SlideShare a Scribd company logo
1 of 72
Download to read offline
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
เรื่อง การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op)
ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม (Query)
ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3
โดย
นางสาวศรารัตน์ วรรณแจ่ม
ตาแนน่ง ครูค.ศ.1
ประจาภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561
วิทยาลัยสารพัดช่างนครราชสีมา
สังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
ห น้ า | ก
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อหาศึกษา
ระดับความรู้ของนักเรียน ก่อนเรียนหลังเรียนในการจัดการเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค
กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูลเรื่อง การสร้าง
แบบสอบถามสาหรับนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 และเพื่อหาความพึงพอใจ ใน
การจัดการเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา
โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การสร้างแบบสอบถามเครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย 1) แผนการ
จัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องการสร้างแบบสอบถาม 2) แบบทดสอบหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลัง
เรียน 3) แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้เรียน โดยใช้กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนระดับประกาศนียบัตร
วิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 ปีการศึกษา 2/2561 สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยสารพัดช่างนครราชสีมา
จานวน 13 คน ผลการวิจัย พบว่า กิจกรรมการเรียนการสอนที่สร้างขึ้น นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียน ค่าเฉลี่ยของคะแนนก่อนเรียน (𝑥̅ = 3.5, S.D. = 1.8) และค่าเฉลี่ยของคะแนนหลังเรียน (𝑥̅ =
9.0, S.D. = 0.67) และผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนโดยการทดสอบ
ค่า t – test พบว่าได้ ค่า t เท่ากับ 9.15 ซึ่งมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ .05 แสดง
ว่าผู้เรียน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงขึ้นและความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างที่มีต่อจัดการ
เรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.80
อยู่ในระดับมากที่สุด สรุปได้ว่าการจัดการเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co –
op Co - op) สามารถที่จะนาไปใช้ในการเรียนการสอนต่อไปได้
คาสาคัญ : การจัดการเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม / เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op)
ห น้ า | ข
กิตติกรรมประกาศ
งานวิจัยฉบับนี้สาเร็จลุล่วงด้วยดี เนื่องด้วยความกรุณา และการให้การสนับสนุนเกี่ยวกับ
งานวิจัยอย่างดียิ่งจากฝ่ายงานวิจัยและพัฒนา วิทยาลัยสารพัดช่างนครราชสีมา ทั้งหลักการทฤษฎี
แนวคิด และให้คาปรึกษา รวมทั้งข้อปฏิบัติต่างๆ สาหรับการดาเนินการวิจัย ตลอดจนแก้ไขข้อบกพร่อง
ต่าง จนงานวิจัยเสร็จสมบูรณ์และถูกต้องที่สุด อันเป็นประโยชน์ต่องานวิจัย ผู้วิจัยขอขอบพระคุณเป็น
อย่างสูง
ขอขอบพระคุณอาจารย์สุทัศน์ สังข์สนิท หัวหน้าแผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยสารพัดช่าง
นครราชสีมา ที่ให้คาปรึกษา แนวทางและคาแนะนาต่างๆ ช่วยเหลือในการตรวจสอบความสมบูรณ์และ
ความถูกต้อง เพื่อให้งานวิจัยมีคุณภาพมากขึ้น และสุดท้ายนี้ผู้วิจัย ขอขอบพระคุณบิดา มารดา ที่ให้การ
อุปการะส่งเสริมสนับสนุน จนทาให้งานวิจัยเล่มนี้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี ผู้วิจัยขอขอบพระคุณทุกท่านมา
ณ โอกาสนี้
นางสาวศรารัตน์ วรรณแจ่ม
ผู้วิจัย
ห น้ า | ค
สารบัญ
เรื่อง นน้า
บทคัดย่อ ______________________________________________________________ ก
กิตติกรรมประกาศ________________________________________________________ ข
สารบัญ _______________________________________________________________ ค
สารบัญตาราง __________________________________________________________ จ
บทที่ 1 บทนา __________________________________________________________ 8
๑.๑ ความสาคัญและความเป็นมาของปัญหา _______________________________________8
๑.๒ วัตถุประสงค์ของการวิจัย__________________________________________________8
๑.๓ คาถามเกี่ยวกับงานวิจัย___________________________________________________9
๑.๔ สมมุติฐานของการวิจัย ___________________________________________________9
๑.๕ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัยครั้งนี้____________________________________9
๑.๖ กรอบแนวคิดในการวิจัย __________________________________________________9
๑.๗ ขอบเขตของการวิจัย_____________________________________________________9
๑.๘ นิยามศัพท์เฉพาะ _____________________________________________________ 10
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง _______________________________________11
2.๑ การเรียนแบบร่วมมือ___________________________________________________ 11
๒.๒ การเรียนการสอนตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (CONSTRUCTIONISM) _______ 29
2.๓. ความพึงพอใจต่อการเรียนการสอน ________________________________________ 30
บทที่ 3 วิธีการดาเนินงานวิจัย ______________________________________________32
3.1 ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง_______________________________________ 32
3.2 การกาหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ______________________________________ 32
3.3 การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย__________________________________________ 32
3.4 การดาเนินการทดลองและเก็บรวมรวมข้อมูล _________________________________ 34
3.5 การวิเคราะห์และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล _______________________________ 35
บทที่ 4 ผลการดาเนินงานวิจัย______________________________________________38
๔.๑ ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง _____________________________________________ 38
๔.๒ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุ่มตัวอย่างที่ได้จากการเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม
โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (CO – OP CO - OP) ____________________________________ 38
๔.๓ ผลจากการประเมินความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างที่มีต่อการเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม
โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (CO – OP CO - OP) ____________________________________ 39
บทที่ 5 สรุปและอภิปรายผล _______________________________________________41
5.1 สรุปผลการวิจัย_______________________________________________________ 41
5.2 อภิปรายผลการวิจัย ___________________________________________________ 42
5.3 ข้อเสนอแนะ_________________________________________________________ 42
เอกสารอ้างอิง _________________________________________________________43
ภาคผนวก ____________________________________________________________44
ห น้ า | ง
ภาคผนวก ก.แผนภูมิหน่วยการเรียน(COURSE FLOW CHART) _________________________ 45
ภาคผนวก ข.แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4เรื่องการออกแบบสอบถาม (QUERY) ______________ 47
ภาคผนวก ค.แบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน __________________________________ 52
ภาคผนวก ง.ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุ่มตัวอย่าง ______________________________ 58
ภาคผนวก จ.แบบประเมินความพึงพอใจ________________________________________ 60
ภาคผนวก ฉ.ผลการประเมินความพึงพอใจ ______________________________________ 62
ภาคผนวก ช.ภาพการจัดกิจกรรม _____________________________________________ 64
ประวัติย่อผู้วิจัย ________________________________________________________67
ห น้ า | จ
สารบัญรูปภาพ
เรื่อง นน้า
รูปที่ 1 ระดับความรู้ในการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองของ Seymour Papert 29
รูปที่ 2 กราฟแสดงความพึงพอใจของนักเรียนที่มีการเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วมมือ 40
โดยใช้เทคนิค (Co – op Co - op)
รูปที่ 3-4 นักเรียนแต่ละกลุ่มทาแบบทดสอบก่อนเรียน 65
รูปที่ 5-6 นักเรียนแต่ละกลุ่มทาใบงานการปฏิบัติแข่งกัน 66
รูปที่ 7-8 นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์ปัญหาจากใบงานการปฏิบัติ 67
รูปที่ 9-10 นักเรียนแต่ละกลุ่มทาข้อสอบหลังเรียนผ่านเว็บไซต์ Kahoot 68
รูปที่ 11-12 นักเรียนแต่ละกลุ่มทาข้อสอบหลังเรียนผ่านเว็บไซต์ Kahoot 69
รูปที่ 13-14 ประกาศชื่อกลุ่มที่ได้คะแนนสูงที่สุด 70
ห น้ า | ฉ
สารบัญตาราง
เรื่อง นน้า
ตารางที่ ๑ ความแตกต่างของการเรียนรู้แบบร่วมมือกับการเรียนรู้แบบดั้งเดิม ______________ 15
ตารางที่ ๒ แสดงการทดลองใช้แบบแผนการทดลอง กลุ่มทดสอบกลุ่มเดียวที่มีการทดสอบ 34
ก่อนเรียนและหลังเรียน (One-Group Pretest-Posttest Design) __________________________
ตารางที่ ๓ จานวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจาแนกตามเพศ _________________________ 38
ตารางที่ ๔ แสดงประสิทธิภาพทางด้านการเรียนของกลุ่มตัวอย่าง _______________________ 39
ตารางที่ ๕ แสดงระดับค่าเฉลี่ย ( 𝐱) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ความพึงพอใจต่อ _____ 39
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op)_________________
ตารางที่ ๖ แบบประเมินความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างที่มีต่อการสอนแบบกลุ่มร่วม ___ 61
โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ________________________________________
ห น้ า | ช
ชื่อเรื่องวิจัย เรื่องการเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op)
ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม ของนักเรียน
ชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยสารพัดช่าง
นครราชสีมา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้วิจัย นางสาวศรารัตน์ วรรณแจ่ม
ตาแนน่ง ครูผู้ช่วย
วุฒิการศึกษา ปริญญาตรี (ครุศาสตร์อุสาหกรรมบัณฑิต สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า เอกวิศวกรรม
คอมพิวเตอร์)
ปริญญาโท (วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ)
สถานที่ติดต่อ วิทยาลัยสารพัดช่างนครราชสีมา
ระยะเวลาในการดาเนินการวิจัย
วันที่เริ่มโครงการ 15 ตุลาคม 2561
วันที่คาดว่าโครงการจะเสร็จสิ้น 15 กุมภาพันธ์ 2562
ลักษณะผลงาน วิจัยการเรียนการสอน
ห น้ า | 8
บทที่ 1 บทนา
๑.๑ ความสาคัญและความเป็นมาของปัญนา
การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ก็คือการจัดการเรียนรู้ที่คานึงถึงประโยชน์สูงสุดของ
ผู้เรียน โดยครูผู้สอนหรือผู้จัดการเรียนรู้ พยายามหารูปแบบวิธีการที่เหมาะสมกับผู้เรียนที่จะให้ผู้เรียน
เกิดการพัฒนาและเกิดการเรียนรู้ได้มากที่สุด การสอนแบบต่าง ๆ โดยครูผู้สอนอธิบายหรือป้อนความรู้
ให้ฝ่ายเดียว คงเป็นแบบอย่างหรือแนวทางที่ค่อนข้างเก่าและล้าสมัยไปแล้ว ผู้เรียนไม่มีโอกาสได้คิดสร้าง
ความรู้ใหม่ ๆ เลย ครูผู้สอนมีความรู้แค่ไหนก็ถ่ายทอดให้แค่นั้น ส่วนผู้เรียนจะได้แค่ไหนก็สุดแล้วแต่
ความสามารถของแต่ละคน การเรียนการสอนก็รู้สึกเบื่อหน่ายทั้งครูผู้สอนและผู้เรียน เพราะมีขั้นตอน
แบบเดิม ๆ เก่า ๆ ภายในห้องสี่เหลี่ยมเดิม ๆ แต่ในปัจจุบันนี้หมดยุคสมัยดังกล่าวแล้ว ครูพันธุ์ใหม่และ
นักเรียนพันธุ์ใหม่ ต้องร่วมกันเรียนรู้พร้อมกัน คิดสร้างสรรค์สิ่งแปลก ๆ ใหม่ร่วมกัน ร่วมคิดร่วมเรียนรู้
ในสิ่งใหม่ ๆ แต่ก่อนอื่นจะต้องมาเรียนรู้กันก่อนว่า การออกแบบและการวางแผนการจัดการเรียนรู้แบบ
ใหม่ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มีกระบวนการขั้นตอนอย่างไร จะได้นาวิธีการหลักการและแนวคิดไป
ประยุกต์ใช้และพัฒนาให้เกิดประโยชน์กับตัวครูผู้สอน และตัวผู้เรียนต่อไป (สุรพล เอี่ยมอู่ทรัพย์,
2558)
การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือนับว่าเป็นการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยใช้
กระบวนการกลุ่มให้ผู้เรียนได้มีโอกาสทางานร่วมกันเพื่อผลประโยชน์และเกิดความสาเร็จร่วมกันของ
กลุ่ม ซึ่งการเรียนแบบร่วมมือมิใช่เป็นเพียงจัดให้ผู้เรียนทางานเป็นกลุ่ม เช่น ทารายงาน ทากิจกรรม
ประดิษฐ์หรือสร้างชิ้นงาน อภิปราย ตลอดจนปฏิบัติการทดลองแล้ว ผู้สอนทาหน้าที่สรุปความรู้ด้วย
ตนเองเท่านั้น แต่ผู้สอนจะต้องพยายามใช้กลยุทธ์วิธีให้ผู้เรียนได้ใช้กระบวนการประมวลสิ่งที่มาจากการ
ทากิจกรรมต่างๆ จัดระบบความรู้สรุปเป็นองค์ความรู้ด้วยตนเองเป็นหลักการสาคัญ (พิมพันธ์ เดชะคุปต์
, 2544 :15 ) และจากปัญหาที่ผู้เรียนบางคนยังไม่สามารถวิเคราะห์โจทย์ฐานข้อมูลเกี่ยวกับการสร้าง
แบบสอบถาม ในรายวิชาโปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล
ดังนั้นผู้วิจัย จึงเลือกการจัดการเรียนรู้แบบเทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) เพื่อให้
ผู้เรียนฝึกวิเคราะห์โจทย์การสร้างแบบสอบถาม จากฐานข้อมูลที่กาหนดให้เป็นกลุ่ม เพื่อเป็นการฝึก
รับผิดชอบงานของกลุ่มร่วมกัน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน จนกระทั่งเกิดเป็นการเรียนเป็นกลุ่ม
หรือเป็นทีมอย่างมีประสิทธิภาพนั่นเอง โดยเน้นให้ผู้เรียนมองเห็นความสาคัญในสิ่งที่เรียนรู้และสามารถ
เชื่อมโยงความรู้ระหว่างความรู้ใหม่กับความรู้เก่าจนเชื่อมโยงเข้ากับเป้าประสงค์ของการเรียนในบทนั้นๆ
รวมถึงผู้สอนมีวิธีการสอนที่หลากหลายและมีประสิทธิภาพเพื่อนาไปใช้ต่อไป
๑.๒ วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1.2.1 เพื่อหาความมีประสิทธิภาพของวิธีการสอนโดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co -
op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม ของนักเรียนชั้น
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3
1.2.2 เพื่อหาความพึงพอใจ ในการจัดการเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่ม
ร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม
ห น้ า | 9
๑.๓ คาถามเกี่ยวกับงานวิจัย
เทคนิคการจัดการเรียนรู้กลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) มีผลต่อ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบ
สอบถามของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 อย่างไร
๑.๔ สมมุติฐานของการวิจัย
การศึกษาระดับความรู้ของนักเรียน ก่อนเรียนและหลังเรียนในการจัดการเรียนการสอนแบบ
กลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) รายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง
การออกแบบสอบถามของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 วิทยาลัยสารพัดช่าง
นครราชสีมา ทาให้มีผลการเรียนรู้ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 50
๑.๕ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัยครั้งนี้
1.5.1 ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบ
สอบถาม ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 หลังเรียนผ่านเกณฑ์ที่กาหนด
1.5.2 ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนการเรียน ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล
1.5.3 ครูผู้สอนได้แนวทางการพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอน ที่ผ่านการวิจัยทดลองใช้แล้ว
เป็นแนวทางในการพัฒนาการการสอนต่อไป
๑.๖ กรอบแนวคิดในการวิจัย
1.6.1 ยึดหลักการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองตามหลักการ
เรียนรู้ตามทฤษฎี Constructionism
1.6.2 ใช้วิธีการสอนให้ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงความรู้ระหว่างความรู้ใหม่กับความรู้เก่าและ
สร้างเป็นองค์ความรู้ใหม่ขึ้นมาเมื่อพิจารณาการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นในการเรียนการสอนโดยปกติที่เกิดขึ้นใน
ห้องเรียนนั้น
๑.๗ ขอบเขตของการวิจัย
- ขอบเขตด้านเนื้อนา
- ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
เป็นนักเรียนระดับชั้นคธ.3 สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ จานวน 13 คน
- ตัวแปรที่ใช้ศึกษา
ตัวแปรต้นได้แก่ การทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co –
op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การสร้างแบบสอบถาม
ห น้ า | 10
ตัวแปรตามได้แก่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co -
op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูลเรื่อง การสร้างแบบสอบถามหลังเรียน ของ
นักศึกษาผ่านเกณฑ์ร้อยละ 50
๑.๘ นิยามศัพท์เฉพาะ
1.8.1. การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ หมายถึงการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ หมายถึง การ
จัดการเรียนการสอนที่ผู้สอนจัดให้ผู้เรียนแบ่งเป็นกลุ่มเล็กๆ ประมาณ 4-6 คน เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้
โดยการทางานร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน และร่วมกันรับผิดชอบงานในกลุ่มที่ได้รับมอบหมาย
เพื่อให้เกิดเป็นความสาเร็จของกลุ่ม
1.8.2. กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co – op ) หมายถึง เป็นวิธีการที่ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการมี
ปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่นอย่างแท้จริง ได้ฝึกความรับผิดชอบ ฝึกเป็นผู้นา ผู้ตามกลุ่มฝึกการทางานให้
ประสบผลสาเร็จ และฝึกทักษะทางสังคม ผู้สอนควรเลือกใช้เทคนิควิธีต่าง ๆ ดังกล่ามาให้เหมาะสม
กับเนื้อหาสาระ และจุดประสงค์การเรียนรู้ที่กาหนดไว้
1.8.3. นักเรียน หมายถึง นักศึกษาระดับชั้นคธ.3 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัย
สารพัดช่างนครราชสีมา จานวน 13 คน
1.8.4. ประสิทธิภาพของวิธีการสอน หมายถึง ประสิทธิภาพที่ได้จากการประเมินตามเกณฑ์
E1/E2 ที่ระดับ 80/80
1.8.5. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึงผลการวิเคราะห์คะแนนที่ได้จากนักเรียนระดับชั้น
คธ. 3 ที่มีผลต่อการสอบโดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการ
จัดการฐานข้อมูล เรื่อง การสร้างแบบสอบถามโดยนาคะแนนการสอบก่อนเรียนและหลังเรียนมา
เปรียบเทียบกัน ซึ่งคานวณจากสูตรการทดสอบการหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน t – test แบบ
Dependent โดยมีนัยสาคัญที่ 0.05
1.8.6. ความพึงพอใจ หมายถึงระดับความรู้สึกของผู้เรียนที่มีต่อการเรียนการสอนโดยใช้
เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูลเรื่อง การสร้าง
แบบสอบถาม ซึ่งได้มาจากผู้เรียนตอบแบบสอบถาม ความพึงพอใจ ซึ่งค่าที่ยอมรับได้คือ 3.5 ขึ้นไป
ห น้ า | 11
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
งานวิจัยเรื่องการเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op)
ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูลเรื่อง การสร้างแบบสอบถามเพื่อศึกษาประสิทธิภาพของ
วิธีการสอนและความพึงพอใจในการใช้การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co
– op Co - op) ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัย
สารพัดช่างนครราชสีมา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่
เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้
2.๑ การเรียนแบบร่วมมือ
๒.๑.๑ ความหมายของการเรียนแบบร่วมมือ
2.๑.๒ วัตถุประสงค์ของการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ
2.๑.๓ ลักษณะของการเรียนแบบร่วมมือ
2.๑.๔. องค์ประกอบสาคัญของการเรียนแบบร่วมมือ
2.1.๕ ความแตกต่างระหว่างการเรียนแบบร่วมมือกับการเรียนแบบดั้งเดิม
2.๑.๖ ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ
2.๑.๗ เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ
2.๑.๘ วิธีการเรียนรู้แบบรู้แบบร่วมมือ
2.๑.๙ รูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือ
2.๑.๑๐ ประโยชน์ของการเรียนแบบร่วมมือ
2.๒ การเรียนการสอนตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructionism)
2.๓ ความพึงพอใจต่อการเรียนการสอน
2.๓.1 ความหมายของความพึงพอใจ
2.๓.2 บรรยากาศในการเรียนการสอนกับความพึงพอใจ
2.๑ การเรียนแบบร่วมมือ
2.๑.1 ความนมายของการเรียนแบบร่วมมือ
สาหรับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือได้มีนักวิชาการให้ความหมายไว้หลายท่าน ดังนี้
อาภรณ์ ใจเที่ยง (2550 : 121) ได้กล่าวว่า การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือหรือแบบมีส่วนร่วม
หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถต่างกัน ได้ร่วมมือกันทางานกลุ่มด้วย
ความตั้งใจและเต็มใจรับผิดชอบในบทบาทหน้าที่ในกลุ่มของตน ทาให้งานของกลุ่มดาเนินไปสู่เป้าหมาย
ของงานได้
สลาวิน (Slavin, 1987 : 7-13) อ้างใน ไสว ฟักขาว (2544 : 192) ได้ให้ความหมายของ
การเรียนรู้แบบร่วมมือว่า หมายถึง วิธีการจัดการเรียนการสอนที่ให้นักเรียนทางานร่วมกันเป็นกลุ่มเล็ก
ๆ โดยทั่วไปมีสมาชิกกลุ่มละ 4 คน สมาชิกกลุ่มมีความสามารถในการเรียนต่างกัน สมาชิกในกลุ่มจะ
รับผิดชอบในสิ่งที่ได้รับการสอน และช่วยเพื่อนสมาชิกให้เกิดการเรียนรู้ด้วย มีการช่วยเหลือซึ่งกันและ
กัน โดยมีเป้าหมายในการทางานร่วมกัน คือ เป้าหมายของกลุ่ม
ห น้ า | 12
ไสว ฟักขาว (2544 : 193) กล่าวถึงการเรียนรู้แบบร่วมมือไว้ว่า เป็นการจัดการเรียนการสอนที่
แบ่งผู้เรียนออกเป็นกลุ่มเล็ก ๆ สมาชิกในกลุ่มมีความสามารถแตกต่างกัน มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
มีการช่วยเหลือสนับสนุนซึ่งกันและกัน และมีความรับผิดชอบร่วมกันทั้งในส่วนตน และส่วนรวม
เพื่อให้กลุ่มได้รับความสาเร็จตามเป้าหมายที่กาหนด
จากความหมายของการเรียนรู้แบบร่วมมือข้างต้น สรุปได้ว่า การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ
หมายถึง การจัดการเรียนการสอนที่ผู้สอนจัดให้ผู้เรียนแบ่งเป็นกลุ่มเล็กๆ ประมาณ 4-6 คน เพื่อให้
ผู้เรียนได้เรียนรู้โดยการทางานร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน และร่วมกันรับผิดชอบงานในกลุ่มที่ได้รับ
มอบหมาย เพื่อให้เกิดเป็นความสาเร็จของกลุ่ม
2.๑.2 วัตถุประสงค์
สาหรับวัตถุประสงค์ของการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ อาภรณ์ ใจเที่ยง (2550 : 121)
ได้กล่าวว่า ดังนี้
1. เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และฝึกทักษะกระบวนการกลุ่มได้ฝึกบทบาทหน้าที่และความ
รับผิดชอบในการทางานกลุ่ม
2. เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะการคิดค้นคว้า ทักษะการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองทักษะ
การคิดสร้างสรรค์ การแก้ปัญหา การตัดสินใจ การตั้งคาถาม ตอบคาถาม การใช้ภาษา การพูด
ฯลฯ
3. เพื่อให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะทางสังคม การอยู่ร่วมกับผู้อื่น การมีน้าใจช่วยเหลือผู้อื่น การ
เสียสละ การยอมรับกันและกัน การไว้วางใจ การเป็นผู้นา ผู้ตาม ฯลฯ
2.๑.3 ลักษณะของการเรียนรู้แบบร่วมมือ
อาภรณ์ ใจเที่ยง (2550 : 121) ได้กล่าวถึง การจัดกิจกรรมแบบร่วมแรงร่วมใจว่า
มีลักษณะ ดังนี้
1. มีการทางานกลุ่มร่วมกัน มีปฏิสัมพันธ์ภายในกลุ่มและระหว่างกลุ่ม
2. สมาชิกในกลุ่มมีจานวนไม่ควรเกิน 6 คน
3. สมาชิกในกลุ่มมีความสามารถแตกต่างกันเพื่อช่วยเหลือกัน
4. สมาชิกในกลุ่มต่างมีบทบาทรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย เช่น
- เป็นผู้นากลุ่ม (Leader)
- เป็นผู้อธิบาย (Explainer)
- เป็นผู้จดบันทึก (Recorder)
- เป็นผู้ตรวจสอบ (Checker)
- เป็นผู้สังเกตการณ์ (Observer)
- เป็นผู้ให้กาลังใจ (Encourager) ฯลฯ
สมาชิกในกลุ่มมีความรับผิดชอบร่วมกัน ยึดหลักว่า “ความสาเร็จของแต่ละคน คือ
ความสาเร็จของกลุ่ม ความสาเร็จของกลุ่ม คือ ความสาเร็จของทุกคน”
ห น้ า | 13
2.๑.4 องค์ประกอบสาคัญของการเรียนรู้แบบร่วมมือ
นักวิชาการหลายท่านได้กล่าวถึงองค์ประกอบของการเรียนรู้แบบร่วมมือ ไว้ดังนี้
จอห์นสัน และจอห์นสัน (Johnson and Johnson,1987 : 13 - 14)อ้างใน ไสว-ฟักขาว (2544 :
193-194) ได้กล่าวถึงองค์ประกอบที่สาคัญของการเรียนรู้แบบร่วมมือ ไว้ดังนี้
1. ความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันในทางบวก (Positive Interdependence) หมายถึง
การที่สมาชิกในกลุ่มทางานอย่างมีเป้าหมายร่วมกัน มีการทางานร่วมกัน โดยที่สมาชิกทุกคนมีส่วนร่วม
ในการทางานนั้น มีการแบ่งปันวัสดุ อุปกรณ์ ข้อมูลต่าง ๆ ในการทางาน ทุกคนมีบทบาท หน้าที่
และประสบความสาเร็จร่วมกัน สมาชิกในกลุ่มจะมีความรู้สึกว่าตนประสบความสาเร็จได้ก็๖อเมื่อ
สมาชิกทุกคนในกลุ่มประสบความสาเร็จด้วย สมาชิกทุกคนจะได้รับผลประโยชน์ หรือรางวัลผลงาน
กลุ่มโดยเท่าเทียมกัน เช่น ถ้าสมาชิกทุกคนช่วยกัน ทาให้กลุ่มได้คะแนน 90 % แล้ว สมาชิกแต่ละ
คนจะได้คะแนนพิเศษเพิ่มอีก 5 คะแนน เป็นรางวัล เป็นต้น
2. การมีปฏิสัมพันธ์ที่ส่งเสริมซึ่งกันและกัน (Face To Face Promotive
Interaction) เป็นการติดต่อสัมพันธ์กัน แลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน การอธิบายความรู้ให้แก่
เพื่อนในกลุ่มฟัง เป็นลักษณะสาคัญของการติดต่อปฏิสัมพันธ์โดยตรงของการเรียนแบบร่วมมือ ดังนั้น
จึงควรมีการแลกเปลี่ยน ให้ข้อมูลย้อนกลับ เปิดโอกาสให้สมาชิกเสนอแนวความคิดใหม่ ๆ เพื่อเลือกใน
สิ่งที่เหมาะสมที่สุด
3. ความรับผิดชอบของสมาชิกแต่ละคน (Individual Accountability) ความ
รับผิดชอบของสมาชิกแต่ละบุคคล เป็นความรับผิดชอบในการเรียนรู้ของสมาชิกแต่ละบุคคล โดยมี
การช่วยเหลือส่งเสริมซึ่งกันและกัน เพื่อให้เกิดความสาเร็จตามเป้าหมายกลุ่ม โดยที่สมาชิกทุกคนใน
กลุ่มมีความมั่นใจ และพร้อมที่จะได้รับการทดสอบเป็นรายบุคคล
4. การใช้ทักษะระหว่างบุคคลและทักษะการทางานกลุ่มย่อย (Interdependence
and Small Group Skills) ทักษะระหว่างบุคคล และทักษะการทางานกลุ่มย่อย นักเรียนควร
ได้รับการฝึกฝนทักษะเหล่านี้เสียก่อน เพราะเป็นทักษะสาคัญที่จะช่วยให้การทางานกลุ่มประสบ
ผลสาเร็จ นักเรียนควรได้รับการฝึกทักษะในการสื่อสาร การเป็นผู้นา การไว้วางใจผู้อื่น การตัดสินใจ
การแก้ปัญหา ครูควรจัดสถานการณ์ที่จะส่งเสริมให้นักเรียน เพื่อให้นักเรียนสามารถทางานได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
5. กระบวนการกลุ่ม (Group Process) เป็นกระบวนการทางานที่มีขั้นตอนหรือ
วิธีการที่จะช่วยให้การดาเนินงานกลุ่มเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ นั่นคือ สมาชิกทุกคนต้องทาความ
เข้าใจในเป้าหมายการทางาน วางแผนปฏิบัติงานร่วมกัน ดาเนินงานตามแผนตลอดจนประเมินผลและ
ปรับปรุงงาน
องค์ประกอบของการเรียนรู้แบบร่วมมือทั้ง 5 องค์ประกอบนี้ ต่างมีความสัมพันธ์ซึ่ง
กันและกัน ในอันที่จะช่วยให้การเรียนแบบร่วมมือดาเนินไปด้วยดี และบรรลุตามเป้าหมายที่กลุ่ม
กาหนด โดยเฉพาะทักษะทางสังคม ทักษะการทางานกลุ่มย่อย และกระบวนการกลุ่มซึ่งจาเป็นที่
จะต้องได้รับการฝึกฝน ทั้งนี้เพื่อให้สมาชิกกลุ่มเกิดความรู้ ความเข้าใจและสามารถนาทักษะเหล่านี้ไป
ใช้ให้เกิดประโยชน์ได้อย่างเต็มที่
ห น้ า | 14
อาภรณ์ ใจเที่ยง (2550 : 122) กล่าวถึงองค์ประกอบของการจัดการเรียนรู้แบบ
ร่วมมือไว้ว่า ต้องคานึงถึงองค์ประกอบในการให้ผู้เรียนทางานกลุ่ม ดังข้อต่อไปนี้
1. มีการพึ่งพาอาศัยกัน (Positive Interdependence) หมายถึง สมาชิกในกลุ่ม
มีเป้าหมายร่วมกัน มีส่วนรับความสาเร็จร่วมกัน ใช้วัสดุอุปกรณ์ร่วมกัน มีบทบาทหน้าที่ทุกคนทั่วกัน
ทุกคนมีความรู้สึกว่างานจะสาเร็จได้ต้องช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
2. มีปฏิสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดในเชิงสร้างสรรค์ (Face to Face Promotive
Interaction) หมายถึง สมาชิกกลุ่มได้ทากิจกรรมอย่างใกล้ชิด เช่น แลกเปลี่ยนความคิดเห็น อธิบาย
ความรู้แก่กัน ถามคาถาม ตอบคาถามกันและกัน ด้วยความรู้สึกที่ดีต่อกัน
3. มีการตรวจสอบความรับผิดชอบของสมาชิกแต่ละคน (Individual
Accountability) เป็นหน้าที่ของผู้สอนที่จะต้องตรวจสอบว่า สมาชิกทุกคนมีความรับผิดชอบต่องาน
กลุ่มหรือไม่ มากน้อยเพียงใด เช่น การสุ่มถามสมาชิกในกลุ่ม สังเกตและบันทึกการทางานกลุ่ม ให้
ผู้เรียนอธิบายสิ่งที่ตนเรียนรู้ให้เพื่อนฟัง ทดสอบรายบุคคล เป็นต้น
4. มีการฝึกทักษะการช่วยเหลือกันทางานและทักษะการทางานกลุ่มย่อย
(Interdependence and Small Groups Skills) ผู้เรียนควรได้ฝึกทักษะที่จะช่วยให้งานกลุ่ม
ประสบความสาเร็จ เช่น ทักษะการสื่อสาร การยอมรับและช่วยเหลือกัน การวิจารณ์ความคิดเห็น
โดยไม่วิจารณ์บุคคล การแก้ปัญหาความขัดแย้ง การให้ความช่วยเหลือ และการเอาใจใส่ต่อทุกคน
อย่างเท่าเทียมกัน การทาความรู้จักและไว้วางใจผู้อื่น เป็นต้น
5. มีการฝึกกระบวนการกลุ่ม (Group Process) สมาชิกต้องรับผิดชอบต่อการ
ทางานของกลุ่ม ต้องสามารถประเมินการทางานของกลุ่มได้ว่า ประสบผลสาเร็จมากน้อยเพียงใด
เพราะเหตุใด ต้องแก้ไขปัญหาที่ใด และอย่างไร เพื่อให้การทางานกลุ่มมีประสิทธิภาพดีกว่าเดิม เป็น
การฝึกกระบวนการกลุ่มอย่างเป็นกระบวนการ
จากองค์ประกอบสาคัญของการเรียนรู้แบบร่วมมือ จึงสรุปได้ว่าการเรียนรู้แบบร่วมมือนั้นมี
องค์ประกอบ 5 ประการด้วยกัน คือ
1. มีการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน โดยสมาชิกแต่ละคนมีเป้าหมายในการทางานกลุ่มร่วมกัน
ซึ่งจะต้องพึงพาอาศัยซึ่งกันและกันเพื่อความสาเร็จของการทางานกลุ่ม
2. มีปฏิสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิดในเชิงสร้างสรรค์ เป็นการให้สมาชิกได้ร่วมกันทางานกลุ่มกัน
อย่างใกล้ชิด โดยการเสนอและแสดงความคิดเห็นกันของสมาชิกภายในกลุ่ม ด้วยความรู้สึกที่ดีต่อกัน
3. มีความรับผิดชอบของสมาชิกแต่ละคน หมายความว่า สมาชิกภายในกลุ่มแต่ละคนจะต้อง
มีความรับผิดในการทางาน โดยที่สมาชิกทุกคนในกลุ่มมีความมั่นใจ และพร้อมที่จะได้รับการทดสอบ
เป็นรายบุคคล
4. มีการใช้ทักษะกระบวนการกลุ่มย่อย ทักษะระหว่างบุคคล และทักษะการทางานกลุ่มย่อย
นักเรียนควรได้รับการฝึกฝนทักษะเหล่านี้เสียก่อน เพราะเป็นทักษะสาคัญที่จะช่วยให้การทางานกลุ่ม
ประสบผลสาเร็จ เพื่อให้นักเรียนจะสามารถทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5. มีการใช้กระบวนการกลุ่ม ซึ่งเป็นกระบวนการทางานที่มีขั้นตอนหรือ วิธีการที่จะช่วยให้การ
ดาเนินงานกลุ่มเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ในการวางแผนปฏิบัติงานและเป้าหมายในการทางาน
ร่วมกัน โดยจะต้องดาเนินงานตามแผนตลอดจนประเมินผลและปรับปรุงงาน
ห น้ า | 15
2.๑.๕ ความแตกต่างระนว่างการเรียนรู้แบบร่วมมือกับการเรียนเป็นกลุ่มแบบดั้งเดิม
ไสว ฟักขาว ( 2544 : 195) ได้กล่าวว่า จากองค์ประกอบสาคัญของการเรียนรู้แบบร่วมมือ
(Cooperative Learning) ซึ่งได้แก่ ความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันในทางบวก การปฏิสัมพันธ์ที่ส่งเสริม
กันและกัน ความรับผิดชอบของสมาชิกแต่ละบุคคล การใช้ทักษะระหว่างบุคคล การทางานกลุ่มย่อย
และกระบวนการกลุ่ม องค์ประกอบเหล่านี้ทาให้การเรียนรู้แบบร่วมมือแตกต่างออกไปจากการเรียนรู้
เป็นกลุ่มแบบดั้งเดิม (Traditional Learning) กล่าวคือ การเรียนเป็นกลุ่มแบบดั้งเดิมนั้น เป็นเพียง
การแบ่งกลุ่มการเรียนเพื่อให้นักเรียนปฏิบัติงานร่วมกัน แบ่งงานกันทา สมาชิกในกลุ่มต่างทางาน
เพื่อให้งานสาเร็จ เน้นที่ผลงานมากกว่ากระบวนการในการทางาน ดังนั้นสมาชิกบางคนอาจมีความ
รับผิดชอบในตนเองสูง แต่สมาชิกบางคนอาจไม่มีความรับผิดชอบ ขอเพียงมีชื่อในกลุ่ม มีผลงาน
ออกมาเพื่อส่งครูเท่านั้น ซึ่งต่างจากการเรียนเป็นกลุ่มแบบร่วมมือที่สมาชิกแต่ละคนต้องมีความ
รับผิดชอบทั้งต่อตนเองและต่อเพื่อนสมาชิกในกลุ่มด้วย จอห์นสันและจอห์นสัน (Johnson and
Johnson, 1987 : 25 ) อ้างใน ไสว ฟักขาว (2544 : 195) ได้สรุปความแตกต่างระหว่างกลุ่มการ
เรียนรู้แบบร่วมมือกับกลุ่มการเรียนแบบดั้งเดิมไว้ดังนี้
ตารางที่ ๑ ความแตกต่างของการเรียนรู้แบบร่วมมือกับการเรียนรู้แบบดั้งเดิม
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
(Cooperative Learning)
การเรียนรู้เป็นกลุ่มแบบดั้งเดิม
(Traditional Learning)
1. มีความสัมพันธ์ในเชิงบวกระหว่างสมาชิก
2. สมาชิกเอาใจใส่รับผิดชอบต่อตนเอง
3. สมาชิกมีความสามารถแตกต่างกัน
4. สมาชิกผลัดเปลี่ยนกันเป็นผู้นา
5. รับผิดชอบร่วมกับสมาชิกด้วยกัน
6. เน้นผลงานและการคงอยู่ซึ่งความเป็นกลุ่ม
7. สอนทักษะทางสังคมโดยตรง
8. ครูคอยสังเกตและหาโอกาสแนะนา
9. สมาชิกกลุ่มมีกระบวนการทางานเพื่อ
ประสิทธิผลกลุ่ม
1. ขาดการพึ่งพากันระหว่างสมาชิก
2. สมาชิกขาดความรับผิดชอบในตนเอง
3. สมาชิกมีความสามารถเท่าเทียมกัน
4. มีผู้นาที่ได้รับการแต่งตั้งเพียงคนเดียว
5. รับผิดชอบเฉพาะตนเอง
6. เน้นที่ผลงานเพียงอย่างเดียว
7. ทักษะทางสังคมถูกละเลย
8. ครูขาดความสนใจหน้าที่ของกลุ่ม
9. ขาดกระบวนการในการทงานกลุ่ม
2.๑.๖ ขั้นตอนการจัดกิจกรรม
อาภรณ์ ใจเที่ยง (2550 : 122-123) กล่าวถึงขั้นตอนการจัดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้แบบ
ร่วมมือ ไว้ดังนี้
1. ขั้นเตรียมการ
ผู้สอนชี้แจงจุดประสงค์ของบทเรียน ผู้สอนจัดกลุ่มผู้เรียนเป็นกลุ่มย่อย กลุ่มละประมาณไม่เกิน
6 คน มีสมาชิกที่มีความสามารถแตกต่างกัน ผู้สอนแนะนาวิธีการทางานกลุ่มและบทบาทของสมาชิก
ในกลุ่ม
2. ขั้นสอน
ห น้ า | 16
ผู้สอนนาเข้าสู่บทเรียน บอกปัญหาหรืองานที่ต้องการให้กลุ่มแก้ไขหรือคิด วิเคราะห์ หาคาตอบ
ผู้สอนแนะนาแหล่งข้อมูล ค้นคว้า หรือให้ข้อมูลพื้นฐานสาหรับการคิดวิเคราะห์ผู้สอนมอบหมายงานที่
กลุ่มต้องทาให้ชัดเจน
3. ขั้นทากิจกรรมกลุ่ม
ผู้เรียนร่วมมือกันทางานตามบทบาทหน้าที่ที่ได้รับ ทุกคนร่วมรับผิดชอบ ร่วมคิด ร่วมแสดงความ
คิดเห็น การจัดกิจกรรในขั้นนี้ ครูควรใช้เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมแรงร่วมใจ ที่น่าสนใจและเหมาะสม
กับผู้เรียน เช่น การเล่าเรื่องรอบวง มุมสนทนา คู่ตรวจสอบ คู่คิด ฯลฯผู้สอนสังเกตการณ์ทางาน
ของกลุ่ม คอยเป็นผู้อานวยความสะดวก ให้ความกระจ่างในกรณีที่ผู้เรียนสงสัยต้องการความช่วยเหลือ
4. ขั้นตรวจสอบผลงานและทดสอบ ขั้นนี้ผู้เรียนจะรายงานผลการทางานกลุ่ม ผู้สอนและเพื่อนกลุ่ม
อื่นอาจซักถามเพื่อให้เกิดความกระจ่างชัดเจน เพื่อเป็นการตรวจสอบผลงานของกลุ่มและรายบุคคล
5. ขั้นสรุปบทเรียนและประเมินผลการทางานกลุ่ม ขั้นนี้ผู้สอนและผู้เรียนช่วยกันสรุปบทเรียน
ผู้สอนควรช่วยเสริมเพิ่มเติมความรู้ ช่วยคิดให้ครบตามเป้าหมายการเรียนที่กาหนดไว้ และช่วยกัน
ประเมินผลการทางานกลุ่มทั้งส่วนที่เด่นและส่วนที่ควรปรับปรุงแก้ไข
2.๑.๗ เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ
วัฒนาพร ระงับทุกข์ (2545 : 177 – 195) อ้างใน อาภรณ์ ใจเที่ยง (2550 : 123 –
125) กล่าวถึง เทคนิคการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ ไว้ว่า เทคนิคที่นามาใช้ในการเรียนรู้แบบร่วมมือ
มีหลายวิธี ได้แนะนาไว้ดังนี้
1. ปริศนาความคิด (Jigsaw)
ปริศนาความคิด เป็นเทคนิคที่สมาชิกในกลุ่มแยกย้ายกันไปศึกษาหาความรู้ ในหัวข้อเนื้อหาที่
แตกต่างกัน แล้วกลับเข้ากลุ่มมาถ่ายทอดความรู้ที่ได้มาให้สมาชิกกลุ่มฟัง วิธีนี้คล้ายกับการต่อภาพจิก
ซอร์ จึงเรียกวิธีนี้ว่า Jigsaw หรือปริศนาการคิด ลักษณะการจัดกิจกรรมผู้เรียนที่มีความสามารถ
ต่างกันเข้ากลุ่มร่วมกันเรียกว่า กลุ่มบ้าน (Home Group) สมาชิกในกลุ่มบ้านจะรับผิดชอบศึกษา
หัวข้อที่แตกต่างกัน แล้วแยกย้ายไปเข้ากลุ่มใหม่ในหัวข้อเดียวกัน กลุ่มใหม่นี้เรียกว่า กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ
(Expert Group) เมื่อกลุ่มผู้เชี่ยวชาญทางานร่วมกันเสร็จ ก็จะย้ายกลับไปกลุ่มเดิมคือ กลุ่มบ้านของ
ตน นาความรู้ที่ได้จากการอภิปรายจากกลุ่มผู้เชี่ยวชาญมาสรุปให้กลุ่มบ้านฟัง ผู้สอนทดสอบและให้
คะแนน
2. กลุ่มร่วมมือแข่งขัน (Teams – Games – Toumaments : TGT)
เทคนิคกลุ่มร่วมมือแข่งขัน เป็นกิจกรรมที่สมาชิกในกลุ่มเรียนรู้เนื้อหาสาระจากผู้สอนด้วยกัน
แล้วแต่ละคนแยกย้ายไปแข่งขันทดสอบความรู้ คะแนนที่ได้ของแต่ละคนจะนามารวมกันเป็นคะแนน
ของกลุ่ม กลุ่มที่ได้คะแนนรวมสูงสุดได้รับรางวัล
ลักษณะการจัดกิจกรรม
สมาชิกกลุ่มจะช่วยกันเตรียมตัวเข้าแข่งขัน โดยผลัดกันถามตอบให้เกิดความแม่นยาในความรู้ที่
ผู้สอนจะทดสอบ เมื่อได้เวลาแข่งขัน แต่ละทีมจะเข้าประจาโต๊ะแข่งขัน แล้วเริ่มเล่นเกมพร้อมกันด้วย
ชุดคาถามที่เหมือนกัน เมื่อการแข่งขันจบลง ผู้เข้าร่วมแข่งขันจะกลับไปเข้าทีมเดิมของตนพร้อม
คะแนนที่ได้รับ ทีมที่ได้คะแนนรวมสูงสุดถือว่าเป็นทีมชนะเลิศ
3. กลุ่มร่วมมือช่วยเหลือ (Team Assisted Individualization : TAT)
ห น้ า | 17
เทคนิคการเรียนรู้วิธีนี้ เป็นการเรียนรู้ที่เปิดโอกาสให้สมาชิกแต่ละคนได้แสดงความสามารถเฉพาะตน
ก่อน แล้วจึงจับคู่ตรวจสอบกันและกัน ช่วยเหลือกันทาใบงานจนสามารถผ่านได้ ต่อจากนั้นจึงนา
คะแนนของแต่ละคนมารวมเป็นคะแนนของกลุ่ม กลุ่มที่ได้คะแนนสูงสุดจะเป็นฝ่ายได้รับรางวัล
ลักษณะการจัดกิจกรรม
กลุ่มจะมีสมาชิก 2 – 4 คน จับคู่กันทางานตามใบงานที่ได้รับมอบหมาย แล้วแลกเปลี่ยนกันตรวจ
ผลงาน ถ้าผลงานยังไม่ถูกต้องสมบูรณ์ ต้องแก้ไขจนกว่าจะผ่าน ต่อจากนั้นทุกคนจะทาข้อทดสอบ
คะแนนของทุกคนจะมารวมกันเป็นคะแนนของกลุ่ม กลุ่มที่ได้คะแนนสูงสุดจะได้รับรางวัล
4. กลุ่มสืบค้น (Group Investigation : GI)
กลุ่มสืบค้น เป็นเทคนิคการจัดกิจกรรมที่ให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการศึกษาค้นคว้าแสวงหาความรู้
ด้วยตนเอง ผู้เรียนแต่ละกลุ่มได้รับมอบหมายให้ค้นคว้าหาความรู้มานาเสนอ ประกอบเนื้อหาที่เรียน
อาจเป็นการทางานตามใบงานที่กาหนด โดยที่ทุกคนในกลุ่มรับรู้และช่วยกันทางาน
ลักษณะการจัดกิจกรรม
สมาชิกกลุ่มจะช่วยกันศึกษาค้นคว้าหาคาตอบ หรือความรู้มานาเสนอต่อชั้นเรียน โดยผู้สอนแบ่ง
เนื้อหาเป็นหัวข้อย่อย แต่ละกลุ่มศึกษากลุ่มละ 1 หัวข้อ เมื่อพร้อม ผู้เรียนจะนาเสนอผลงานทีละกลุ่ม
แล้วร่วมกันประเมินผลงาน
5. กลุ่มเรียนรู้ร่วมกัน (Learning Together : LT)
กลุ่มเรียนรู้ร่วมกัน เป็นเทคนิคการจัดกิจกรรมที่ให้สมาชิกในกลุ่มได้รับผิดชอบ มีบทบาทหน้าที่
ทุกคน เช่น เป็นผู้อ่าน เป็นผู้จดบันทึก เป็นผู้รายงานนาเสนอ เป็นต้น ทุกคนช่วยกันทางาน จนได้
ผลงานสาเร็จ ส่งและนาเสนอผู้สอน
ลักษณะการจัดกิจกรรม
กลุ่มผู้เรียนจะแบ่งหน้าที่กันทางาน เช่น เป็นผู้อ่านคาสั่งใบงาน เป็นผู้จดบันทึกงาน เป็นผู้หา
คาตอบ เป็นผู้ตรวจคาตอบ กลุ่มจะได้ผลงานที่เกิดจากการทางานของทุกคน
6. กลุ่มร่วมกันคิด (Numbered Heads Together : NHT)
กิจกรรมนี้เหมาะสาหรับการทบทวนหรือตรวจสอบความเข้าใจ สมาชิกกลุ่มจะประกอบด้วย
ผู้เรียนที่มีความสามารถเก่ง ปานกลาง และอ่อนคละกัน จะช่วยกันค้นคว้าเตรียมตัวตอบคาถามที่
ผู้สอนจะทดสอบ ผู้สอนจะเรียกถามทีละคน กลุ่มที่สมาชิกสามารถตอบคาถามได้มากแสดงว่าได้
ช่วยเหลือกันดี
ลักษณะการจัดกิจกรรม
สมาชิกกลุ่มที่มีความสามารถแตกต่างกัน จะร่วมกันอภิปรายปัญหาที่ได้รับเพื่อให้เกิดความพร้อม
และความมั่นใจที่จะตอบคาถามผู้สอน ผู้สอนจะเรียกสมาชิกกลุ่มให้ตอบทีละคน แล้วนาคะแนนของ
แต่ละคนมารวมเป็นคะแนนของกลุ่ม
7. กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op)
กลุ่มร่วมมือเป็นเทคนิคการทางานกลุ่มวิธีหนึ่ง โดยสมาชิกในกลุ่มที่มีความสามารถและความถนัด
แตกต่างกันได้ แสดงบทบาทตามหน้าที่ที่ตนถนัดอย่างเต็มที่ ทาให้งานประสบผลสาเร็จ วิธีนี้ทาให้
ผู้เรียนได้ฝึกความรับผิดชอบการทางานกลุ่มร่วมกัน และสนองต่อหลักการของการเรียนรู้ และร่วมมือ
ที่ว่า “ความสาเร็จแต่ละคน คือ ความสาเร็จของกลุ่ม ความสาเร็จของกลุ่ม คือ ความสาเร็จของทุกคน”
ห น้ า | 18
ลักษณะการจัดกิจกรรม
สมาชิกกลุ่มที่มีความสามารถแตกต่างกันจะแบ่งหน้าที่รับผิดชอบไปศึกษาหัวข้อย่อยทีได้รับ
มอบหมาย แล้วนางานจากการศึกษาค้นคว้ามารวมกันเป็นงานกลุ่มปรับปรุงให้ต่อเนื่องเชื่อมโยง มี
ความสละสลวย เสร็จแล้วจึงนาเสนอต่อชั้นเรียน ทุกกลุ่มจะช่วยกันประเมินผลงาน
จากที่กล่าวมาทั้งหมดสรุปได้ว่า การเรียนรู้แบบร่วมมือ เป็นวิธีการที่ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการมี
ปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่นอย่างแท้จริง ได้ฝึกความรับผิดชอบ ฝึกเป็นผู้นา ผู้ตามกลุ่มฝึกการทางานให้
ประสบผลสาเร็จ และฝึกทักษะทางสังคม ผู้สอนควรเลือกใช้เทคนิควิธีต่าง ๆ ดังกล่ามาให้เหมาะสม
กับเนื้อหาสาระ และจุดประสงค์การเรียนรู้ที่กาหนดไว้
2.๑.๘ วิธีการเรียนแบบร่วมมือ
วันเพ็ญ จันทร์เจริญ (2542 : 119-128) กล่าวถึง วิธีการเรียนแบบร่วมมือที่นิยมใช้กันมี
เทคนิคสาคัญ 2 แบบ คือ แบบเป็นทางการ (Formal cooperative learning) และแบบไม่เป็น
ทางการ (Informal cooperative learning)
1. การเรียนแบบร่วมมืออย่างเป็นทางการ มีดังนี้
1.1 เทคนิคการแข่งขันระหว่างกลุ่มด้วยเกม (Team – Games – Tournament
หรือ TGT) คือ การจัดกลุ่มนักเรียนเป็นกลุ่มเล็ก ๆ กลุ่มละ 4 คน ระดับความสามารถต่างกัน
(Heterogeneous teams) คือ นักเรียนเก่ง 1 คน ปานกลาง 2 คน และอ่อน 1 คน ครู
กาหนดบทเรียนและการทางานของกลุ่มเอาไว้ ครูทาการสอนบทเรียนให้นักเรียนทั้งชั้นแล้วให้กลุ่ม
ทางานตามที่กาหนด นักเรียนในกลุ่มช่วยเหลือกัน เด็กเก่งช่วยและตรวจงานของเพื่อนให้ถูกต้องก่อน
นาส่งครู แล้วจัดกลุ่มใหม่เป็นกลุ่มแข่งขันที่มีความสามารถเท่า ๆ กัน (Homogeneous
tournament teams) มาแข่งขันตอบปัญหาซึ่งจะมีการจัดกลุ่มใหม่ทุกสัปดาห์ โดยพิจารณาจาก
ความสามารถของแต่ละบุคคล คะแนนของกลุ่มจะได้จากคะแนนของสมาชิกที่เข้าแข่งขันร่วมกับกลุ่ม
อื่น ๆ ร่วมกัน แล้วมีการมอบรางวัลให้แก่กลุ่มที่ได้คะแนนสูงถึงเกณฑ์ที่กาหนดไว้
1.2 เทคนิคการแบ่งกลุ่มแบบกลุ่มสัมฤทธิ์ (Student Teams Achievement
Divisions หรือ STAD) คือ การจัดกลุ่มเหมือน TGT แต่ไม่มีการแข่งขัน โดยให้นักเรียนทุกคนต่าง
คนต่างทาข้อสอบ แล้วนาคะแนนพัฒนาการ (คะแนนที่ดีกว่าเดิมในการสอบครั้งก่อน) ของแต่ละคนมา
รวมกันเป็นคะแนนกลุ่ม และมีการให้รางวัล
1.3 เทคนิคการจัดกลุ่มแบบช่วยรายบุคคล (Team Assisted Individualization
หรือ TA) เทคนิคนี้เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ ใช้สาหรับระดับประถมปีที่ 3 – 6 วิธีนี้สมาชิกกลุ่มมี
4 คน มีระดับความรู้ต่างกัน ครูเรียกเด็กที่มีความรู้ระดับเดียวกันของแต่ละกลุ่มมาสอนตามความยาก
ง่ายของเนื้อหา วิธีที่สอนจะแตกต่างกัน เด็กกลับไปยังกลุ่มของตน และต่างคนต่างทางานที่ได้รับ
มอบหมายแต่ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน มีการให้รางวัลกลุ่มที่ทาคะแนนได้ดีกว่าเดิม
1.4 เทคนิคโปรแกรมการร่วมมือในการอ่านและเขียน (Cooperative Integrated
Reading and Composition หรือ CIRC) เทคนิคนี้ใช้สาหรับวิชา อ่าน เขียน และทักษะอื่น ๆ
ทางภาษา สมาชิกในกลุ่มมี 4 คน มีพื้นความรู้เท่ากัน 2 คน อีก 2 คน ก็เท่ากัน แต่ต่างระดับ
ความรู้กับ 2 คนแรก ครูจะเรียกคู่ที่มีความรู้ระดับเท่ากันจากกลุ่มทุกกลุ่มมาสอน ให้กับเข้ากลุ่ม
ห น้ า | 19
แล้วเรียกคู่ต่อไปจากทุกกลุ่มมาสอน คะแนนของกลุ่มพิจารณาจากคะแนนสอบของสมาชิกกลุ่มเป็น
รายบุคคล
1.5 เทคนิคการต่อภาพ (Jigsaw) เทคนิคนี้ใช้สาหรับนักเรียนชั้นประถมปีที่ 3 - 6
สมาชิกในกลุ่มมี 6 คน ความรู้ต่างระดับกัน สมาชิกแต่ละคนไปเรียนร่วมกันกับสมาชิกของกลุ่มอื่น ๆ
ในหัวข้อที่ต่างกันออกไป แล้วทุกคนกลับมากลุ่มของตน สอนเพื่อนในสิ่งที่ตนไปเรียนร่วมกับสมาชิก
ของกลุ่มอื่นๆ มา การประเมินผลเป็นรายบุคคลแล้วรวมเป็นคะแนนของกลุ่ม
1.6 เทคนิคการต่อภาพ 2 (Jigsaw II) เทคนิคนี้สมาชิกในกลุ่ม 4 – 5 คน นักเรียนทุกคนสนใจ
เรียนบทเรียนเดียวกัน สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มให้ความสนใจในหัวข้อย่อยของบทเรียนต่างกัน ใครที่
สนใจหัวข้อเดียวกันจะไปประชุมกัน ค้นคว้าและอภิปราย แล้วกลับมาที่กลุ่มเดิมของตนสอนเพื่อนใน
เรื่องที่ตนเองไปประชุมกับสมาชิกของกลุ่มอื่นมา ผลการสอบของแต่ละคนเป็นคะแนนของกลุ่ม กลุ่มที่
ทาคะแนนรวมได้ดีกว่าครั้งก่อน (คิดคะแนนเหมือน STAD) จะได้รับรางวัล ขั้นตอนการเรียนมีดังนี้
1) ครูแบ่งหัวข้อที่จะเรียนเป็นหัวข้อย่อยๆให้เท่ากับจานวนสมาชิกของแต่ละกลุ่ม
2) จัดกลุ่มนักเรียนโดยให้มีความสามารถคละกันภายในกลุ่มเป็นกลุ่มบ้าน (Home
group) สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มอ่านเฉพาะหัวข้อย่อยที่ตนได้รับมอบหมายเท่านั้น โดยใช้เวลาตามที่ครู
กาหนด
3) จากนั้นนักเรียนที่อ่านหัวข้อย่อยเดียวกันมานั่งด้วยกัน เพื่อทางาน ซักถามและ
ทากิจกรรม ซึ่งเรียกว่ากลุ่มผู้เชี่ยวชาญ (Expert group) สมาชิกทุก ๆ คน ร่วมมือกันอภิปรายหรือ
ทางานอย่างเท่าเทียมกัน โดยใช้เวลาตามที่ครูกาหนด
4) นักเรียนแต่ละคนในกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ กลับมายังกลุ่มบ้าน (Home group) ของตน
จากนั้นผลัดเปลี่ยนกันอธิบายให้เพื่อนสมาชิกในกลุ่มฟัง เริ่มจากหัวข้อย่อยที่ 1, 2, 3และ 4 เป็นต้น
5) ทาการทดสอบหัวข้อย่อย 1 – 4 กับนักเรียนทั้งห้อง คะแนนของสมาชิกแต่ละคน
ในกลุ่มรวมเป็นคะแนนกลุ่ม กลุ่มที่ได้คะแนนสูงสุดจะได้รับการติดประกาศ
1.7 เทคนิคการตรวจสอบเป็นกลุ่ม (Group Investigation) เทคนิคนี้สมาชิกใน
กลุ่มมี 2 – 6 คน เป็นรูปแบบที่ซับซ้อน แต่ละกลุ่มเลือกหัวข้อเรื่องที่ต้องการจะศึกษาค้นคว้า สมาชิก
ในกลุ่มแบ่งงานกันทั้งกลุ่มมีการวางแผนการดาเนินงานตามแผน การวิเคราะห์ การสังเคราะห์งานที่ทา
การนาเสนอผลงานหรือรายงานต่อหน้าชั้น การให้รางวัลหรือให้คะแนนเป็นกลุ่ม
1.8 เทคนิคการเรียนร่วมกัน (Learning Together) วิธีนี้สมาชิกในกลุ่มมี 4 – 5
คน ระดับความรู้ความสามารถต่างกัน ใช้สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 – 6 โดยครูทาการสอน
ทั้งชั้น เด็กแต่ละกลุ่มทางานตามที่ครูมอบหมาย คะแนนของกลุ่มพิจารณาจากผลงานของกลุ่ม
1.9 เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือร่วมกลุ่ม (Co – op – Co - op) ซึ่งเทคนิคนี้ประกอบด้วย
ขั้นตอนต่าง ๆ ดังนี้คือ นักเรียนช่วยกันอภิปรายหัวข้อที่จะศึกษา แบ่งหัวข้อใหญ่เป็นหัวข้อย่อย แล้ว
จัดนักเรียนเข้ากลุ่มตามความสามารถที่แตกต่างกัน กลุ่มเลือกหัวข้อที่จะศึกษาตามความสนใจของกลุ่ม
กลุ่มแบ่งหัวข้อย่อยออกเป็นหัวข้อเล็ก ๆ เพื่อนักเรียนแต่ละคนในกลุ่มเลือกไปศึกษา และมีการกาหนด
บทบาทและหน้าที่ของแต่ละคนภายในกลุ่ม แล้วนักเรียนเลือกศึกษาเรื่องที่ตนเลือกและนาเสนอต่อ
กลุ่ม กลุ่มรวบรวมหัวข้อต่าง ๆ จากนักเรียนทุกคนภายในกลุ่ม แล้วรายงานผลงานต่อชั้นและมีการ
ประเมินผลงานของกลุ่ม
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม (Query) ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม (Query) ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม (Query) ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม (Query) ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม (Query) ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม (Query) ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม (Query) ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม (Query) ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม (Query) ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม (Query) ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม (Query) ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม (Query) ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม (Query) ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม (Query) ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม (Query) ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม (Query) ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม (Query) ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม (Query) ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม (Query) ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม (Query) ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม (Query) ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม (Query) ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม (Query) ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม (Query) ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม (Query) ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม (Query) ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม (Query) ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม (Query) ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม (Query) ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม (Query) ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม (Query) ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม (Query) ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม (Query) ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม (Query) ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม (Query) ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม (Query) ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม (Query) ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม (Query) ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม (Query) ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม (Query) ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม (Query) ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม (Query) ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม (Query) ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม (Query) ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม (Query) ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม (Query) ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม (Query) ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม (Query) ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม (Query) ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม (Query) ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม (Query) ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม (Query) ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3

More Related Content

What's hot

ผลิตภัณฑ์ขัดรองเท้าจากเปลือกผลไม้
ผลิตภัณฑ์ขัดรองเท้าจากเปลือกผลไม้ผลิตภัณฑ์ขัดรองเท้าจากเปลือกผลไม้
ผลิตภัณฑ์ขัดรองเท้าจากเปลือกผลไม้BoomCNC
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลGuntima NaLove
 
วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57Kongkrit Pimpa
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงานTanyarad Chansawang
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]Kull Ch.
 
โครงงานกังหันลมผลิตไฟฟ้า
โครงงานกังหันลมผลิตไฟฟ้าโครงงานกังหันลมผลิตไฟฟ้า
โครงงานกังหันลมผลิตไฟฟ้าChotiwat Lertpasnawat
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานPhongsak Kongkham
 
โครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะโครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะPang Pond
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานNuchy Geez
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในamixdouble
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)Pongpan Pairojana
 
โครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมด
โครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมดโครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมด
โครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมดPapatsorn Tangsermkit
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...ssuser858855
 
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้กจานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้กBenz Paengpipat
 

What's hot (20)

ผลิตภัณฑ์ขัดรองเท้าจากเปลือกผลไม้
ผลิตภัณฑ์ขัดรองเท้าจากเปลือกผลไม้ผลิตภัณฑ์ขัดรองเท้าจากเปลือกผลไม้
ผลิตภัณฑ์ขัดรองเท้าจากเปลือกผลไม้
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผล
 
วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
อาหาร Fast food
อาหาร Fast foodอาหาร Fast food
อาหาร Fast food
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
โครงงานกังหันลมผลิตไฟฟ้า
โครงงานกังหันลมผลิตไฟฟ้าโครงงานกังหันลมผลิตไฟฟ้า
โครงงานกังหันลมผลิตไฟฟ้า
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
โครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะโครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะ
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกใน
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
 
โครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมด
โครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมดโครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมด
โครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมด
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้กจานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
 

Similar to การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม (Query) ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3

การพัฒนาแบบฝึกทักษะการปฏิบัติประกอบสื่อการสอนโปรแกรม App inventor เพื่อเพิ่มผ...
การพัฒนาแบบฝึกทักษะการปฏิบัติประกอบสื่อการสอนโปรแกรม App inventor เพื่อเพิ่มผ...การพัฒนาแบบฝึกทักษะการปฏิบัติประกอบสื่อการสอนโปรแกรม App inventor เพื่อเพิ่มผ...
การพัฒนาแบบฝึกทักษะการปฏิบัติประกอบสื่อการสอนโปรแกรม App inventor เพื่อเพิ่มผ...Mjjeje Mint
 
Project Based Learning Model Development on Buffer Solution Materials with So...
Project Based Learning Model Development on Buffer Solution Materials with So...Project Based Learning Model Development on Buffer Solution Materials with So...
Project Based Learning Model Development on Buffer Solution Materials with So...theijes
 
Development of Blended E-Learning Model Using Online Interactive Reflective L...
Development of Blended E-Learning Model Using Online Interactive Reflective L...Development of Blended E-Learning Model Using Online Interactive Reflective L...
Development of Blended E-Learning Model Using Online Interactive Reflective L...Jintavee Khlaisang
 
skripsi chapter 3
skripsi chapter 3skripsi chapter 3
skripsi chapter 3vahn10
 
Assessment & feedback for learning module induction
Assessment & feedback for learning module inductionAssessment & feedback for learning module induction
Assessment & feedback for learning module inductionNeil Currant
 
Sera conference 2012 student evaluations
Sera conference 2012  student evaluationsSera conference 2012  student evaluations
Sera conference 2012 student evaluationsj.lodge
 
Mixed Method Qualitative study for S3 conference Oct2022 .pptx
Mixed Method Qualitative study for S3 conference Oct2022 .pptxMixed Method Qualitative study for S3 conference Oct2022 .pptx
Mixed Method Qualitative study for S3 conference Oct2022 .pptxVaikunthan Rajaratnam
 
offshore lecture 1 12th SEptember 2015 IPGKSAH.pptx
offshore lecture 1 12th SEptember 2015 IPGKSAH.pptxoffshore lecture 1 12th SEptember 2015 IPGKSAH.pptx
offshore lecture 1 12th SEptember 2015 IPGKSAH.pptxWanFadh1
 
Student Executive Report -
Student Executive Report -Student Executive Report -
Student Executive Report -Arif Muradi
 
Diagnostic test definition nature and purpose of diagnostic test using diagno...
Diagnostic test definition nature and purpose of diagnostic test using diagno...Diagnostic test definition nature and purpose of diagnostic test using diagno...
Diagnostic test definition nature and purpose of diagnostic test using diagno...Bhaskar Reddy
 
Revising Instructional Materials
Revising Instructional MaterialsRevising Instructional Materials
Revising Instructional MaterialsRaheen26
 
A cluster-based analysis to diagnose students’ learning achievements
A cluster-based analysis to diagnose students’ learning achievementsA cluster-based analysis to diagnose students’ learning achievements
A cluster-based analysis to diagnose students’ learning achievementsEADTU
 
Spe 501 unit project assessments (1)
Spe 501 unit project assessments (1)Spe 501 unit project assessments (1)
Spe 501 unit project assessments (1)kmshana89
 
Cluster Analysis Assignment 2013-2014(2)
Cluster Analysis Assignment 2013-2014(2)Cluster Analysis Assignment 2013-2014(2)
Cluster Analysis Assignment 2013-2014(2)TIEZHENG YUAN
 
Utilization of Digital Camera Simulation Media
Utilization of Digital Camera Simulation MediaUtilization of Digital Camera Simulation Media
Utilization of Digital Camera Simulation MediaAM Publications
 
Field study 1(episode 3)
Field study 1(episode 3)Field study 1(episode 3)
Field study 1(episode 3)joshua arisga
 

Similar to การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม (Query) ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 (20)

การพัฒนาแบบฝึกทักษะการปฏิบัติประกอบสื่อการสอนโปรแกรม App inventor เพื่อเพิ่มผ...
การพัฒนาแบบฝึกทักษะการปฏิบัติประกอบสื่อการสอนโปรแกรม App inventor เพื่อเพิ่มผ...การพัฒนาแบบฝึกทักษะการปฏิบัติประกอบสื่อการสอนโปรแกรม App inventor เพื่อเพิ่มผ...
การพัฒนาแบบฝึกทักษะการปฏิบัติประกอบสื่อการสอนโปรแกรม App inventor เพื่อเพิ่มผ...
 
Writing chapter 3
Writing chapter 3Writing chapter 3
Writing chapter 3
 
Project Based Learning Model Development on Buffer Solution Materials with So...
Project Based Learning Model Development on Buffer Solution Materials with So...Project Based Learning Model Development on Buffer Solution Materials with So...
Project Based Learning Model Development on Buffer Solution Materials with So...
 
Development of Blended E-Learning Model Using Online Interactive Reflective L...
Development of Blended E-Learning Model Using Online Interactive Reflective L...Development of Blended E-Learning Model Using Online Interactive Reflective L...
Development of Blended E-Learning Model Using Online Interactive Reflective L...
 
skripsi chapter 3
skripsi chapter 3skripsi chapter 3
skripsi chapter 3
 
Assessment & feedback for learning module induction
Assessment & feedback for learning module inductionAssessment & feedback for learning module induction
Assessment & feedback for learning module induction
 
Sera conference 2012 student evaluations
Sera conference 2012  student evaluationsSera conference 2012  student evaluations
Sera conference 2012 student evaluations
 
PowerPoint-based quizzes in wave motion: Performance and experiences of students
PowerPoint-based quizzes in wave motion: Performance and experiences of studentsPowerPoint-based quizzes in wave motion: Performance and experiences of students
PowerPoint-based quizzes in wave motion: Performance and experiences of students
 
Mixed Method Qualitative study for S3 conference Oct2022 .pptx
Mixed Method Qualitative study for S3 conference Oct2022 .pptxMixed Method Qualitative study for S3 conference Oct2022 .pptx
Mixed Method Qualitative study for S3 conference Oct2022 .pptx
 
offshore lecture 1 12th SEptember 2015 IPGKSAH.pptx
offshore lecture 1 12th SEptember 2015 IPGKSAH.pptxoffshore lecture 1 12th SEptember 2015 IPGKSAH.pptx
offshore lecture 1 12th SEptember 2015 IPGKSAH.pptx
 
Student Executive Report -
Student Executive Report -Student Executive Report -
Student Executive Report -
 
4 bab iii
4 bab iii4 bab iii
4 bab iii
 
Diagnostic test definition nature and purpose of diagnostic test using diagno...
Diagnostic test definition nature and purpose of diagnostic test using diagno...Diagnostic test definition nature and purpose of diagnostic test using diagno...
Diagnostic test definition nature and purpose of diagnostic test using diagno...
 
Revising Instructional Materials
Revising Instructional MaterialsRevising Instructional Materials
Revising Instructional Materials
 
Chapter11
Chapter11Chapter11
Chapter11
 
A cluster-based analysis to diagnose students’ learning achievements
A cluster-based analysis to diagnose students’ learning achievementsA cluster-based analysis to diagnose students’ learning achievements
A cluster-based analysis to diagnose students’ learning achievements
 
Spe 501 unit project assessments (1)
Spe 501 unit project assessments (1)Spe 501 unit project assessments (1)
Spe 501 unit project assessments (1)
 
Cluster Analysis Assignment 2013-2014(2)
Cluster Analysis Assignment 2013-2014(2)Cluster Analysis Assignment 2013-2014(2)
Cluster Analysis Assignment 2013-2014(2)
 
Utilization of Digital Camera Simulation Media
Utilization of Digital Camera Simulation MediaUtilization of Digital Camera Simulation Media
Utilization of Digital Camera Simulation Media
 
Field study 1(episode 3)
Field study 1(episode 3)Field study 1(episode 3)
Field study 1(episode 3)
 

More from Mjjeje Mint

การศึกษาความพึงพอใจในการใช้ 2D Game Kit บนโปรแกรม Unity 2019 ประกอบการใช้ใบปฏ...
การศึกษาความพึงพอใจในการใช้ 2D Game Kit บนโปรแกรม Unity 2019 ประกอบการใช้ใบปฏ...การศึกษาความพึงพอใจในการใช้ 2D Game Kit บนโปรแกรม Unity 2019 ประกอบการใช้ใบปฏ...
การศึกษาความพึงพอใจในการใช้ 2D Game Kit บนโปรแกรม Unity 2019 ประกอบการใช้ใบปฏ...Mjjeje Mint
 
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายว...
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายว...การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายว...
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายว...Mjjeje Mint
 
การพัฒนาทักษะการอ่านสะกดและการจดจำความหมายคำศัพท์คอมพิวเตอร์โดยใช้บัตร คำรูปภ...
การพัฒนาทักษะการอ่านสะกดและการจดจำความหมายคำศัพท์คอมพิวเตอร์โดยใช้บัตร คำรูปภ...การพัฒนาทักษะการอ่านสะกดและการจดจำความหมายคำศัพท์คอมพิวเตอร์โดยใช้บัตร คำรูปภ...
การพัฒนาทักษะการอ่านสะกดและการจดจำความหมายคำศัพท์คอมพิวเตอร์โดยใช้บัตร คำรูปภ...Mjjeje Mint
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อสิ่งพิมพ์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อสิ่งพิมพ์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อสิ่งพิมพ์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อสิ่งพิมพ์Mjjeje Mint
 
การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา HTML
การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา HTMLการเขียนเว็บเพจด้วยภาษา HTML
การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา HTMLMjjeje Mint
 

More from Mjjeje Mint (6)

การศึกษาความพึงพอใจในการใช้ 2D Game Kit บนโปรแกรม Unity 2019 ประกอบการใช้ใบปฏ...
การศึกษาความพึงพอใจในการใช้ 2D Game Kit บนโปรแกรม Unity 2019 ประกอบการใช้ใบปฏ...การศึกษาความพึงพอใจในการใช้ 2D Game Kit บนโปรแกรม Unity 2019 ประกอบการใช้ใบปฏ...
การศึกษาความพึงพอใจในการใช้ 2D Game Kit บนโปรแกรม Unity 2019 ประกอบการใช้ใบปฏ...
 
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายว...
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายว...การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายว...
การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายว...
 
การพัฒนาทักษะการอ่านสะกดและการจดจำความหมายคำศัพท์คอมพิวเตอร์โดยใช้บัตร คำรูปภ...
การพัฒนาทักษะการอ่านสะกดและการจดจำความหมายคำศัพท์คอมพิวเตอร์โดยใช้บัตร คำรูปภ...การพัฒนาทักษะการอ่านสะกดและการจดจำความหมายคำศัพท์คอมพิวเตอร์โดยใช้บัตร คำรูปภ...
การพัฒนาทักษะการอ่านสะกดและการจดจำความหมายคำศัพท์คอมพิวเตอร์โดยใช้บัตร คำรูปภ...
 
Calender
CalenderCalender
Calender
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อสิ่งพิมพ์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อสิ่งพิมพ์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อสิ่งพิมพ์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อสิ่งพิมพ์
 
การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา HTML
การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา HTMLการเขียนเว็บเพจด้วยภาษา HTML
การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา HTML
 

Recently uploaded

Nutritional Needs Presentation - HLTH 104
Nutritional Needs Presentation - HLTH 104Nutritional Needs Presentation - HLTH 104
Nutritional Needs Presentation - HLTH 104misteraugie
 
Introduction to Nonprofit Accounting: The Basics
Introduction to Nonprofit Accounting: The BasicsIntroduction to Nonprofit Accounting: The Basics
Introduction to Nonprofit Accounting: The BasicsTechSoup
 
Mixin Classes in Odoo 17 How to Extend Models Using Mixin Classes
Mixin Classes in Odoo 17  How to Extend Models Using Mixin ClassesMixin Classes in Odoo 17  How to Extend Models Using Mixin Classes
Mixin Classes in Odoo 17 How to Extend Models Using Mixin ClassesCeline George
 
PROCESS RECORDING FORMAT.docx
PROCESS      RECORDING        FORMAT.docxPROCESS      RECORDING        FORMAT.docx
PROCESS RECORDING FORMAT.docxPoojaSen20
 
Basic Civil Engineering first year Notes- Chapter 4 Building.pptx
Basic Civil Engineering first year Notes- Chapter 4 Building.pptxBasic Civil Engineering first year Notes- Chapter 4 Building.pptx
Basic Civil Engineering first year Notes- Chapter 4 Building.pptxDenish Jangid
 
Web & Social Media Analytics Previous Year Question Paper.pdf
Web & Social Media Analytics Previous Year Question Paper.pdfWeb & Social Media Analytics Previous Year Question Paper.pdf
Web & Social Media Analytics Previous Year Question Paper.pdfJayanti Pande
 
1029-Danh muc Sach Giao Khoa khoi 6.pdf
1029-Danh muc Sach Giao Khoa khoi  6.pdf1029-Danh muc Sach Giao Khoa khoi  6.pdf
1029-Danh muc Sach Giao Khoa khoi 6.pdfQucHHunhnh
 
General Principles of Intellectual Property: Concepts of Intellectual Proper...
General Principles of Intellectual Property: Concepts of Intellectual  Proper...General Principles of Intellectual Property: Concepts of Intellectual  Proper...
General Principles of Intellectual Property: Concepts of Intellectual Proper...Poonam Aher Patil
 
Unit-IV; Professional Sales Representative (PSR).pptx
Unit-IV; Professional Sales Representative (PSR).pptxUnit-IV; Professional Sales Representative (PSR).pptx
Unit-IV; Professional Sales Representative (PSR).pptxVishalSingh1417
 
Z Score,T Score, Percential Rank and Box Plot Graph
Z Score,T Score, Percential Rank and Box Plot GraphZ Score,T Score, Percential Rank and Box Plot Graph
Z Score,T Score, Percential Rank and Box Plot GraphThiyagu K
 
Unit-V; Pricing (Pharma Marketing Management).pptx
Unit-V; Pricing (Pharma Marketing Management).pptxUnit-V; Pricing (Pharma Marketing Management).pptx
Unit-V; Pricing (Pharma Marketing Management).pptxVishalSingh1417
 
Seal of Good Local Governance (SGLG) 2024Final.pptx
Seal of Good Local Governance (SGLG) 2024Final.pptxSeal of Good Local Governance (SGLG) 2024Final.pptx
Seal of Good Local Governance (SGLG) 2024Final.pptxnegromaestrong
 
Presentation by Andreas Schleicher Tackling the School Absenteeism Crisis 30 ...
Presentation by Andreas Schleicher Tackling the School Absenteeism Crisis 30 ...Presentation by Andreas Schleicher Tackling the School Absenteeism Crisis 30 ...
Presentation by Andreas Schleicher Tackling the School Absenteeism Crisis 30 ...EduSkills OECD
 
Measures of Dispersion and Variability: Range, QD, AD and SD
Measures of Dispersion and Variability: Range, QD, AD and SDMeasures of Dispersion and Variability: Range, QD, AD and SD
Measures of Dispersion and Variability: Range, QD, AD and SDThiyagu K
 
Ecological Succession. ( ECOSYSTEM, B. Pharmacy, 1st Year, Sem-II, Environmen...
Ecological Succession. ( ECOSYSTEM, B. Pharmacy, 1st Year, Sem-II, Environmen...Ecological Succession. ( ECOSYSTEM, B. Pharmacy, 1st Year, Sem-II, Environmen...
Ecological Succession. ( ECOSYSTEM, B. Pharmacy, 1st Year, Sem-II, Environmen...Shubhangi Sonawane
 
Micro-Scholarship, What it is, How can it help me.pdf
Micro-Scholarship, What it is, How can it help me.pdfMicro-Scholarship, What it is, How can it help me.pdf
Micro-Scholarship, What it is, How can it help me.pdfPoh-Sun Goh
 
Application orientated numerical on hev.ppt
Application orientated numerical on hev.pptApplication orientated numerical on hev.ppt
Application orientated numerical on hev.pptRamjanShidvankar
 
ICT role in 21st century education and it's challenges.
ICT role in 21st century education and it's challenges.ICT role in 21st century education and it's challenges.
ICT role in 21st century education and it's challenges.MaryamAhmad92
 
Key note speaker Neum_Admir Softic_ENG.pdf
Key note speaker Neum_Admir Softic_ENG.pdfKey note speaker Neum_Admir Softic_ENG.pdf
Key note speaker Neum_Admir Softic_ENG.pdfAdmir Softic
 

Recently uploaded (20)

Nutritional Needs Presentation - HLTH 104
Nutritional Needs Presentation - HLTH 104Nutritional Needs Presentation - HLTH 104
Nutritional Needs Presentation - HLTH 104
 
Introduction to Nonprofit Accounting: The Basics
Introduction to Nonprofit Accounting: The BasicsIntroduction to Nonprofit Accounting: The Basics
Introduction to Nonprofit Accounting: The Basics
 
Mixin Classes in Odoo 17 How to Extend Models Using Mixin Classes
Mixin Classes in Odoo 17  How to Extend Models Using Mixin ClassesMixin Classes in Odoo 17  How to Extend Models Using Mixin Classes
Mixin Classes in Odoo 17 How to Extend Models Using Mixin Classes
 
PROCESS RECORDING FORMAT.docx
PROCESS      RECORDING        FORMAT.docxPROCESS      RECORDING        FORMAT.docx
PROCESS RECORDING FORMAT.docx
 
Basic Civil Engineering first year Notes- Chapter 4 Building.pptx
Basic Civil Engineering first year Notes- Chapter 4 Building.pptxBasic Civil Engineering first year Notes- Chapter 4 Building.pptx
Basic Civil Engineering first year Notes- Chapter 4 Building.pptx
 
Web & Social Media Analytics Previous Year Question Paper.pdf
Web & Social Media Analytics Previous Year Question Paper.pdfWeb & Social Media Analytics Previous Year Question Paper.pdf
Web & Social Media Analytics Previous Year Question Paper.pdf
 
1029-Danh muc Sach Giao Khoa khoi 6.pdf
1029-Danh muc Sach Giao Khoa khoi  6.pdf1029-Danh muc Sach Giao Khoa khoi  6.pdf
1029-Danh muc Sach Giao Khoa khoi 6.pdf
 
General Principles of Intellectual Property: Concepts of Intellectual Proper...
General Principles of Intellectual Property: Concepts of Intellectual  Proper...General Principles of Intellectual Property: Concepts of Intellectual  Proper...
General Principles of Intellectual Property: Concepts of Intellectual Proper...
 
Unit-IV; Professional Sales Representative (PSR).pptx
Unit-IV; Professional Sales Representative (PSR).pptxUnit-IV; Professional Sales Representative (PSR).pptx
Unit-IV; Professional Sales Representative (PSR).pptx
 
Z Score,T Score, Percential Rank and Box Plot Graph
Z Score,T Score, Percential Rank and Box Plot GraphZ Score,T Score, Percential Rank and Box Plot Graph
Z Score,T Score, Percential Rank and Box Plot Graph
 
Unit-V; Pricing (Pharma Marketing Management).pptx
Unit-V; Pricing (Pharma Marketing Management).pptxUnit-V; Pricing (Pharma Marketing Management).pptx
Unit-V; Pricing (Pharma Marketing Management).pptx
 
Seal of Good Local Governance (SGLG) 2024Final.pptx
Seal of Good Local Governance (SGLG) 2024Final.pptxSeal of Good Local Governance (SGLG) 2024Final.pptx
Seal of Good Local Governance (SGLG) 2024Final.pptx
 
Presentation by Andreas Schleicher Tackling the School Absenteeism Crisis 30 ...
Presentation by Andreas Schleicher Tackling the School Absenteeism Crisis 30 ...Presentation by Andreas Schleicher Tackling the School Absenteeism Crisis 30 ...
Presentation by Andreas Schleicher Tackling the School Absenteeism Crisis 30 ...
 
Measures of Dispersion and Variability: Range, QD, AD and SD
Measures of Dispersion and Variability: Range, QD, AD and SDMeasures of Dispersion and Variability: Range, QD, AD and SD
Measures of Dispersion and Variability: Range, QD, AD and SD
 
Ecological Succession. ( ECOSYSTEM, B. Pharmacy, 1st Year, Sem-II, Environmen...
Ecological Succession. ( ECOSYSTEM, B. Pharmacy, 1st Year, Sem-II, Environmen...Ecological Succession. ( ECOSYSTEM, B. Pharmacy, 1st Year, Sem-II, Environmen...
Ecological Succession. ( ECOSYSTEM, B. Pharmacy, 1st Year, Sem-II, Environmen...
 
Micro-Scholarship, What it is, How can it help me.pdf
Micro-Scholarship, What it is, How can it help me.pdfMicro-Scholarship, What it is, How can it help me.pdf
Micro-Scholarship, What it is, How can it help me.pdf
 
Mehran University Newsletter Vol-X, Issue-I, 2024
Mehran University Newsletter Vol-X, Issue-I, 2024Mehran University Newsletter Vol-X, Issue-I, 2024
Mehran University Newsletter Vol-X, Issue-I, 2024
 
Application orientated numerical on hev.ppt
Application orientated numerical on hev.pptApplication orientated numerical on hev.ppt
Application orientated numerical on hev.ppt
 
ICT role in 21st century education and it's challenges.
ICT role in 21st century education and it's challenges.ICT role in 21st century education and it's challenges.
ICT role in 21st century education and it's challenges.
 
Key note speaker Neum_Admir Softic_ENG.pdf
Key note speaker Neum_Admir Softic_ENG.pdfKey note speaker Neum_Admir Softic_ENG.pdf
Key note speaker Neum_Admir Softic_ENG.pdf
 

การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม (Query) ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3

  • 1. รายงานวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม (Query) ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 โดย นางสาวศรารัตน์ วรรณแจ่ม ตาแนน่ง ครูค.ศ.1 ประจาภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 วิทยาลัยสารพัดช่างนครราชสีมา สังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. ห น้ า | ก บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อหาศึกษา ระดับความรู้ของนักเรียน ก่อนเรียนหลังเรียนในการจัดการเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูลเรื่อง การสร้าง แบบสอบถามสาหรับนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 และเพื่อหาความพึงพอใจ ใน การจัดการเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การสร้างแบบสอบถามเครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย 1) แผนการ จัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องการสร้างแบบสอบถาม 2) แบบทดสอบหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลัง เรียน 3) แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้เรียน โดยใช้กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 ปีการศึกษา 2/2561 สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยสารพัดช่างนครราชสีมา จานวน 13 คน ผลการวิจัย พบว่า กิจกรรมการเรียนการสอนที่สร้างขึ้น นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ค่าเฉลี่ยของคะแนนก่อนเรียน (𝑥̅ = 3.5, S.D. = 1.8) และค่าเฉลี่ยของคะแนนหลังเรียน (𝑥̅ = 9.0, S.D. = 0.67) และผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนโดยการทดสอบ ค่า t – test พบว่าได้ ค่า t เท่ากับ 9.15 ซึ่งมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ .05 แสดง ว่าผู้เรียน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงขึ้นและความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างที่มีต่อจัดการ เรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.80 อยู่ในระดับมากที่สุด สรุปได้ว่าการจัดการเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) สามารถที่จะนาไปใช้ในการเรียนการสอนต่อไปได้ คาสาคัญ : การจัดการเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม / เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op)
  • 3. ห น้ า | ข กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยฉบับนี้สาเร็จลุล่วงด้วยดี เนื่องด้วยความกรุณา และการให้การสนับสนุนเกี่ยวกับ งานวิจัยอย่างดียิ่งจากฝ่ายงานวิจัยและพัฒนา วิทยาลัยสารพัดช่างนครราชสีมา ทั้งหลักการทฤษฎี แนวคิด และให้คาปรึกษา รวมทั้งข้อปฏิบัติต่างๆ สาหรับการดาเนินการวิจัย ตลอดจนแก้ไขข้อบกพร่อง ต่าง จนงานวิจัยเสร็จสมบูรณ์และถูกต้องที่สุด อันเป็นประโยชน์ต่องานวิจัย ผู้วิจัยขอขอบพระคุณเป็น อย่างสูง ขอขอบพระคุณอาจารย์สุทัศน์ สังข์สนิท หัวหน้าแผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยสารพัดช่าง นครราชสีมา ที่ให้คาปรึกษา แนวทางและคาแนะนาต่างๆ ช่วยเหลือในการตรวจสอบความสมบูรณ์และ ความถูกต้อง เพื่อให้งานวิจัยมีคุณภาพมากขึ้น และสุดท้ายนี้ผู้วิจัย ขอขอบพระคุณบิดา มารดา ที่ให้การ อุปการะส่งเสริมสนับสนุน จนทาให้งานวิจัยเล่มนี้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี ผู้วิจัยขอขอบพระคุณทุกท่านมา ณ โอกาสนี้ นางสาวศรารัตน์ วรรณแจ่ม ผู้วิจัย
  • 4. ห น้ า | ค สารบัญ เรื่อง นน้า บทคัดย่อ ______________________________________________________________ ก กิตติกรรมประกาศ________________________________________________________ ข สารบัญ _______________________________________________________________ ค สารบัญตาราง __________________________________________________________ จ บทที่ 1 บทนา __________________________________________________________ 8 ๑.๑ ความสาคัญและความเป็นมาของปัญหา _______________________________________8 ๑.๒ วัตถุประสงค์ของการวิจัย__________________________________________________8 ๑.๓ คาถามเกี่ยวกับงานวิจัย___________________________________________________9 ๑.๔ สมมุติฐานของการวิจัย ___________________________________________________9 ๑.๕ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัยครั้งนี้____________________________________9 ๑.๖ กรอบแนวคิดในการวิจัย __________________________________________________9 ๑.๗ ขอบเขตของการวิจัย_____________________________________________________9 ๑.๘ นิยามศัพท์เฉพาะ _____________________________________________________ 10 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง _______________________________________11 2.๑ การเรียนแบบร่วมมือ___________________________________________________ 11 ๒.๒ การเรียนการสอนตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (CONSTRUCTIONISM) _______ 29 2.๓. ความพึงพอใจต่อการเรียนการสอน ________________________________________ 30 บทที่ 3 วิธีการดาเนินงานวิจัย ______________________________________________32 3.1 ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง_______________________________________ 32 3.2 การกาหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ______________________________________ 32 3.3 การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย__________________________________________ 32 3.4 การดาเนินการทดลองและเก็บรวมรวมข้อมูล _________________________________ 34 3.5 การวิเคราะห์และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล _______________________________ 35 บทที่ 4 ผลการดาเนินงานวิจัย______________________________________________38 ๔.๑ ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง _____________________________________________ 38 ๔.๒ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุ่มตัวอย่างที่ได้จากการเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (CO – OP CO - OP) ____________________________________ 38 ๔.๓ ผลจากการประเมินความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างที่มีต่อการเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (CO – OP CO - OP) ____________________________________ 39 บทที่ 5 สรุปและอภิปรายผล _______________________________________________41 5.1 สรุปผลการวิจัย_______________________________________________________ 41 5.2 อภิปรายผลการวิจัย ___________________________________________________ 42 5.3 ข้อเสนอแนะ_________________________________________________________ 42 เอกสารอ้างอิง _________________________________________________________43 ภาคผนวก ____________________________________________________________44
  • 5. ห น้ า | ง ภาคผนวก ก.แผนภูมิหน่วยการเรียน(COURSE FLOW CHART) _________________________ 45 ภาคผนวก ข.แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4เรื่องการออกแบบสอบถาม (QUERY) ______________ 47 ภาคผนวก ค.แบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน __________________________________ 52 ภาคผนวก ง.ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุ่มตัวอย่าง ______________________________ 58 ภาคผนวก จ.แบบประเมินความพึงพอใจ________________________________________ 60 ภาคผนวก ฉ.ผลการประเมินความพึงพอใจ ______________________________________ 62 ภาคผนวก ช.ภาพการจัดกิจกรรม _____________________________________________ 64 ประวัติย่อผู้วิจัย ________________________________________________________67
  • 6. ห น้ า | จ สารบัญรูปภาพ เรื่อง นน้า รูปที่ 1 ระดับความรู้ในการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองของ Seymour Papert 29 รูปที่ 2 กราฟแสดงความพึงพอใจของนักเรียนที่มีการเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วมมือ 40 โดยใช้เทคนิค (Co – op Co - op) รูปที่ 3-4 นักเรียนแต่ละกลุ่มทาแบบทดสอบก่อนเรียน 65 รูปที่ 5-6 นักเรียนแต่ละกลุ่มทาใบงานการปฏิบัติแข่งกัน 66 รูปที่ 7-8 นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์ปัญหาจากใบงานการปฏิบัติ 67 รูปที่ 9-10 นักเรียนแต่ละกลุ่มทาข้อสอบหลังเรียนผ่านเว็บไซต์ Kahoot 68 รูปที่ 11-12 นักเรียนแต่ละกลุ่มทาข้อสอบหลังเรียนผ่านเว็บไซต์ Kahoot 69 รูปที่ 13-14 ประกาศชื่อกลุ่มที่ได้คะแนนสูงที่สุด 70
  • 7. ห น้ า | ฉ สารบัญตาราง เรื่อง นน้า ตารางที่ ๑ ความแตกต่างของการเรียนรู้แบบร่วมมือกับการเรียนรู้แบบดั้งเดิม ______________ 15 ตารางที่ ๒ แสดงการทดลองใช้แบบแผนการทดลอง กลุ่มทดสอบกลุ่มเดียวที่มีการทดสอบ 34 ก่อนเรียนและหลังเรียน (One-Group Pretest-Posttest Design) __________________________ ตารางที่ ๓ จานวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจาแนกตามเพศ _________________________ 38 ตารางที่ ๔ แสดงประสิทธิภาพทางด้านการเรียนของกลุ่มตัวอย่าง _______________________ 39 ตารางที่ ๕ แสดงระดับค่าเฉลี่ย ( 𝐱) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ความพึงพอใจต่อ _____ 39 การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op)_________________ ตารางที่ ๖ แบบประเมินความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างที่มีต่อการสอนแบบกลุ่มร่วม ___ 61 โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ________________________________________
  • 8. ห น้ า | ช ชื่อเรื่องวิจัย เรื่องการเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม ของนักเรียน ชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยสารพัดช่าง นครราชสีมา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 ผู้วิจัย นางสาวศรารัตน์ วรรณแจ่ม ตาแนน่ง ครูผู้ช่วย วุฒิการศึกษา ปริญญาตรี (ครุศาสตร์อุสาหกรรมบัณฑิต สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า เอกวิศวกรรม คอมพิวเตอร์) ปริญญาโท (วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ) สถานที่ติดต่อ วิทยาลัยสารพัดช่างนครราชสีมา ระยะเวลาในการดาเนินการวิจัย วันที่เริ่มโครงการ 15 ตุลาคม 2561 วันที่คาดว่าโครงการจะเสร็จสิ้น 15 กุมภาพันธ์ 2562 ลักษณะผลงาน วิจัยการเรียนการสอน
  • 9. ห น้ า | 8 บทที่ 1 บทนา ๑.๑ ความสาคัญและความเป็นมาของปัญนา การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ก็คือการจัดการเรียนรู้ที่คานึงถึงประโยชน์สูงสุดของ ผู้เรียน โดยครูผู้สอนหรือผู้จัดการเรียนรู้ พยายามหารูปแบบวิธีการที่เหมาะสมกับผู้เรียนที่จะให้ผู้เรียน เกิดการพัฒนาและเกิดการเรียนรู้ได้มากที่สุด การสอนแบบต่าง ๆ โดยครูผู้สอนอธิบายหรือป้อนความรู้ ให้ฝ่ายเดียว คงเป็นแบบอย่างหรือแนวทางที่ค่อนข้างเก่าและล้าสมัยไปแล้ว ผู้เรียนไม่มีโอกาสได้คิดสร้าง ความรู้ใหม่ ๆ เลย ครูผู้สอนมีความรู้แค่ไหนก็ถ่ายทอดให้แค่นั้น ส่วนผู้เรียนจะได้แค่ไหนก็สุดแล้วแต่ ความสามารถของแต่ละคน การเรียนการสอนก็รู้สึกเบื่อหน่ายทั้งครูผู้สอนและผู้เรียน เพราะมีขั้นตอน แบบเดิม ๆ เก่า ๆ ภายในห้องสี่เหลี่ยมเดิม ๆ แต่ในปัจจุบันนี้หมดยุคสมัยดังกล่าวแล้ว ครูพันธุ์ใหม่และ นักเรียนพันธุ์ใหม่ ต้องร่วมกันเรียนรู้พร้อมกัน คิดสร้างสรรค์สิ่งแปลก ๆ ใหม่ร่วมกัน ร่วมคิดร่วมเรียนรู้ ในสิ่งใหม่ ๆ แต่ก่อนอื่นจะต้องมาเรียนรู้กันก่อนว่า การออกแบบและการวางแผนการจัดการเรียนรู้แบบ ใหม่ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มีกระบวนการขั้นตอนอย่างไร จะได้นาวิธีการหลักการและแนวคิดไป ประยุกต์ใช้และพัฒนาให้เกิดประโยชน์กับตัวครูผู้สอน และตัวผู้เรียนต่อไป (สุรพล เอี่ยมอู่ทรัพย์, 2558) การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือนับว่าเป็นการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยใช้ กระบวนการกลุ่มให้ผู้เรียนได้มีโอกาสทางานร่วมกันเพื่อผลประโยชน์และเกิดความสาเร็จร่วมกันของ กลุ่ม ซึ่งการเรียนแบบร่วมมือมิใช่เป็นเพียงจัดให้ผู้เรียนทางานเป็นกลุ่ม เช่น ทารายงาน ทากิจกรรม ประดิษฐ์หรือสร้างชิ้นงาน อภิปราย ตลอดจนปฏิบัติการทดลองแล้ว ผู้สอนทาหน้าที่สรุปความรู้ด้วย ตนเองเท่านั้น แต่ผู้สอนจะต้องพยายามใช้กลยุทธ์วิธีให้ผู้เรียนได้ใช้กระบวนการประมวลสิ่งที่มาจากการ ทากิจกรรมต่างๆ จัดระบบความรู้สรุปเป็นองค์ความรู้ด้วยตนเองเป็นหลักการสาคัญ (พิมพันธ์ เดชะคุปต์ , 2544 :15 ) และจากปัญหาที่ผู้เรียนบางคนยังไม่สามารถวิเคราะห์โจทย์ฐานข้อมูลเกี่ยวกับการสร้าง แบบสอบถาม ในรายวิชาโปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล ดังนั้นผู้วิจัย จึงเลือกการจัดการเรียนรู้แบบเทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) เพื่อให้ ผู้เรียนฝึกวิเคราะห์โจทย์การสร้างแบบสอบถาม จากฐานข้อมูลที่กาหนดให้เป็นกลุ่ม เพื่อเป็นการฝึก รับผิดชอบงานของกลุ่มร่วมกัน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน จนกระทั่งเกิดเป็นการเรียนเป็นกลุ่ม หรือเป็นทีมอย่างมีประสิทธิภาพนั่นเอง โดยเน้นให้ผู้เรียนมองเห็นความสาคัญในสิ่งที่เรียนรู้และสามารถ เชื่อมโยงความรู้ระหว่างความรู้ใหม่กับความรู้เก่าจนเชื่อมโยงเข้ากับเป้าประสงค์ของการเรียนในบทนั้นๆ รวมถึงผู้สอนมีวิธีการสอนที่หลากหลายและมีประสิทธิภาพเพื่อนาไปใช้ต่อไป ๑.๒ วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1.2.1 เพื่อหาความมีประสิทธิภาพของวิธีการสอนโดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม ของนักเรียนชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 1.2.2 เพื่อหาความพึงพอใจ ในการจัดการเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่ม ร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถาม
  • 10. ห น้ า | 9 ๑.๓ คาถามเกี่ยวกับงานวิจัย เทคนิคการจัดการเรียนรู้กลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) มีผลต่อ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบ สอบถามของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 อย่างไร ๑.๔ สมมุติฐานของการวิจัย การศึกษาระดับความรู้ของนักเรียน ก่อนเรียนและหลังเรียนในการจัดการเรียนการสอนแบบ กลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) รายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบสอบถามของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 วิทยาลัยสารพัดช่าง นครราชสีมา ทาให้มีผลการเรียนรู้ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 50 ๑.๕ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัยครั้งนี้ 1.5.1 ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การออกแบบ สอบถาม ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 หลังเรียนผ่านเกณฑ์ที่กาหนด 1.5.2 ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนการเรียน ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล 1.5.3 ครูผู้สอนได้แนวทางการพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอน ที่ผ่านการวิจัยทดลองใช้แล้ว เป็นแนวทางในการพัฒนาการการสอนต่อไป ๑.๖ กรอบแนวคิดในการวิจัย 1.6.1 ยึดหลักการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองตามหลักการ เรียนรู้ตามทฤษฎี Constructionism 1.6.2 ใช้วิธีการสอนให้ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงความรู้ระหว่างความรู้ใหม่กับความรู้เก่าและ สร้างเป็นองค์ความรู้ใหม่ขึ้นมาเมื่อพิจารณาการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นในการเรียนการสอนโดยปกติที่เกิดขึ้นใน ห้องเรียนนั้น ๑.๗ ขอบเขตของการวิจัย - ขอบเขตด้านเนื้อนา - ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง เป็นนักเรียนระดับชั้นคธ.3 สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ จานวน 13 คน - ตัวแปรที่ใช้ศึกษา ตัวแปรต้นได้แก่ การทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล เรื่อง การสร้างแบบสอบถาม
  • 11. ห น้ า | 10 ตัวแปรตามได้แก่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูลเรื่อง การสร้างแบบสอบถามหลังเรียน ของ นักศึกษาผ่านเกณฑ์ร้อยละ 50 ๑.๘ นิยามศัพท์เฉพาะ 1.8.1. การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ หมายถึงการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ หมายถึง การ จัดการเรียนการสอนที่ผู้สอนจัดให้ผู้เรียนแบ่งเป็นกลุ่มเล็กๆ ประมาณ 4-6 คน เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ โดยการทางานร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน และร่วมกันรับผิดชอบงานในกลุ่มที่ได้รับมอบหมาย เพื่อให้เกิดเป็นความสาเร็จของกลุ่ม 1.8.2. กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co – op ) หมายถึง เป็นวิธีการที่ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการมี ปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่นอย่างแท้จริง ได้ฝึกความรับผิดชอบ ฝึกเป็นผู้นา ผู้ตามกลุ่มฝึกการทางานให้ ประสบผลสาเร็จ และฝึกทักษะทางสังคม ผู้สอนควรเลือกใช้เทคนิควิธีต่าง ๆ ดังกล่ามาให้เหมาะสม กับเนื้อหาสาระ และจุดประสงค์การเรียนรู้ที่กาหนดไว้ 1.8.3. นักเรียน หมายถึง นักศึกษาระดับชั้นคธ.3 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัย สารพัดช่างนครราชสีมา จานวน 13 คน 1.8.4. ประสิทธิภาพของวิธีการสอน หมายถึง ประสิทธิภาพที่ได้จากการประเมินตามเกณฑ์ E1/E2 ที่ระดับ 80/80 1.8.5. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึงผลการวิเคราะห์คะแนนที่ได้จากนักเรียนระดับชั้น คธ. 3 ที่มีผลต่อการสอบโดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการ จัดการฐานข้อมูล เรื่อง การสร้างแบบสอบถามโดยนาคะแนนการสอบก่อนเรียนและหลังเรียนมา เปรียบเทียบกัน ซึ่งคานวณจากสูตรการทดสอบการหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน t – test แบบ Dependent โดยมีนัยสาคัญที่ 0.05 1.8.6. ความพึงพอใจ หมายถึงระดับความรู้สึกของผู้เรียนที่มีต่อการเรียนการสอนโดยใช้ เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูลเรื่อง การสร้าง แบบสอบถาม ซึ่งได้มาจากผู้เรียนตอบแบบสอบถาม ความพึงพอใจ ซึ่งค่าที่ยอมรับได้คือ 3.5 ขึ้นไป
  • 12. ห น้ า | 11 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง งานวิจัยเรื่องการเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ในรายวิชา โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูลเรื่อง การสร้างแบบสอบถามเพื่อศึกษาประสิทธิภาพของ วิธีการสอนและความพึงพอใจในการใช้การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วม โดยใช้เทคนิค กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัย สารพัดช่างนครราชสีมา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่ เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้ 2.๑ การเรียนแบบร่วมมือ ๒.๑.๑ ความหมายของการเรียนแบบร่วมมือ 2.๑.๒ วัตถุประสงค์ของการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ 2.๑.๓ ลักษณะของการเรียนแบบร่วมมือ 2.๑.๔. องค์ประกอบสาคัญของการเรียนแบบร่วมมือ 2.1.๕ ความแตกต่างระหว่างการเรียนแบบร่วมมือกับการเรียนแบบดั้งเดิม 2.๑.๖ ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ 2.๑.๗ เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ 2.๑.๘ วิธีการเรียนรู้แบบรู้แบบร่วมมือ 2.๑.๙ รูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือ 2.๑.๑๐ ประโยชน์ของการเรียนแบบร่วมมือ 2.๒ การเรียนการสอนตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructionism) 2.๓ ความพึงพอใจต่อการเรียนการสอน 2.๓.1 ความหมายของความพึงพอใจ 2.๓.2 บรรยากาศในการเรียนการสอนกับความพึงพอใจ 2.๑ การเรียนแบบร่วมมือ 2.๑.1 ความนมายของการเรียนแบบร่วมมือ สาหรับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือได้มีนักวิชาการให้ความหมายไว้หลายท่าน ดังนี้ อาภรณ์ ใจเที่ยง (2550 : 121) ได้กล่าวว่า การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือหรือแบบมีส่วนร่วม หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถต่างกัน ได้ร่วมมือกันทางานกลุ่มด้วย ความตั้งใจและเต็มใจรับผิดชอบในบทบาทหน้าที่ในกลุ่มของตน ทาให้งานของกลุ่มดาเนินไปสู่เป้าหมาย ของงานได้ สลาวิน (Slavin, 1987 : 7-13) อ้างใน ไสว ฟักขาว (2544 : 192) ได้ให้ความหมายของ การเรียนรู้แบบร่วมมือว่า หมายถึง วิธีการจัดการเรียนการสอนที่ให้นักเรียนทางานร่วมกันเป็นกลุ่มเล็ก ๆ โดยทั่วไปมีสมาชิกกลุ่มละ 4 คน สมาชิกกลุ่มมีความสามารถในการเรียนต่างกัน สมาชิกในกลุ่มจะ รับผิดชอบในสิ่งที่ได้รับการสอน และช่วยเพื่อนสมาชิกให้เกิดการเรียนรู้ด้วย มีการช่วยเหลือซึ่งกันและ กัน โดยมีเป้าหมายในการทางานร่วมกัน คือ เป้าหมายของกลุ่ม
  • 13. ห น้ า | 12 ไสว ฟักขาว (2544 : 193) กล่าวถึงการเรียนรู้แบบร่วมมือไว้ว่า เป็นการจัดการเรียนการสอนที่ แบ่งผู้เรียนออกเป็นกลุ่มเล็ก ๆ สมาชิกในกลุ่มมีความสามารถแตกต่างกัน มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น มีการช่วยเหลือสนับสนุนซึ่งกันและกัน และมีความรับผิดชอบร่วมกันทั้งในส่วนตน และส่วนรวม เพื่อให้กลุ่มได้รับความสาเร็จตามเป้าหมายที่กาหนด จากความหมายของการเรียนรู้แบบร่วมมือข้างต้น สรุปได้ว่า การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ หมายถึง การจัดการเรียนการสอนที่ผู้สอนจัดให้ผู้เรียนแบ่งเป็นกลุ่มเล็กๆ ประมาณ 4-6 คน เพื่อให้ ผู้เรียนได้เรียนรู้โดยการทางานร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน และร่วมกันรับผิดชอบงานในกลุ่มที่ได้รับ มอบหมาย เพื่อให้เกิดเป็นความสาเร็จของกลุ่ม 2.๑.2 วัตถุประสงค์ สาหรับวัตถุประสงค์ของการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ อาภรณ์ ใจเที่ยง (2550 : 121) ได้กล่าวว่า ดังนี้ 1. เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และฝึกทักษะกระบวนการกลุ่มได้ฝึกบทบาทหน้าที่และความ รับผิดชอบในการทางานกลุ่ม 2. เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะการคิดค้นคว้า ทักษะการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองทักษะ การคิดสร้างสรรค์ การแก้ปัญหา การตัดสินใจ การตั้งคาถาม ตอบคาถาม การใช้ภาษา การพูด ฯลฯ 3. เพื่อให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะทางสังคม การอยู่ร่วมกับผู้อื่น การมีน้าใจช่วยเหลือผู้อื่น การ เสียสละ การยอมรับกันและกัน การไว้วางใจ การเป็นผู้นา ผู้ตาม ฯลฯ 2.๑.3 ลักษณะของการเรียนรู้แบบร่วมมือ อาภรณ์ ใจเที่ยง (2550 : 121) ได้กล่าวถึง การจัดกิจกรรมแบบร่วมแรงร่วมใจว่า มีลักษณะ ดังนี้ 1. มีการทางานกลุ่มร่วมกัน มีปฏิสัมพันธ์ภายในกลุ่มและระหว่างกลุ่ม 2. สมาชิกในกลุ่มมีจานวนไม่ควรเกิน 6 คน 3. สมาชิกในกลุ่มมีความสามารถแตกต่างกันเพื่อช่วยเหลือกัน 4. สมาชิกในกลุ่มต่างมีบทบาทรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย เช่น - เป็นผู้นากลุ่ม (Leader) - เป็นผู้อธิบาย (Explainer) - เป็นผู้จดบันทึก (Recorder) - เป็นผู้ตรวจสอบ (Checker) - เป็นผู้สังเกตการณ์ (Observer) - เป็นผู้ให้กาลังใจ (Encourager) ฯลฯ สมาชิกในกลุ่มมีความรับผิดชอบร่วมกัน ยึดหลักว่า “ความสาเร็จของแต่ละคน คือ ความสาเร็จของกลุ่ม ความสาเร็จของกลุ่ม คือ ความสาเร็จของทุกคน”
  • 14. ห น้ า | 13 2.๑.4 องค์ประกอบสาคัญของการเรียนรู้แบบร่วมมือ นักวิชาการหลายท่านได้กล่าวถึงองค์ประกอบของการเรียนรู้แบบร่วมมือ ไว้ดังนี้ จอห์นสัน และจอห์นสัน (Johnson and Johnson,1987 : 13 - 14)อ้างใน ไสว-ฟักขาว (2544 : 193-194) ได้กล่าวถึงองค์ประกอบที่สาคัญของการเรียนรู้แบบร่วมมือ ไว้ดังนี้ 1. ความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันในทางบวก (Positive Interdependence) หมายถึง การที่สมาชิกในกลุ่มทางานอย่างมีเป้าหมายร่วมกัน มีการทางานร่วมกัน โดยที่สมาชิกทุกคนมีส่วนร่วม ในการทางานนั้น มีการแบ่งปันวัสดุ อุปกรณ์ ข้อมูลต่าง ๆ ในการทางาน ทุกคนมีบทบาท หน้าที่ และประสบความสาเร็จร่วมกัน สมาชิกในกลุ่มจะมีความรู้สึกว่าตนประสบความสาเร็จได้ก็๖อเมื่อ สมาชิกทุกคนในกลุ่มประสบความสาเร็จด้วย สมาชิกทุกคนจะได้รับผลประโยชน์ หรือรางวัลผลงาน กลุ่มโดยเท่าเทียมกัน เช่น ถ้าสมาชิกทุกคนช่วยกัน ทาให้กลุ่มได้คะแนน 90 % แล้ว สมาชิกแต่ละ คนจะได้คะแนนพิเศษเพิ่มอีก 5 คะแนน เป็นรางวัล เป็นต้น 2. การมีปฏิสัมพันธ์ที่ส่งเสริมซึ่งกันและกัน (Face To Face Promotive Interaction) เป็นการติดต่อสัมพันธ์กัน แลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน การอธิบายความรู้ให้แก่ เพื่อนในกลุ่มฟัง เป็นลักษณะสาคัญของการติดต่อปฏิสัมพันธ์โดยตรงของการเรียนแบบร่วมมือ ดังนั้น จึงควรมีการแลกเปลี่ยน ให้ข้อมูลย้อนกลับ เปิดโอกาสให้สมาชิกเสนอแนวความคิดใหม่ ๆ เพื่อเลือกใน สิ่งที่เหมาะสมที่สุด 3. ความรับผิดชอบของสมาชิกแต่ละคน (Individual Accountability) ความ รับผิดชอบของสมาชิกแต่ละบุคคล เป็นความรับผิดชอบในการเรียนรู้ของสมาชิกแต่ละบุคคล โดยมี การช่วยเหลือส่งเสริมซึ่งกันและกัน เพื่อให้เกิดความสาเร็จตามเป้าหมายกลุ่ม โดยที่สมาชิกทุกคนใน กลุ่มมีความมั่นใจ และพร้อมที่จะได้รับการทดสอบเป็นรายบุคคล 4. การใช้ทักษะระหว่างบุคคลและทักษะการทางานกลุ่มย่อย (Interdependence and Small Group Skills) ทักษะระหว่างบุคคล และทักษะการทางานกลุ่มย่อย นักเรียนควร ได้รับการฝึกฝนทักษะเหล่านี้เสียก่อน เพราะเป็นทักษะสาคัญที่จะช่วยให้การทางานกลุ่มประสบ ผลสาเร็จ นักเรียนควรได้รับการฝึกทักษะในการสื่อสาร การเป็นผู้นา การไว้วางใจผู้อื่น การตัดสินใจ การแก้ปัญหา ครูควรจัดสถานการณ์ที่จะส่งเสริมให้นักเรียน เพื่อให้นักเรียนสามารถทางานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 5. กระบวนการกลุ่ม (Group Process) เป็นกระบวนการทางานที่มีขั้นตอนหรือ วิธีการที่จะช่วยให้การดาเนินงานกลุ่มเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ นั่นคือ สมาชิกทุกคนต้องทาความ เข้าใจในเป้าหมายการทางาน วางแผนปฏิบัติงานร่วมกัน ดาเนินงานตามแผนตลอดจนประเมินผลและ ปรับปรุงงาน องค์ประกอบของการเรียนรู้แบบร่วมมือทั้ง 5 องค์ประกอบนี้ ต่างมีความสัมพันธ์ซึ่ง กันและกัน ในอันที่จะช่วยให้การเรียนแบบร่วมมือดาเนินไปด้วยดี และบรรลุตามเป้าหมายที่กลุ่ม กาหนด โดยเฉพาะทักษะทางสังคม ทักษะการทางานกลุ่มย่อย และกระบวนการกลุ่มซึ่งจาเป็นที่ จะต้องได้รับการฝึกฝน ทั้งนี้เพื่อให้สมาชิกกลุ่มเกิดความรู้ ความเข้าใจและสามารถนาทักษะเหล่านี้ไป ใช้ให้เกิดประโยชน์ได้อย่างเต็มที่
  • 15. ห น้ า | 14 อาภรณ์ ใจเที่ยง (2550 : 122) กล่าวถึงองค์ประกอบของการจัดการเรียนรู้แบบ ร่วมมือไว้ว่า ต้องคานึงถึงองค์ประกอบในการให้ผู้เรียนทางานกลุ่ม ดังข้อต่อไปนี้ 1. มีการพึ่งพาอาศัยกัน (Positive Interdependence) หมายถึง สมาชิกในกลุ่ม มีเป้าหมายร่วมกัน มีส่วนรับความสาเร็จร่วมกัน ใช้วัสดุอุปกรณ์ร่วมกัน มีบทบาทหน้าที่ทุกคนทั่วกัน ทุกคนมีความรู้สึกว่างานจะสาเร็จได้ต้องช่วยเหลือซึ่งกันและกัน 2. มีปฏิสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดในเชิงสร้างสรรค์ (Face to Face Promotive Interaction) หมายถึง สมาชิกกลุ่มได้ทากิจกรรมอย่างใกล้ชิด เช่น แลกเปลี่ยนความคิดเห็น อธิบาย ความรู้แก่กัน ถามคาถาม ตอบคาถามกันและกัน ด้วยความรู้สึกที่ดีต่อกัน 3. มีการตรวจสอบความรับผิดชอบของสมาชิกแต่ละคน (Individual Accountability) เป็นหน้าที่ของผู้สอนที่จะต้องตรวจสอบว่า สมาชิกทุกคนมีความรับผิดชอบต่องาน กลุ่มหรือไม่ มากน้อยเพียงใด เช่น การสุ่มถามสมาชิกในกลุ่ม สังเกตและบันทึกการทางานกลุ่ม ให้ ผู้เรียนอธิบายสิ่งที่ตนเรียนรู้ให้เพื่อนฟัง ทดสอบรายบุคคล เป็นต้น 4. มีการฝึกทักษะการช่วยเหลือกันทางานและทักษะการทางานกลุ่มย่อย (Interdependence and Small Groups Skills) ผู้เรียนควรได้ฝึกทักษะที่จะช่วยให้งานกลุ่ม ประสบความสาเร็จ เช่น ทักษะการสื่อสาร การยอมรับและช่วยเหลือกัน การวิจารณ์ความคิดเห็น โดยไม่วิจารณ์บุคคล การแก้ปัญหาความขัดแย้ง การให้ความช่วยเหลือ และการเอาใจใส่ต่อทุกคน อย่างเท่าเทียมกัน การทาความรู้จักและไว้วางใจผู้อื่น เป็นต้น 5. มีการฝึกกระบวนการกลุ่ม (Group Process) สมาชิกต้องรับผิดชอบต่อการ ทางานของกลุ่ม ต้องสามารถประเมินการทางานของกลุ่มได้ว่า ประสบผลสาเร็จมากน้อยเพียงใด เพราะเหตุใด ต้องแก้ไขปัญหาที่ใด และอย่างไร เพื่อให้การทางานกลุ่มมีประสิทธิภาพดีกว่าเดิม เป็น การฝึกกระบวนการกลุ่มอย่างเป็นกระบวนการ จากองค์ประกอบสาคัญของการเรียนรู้แบบร่วมมือ จึงสรุปได้ว่าการเรียนรู้แบบร่วมมือนั้นมี องค์ประกอบ 5 ประการด้วยกัน คือ 1. มีการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน โดยสมาชิกแต่ละคนมีเป้าหมายในการทางานกลุ่มร่วมกัน ซึ่งจะต้องพึงพาอาศัยซึ่งกันและกันเพื่อความสาเร็จของการทางานกลุ่ม 2. มีปฏิสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิดในเชิงสร้างสรรค์ เป็นการให้สมาชิกได้ร่วมกันทางานกลุ่มกัน อย่างใกล้ชิด โดยการเสนอและแสดงความคิดเห็นกันของสมาชิกภายในกลุ่ม ด้วยความรู้สึกที่ดีต่อกัน 3. มีความรับผิดชอบของสมาชิกแต่ละคน หมายความว่า สมาชิกภายในกลุ่มแต่ละคนจะต้อง มีความรับผิดในการทางาน โดยที่สมาชิกทุกคนในกลุ่มมีความมั่นใจ และพร้อมที่จะได้รับการทดสอบ เป็นรายบุคคล 4. มีการใช้ทักษะกระบวนการกลุ่มย่อย ทักษะระหว่างบุคคล และทักษะการทางานกลุ่มย่อย นักเรียนควรได้รับการฝึกฝนทักษะเหล่านี้เสียก่อน เพราะเป็นทักษะสาคัญที่จะช่วยให้การทางานกลุ่ม ประสบผลสาเร็จ เพื่อให้นักเรียนจะสามารถทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5. มีการใช้กระบวนการกลุ่ม ซึ่งเป็นกระบวนการทางานที่มีขั้นตอนหรือ วิธีการที่จะช่วยให้การ ดาเนินงานกลุ่มเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ในการวางแผนปฏิบัติงานและเป้าหมายในการทางาน ร่วมกัน โดยจะต้องดาเนินงานตามแผนตลอดจนประเมินผลและปรับปรุงงาน
  • 16. ห น้ า | 15 2.๑.๕ ความแตกต่างระนว่างการเรียนรู้แบบร่วมมือกับการเรียนเป็นกลุ่มแบบดั้งเดิม ไสว ฟักขาว ( 2544 : 195) ได้กล่าวว่า จากองค์ประกอบสาคัญของการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning) ซึ่งได้แก่ ความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันในทางบวก การปฏิสัมพันธ์ที่ส่งเสริม กันและกัน ความรับผิดชอบของสมาชิกแต่ละบุคคล การใช้ทักษะระหว่างบุคคล การทางานกลุ่มย่อย และกระบวนการกลุ่ม องค์ประกอบเหล่านี้ทาให้การเรียนรู้แบบร่วมมือแตกต่างออกไปจากการเรียนรู้ เป็นกลุ่มแบบดั้งเดิม (Traditional Learning) กล่าวคือ การเรียนเป็นกลุ่มแบบดั้งเดิมนั้น เป็นเพียง การแบ่งกลุ่มการเรียนเพื่อให้นักเรียนปฏิบัติงานร่วมกัน แบ่งงานกันทา สมาชิกในกลุ่มต่างทางาน เพื่อให้งานสาเร็จ เน้นที่ผลงานมากกว่ากระบวนการในการทางาน ดังนั้นสมาชิกบางคนอาจมีความ รับผิดชอบในตนเองสูง แต่สมาชิกบางคนอาจไม่มีความรับผิดชอบ ขอเพียงมีชื่อในกลุ่ม มีผลงาน ออกมาเพื่อส่งครูเท่านั้น ซึ่งต่างจากการเรียนเป็นกลุ่มแบบร่วมมือที่สมาชิกแต่ละคนต้องมีความ รับผิดชอบทั้งต่อตนเองและต่อเพื่อนสมาชิกในกลุ่มด้วย จอห์นสันและจอห์นสัน (Johnson and Johnson, 1987 : 25 ) อ้างใน ไสว ฟักขาว (2544 : 195) ได้สรุปความแตกต่างระหว่างกลุ่มการ เรียนรู้แบบร่วมมือกับกลุ่มการเรียนแบบดั้งเดิมไว้ดังนี้ ตารางที่ ๑ ความแตกต่างของการเรียนรู้แบบร่วมมือกับการเรียนรู้แบบดั้งเดิม การเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning) การเรียนรู้เป็นกลุ่มแบบดั้งเดิม (Traditional Learning) 1. มีความสัมพันธ์ในเชิงบวกระหว่างสมาชิก 2. สมาชิกเอาใจใส่รับผิดชอบต่อตนเอง 3. สมาชิกมีความสามารถแตกต่างกัน 4. สมาชิกผลัดเปลี่ยนกันเป็นผู้นา 5. รับผิดชอบร่วมกับสมาชิกด้วยกัน 6. เน้นผลงานและการคงอยู่ซึ่งความเป็นกลุ่ม 7. สอนทักษะทางสังคมโดยตรง 8. ครูคอยสังเกตและหาโอกาสแนะนา 9. สมาชิกกลุ่มมีกระบวนการทางานเพื่อ ประสิทธิผลกลุ่ม 1. ขาดการพึ่งพากันระหว่างสมาชิก 2. สมาชิกขาดความรับผิดชอบในตนเอง 3. สมาชิกมีความสามารถเท่าเทียมกัน 4. มีผู้นาที่ได้รับการแต่งตั้งเพียงคนเดียว 5. รับผิดชอบเฉพาะตนเอง 6. เน้นที่ผลงานเพียงอย่างเดียว 7. ทักษะทางสังคมถูกละเลย 8. ครูขาดความสนใจหน้าที่ของกลุ่ม 9. ขาดกระบวนการในการทงานกลุ่ม 2.๑.๖ ขั้นตอนการจัดกิจกรรม อาภรณ์ ใจเที่ยง (2550 : 122-123) กล่าวถึงขั้นตอนการจัดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ ไว้ดังนี้ 1. ขั้นเตรียมการ ผู้สอนชี้แจงจุดประสงค์ของบทเรียน ผู้สอนจัดกลุ่มผู้เรียนเป็นกลุ่มย่อย กลุ่มละประมาณไม่เกิน 6 คน มีสมาชิกที่มีความสามารถแตกต่างกัน ผู้สอนแนะนาวิธีการทางานกลุ่มและบทบาทของสมาชิก ในกลุ่ม 2. ขั้นสอน
  • 17. ห น้ า | 16 ผู้สอนนาเข้าสู่บทเรียน บอกปัญหาหรืองานที่ต้องการให้กลุ่มแก้ไขหรือคิด วิเคราะห์ หาคาตอบ ผู้สอนแนะนาแหล่งข้อมูล ค้นคว้า หรือให้ข้อมูลพื้นฐานสาหรับการคิดวิเคราะห์ผู้สอนมอบหมายงานที่ กลุ่มต้องทาให้ชัดเจน 3. ขั้นทากิจกรรมกลุ่ม ผู้เรียนร่วมมือกันทางานตามบทบาทหน้าที่ที่ได้รับ ทุกคนร่วมรับผิดชอบ ร่วมคิด ร่วมแสดงความ คิดเห็น การจัดกิจกรรในขั้นนี้ ครูควรใช้เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมแรงร่วมใจ ที่น่าสนใจและเหมาะสม กับผู้เรียน เช่น การเล่าเรื่องรอบวง มุมสนทนา คู่ตรวจสอบ คู่คิด ฯลฯผู้สอนสังเกตการณ์ทางาน ของกลุ่ม คอยเป็นผู้อานวยความสะดวก ให้ความกระจ่างในกรณีที่ผู้เรียนสงสัยต้องการความช่วยเหลือ 4. ขั้นตรวจสอบผลงานและทดสอบ ขั้นนี้ผู้เรียนจะรายงานผลการทางานกลุ่ม ผู้สอนและเพื่อนกลุ่ม อื่นอาจซักถามเพื่อให้เกิดความกระจ่างชัดเจน เพื่อเป็นการตรวจสอบผลงานของกลุ่มและรายบุคคล 5. ขั้นสรุปบทเรียนและประเมินผลการทางานกลุ่ม ขั้นนี้ผู้สอนและผู้เรียนช่วยกันสรุปบทเรียน ผู้สอนควรช่วยเสริมเพิ่มเติมความรู้ ช่วยคิดให้ครบตามเป้าหมายการเรียนที่กาหนดไว้ และช่วยกัน ประเมินผลการทางานกลุ่มทั้งส่วนที่เด่นและส่วนที่ควรปรับปรุงแก้ไข 2.๑.๗ เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ วัฒนาพร ระงับทุกข์ (2545 : 177 – 195) อ้างใน อาภรณ์ ใจเที่ยง (2550 : 123 – 125) กล่าวถึง เทคนิคการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ ไว้ว่า เทคนิคที่นามาใช้ในการเรียนรู้แบบร่วมมือ มีหลายวิธี ได้แนะนาไว้ดังนี้ 1. ปริศนาความคิด (Jigsaw) ปริศนาความคิด เป็นเทคนิคที่สมาชิกในกลุ่มแยกย้ายกันไปศึกษาหาความรู้ ในหัวข้อเนื้อหาที่ แตกต่างกัน แล้วกลับเข้ากลุ่มมาถ่ายทอดความรู้ที่ได้มาให้สมาชิกกลุ่มฟัง วิธีนี้คล้ายกับการต่อภาพจิก ซอร์ จึงเรียกวิธีนี้ว่า Jigsaw หรือปริศนาการคิด ลักษณะการจัดกิจกรรมผู้เรียนที่มีความสามารถ ต่างกันเข้ากลุ่มร่วมกันเรียกว่า กลุ่มบ้าน (Home Group) สมาชิกในกลุ่มบ้านจะรับผิดชอบศึกษา หัวข้อที่แตกต่างกัน แล้วแยกย้ายไปเข้ากลุ่มใหม่ในหัวข้อเดียวกัน กลุ่มใหม่นี้เรียกว่า กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ (Expert Group) เมื่อกลุ่มผู้เชี่ยวชาญทางานร่วมกันเสร็จ ก็จะย้ายกลับไปกลุ่มเดิมคือ กลุ่มบ้านของ ตน นาความรู้ที่ได้จากการอภิปรายจากกลุ่มผู้เชี่ยวชาญมาสรุปให้กลุ่มบ้านฟัง ผู้สอนทดสอบและให้ คะแนน 2. กลุ่มร่วมมือแข่งขัน (Teams – Games – Toumaments : TGT) เทคนิคกลุ่มร่วมมือแข่งขัน เป็นกิจกรรมที่สมาชิกในกลุ่มเรียนรู้เนื้อหาสาระจากผู้สอนด้วยกัน แล้วแต่ละคนแยกย้ายไปแข่งขันทดสอบความรู้ คะแนนที่ได้ของแต่ละคนจะนามารวมกันเป็นคะแนน ของกลุ่ม กลุ่มที่ได้คะแนนรวมสูงสุดได้รับรางวัล ลักษณะการจัดกิจกรรม สมาชิกกลุ่มจะช่วยกันเตรียมตัวเข้าแข่งขัน โดยผลัดกันถามตอบให้เกิดความแม่นยาในความรู้ที่ ผู้สอนจะทดสอบ เมื่อได้เวลาแข่งขัน แต่ละทีมจะเข้าประจาโต๊ะแข่งขัน แล้วเริ่มเล่นเกมพร้อมกันด้วย ชุดคาถามที่เหมือนกัน เมื่อการแข่งขันจบลง ผู้เข้าร่วมแข่งขันจะกลับไปเข้าทีมเดิมของตนพร้อม คะแนนที่ได้รับ ทีมที่ได้คะแนนรวมสูงสุดถือว่าเป็นทีมชนะเลิศ 3. กลุ่มร่วมมือช่วยเหลือ (Team Assisted Individualization : TAT)
  • 18. ห น้ า | 17 เทคนิคการเรียนรู้วิธีนี้ เป็นการเรียนรู้ที่เปิดโอกาสให้สมาชิกแต่ละคนได้แสดงความสามารถเฉพาะตน ก่อน แล้วจึงจับคู่ตรวจสอบกันและกัน ช่วยเหลือกันทาใบงานจนสามารถผ่านได้ ต่อจากนั้นจึงนา คะแนนของแต่ละคนมารวมเป็นคะแนนของกลุ่ม กลุ่มที่ได้คะแนนสูงสุดจะเป็นฝ่ายได้รับรางวัล ลักษณะการจัดกิจกรรม กลุ่มจะมีสมาชิก 2 – 4 คน จับคู่กันทางานตามใบงานที่ได้รับมอบหมาย แล้วแลกเปลี่ยนกันตรวจ ผลงาน ถ้าผลงานยังไม่ถูกต้องสมบูรณ์ ต้องแก้ไขจนกว่าจะผ่าน ต่อจากนั้นทุกคนจะทาข้อทดสอบ คะแนนของทุกคนจะมารวมกันเป็นคะแนนของกลุ่ม กลุ่มที่ได้คะแนนสูงสุดจะได้รับรางวัล 4. กลุ่มสืบค้น (Group Investigation : GI) กลุ่มสืบค้น เป็นเทคนิคการจัดกิจกรรมที่ให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการศึกษาค้นคว้าแสวงหาความรู้ ด้วยตนเอง ผู้เรียนแต่ละกลุ่มได้รับมอบหมายให้ค้นคว้าหาความรู้มานาเสนอ ประกอบเนื้อหาที่เรียน อาจเป็นการทางานตามใบงานที่กาหนด โดยที่ทุกคนในกลุ่มรับรู้และช่วยกันทางาน ลักษณะการจัดกิจกรรม สมาชิกกลุ่มจะช่วยกันศึกษาค้นคว้าหาคาตอบ หรือความรู้มานาเสนอต่อชั้นเรียน โดยผู้สอนแบ่ง เนื้อหาเป็นหัวข้อย่อย แต่ละกลุ่มศึกษากลุ่มละ 1 หัวข้อ เมื่อพร้อม ผู้เรียนจะนาเสนอผลงานทีละกลุ่ม แล้วร่วมกันประเมินผลงาน 5. กลุ่มเรียนรู้ร่วมกัน (Learning Together : LT) กลุ่มเรียนรู้ร่วมกัน เป็นเทคนิคการจัดกิจกรรมที่ให้สมาชิกในกลุ่มได้รับผิดชอบ มีบทบาทหน้าที่ ทุกคน เช่น เป็นผู้อ่าน เป็นผู้จดบันทึก เป็นผู้รายงานนาเสนอ เป็นต้น ทุกคนช่วยกันทางาน จนได้ ผลงานสาเร็จ ส่งและนาเสนอผู้สอน ลักษณะการจัดกิจกรรม กลุ่มผู้เรียนจะแบ่งหน้าที่กันทางาน เช่น เป็นผู้อ่านคาสั่งใบงาน เป็นผู้จดบันทึกงาน เป็นผู้หา คาตอบ เป็นผู้ตรวจคาตอบ กลุ่มจะได้ผลงานที่เกิดจากการทางานของทุกคน 6. กลุ่มร่วมกันคิด (Numbered Heads Together : NHT) กิจกรรมนี้เหมาะสาหรับการทบทวนหรือตรวจสอบความเข้าใจ สมาชิกกลุ่มจะประกอบด้วย ผู้เรียนที่มีความสามารถเก่ง ปานกลาง และอ่อนคละกัน จะช่วยกันค้นคว้าเตรียมตัวตอบคาถามที่ ผู้สอนจะทดสอบ ผู้สอนจะเรียกถามทีละคน กลุ่มที่สมาชิกสามารถตอบคาถามได้มากแสดงว่าได้ ช่วยเหลือกันดี ลักษณะการจัดกิจกรรม สมาชิกกลุ่มที่มีความสามารถแตกต่างกัน จะร่วมกันอภิปรายปัญหาที่ได้รับเพื่อให้เกิดความพร้อม และความมั่นใจที่จะตอบคาถามผู้สอน ผู้สอนจะเรียกสมาชิกกลุ่มให้ตอบทีละคน แล้วนาคะแนนของ แต่ละคนมารวมเป็นคะแนนของกลุ่ม 7. กลุ่มร่วมมือ (Co – op Co - op) กลุ่มร่วมมือเป็นเทคนิคการทางานกลุ่มวิธีหนึ่ง โดยสมาชิกในกลุ่มที่มีความสามารถและความถนัด แตกต่างกันได้ แสดงบทบาทตามหน้าที่ที่ตนถนัดอย่างเต็มที่ ทาให้งานประสบผลสาเร็จ วิธีนี้ทาให้ ผู้เรียนได้ฝึกความรับผิดชอบการทางานกลุ่มร่วมกัน และสนองต่อหลักการของการเรียนรู้ และร่วมมือ ที่ว่า “ความสาเร็จแต่ละคน คือ ความสาเร็จของกลุ่ม ความสาเร็จของกลุ่ม คือ ความสาเร็จของทุกคน”
  • 19. ห น้ า | 18 ลักษณะการจัดกิจกรรม สมาชิกกลุ่มที่มีความสามารถแตกต่างกันจะแบ่งหน้าที่รับผิดชอบไปศึกษาหัวข้อย่อยทีได้รับ มอบหมาย แล้วนางานจากการศึกษาค้นคว้ามารวมกันเป็นงานกลุ่มปรับปรุงให้ต่อเนื่องเชื่อมโยง มี ความสละสลวย เสร็จแล้วจึงนาเสนอต่อชั้นเรียน ทุกกลุ่มจะช่วยกันประเมินผลงาน จากที่กล่าวมาทั้งหมดสรุปได้ว่า การเรียนรู้แบบร่วมมือ เป็นวิธีการที่ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการมี ปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่นอย่างแท้จริง ได้ฝึกความรับผิดชอบ ฝึกเป็นผู้นา ผู้ตามกลุ่มฝึกการทางานให้ ประสบผลสาเร็จ และฝึกทักษะทางสังคม ผู้สอนควรเลือกใช้เทคนิควิธีต่าง ๆ ดังกล่ามาให้เหมาะสม กับเนื้อหาสาระ และจุดประสงค์การเรียนรู้ที่กาหนดไว้ 2.๑.๘ วิธีการเรียนแบบร่วมมือ วันเพ็ญ จันทร์เจริญ (2542 : 119-128) กล่าวถึง วิธีการเรียนแบบร่วมมือที่นิยมใช้กันมี เทคนิคสาคัญ 2 แบบ คือ แบบเป็นทางการ (Formal cooperative learning) และแบบไม่เป็น ทางการ (Informal cooperative learning) 1. การเรียนแบบร่วมมืออย่างเป็นทางการ มีดังนี้ 1.1 เทคนิคการแข่งขันระหว่างกลุ่มด้วยเกม (Team – Games – Tournament หรือ TGT) คือ การจัดกลุ่มนักเรียนเป็นกลุ่มเล็ก ๆ กลุ่มละ 4 คน ระดับความสามารถต่างกัน (Heterogeneous teams) คือ นักเรียนเก่ง 1 คน ปานกลาง 2 คน และอ่อน 1 คน ครู กาหนดบทเรียนและการทางานของกลุ่มเอาไว้ ครูทาการสอนบทเรียนให้นักเรียนทั้งชั้นแล้วให้กลุ่ม ทางานตามที่กาหนด นักเรียนในกลุ่มช่วยเหลือกัน เด็กเก่งช่วยและตรวจงานของเพื่อนให้ถูกต้องก่อน นาส่งครู แล้วจัดกลุ่มใหม่เป็นกลุ่มแข่งขันที่มีความสามารถเท่า ๆ กัน (Homogeneous tournament teams) มาแข่งขันตอบปัญหาซึ่งจะมีการจัดกลุ่มใหม่ทุกสัปดาห์ โดยพิจารณาจาก ความสามารถของแต่ละบุคคล คะแนนของกลุ่มจะได้จากคะแนนของสมาชิกที่เข้าแข่งขันร่วมกับกลุ่ม อื่น ๆ ร่วมกัน แล้วมีการมอบรางวัลให้แก่กลุ่มที่ได้คะแนนสูงถึงเกณฑ์ที่กาหนดไว้ 1.2 เทคนิคการแบ่งกลุ่มแบบกลุ่มสัมฤทธิ์ (Student Teams Achievement Divisions หรือ STAD) คือ การจัดกลุ่มเหมือน TGT แต่ไม่มีการแข่งขัน โดยให้นักเรียนทุกคนต่าง คนต่างทาข้อสอบ แล้วนาคะแนนพัฒนาการ (คะแนนที่ดีกว่าเดิมในการสอบครั้งก่อน) ของแต่ละคนมา รวมกันเป็นคะแนนกลุ่ม และมีการให้รางวัล 1.3 เทคนิคการจัดกลุ่มแบบช่วยรายบุคคล (Team Assisted Individualization หรือ TA) เทคนิคนี้เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ ใช้สาหรับระดับประถมปีที่ 3 – 6 วิธีนี้สมาชิกกลุ่มมี 4 คน มีระดับความรู้ต่างกัน ครูเรียกเด็กที่มีความรู้ระดับเดียวกันของแต่ละกลุ่มมาสอนตามความยาก ง่ายของเนื้อหา วิธีที่สอนจะแตกต่างกัน เด็กกลับไปยังกลุ่มของตน และต่างคนต่างทางานที่ได้รับ มอบหมายแต่ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน มีการให้รางวัลกลุ่มที่ทาคะแนนได้ดีกว่าเดิม 1.4 เทคนิคโปรแกรมการร่วมมือในการอ่านและเขียน (Cooperative Integrated Reading and Composition หรือ CIRC) เทคนิคนี้ใช้สาหรับวิชา อ่าน เขียน และทักษะอื่น ๆ ทางภาษา สมาชิกในกลุ่มมี 4 คน มีพื้นความรู้เท่ากัน 2 คน อีก 2 คน ก็เท่ากัน แต่ต่างระดับ ความรู้กับ 2 คนแรก ครูจะเรียกคู่ที่มีความรู้ระดับเท่ากันจากกลุ่มทุกกลุ่มมาสอน ให้กับเข้ากลุ่ม
  • 20. ห น้ า | 19 แล้วเรียกคู่ต่อไปจากทุกกลุ่มมาสอน คะแนนของกลุ่มพิจารณาจากคะแนนสอบของสมาชิกกลุ่มเป็น รายบุคคล 1.5 เทคนิคการต่อภาพ (Jigsaw) เทคนิคนี้ใช้สาหรับนักเรียนชั้นประถมปีที่ 3 - 6 สมาชิกในกลุ่มมี 6 คน ความรู้ต่างระดับกัน สมาชิกแต่ละคนไปเรียนร่วมกันกับสมาชิกของกลุ่มอื่น ๆ ในหัวข้อที่ต่างกันออกไป แล้วทุกคนกลับมากลุ่มของตน สอนเพื่อนในสิ่งที่ตนไปเรียนร่วมกับสมาชิก ของกลุ่มอื่นๆ มา การประเมินผลเป็นรายบุคคลแล้วรวมเป็นคะแนนของกลุ่ม 1.6 เทคนิคการต่อภาพ 2 (Jigsaw II) เทคนิคนี้สมาชิกในกลุ่ม 4 – 5 คน นักเรียนทุกคนสนใจ เรียนบทเรียนเดียวกัน สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มให้ความสนใจในหัวข้อย่อยของบทเรียนต่างกัน ใครที่ สนใจหัวข้อเดียวกันจะไปประชุมกัน ค้นคว้าและอภิปราย แล้วกลับมาที่กลุ่มเดิมของตนสอนเพื่อนใน เรื่องที่ตนเองไปประชุมกับสมาชิกของกลุ่มอื่นมา ผลการสอบของแต่ละคนเป็นคะแนนของกลุ่ม กลุ่มที่ ทาคะแนนรวมได้ดีกว่าครั้งก่อน (คิดคะแนนเหมือน STAD) จะได้รับรางวัล ขั้นตอนการเรียนมีดังนี้ 1) ครูแบ่งหัวข้อที่จะเรียนเป็นหัวข้อย่อยๆให้เท่ากับจานวนสมาชิกของแต่ละกลุ่ม 2) จัดกลุ่มนักเรียนโดยให้มีความสามารถคละกันภายในกลุ่มเป็นกลุ่มบ้าน (Home group) สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มอ่านเฉพาะหัวข้อย่อยที่ตนได้รับมอบหมายเท่านั้น โดยใช้เวลาตามที่ครู กาหนด 3) จากนั้นนักเรียนที่อ่านหัวข้อย่อยเดียวกันมานั่งด้วยกัน เพื่อทางาน ซักถามและ ทากิจกรรม ซึ่งเรียกว่ากลุ่มผู้เชี่ยวชาญ (Expert group) สมาชิกทุก ๆ คน ร่วมมือกันอภิปรายหรือ ทางานอย่างเท่าเทียมกัน โดยใช้เวลาตามที่ครูกาหนด 4) นักเรียนแต่ละคนในกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ กลับมายังกลุ่มบ้าน (Home group) ของตน จากนั้นผลัดเปลี่ยนกันอธิบายให้เพื่อนสมาชิกในกลุ่มฟัง เริ่มจากหัวข้อย่อยที่ 1, 2, 3และ 4 เป็นต้น 5) ทาการทดสอบหัวข้อย่อย 1 – 4 กับนักเรียนทั้งห้อง คะแนนของสมาชิกแต่ละคน ในกลุ่มรวมเป็นคะแนนกลุ่ม กลุ่มที่ได้คะแนนสูงสุดจะได้รับการติดประกาศ 1.7 เทคนิคการตรวจสอบเป็นกลุ่ม (Group Investigation) เทคนิคนี้สมาชิกใน กลุ่มมี 2 – 6 คน เป็นรูปแบบที่ซับซ้อน แต่ละกลุ่มเลือกหัวข้อเรื่องที่ต้องการจะศึกษาค้นคว้า สมาชิก ในกลุ่มแบ่งงานกันทั้งกลุ่มมีการวางแผนการดาเนินงานตามแผน การวิเคราะห์ การสังเคราะห์งานที่ทา การนาเสนอผลงานหรือรายงานต่อหน้าชั้น การให้รางวัลหรือให้คะแนนเป็นกลุ่ม 1.8 เทคนิคการเรียนร่วมกัน (Learning Together) วิธีนี้สมาชิกในกลุ่มมี 4 – 5 คน ระดับความรู้ความสามารถต่างกัน ใช้สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 – 6 โดยครูทาการสอน ทั้งชั้น เด็กแต่ละกลุ่มทางานตามที่ครูมอบหมาย คะแนนของกลุ่มพิจารณาจากผลงานของกลุ่ม 1.9 เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือร่วมกลุ่ม (Co – op – Co - op) ซึ่งเทคนิคนี้ประกอบด้วย ขั้นตอนต่าง ๆ ดังนี้คือ นักเรียนช่วยกันอภิปรายหัวข้อที่จะศึกษา แบ่งหัวข้อใหญ่เป็นหัวข้อย่อย แล้ว จัดนักเรียนเข้ากลุ่มตามความสามารถที่แตกต่างกัน กลุ่มเลือกหัวข้อที่จะศึกษาตามความสนใจของกลุ่ม กลุ่มแบ่งหัวข้อย่อยออกเป็นหัวข้อเล็ก ๆ เพื่อนักเรียนแต่ละคนในกลุ่มเลือกไปศึกษา และมีการกาหนด บทบาทและหน้าที่ของแต่ละคนภายในกลุ่ม แล้วนักเรียนเลือกศึกษาเรื่องที่ตนเลือกและนาเสนอต่อ กลุ่ม กลุ่มรวบรวมหัวข้อต่าง ๆ จากนักเรียนทุกคนภายในกลุ่ม แล้วรายงานผลงานต่อชั้นและมีการ ประเมินผลงานของกลุ่ม