวมทั้คุณค่าและประโยชน์ที่ได้รับ ซึ่งได้มาจากผู้เรียนตอบ แบบสอบถาม ความพึงพอใจ ซึ่งค่าที่ยอมรับได้คือ 3.5 ขึ้นไป บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
  • 11. ห น้ า | 4 งานวิจัยการพัฒนาแบบฝึกปฏิบัติการประกอบการใช้สื่อการสอนโปรแกรม App inventor เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 รายวิชา โปรแกรมสาเร็จรูปบนอุปกรณ์พกพา ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้ 2.1 แบบฝึกเสริมทักษะ 2.2.1 ความหมายของแบบฝึกทักษะ 2.2.2 ความสาคัญของแบบฝึก 2.2.3 ประโยชน์ของแบบฝึก 2.2 สื่อการเรียนการสอนโปรแกรม App inventor 2.2.1 ทาความรู้จักกับสื่อการสอนโปรแกรม App inventor 2.2.2 ขั้นตอนการใช้งานสื่อการสอนโปรแกรม App inventor 2.๓ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ๒.๓.๑ ความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ๒.๓.๓ เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2.4 ความพึงพอใจต่อการเรียนการสอน 2.๔.1 ความหมายของความพึงพอใจ 2.๔.2 บรรยากาศในการเรียนการสอนกับความพึงพอใจ 2.5 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2.๑ แบบฝึกเสริมทักษะ 2.2.1 ความหมายของแบบฝึกทักษะ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน 2525 ได้ให้ความหมายของแบบฝึกไว้ว่า “แบบฝึก หมายถึง แบบตัวอย่าง ปัญหา หรือ คาสั่งที่ตั้งขึ้นเพื่อให้นักเรียนฝึกตอบ” ส่วน ชัยยงค์ พรหมวงศ์ กล่าวถึงความหมายของแบบฝึกสรุปได้ว่า แบบฝึกหมายถึง สิ่งที่นักเรียนต้องใช้ควบคู่กับการเรียน มี ลักษณะเป็นแบบฝึกหัดที่ครอบคลุมกิจกรรมที่นักเรียนพึงกระทาจะแยกกันเป็นหน่วยหรือจะรวมเล่มก็ ได้ แบบฝึกทางภาษาหมายถึง สิ่งที่สร้างขึ้นเสริมสร้างความเข้าใจทางภาษาตามแนวหลักสูตรของ กระทรวงศึกษาธิการ และเสริมเพิ่มเติมเนื้อหาบางส่วนที่ช่วยให้นักเรียนนาความรู้ไปใช้ได้อย่างถูกต้อง จากความหมายของแบบฝึกดังกล่าว สรุปได้ว่า แบบฝึก หมายถึง สิ่งที่สร้างขึ้นเพื่อเสริมสร้าง ทักษะให้แก่นักเรียน มีลักษณะเป็นแบบฝึกหัดให้นักเรียนได้กระทากิจกรรมโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนา ความสามารถของนักเรียนให้ดีขึ้น (“การสร้างแบบฝึก ::::::กระทรวงศึกษาธิการ”:;, ม.ป.ป.) 2.2.2 ความสาคัญของแบบฝึกทักษะ เชาวนี เกิดเพทางค์ (2524 : 23) ได้กล่าวถึงความสาคัญของแบบฝึกไว้ว่า “แบบฝึกเป็น เครื่องมือที่ช่วยให้เกิดการเรียนรู้ ทาให้นักเรียนเกิดความสนใจ และช่วยให้ครูทราบผลการเรียนของ นักเรียนอย่างใกล้ชิด” ส่วน ได้กล่าวถึงความสาคัญของแบบฝึกสรุปได้ว่า แบบฝึกเป็นเครื่องมือที่ช่วย ให้เกิดการเรียนรู้ที่เกิดจากการกระทาจริง เป็นประสบการณ์ตรงที่ผู้เรียนมีจุดมุ่งหมายที่แน่นอน ทา
  • 12. ห น้ า | 5 ให้นักเรียนเห็นคุณค่าของสิ่งที่เรียน สามารถเรียนรู้ และจดจาสิ่งที่เรียนได้ดีและนาไปใช้ใน สถานการณ์เช่นเดียวกันได้ แบบฝึกเป็นส่วนเพิ่มหรือเสริมจากหนังสือเรียนในการเรียนทักษะ เป็นอุปกรณ์การสอนที่ช่วย ลดภาระของครูได้มาก เพราะแบบฝึกเป็นสิ่งที่ทาขึ้นอย่างเป็นระเบียบ ระบบ ช่วยให้นักเรียนฝึกทักษะ การใช้ภาษาดีขึ้น และช่วยเสริมทักษะทางภาษาให้คงทน นอกจากนี้แบบฝึกยังใช้เป็นเครื่องมือ วัดผลการเรียนหลังจากบทเรียนในแต่ละครั้ง แบบฝึกเป็นสื่อการเรียนชนิดหนึ่งที่ทาขึ้นอย่างเป็นระบบ สามารถพัฒนาการเรียนของ นักเรียนได้ เป็นประโยชน์ต่อการจัดการเรียนการสอน คือ เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้เกิดการเรียนรู้ เป็นเครื่องมือวัดผลและประเมินผลการเรียน ช่วยให้ครูทราบความก้าวหน้าหรือข้อบกพร่องของ นักเรียน และช่วยให้นักเรียนประสบผลสาเร็จในการเรียน 2.2.3 ประโยชน์ของแบบฝึก 1. ใช้เสริมหนังสือแบบเรียนในการเรียนทักษะ 2. เป็นสื่อการสอนที่ช่วยแบ่งเบาภาระของครู 3. เป็นเครื่องมือที่ช่วยฝึกฝนและส่งเสริมทักษะการใช้ภาษาให้ดีขึ้น แต่จะต้องได้รับการ ดูแลและเอาใจใส่จากครูด้วย 4. แบบฝึกที่สร้างขึ้นโดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลจะเป็นการช่วยให้เด็ก ประสบความสาเร็จ ตามระดับความสามารถของเด็ก 5. จะช่วยเสริมทักษะให้คงอยู่ได้นาน 6. เป็นเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังจบบทเรียนแต่ละครั้ง 7. แบบฝึกที่จัดทาเป็นรูปเล่มจะอานวยความสะดวกแก่นักเรียนในการเก็บรักษาไว้เพื่อ ทบทวนด้วยตนเองได้ 8. ช่วยให้ครูมองเห็นปัญหาและข้อบกพร่องในการสอน ตลอดจนทราบปัญหาและ ข้อบกพร่องและจุดอ่อนของนักเรียน ช่วยให้ครูสามารถแก้ปัญหาได้ทันท่วงที 9. ช่วยให้เด็กมีโอกาสฝึกทักษะได้อย่างเต็มที่ 10. แบบฝึกทักษะที่จัดพิมพ์ไว้เรียบร้อยแล้วจะช่วยครูประหยัดเวลา และแรงงานใน การสอนการเตรียมการสอน การสร้างแบบฝึกทักษะ และช่วยให้นักเรียนประหยัดเวลาในการ ลอกโจทย์แบบฝึกหัด จากความสาคัญของแบบฝึกดังกล่าว สรุปได้ว่า แบบฝึกนอกจากจะช่วยให้นักเรียนได้มี โอกาสฝึกฝนทักษะ และทบทวนได้ด้วยตนเองแล้ว ยังช่วยให้ครูมองเห็นปัญหาและข้อบกพร่องใน การสอน ทราบปัญหา และข้อบกพร่อง จุดอ่อนของนักเรียน เพื่อครูจะได้แก้ไขได้ทันท่วงที นอกจากนี้ยังช่วยประหยัดเวลา แรงงาน ในการเตรียมการสอนของครู ตลอดจนช่วยประหยัดเวลา ในการลอกโจทย์แบบฝึกหัดของนักเรียนด้วย
  • 13. ห น้ า | 6 2.2.4 ลักษณะของแบบฝึกที่ดี ลักษณะของแบบฝึกที่ดีนั้นต้องใช้ภาษาให้เหมาะสมกับนักเรียนตลอดจนคานึงถึงจิตวิทยา เกี่ยวกับสิ่งเร้าและการตอบสนองพัฒนาการของเด็ก และลาดับขั้นของการเรียน นอกจากนั้นจะต้อง พิจารณาให้เหมาะสมกับวัย และความสามารถของเด็กซึ่งแบบฝึกจะประกอบด้วยคาชี้แจงและ ตัวอย่างสั้น ๆ ที่จะทาให้เด็กเข้าใจง่าย ใช้เวลาเหมาะสมและมีลักษณะที่เกี่ยวข้องกับบทเรียนที่เรียนไป แล้ว นอกจากนี้แบบฝึกควรมีหลายแบบเพื่อสร้างความสนใจและท้าทายให้แสดงความสามารถ 2.2 สื่อการเรียนการสอนโปรแกรม App inventor 2.2.1 ทาความรู้จักกับสื่อการเรียนการสอนโปรแกรม App inventor Google ร่วมมือกับ MIT พัฒนาโปรแกรม App inventor สาหรับเขียนโปรแกรมบน โทรศัพท์มือถือ Android เพื่อส่งเสริมการใช้งานมือถือ Android ให้มากยิ่งขึ้น ต่อมา Google ถอนตัว ออกมา ให้ MIT พัฒนาต่อเอง ในนาม MIT App inventor MIT App inventor ใช้หลักการเขียนโปรแกรมด้วยการต่อบล็อกคาสั่ง เน้นการออกแบบเพื่อ แก้ปัญหา (problem solving) ด้วยการสร้างโปรแกรมที่ผู้เรียนสนใจ บนโทรศัพท์มือถือ การเขียนโปรแกรมบนมือถือ Android ด้วย MIT App inventor ในภาพรวมแสดงได้ตามรูปที่ 2 นี้ รูปที่ 2 ภาพรวมการเขียนโปรแกรมบนมือถือ Android ด้วย MIT App inventor App Inventor servers เป็นเครื่องที่ให้บริการและเก็บงานโปรเจกต่างๆ ที่ผู้ใช้สร้างขึ้นมา ผู้ใช้ พัฒนาโปรแกรมมือถือ Android โดยสร้างโปรเจกและเขียนโปรแกรมบนเว็บเบราว์เซอร์ ที่เชื่อมต่อไป
  • 14. ห น้ า | 7 ยัง App Inventor servers เมื่อได้โปรแกรมมา ก็สามารถทดสอบกับโปรแกรมมือถือจาลอง (Android emulator) หรือโทรศัพท์มือถือ Android จริงๆ ก็ได้ 2.2.1 ขั้นตอนการใช้งานสื่อการเรียนการสอนโปรแกรม App Inventor ขั้นตอนการสร้างโปรแกรม เริ่มจากออกแบบหน้าตาโปรแกรมบนมือถือ ด้วยโปรแกรม App Inventor Designer ซึ่งใช้สาหรับสร้างส่วนโปรแกรมต่างๆ (components) เพื่อใช้งานในโปรแกรมมือ ถือที่จะสร้างขึ้น จากนั้นเขียนโปรแกรมให้แต่ละส่วนโปรแกรม ด้วยโปรแกรม App Inventor Blocks Editor ซึ่งใช้วิธีการต่อบล็อกคาสั่ง เพื่อให้ส่วนโปรแกรมนั้นๆ ทาหน้าที่ของมัน ตามที่ออกแบบเอาไว้ระหว่าง เขียนโปรแกรม อาจมีการแก้ไข เพิ่มเติม หรือลบบางส่วนโปรแกรมออกไป ทาให้ต้องแก้ไขโปรแกรม (debug) จนกว่าจะได้โปรแกรมตามที่ออกแบบไว้ เมื่อทุกส่วนโปรแกรมถูกสร้างเสร็จแล้ว ก็ได้เวลา ทดสอบการใช้งาน โดยการติดตั้งโปรแกรมลงไปบนมือถือ Android แล้วทดสอบการใช้งานผ่านมือถือ จริงๆ แต่ถ้าไม่มีมือถือ ก็ยังสามารถทดสอบได้ ผ่านโปรแกรมมือถือจาลอง (Android emulator) ใน คอมพิวเตอร์แทน เริ่มต้นเขียนโปรแกรมบนมือถือ Android ด้วย App Inventor การเขียนโปรแกรมบนมือถือ Android โดยภาพรวม จะต้องออกแบบหน้าตาโปรแกรมบน คอมพิวเตอร์ก่อน ด้วยโปรแกรม Designer เมื่อได้หน้าตาโปรแกรมมาแล้ว ก็ต้องเขียนโค้ดหรือเขียน โปรแกรมให้แต่ละส่วนโปรแกรมที่ออกแบบไว้ ด้วยโปรแกรม Blocks Editor จากนั้นก็ต้องทดสอบดูว่าโปรแกรมทางานได้จริง หรือถูกต้องหรือเปล่า ด้วยการส่งโปรแกรมไป ยังมือถือจริงๆ หรือโปรแกรมมือถือจาลอง เพื่อทดสอบการทางาน ถ้าโปรแกรมยังทางานไม่ถูกต้อง จะต้องกลับไปแก้ไขโปรแกรมบนคอมพิวเตอร์อีกครั้ง อาจจะต้องแก้ไขในส่วนการออกแบบ หรือส่วน การเขียนโค้ด หรือทั้งคู่เลยก็เป็นได้ การเข้าใช้งานครั้งแรก 1. เข้าเว็บ http://appinventor.mit.edu 2. คลิกที่ปุ่ม Create รูปที่ 3 การเข้าใช้งานครั้งแรก
  • 15. ห น้ า | 8 3. จะปรากฏให้ใส่รหัสผ่านโดยใช้ E-mail ของ google รูปที่ 4 การใส่รหัสผ่านโดยใช้ E-mail ของ google 4. หน้าจอให้ยืนยัน ให้เลือก Allow รูปที่ 5 หน้าจอให้ยืนยัน
  • 16. ห น้ า | 9 5. จะเข้าหน้าให้สร้างโปรเจค รูปที่ 6 หน้าจอสร้างโปรเจค 2.๓ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ๒.๓.๑ ความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ไพศาล หวังพานิช ( 2545 : 89 ) ที่ให้ความหมายผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนว่าหมายถึง คุณลักษณะและความสามารถของบุคคลอันเกิดจากการเรียนการสอนเป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม และประสบการณ์การเรียนที่เกิดขึ้นจากการฝึกอบรมหรือการสอบ จึงเป็นการตรวจสอบระดับ ความสามารถของบุคคลว่าเรียนแล้วมีความรู้เท่าใด สามารถวัดได้โดยการใช้แบบทดสอบต่าง ๆ เช่น ใช้ ข้อสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ข้อสอบ วัดภาคปฏิบัติ เป็นต้น บุญชม ศรีสะอาด (2545 : 52) ได้ให้ความหมายของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ว่า หมายถึง แบบทดสอบที่ใช้ความรู้ ความสามารถของบุคคลในด้านวิชาการซึ่งเป็นผลจากการเรียนรู้ในเนื้อหาสาระ และตามจุดประสงค์ของวิชาหรือเนื้อหาที่สอบนั้น ๒.๓.2 หลักเกณฑ์ในการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วัญญา วิศาลาภรณ์ ( 2540 : 16 ) กล่าวถึงหลักเกณฑ์ไว้สอดคล้องกัน ดังนี้ 1. เนื้อหาหรือทักษะที่ครอบคลุมในแบบทดสอบนั้น จะต้องเป็นพฤติกรรมที่สามารถวัด ผลสัมฤทธิ์ได้ 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ใช้แบบทดสอบวัดนั้น ถ้านาไปเปรียบเทียบกันจะต้องให้ทุกคนมี โอกาสเรียนรู้ในสิ่งต่าง ๆ เหล่านั้นได้ครอบคลุมและเท่าเทียมกัน
  • 17. ห น้ า | 10 3. วัดให้ตรงกับจุดประสงค์ การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ควรจะวัดตาม วัตถุประสงค์ทุกอย่างของการสอน และจะต้องมั่นใจว่าได้วัดสิ่งที่ต้องการจะวัดได้จริง 4. การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เป็นการวัดความเจริญงอกงามของนักเรียนการเปลี่ยนแปลง และความก้าวหน้าไปสู่วัตถุประสงค์ที่วางไว้ ดังนั้น ครูควรจะทราบว่าก่อนเรียนนักเรียนมีความรู้ ความสามารถอย่างไร เมื่อเรียนเสร็จแล้วมีความรู้แตกต่างจากเดิมหรือไม่โดยการทดสอบก่อนเรียนและ ทดสอบหลังเรียน 5. การวัดผลเป็นการวัดผลทางอ้อม เป็นการยากที่จะใช้ข้อสอบแบบเขียนตอบ วัดพฤติกรรม ตรง ๆ ของบุคคลได้ สิ่งที่วัดได้ คือ การตอบสนองต่อข้อสอบ ดังนั้น การเปลี่ยนวัตถุประสงค์ให้เป็น พฤติกรรมที่จะสอบ จะต้องทาอย่างรอบคอบและถูกต้อง 6. การวัดการเรียนรู้ เป็นการยากที่จะวัดทุกสิ่งทุกอย่างที่สอนได้ภายในเวลาจากัด สิ่งที่วัดได้ เป็นเพียงตัวแทนของพฤติกรรมทั้งหมดเท่านั้น ดังนั้น ต้องมั่นใจว่าสิ่งที่วัดนั้นเป็นตัวแทนแท้จริงได้ 7. การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นเครื่องช่วยพัฒนาการสอนของครู และเป็นเครื่องช่วยใน การเรียนของเด็ก 8. ในการศึกษาที่สมบูรณ์นั้น สิ่งสาคัญไม่ได้อยู่ที่การทดสอบแต่เพียงอย่างเดียวการทบทวน การสอนของครูก็เป็นสิ่งสาคัญยิ่ง 9. การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ควรจะเน้นในการวัดความสามารถในการใช้ความรู้ให้เป็น ประโยชน์ หรือการนาความรู้ไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ ๆ 10. ควรใช้คาถามให้สอดคล้องกับเนื้อหาวิชาและวัตถุประสงค์ที่วัด 11. ให้ข้อสอบมีความเหมาะสมกับนักเรียนในด้านต่าง ๆ เช่น ความยากง่าย พอเหมาะมีเวลา พอสาหรับนักเรียนในการทาข้อสอบ สรุปได้ว่า ในการสร้างแบบทดสอบให้มีคุณภาพ วิธีการสร้างแบบทดสอบที่เป็นคาถาม เพื่อวัด เนื้อหาและพฤติกรรมที่สอนไปแล้วต้องตั้งคาถามที่สามารถวัดพฤติกรรมการเรียนการสอนได้อย่าง ครอบคลุมและตรงตามจุดประสงค์การเรียนรู้ ๒.๓.๓ เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ล้วน สายยศ และ อังคณา สายยศ (2540 : 125-126) ได้แบ่งแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ได้ เป็น 2 พวก คือ 1. แบบทดสอบของครู หมายถึง ชุดคาถามที่ครูเป็นผู้สร้างขึ้น ซึ่งเป็นข้อคาถามเกี่ยวกับความรู้ ที่นักเรียนได้เรียนในห้องเรียนว่า นักเรียนมีความรู้มากแค่ไหน บกพร่องที่ตรงไหน จะได้สอนซ่อมเสริม หรือเป็นการวัดดูความพร้อมที่จะเรียนบทเรียนใหม่ ซึ่งขึ้นอยู่กับความต้องการของครู 2. แบบทดสอบมาตรฐาน แบบทดสอบประเภทนี้สร้างขึ้นจากผู้เชี่ยวชาญในแต่ละสาขาวิชา หรือจากครูที่สอนวิชานั้น แต่ผ่านการทดลองคุณภาพหลายครั้ง จนกระทั้งคุณภาพดีพอจึงสร้างเกณฑ์ ปกติของแบบทดสอบนั้น สามารถใช้เป็นหลักเปรียบเทียบผลเพื่อประเมินค่าของการเรียนการสอนใน เรื่องใด ๆ ก็ได้ แบบทดสอบมาตรฐานจะมีคู่มือดาเนินการสอบ บอกวิธีสอบและยังมีมาตรฐานในด้าน การแปลคะแนนด้วย
  • 18. ห น้ า | 11 ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้สร้างชุดการสอนแบบบรรยายประกอบการสาธิต เรื่องการปรับแต่ง รูปภาพเบื้องต้น ในรายวิชา โปรแกรมกราฟิก ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปีที่ ๑ กลุ่ม ๑ ซึ่ง ประกอบด้วยคู่มือครู (ประกอบด้วยคาแนะนาในการใช้ชุดฝึกการสอน แผนการจัดการเรียนรู้ ใบ เนื้อหา แบบฝึกหัดท้ายบทเรียน เฉลยแบบฝึกหัด แบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน ใบเฉลย แบบฝึกหัด แบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน) คู่มือนักเรียน(เอกสารประกอบการเรียน ประกอบด้วย เนื้อหา แบบฝึกหัดการปฏิบัติ ประกอบการเรียน) 2.4 ความพึงพอใจต่อการเรียนการสอน 2.๔.1 ความหมายของความพึงพอใจ การจัดการเรียนการสอนให้ประสบความสาเร็จนอกจากจะวัดลักษณะด้านพุทธิพิสัยของ นักเรียนแล้วผู้สอนจะต้องคานึงถึงผลทางด้านจิตพิสัยซึ่งเป็นความพึงพอใจของนักเรียนด้วยเพราะถ้า ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนแล้วย่อมส่งผลถึงประสิทธิภาพในการเรียนการสอนด้วยซึ่ง จากการศึกษาเกี่ยวกับความพึงพอใจนักการศึกษาหลายท่านได้ให้ความหมายของความพึงพอใจไว้ได้ ดังนี้ [วอลเลอร์สเตน (Wallerstein, 1971: 112)] ให้ความหมายของความพึงพอใจไว้ว่า “ความ พึงพอใจหมายถึงความรู้สึกที่เกิดขึ้นเมื่อได้รับผลสาเร็จตามความมุ่งหมาย” [กู๊ด (Good, 1973: 518)] ให้ความหมายของความพึงพอใจไว้ว่า “ความพึงพอใจหมายถึงคุณภาพสภาพหรือระดับความพึงพอใจ ซึ่งเป็นผลจากความสนใจต่างๆและทัศนคติของบุคคลที่มีต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง” [โวแมน (Wolman, 1973 : 217)]ให้ความหมายของความพึงพอใจไว้ว่า “ความพึงพอใจ หมายถึงความรู้สึกเมื่อได้รับผลสาเร็จตามความมุ่งหมายความต้องการหรือแรงจูงใจ” จากความหมาย ของความพึงพอใจข้างต้นสรุปได้ว่าความพึงพอใจหมายถึงความรู้สึกของบุคคลต่อผลของสิ่งเร้าต่างๆที่ บุคคลใดบุคคลหนึ่งได้รับและอาจจะมีความรู้สึกหรือทัศนคติในทางที่ดีหรือไม่ดีก็ได้ดังนั้นความพึงพอใจ ต่อการเรียนการสอนจึงหมายถึงความรู้สึกของนักเรียนที่มีต่อรูปแบบและกิจกรรมการเรียนการสอนใน ด้านต่างๆเช่นบรรยากาศการเรียนการสอนลักษณะของกิจกรรมวิธีการประเมินผลเป็นต้น 2.๔.2 บรรยากาศในการเรียนการสอนกับความพึงพอใจ การสร้างบรรยากาศในการเรียนการสอนมีอิทธิพลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนซึ่งบรรยากาศที่ดี อาจส่งเสริมให้ผู้เรียนมีสุขภาพจิตที่ดีมีความพึงพอใจและตั้งใจที่จะเรียนบรรยากาศในการเรียนการสอน โดยเน้นชั้นเรียนเป็นตัวแปรที่สาคัญที่ช่วยส่งเสริมสนับสนุนให้การเรียนดีขึ้น [พิมพันธ์เดชะคุปต์ (2544 : 257)]ได้ให้ความหมายความสาคัญของบรรยากาศในการเรียน การสอนไว้ 2 ประเภทคือ 1. บรรยากาศทางกายภาพคือการสร้างบรรยากาศสิ่งแวดล้อมที่ดีในห้องเรียนมีผลต่อการเรียน การสอนและต่อเจตคติที่ดีของผู้เรียนซึ่งลักษณะของห้องเรียนที่มีบรรยากาศทางกายภาพเหมาะสมควร มีรูปแบบคือมีสีสันน่าดูและเหมาะสมสบายตาอากาศถ่ายเทได้ดีปราศจากเสียงรบกวนและมีขนาดกว้าง เพียงพอกับจานวนนักเรียน
  • 19. ห น้ า | 12 2. บรรยากาศทางจิตใจคือการเรียนการสอนจะดาเนินอย่างมีชีวิตชีวาและราบรื่นนั้นผู้เรียนกับ ผู้เรียนและผู้สอนกับผู้เรียนต้องมีความสัมพันธ์และร่วมมือกันอย่างไม่มีความหวาดระแวงกันสิ่งดังกล่าว ครูผู้สอนต้องมีวิธีการเสริมแรงอย่างเช่นการเสริมแรงทางด้านภาษาและท่าทางคือการกล่าวชมดีดีมาก น่าสนใจถูกต้องควรปรับปรุงการตั้งใจฟังการปรบมือการใช้สายตาแสดงความสนใจความพึงพอใจและอีก อย่างหนึ่งคือการเสริมแรงด้วยการให้รางวัลและสัญลักษณ์ต่างๆคือการให้วัตถุสิ่งของการนาผลงานมา แสดงยกย่องและการใช้เครื่องหมายดีเด่น ดังนั้นผู้สอนจะต้องจัดหาสิ่งจูงใจต่างๆเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้เรียนให้ได้รับความพึง พอใจเช่นวิธีการจัดการเรียนการสอนที่จะส่งผลให้บรรยากาศการเรียนการสอนไม่น่าเบื่อหน่ายเป็นต้น จะเห็นได้ว่าในการจัดการเรียนการสอนที่จะทาให้ผู้เรียนเกิดความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนจนทาให้ ประสิทธิภาพในการเรียนสูงขึ้นผู้สอนจะต้องคานึงถึงความต้องการของผู้เรียนด้านความรู้สึกทัศนคติที่ เป็นเรื่องของจิตใจควบคู่ไปด้วยในการวัดความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนสามารถวัดได้หลายวิธีเช่น การสังเกตการสัมภาษณ์การใช้แบบสอบถามเป็นต้นสาหรับการวิจัยในครั้งนี้ผู้วิจัยใช้แบบสอบถามใน การวัดความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนโดยการใช้บทเรียนออนไลน์ ๒.๕ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง มิสนรีลักษณ์ ปัทมะทัตต์ (............) ได้ทาการศึกษา เรื่องการใช้สื่อการสอน Kahoot เพื่อเพิ่ม ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 4 รายวิชา Fundamental English แผนก วิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ภาคเรียนที่ 1/2559 โดยวิธีการใช้สื่อการสอน Kahoot ผลการดาเนินการวิจัย ครั้งนี้พบว่า ว่าการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนด้วยการใช้สื่อการสอน Kahoot ของนักเรียน มี เฉลี่ยเท่ากับ 17.50 ของคะแนนเต็ม 20คะแนน มีผลคะแนนที่เพิ่มขึ้น 5 คะแนน มีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนอยู่ในระดับมาก ความพึงพอใจในการใช้สื่อการสอน Kahoot ของนักเรียน มีค่าเฉลี่ยในระดับมาก (X= 4.28) และค่า SD เท่ากับ 0.54 ซึ่งถือว่านักเรียนมี ความพึงพอใจมาก นักเรียนส่วนใหญ่ให้ความ สนใจในกิจกรรม มากกว่าการเรียนการสอนในรูป แบบเดิมและการใช้เทคนิคใหม่ ๆ หรือกระบวนการ ใหม่ที่จะฝึกประสบกรการณ์การเรียนให้ผู้เรียน จะทาให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีขึ้น การใช้ เทคนิค หรือวิธีการสอนแนวใหม่ถือเป็นกิจกรรมการเรียนการสอนแบบหนึ่งที่สามารถช่วยพัฒนาการ เรียน การสอนเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้นักเรียนนอกจากนี้ยังช่วยสร้างให้นักเรียน เพิ่ม กระบวนการเรียนรู้ มีมนุษยสัมพันธ์และการกล้าแสดงออกมายิ่งขึ้น รวมทั้งการเอื้ออาทร และการ อยู่ ร่วมกับสังคมอย่างมีความสุข
  • 20. ห น้ า | 13 บทที่ 3 วิธีการดาเนินงานวิจัย งานวิจัยการใช้สื่อการสอนโปรแกรม App inventor เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของ นักเรียน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 รายวิชา โปรแกรมสาเร็จรูปบนอุปกรณ์พกพา ผู้วิจัยได้ดาเนินตามขั้นตอนดังนี้ 3.1 ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 3.2 กาหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 3.3 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 3.4 การดาเนินการทดลองและเก็บรวมรวมข้อมูล 3.5 การวิเคราะห์และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 3.1 ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 1.1 ศึกษาข้อมูลหนังสือเอกสารวารสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับทฤษฏีความพึงพอใจ และการสร้างบรรยากาศในการเรียนการสอนให้ผู้เรียนเกิดความพึงพอใจ 1.2 ศึกษาหลักสูตรวิชา โปรแกรมสาเร็จรูปบนอุปกรณ์พกพา ของนักเรียนระดับชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 และหนังสือคู่มือประกอบการเรียนเรื่อง โปรแกรมสาเร็จรูปบน อุปกรณ์พกพา 1.3 ศึกษาข้อมูลหนังสือ, เว็บไซต์ เกี่ยวกับทฤษฎีการเรียนการสอนแบบวิธีการสร้างแบบฝึก ทักษะการปฏิบัติ และเว็บไซต์ App inventor 1.4 ศึกษาหลักการและวิธีการสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนโดย วิธีการใช้แบบฝึกทักษะการปฏิบัติ และเว็บไซต์ App inventor 3.2 การกาหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ นักเรียนแผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยสารพัดช่าง นครราชสีมา กลุ่มตัวอย่าง ผู้วิจัยได้เลือกแบบเจาะจงโดยเลือกนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยสารพัดช่างนครราชสีมา ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา 2558 จานวน 7 คน 3.3 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นการพัฒนาแบบฝึกปฏิบัติการประกอบสื่อการสอนโปรแกรม App inventor เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปี ที่ 2 รายวิชา โปรแกรมสาเร็จรูปบนอุปกรณ์พกพา แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยสารพัดช่าง นครราชสีมา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 ซึ่งมีขั้นตอนในการสร้างดังนี้
  • 21. ห น้ า | 14 3.3.1 การสร้างแบบฝึกทักษะการปฏิบัติ มีจานวน 8 แบบฝึก ซึ่งผู้วิจัยได้ ดาเนินตามขั้นตอนดังนี้ ขั้นที่ 1 ศึกษาหลักสูตร คาอธิบายรายวิชา โปรแกรมสาเร็จรูปบนอุปกรณ์พกพา เพื่อกาหนด จุดประสงค์การเรียนรู้และขอบข่ายเนื้อหา ขั้นที่ ๒ สร้างแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรม คือวิธีการใช้แบบฝึกทักษะการปฏิบัติ ขั้นที่ ๓ นาแบบฝึกทักษะการปฏิบัติ ที่สร้างเสร็จแล้วไปนาเสนอต่อผู้เชี่ยวชาญ 2 ท่าน เพื่อ ตรวจสอบความถูกต้องของเนื้อหาและกิจกรรม ขั้นที่ ๔ เมื่อปรับแก้ไขแบบฝึกทักษะการปฏิบัติ ตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญเรียบร้อยแล้ว จึงนาไปใช้งานจริงนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที 2 วิทยาลัยสารพัดช่างนครราชสีมา ภาคเรียน ที่ 1 ปีการศึกษา 2560 ขั้นที่ ๕ ดาเนินการสร้างนวัตกรรม ๕.๑ สร้างแบบฝึกทดสอบ มีจานวน 8 แบบฝึก ประกอบด้วย 1. ApplicationPaintpot 2. ApplicationBallBounce 3.ApplicationDigitalDoodle 4.ApplicationTalkToMe 5.ApplicationMusic player 6.ApplicationVideoplayer 7.ApplicationCalculateBMI 8.ApplicationTipCalculator รูปที่ 7 ตัวอย่างหน้าต่างแบบฝึกการปฏิบัติ
  • 22. ห น้ า | 15 ขั้นที่ ๖ นาไปทดลองใช้กับผู้เรียน ๖.๑ ทดสอบด้วยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ก่อนเรียน (Pretest) กับ นักศึกษากลุ่มตัวอย่าง ตรวจแบบทดสอบและบันทึกคะแนนเป็นรายบุคคล จากเครื่องมือของสื่อการ เรียน App inventor ๖.๒ ผู้วิจัยดาเนินการสอนก่อนการใช้นวัตกรรม ให้นักเรียนกลุ่มตัวอย่างทา แบบทดสอบก่อนเรียน ก่อนจากนั้นจึงเรียนด้วยแบบฝึกทักษะการปฏิบัติ ๖.๓ เมื่อเรียนด้วยแบบฝึกทักษะการปฏิบัติเรียนเสร็จ ผู้วิจัยให้กลุ่มตัวอย่าง ทา แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้หลังเรียน (Posttest) ตรวจแบบทดสอบและบันทึกคะแนนเป็น รายบุคคลด้วยเครื่องมือของสื่อ App inventor ขั้นที่ ๗ ผู้วิจัยให้ผู้เรียนทาาแบบประเมินถามความพึงพอใจที่มีต่อแบบฝึกประกอบสื่อการสอน โปรแกรม App inventor ขั้นที่ 8 ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งหมดไปวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิต 3.3.2 แบบทดสอบสาหรับหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เป็นแบบทดสอบ เพื่อหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสาหรับกลุ่มตัวอย่างจากแบบฝึกทักษะการ ปฏิบัติ โดยใช้เทคนิคทางการศึกษาคือ - แบบทดสอบก่อนเรียน เป็นข้อสอบแบบปฏิบัติ จานวน 2 ข้อ - แบบทดสอบหลังเรียน เป็นข้อสอบแบบปฏิบัติ จานวน 2 ข้อ ๓.๓.๓ สร้างแบบวัดความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนด้วยการพัฒนาแบบฝึกปฏิบัติการประกอบ สื่อการสอนโปรแกรม App inventor ลักษณะของแบบวัดเป็นแบบมาตราส่วนประเมินค่า 5 ระดับจานวน 1๕ ใช้แบบมาตราส่วน ประมาณค่า (Rating scale) โดยกาหนดค่าของคาตอบเป็น 5 ระดับ [Likert Scale] คือ เกณฑ์การให้คะแนน ถ้าเลือกตอบพึงพอใจระดับมากที่สุด ให้ 5 คะแนน พึงพอใจระดับมาก ให้ 4 คะแนน พึงพอใจระดับปานกลาง ให้ 3 คะแนน พึงพอใจระดับน้อย ให้ 2 คะแนน พึงพอใจระดับน้อยที่สุด ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การประเมินผล ค่าเฉลี่ย 4.51 – 5.00 หมายความว่า มีพึงพอใจระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 3.51 – 4.50 หมายความว่า มีพึงพอใจระดับมาก ค่าเฉลี่ย 2.51 – 3.50 หมายความว่า มีพึงพอใจระดับปานกลาง
  • 23. ห น้ า | 16 ค่าเฉลี่ย 1.51 – 2.50 หมายความว่า มีพึงพอใจระดับน้อย ค่าเฉลี่ย 1.00 – 1.50 หมายความว่า มีพึงพอใจระดับน้อยที่สุด 3.4 การดาเนินการทดลองและเก็บรวมรวมข้อมูล การวิจัยการพัฒนาแบบฝึกปฏิบัติการประกอบสื่อการสอนโปรแกรม App inventor เพื่อเพิ่ม ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 รายวิชา โปรแกรม สาเร็จรูปบนอุปกรณ์พกพา แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยสารพัดช่างนครราชสีมา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 ครั้งนี้ผู้วิจัยดาเนินการทดสองกับกลุ่มตัวอย่าง การทดลองใช้แบบแผนการ ทดลองกลุ่มเดียวที่มีการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน (One-Group Pretest-Posttest Design) โดยให้มีการทดสอบก่อนเรียน (Pretest) จากนั้นให้ผู้เรียนเรียนด้วยแบบฝึกปฏิบัติ และทาการทดสอบ หลังเรียน (Posttest) ซึ่งมีขั้นตอนในการด าเนินการวิจัยดังนี้ 3.4.1แบบแผนการทดลอง การทดลองใช้แบบแผนการทดลอง กลุ่มทดสอบกลุ่มเดียวที่มีการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน (One-Group Pretest-Posttest Design) ตารางที่ 1 แสดงการทดลองใช้แบบแผนการทดลอง กลุ่มทดสอบกลุ่มเดียวที่มีการทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียน (One-Group Pretest-Posttest Design) สอบก่อนเรียน การจัดการกระทา สอบหลังเรียน T1 X T2 ความหมายของสัญลักษณ์ X แทน การจัดการกระทา (Treatment) เป็นช่วงการเรียนจากแบบฝึกปฏิบัติการประกอบสื่อ การสอนโปรแกรม App inventor T1 แทน การทดสอบก่อนเรียน (Pretest) T2 แทน การทดสอบหลังเรียน (Posttest) โดยใช้แบบทดสอบปฏิบัติจานวน 2 ข้อ วิธีการดาเนินการวิจัยมีราละเอียด ดังนี้ 1. ทดสอบก่อนเรียน (Pretest) เมื่อกลุ่มตัวอย่างผ่านการแนะนาแบบฝึกปฏิบัติแล้วผู้วิจัยจะให้ กลุ่มตัวอย่างทุกคนทาแบบทดสอบก่อนเรียน (Pretest) เพื่อให้ทราบว่ากลุ่มตัวอย่างก่อนเรียน มีความสามารถอยู่ในระดับใดและทาการเก็บผลคะแนนจากการทดสอบจากกลุ่มตัวอย่างไว้ 2. การจัดการกระทา (Treatment)ให้กลุ่มตัวอย่างทุกคนศึกษาแบบฝึกปฏิบัติการประกอบสื่อ การสอนโปรแกรม App inventor
  • 24. ห น้ า | 17 3. ทดสอบหลังเรียน (Posttest) หลังจากที่กลุ่มตัวอย่างได้ศึกษาแบบฝึกปฏิบัติการประกอบสื่อ การสอนโปรแกรม App inventor เรียบร้อยแล้ว ผู้วิจัยจะให้กลุ่มตัวอย่างทุกคนทา แบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) โดยใช้แบบฝึกปฏิบัติ เพื่อให้ทราบว่ากลุ่มตัวอย่างเกิดความรู้ หลังจากเรียนผ่านแบบฝึกปฏิบัติการประกอบสื่อการสอนโปรแกรม App inventor เพิ่มขึ้นใน ระดับใดและทาการเก็บผลคะแนนจากการทดสอบจากกลุ่มตัวอย่างไว้ 4. การประเมินความพึงพอใจ หลังจากที่กลุ่มตัวอย่างได้ทาแบทดสอบหลังเรียน ผู้วิจัยให้กลุ่ม ตัวอย่างที่ศึกษาผ่านแบบฝึกปฏิบัติการประกอบสื่อการสอนโปรแกรม App inventor ทาแบบ ประเมินความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่าง ๓.๕ การวิเคราะห์และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล หลังจากทาการเรียนการสอนการพัฒนาแบบฝึกปฏิบัติการประกอบสื่อการสอนโปรแกรม App inventor เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 รายวิชา โปรแกรมสาเร็จรูปบนอุปกรณ์พกพา ได้นาผลโดยกลุ่มตัวอย่างมาวิเคราะห์ตามหลักสถิติ ดังนี้ ๓.๕.๑ หาค่าประสิทธิภาพแบบทดสอบให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ โดยใช้ร้อยละ ๓.๕.๒ การวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ของกลุ่มตัวอย่างที่ทาแบบทดสอบ ในระดับการให้คะแนนการวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ของกลุ่มตัวอย่างก่อนเรียนที่เรียนด้วยแบบฝึก ปฏิบัติงานและหลังเรียนที่เรียนด้วยแบบฝึกปฏิบัติงาน โดยวิเคราะห์ค่านัยสาคัญไว้ที่ระดับ 0.05 ซึ่งให้ เปรียบเทียบค่าที่เปิดตารางค่าวิกฤติที่ t=1.725 ถ้าหากค่าt ที่หาได้นั้นมากกว่า t ที่กาหนดไว้สรุปได้ว่า กลุ่มตัวอย่างเกิดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ๓.๖ สถิติที่ใช้ในการวิจัย ๓.๖.1 วิธีการการวิเคราะห์ผลจากแบบประเมินความพึงพอใจ - วิธีการวิเคราะห์ผลโดยการคานวณหาค่าเฉลี่ยแบบแจกแจงความถี่ ของกลุ่ม ตัวอย่างตามหลักสถิติ ซึ่งอาศัยสูตรคานวณดังนี้ สูตร 𝒙 ̅ = ∑ 𝒇𝒙 ∑ 𝐟 เมื่อ 𝒙 ̅ = ค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง 𝒇 = ค่าความถี่ของแต่ละคะแนน 𝑥 = คะแนนที่ได้ของแต่ละกลุ่มตัวอย่าง - วิธีการการวิเคราะห์ผลโดยการคานวณหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของกลุ่มตัวอย่าง สูตร 𝒔 = √∑ 𝒇(𝒙−𝒙) ̅̅̅𝟐 𝒏 𝒊=𝒍 𝒏 เมื่อ 𝒔= ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ∑𝒏 𝒊=𝒍 = ผลรวมของข้อมูลตั้งแต่ 1 ถึง n
  • 25. ห น้ า | 18 𝑥̅ = คะแนนที่ได้ของแต่ละกลุ่มของกลุ่มตัวอย่าง 𝑓 = ความถี่ของคะแนน 𝑛 = จานวนผู้ทาแบบประเมิน 3.6.2 การหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุ่มตัวอย่าง สูตร t –test แบบ Dependent นาผลต่างระหว่างการทดสอบหลังเรียนและก่อนเนียนไปเปรียบเทียบกับตาราง นัยสาคัญที่ระดับ 0.05 ด้วยการคานวณจากสูตรดังนี้ สูตร 𝑡 = ∑ 𝐷 √𝑛 ∑ 𝐷2−(∑ 𝐷) 2 𝑛−1 df(V) = N-1 เมื่อ T = ทดสอบความแตกต่างของข้อมูลก่อนเรียนและหลังเรียน D = ความแตกต่างของคะแนนแต่ละคู่ N = จานวนผู้เรียน
  • 26. ห น้ า | 19 บทที่ 4 ผลการดาเนินงานวิจัย งานวิจัยครั้งนี้ เป็นการพัฒนาแบบฝึกปฏิบัติการประกอบการใช้สื่อการสอนโปรแกรม App inventor เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 รายวิชา โปรแกรมสาเร็จรูปบนอุปกรณ์พกพา เมื่อทาการทดลองเสร็จกระบวนการแล้วได้ผลดังต่อไปนี้ ๔.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุ่มตัวอย่าง ที่ได้จากการเรียนการสอนด้วยแบบฝึกการ ปฏิบัติประกอบการใช้สื่อการสอนโปรแกรม App inventor ๔.๒ ผลการประเมินความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างที่มีการเรียนการสอนด้วยแบบฝึกการ ปฏิบัติประกอบการใช้สื่อการสอนโปรแกรม App inventor ๔.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุ่มตัวอย่าง ที่ได้จากการเรียนการสอนด้วยแบบฝึก การปฏิบัติประกอบการใช้สื่อการสอนโปรแกรม App inventor จากการให้กลุ่มตัวอย่างทากิจกรรมจากการเรียนการสอน โดยใช้การจัดการการเรียนรู้แบบฝึก การปฏิบัติประกอบการใช้สื่อการสอนโปรแกรม App inventor เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของ นักเรียน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 รายวิชา โปรแกรมสาเร็จรูปบนอุปกรณ์พกพา ผู้วิจัยได้นาคะแนนที่ได้จาการทาแบบทดสอบการปฏิบัติก่อนเรียน (Post-test) กับผลที่ได้จากการทา แบบทดสอบหลังเรียน (Pre-test) จานวน 2 ข้อ มีผลการวิเคราะห์ดังตารางที่ 2 ตารางที่ 2 แสดงเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูง ปีที่ 2 จากการปฏิบัติประกอบการใช้สื่อการสอนโปรแกรม App inventor คนที่ คะแนนก่อนเรียน (10คะแนน) คะแนนหลังเรียน (10คะแนน) 1 5 7 2 7 9 3 6 8 4 5 8 5 6 8 6 6 8 7 7 9