SlideShare a Scribd company logo
1 of 60
Download to read offline
ติวสอบวิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา)
สาหรับนักเรียนระดับชั้น ม.3
เพื่อเข้าศึกษาต่อระดับชั้น ม.4
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
ผู้สอน...ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์
สรุปสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity) :
ความหลากหลายทางชีวภาพ หมายถึง การมีชนิดพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตหลากหลายชนิดมาอยู่ร่วมกัน ณ สถานที่หนึ่งหรือ
ระบบนิเวศใดระบบนิเวศหนึ่ง ความหลากหลายทางชีวภาพแบ่งได้ 3 ระดับดังนี้
1.ความหลากหลายทางพันธุกรรม (genetic diversity)
2. ความหลากหลายของชนิดหรือชนิดพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต (Species diversity)
3. ความหลากหลายของระบบนิเวศ (ecological diversity)
Biodiversity:Species diversity
Ecological biodiversity
Terrestrial ecosystemAquatic ecosystem
สปีชีส์ของสิ่งมีชีวิต (Species)
ความหมายของสปีชีส์
1.1 สปีชีส์ทางด้านสัณฐานวิทยา หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่แตกต่างกันในลักษณะทางสัณฐานและโครงสร้างทางกายวิภาค
ของสิ่งมีชีวิต ใช้เป็นแนวคิด ในการศึกษาอนุกรมวิธาน
1.2 สปีชีส์ทางด้านชีววิทยา หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่สามารถผสมพันธุ์กันได้ในธรรมชาติ ให้กาเนิดลูกที่ไม่เป็นหมันแต่ถ้า
เป็นสิ่งมีชีวิตต่างสปีชีส์กัน ก็อาจให้กาเนิดลูกได้เช่นกันแต่เป็นหมัน
แนวคิดของสปีชีส์ทางด้านชีววิทยาโดยพิจารณาความสามารถในการผสมพันธุ์และให้กาเนิดลูกหลานที่ไม่เป็นหมัน ใน
ธรรมชาติมีสิ่งมีชีวิตต่างสปีชีส์กันอยู่ด้วยกันจานวนมาก
hybrid sterillty
ไทกอน
ไลเกอร์
ล่อ
7
สาเหตุของการเกิดความหลากหลายทางพันธุกรรม
• การคัดเลือกจากธรรมชาติ (natural selection)
• การอพยพเคลื่อนย้ายถิ่นที่อยู่อาศัย (migration)
• การกลายพันธุ์ (mutation) / ความแปรผันทางพันธุกรรม (variation)
• การปรับปรุงพันธุ์ (breeding of plant & animal)
• พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพ (genetic engineering/biotechnology)
สาเหตุความหลากหลายของชนิดพันธุ์
- การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิศาสตร์
- การเปลี่ยนแปลงที่อยู่อาศัยและแหล่งอาหาร
- การปรับตัวเข้ากับสภาพภูมิศาสตร์และแหล่งอาหาร จนเกิดความแตกต่างทางรูปร่างสัณฐาน แยกกลุ่ม
และผสมพันธุ์ภายในกลุ่ม
การเกิดสปีชีส์ (SPECIATION)
การที่สปีชีส์ดั้งเดิมแยกออกจากกันไปตามสภาพ
ภูมิศาสตร์ รูปร่างสัณฐาน ความสามารถของการ
ผสมพันธุ์กัน ตลอดจนความแตกต่างของ
องค์ประกอบทางพันธุกรรม
ความสาคัญของความหลากหลายทางชีวภาพ
1. ความสาคัญต่อระบบนิเวศ สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีความเกี่ยวข้องกัน ให้
ประโยชน์ต่อโลก เช่น แนวปะการังเป็นแหล่งอนุบาลของสัตว์น้าในทะเล
2. ความหลากหลายของสายพันธุ์ในสปีชีส์เดียวกัน มีประโยชน์ต่อการอยู่
รอดของสิ่งมีชีวิต เช่น ข้าวพันธุ์พื้นบ้านไทยมียีนที่ต้านทางต่อเพลี้ย
กระโดดสีน้าตาล
3. ความหลากหลายของสปีชีส์ ทาให้เกิดประโยชน์ในภาคอุตสาหกรรมอย่าง
กว้างขวาง เช่น ต้นยางให้น้ายางที่ใช้ในอุตสาหกรรมยาง พืชและสัตว์ เป็น
แหล่งอาหารที่สาคัญของมนุษย์ สารสกัดจากสิ่งมีชีวิตสามารถนามาใช้
ประโยชน์ในทางยารักษาโรคหลายชนิด เช่น สารเปลาโนทอล (Plaonotol)
จากต้นเปล้าน้อย ใช้รักษาโรคกระเพาะและลาไส้ได้
4. ความหลากหลายทางชีวภาพ ทาให้เกิดความหลากหลายชีวิตในธรรมชาติ
ก่อให้เกิดจินตนาการและเกิดความรื่นรมย์ใจ
การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ
1. การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการผลิตและบริโภค ที่ทาการเกษตรแบบมุ่งเน้นการค้า มีการใช้สารเคมีมากขึ้นในการเกษตร เช่น ยาฆ่าแมลงและยา
ปราบศัตรูพืช เกิดสารพิษตกค้างในดินและแหล่งน้า กระทบต่อสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กในดิน และสัตว์น้า
2. การเติบโตของประชากรและการกระจายตัวของประชากร ทาให้เกิดการรุกล้าเข้าไปในพื้นที่ที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสูง ซึ่งกระทบต่อ
ความสมดุลของระบบนิเวศ
3. การทาลายถิ่นที่อยู่อาศัยตามธรรมชาติของสัตว์นานาพันธุ์ เช่น การทาลายป่ า การล่าสัตว์
4. มีการนาทรัพยากรธรรมชาติไปใช้ประโยชน์มากเกินไป
5. การตักตวงผลประโยชน์จากชนิดพันธุ์ของพืชและสัตว์ป่ า เพื่อผลประโยชน์ทางการค้า โดยการค้าขายสัตว์และพืชป่ าแบบผิดกฎหมาย
6. การนาเข้าชนิดพันธุ์ต่างถิ่นซึ่งมีผลกระทบต่อการทาลายสายพันธุ์ท้องถิ่น
7. การสร้างมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม เช่น มลพิษทางน้า มลพิษทางอากาศ และขยะ เป็นต้น
8. การเปลี่ยนแปลงภาวะเศรษฐกิจ และการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมของโลก เช่น อุณหภูมิโลกสูงขึ้น การเพิ่มขึ้นของน้าทะเล ภัยแล้ง
ทาให้เกิดปัญหาการขาดแคลนน้า การเกิดไฟป่ า
9. ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีชีวภาพ (biotechnology) ด้านการตัดต่อหน่วยพันธุกรรมหรือจีเอ็มโอ (GMO; GeneticallyModified
Organisms) หรือพันธุวิศวกรรมศาสตร์ (genetic engineering)
Biodiversity :
อนุกรมวิธาน (Taxonomy) เป็นพื้นฐานที่สาคัญของวิทยาศาสตร์ชีวภาพ เป็นศาสตร์แห่งการจัดจาแนกหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิต
ออกเป็นกลุ่มต่างๆ อย่างมีระเบียบแบบแผน การจัดหมวดหมู่ทางอนุกรมวิธานจะพยายามจัดลาดับของสิ่งมีชีวิตเข้ากลุ่มโดยพิจารณา
ถึงความสัมพันธ์และความคล้ายคลึงกันของสิ่งมีชีวิตเหล่านั้นจากลักษณะต่างๆ เช่น ลักษณะทางสัณฐานวิทยา ลักษณะทางกายวิภาค
ศาสตร์ นิเวศวิทยา ชีววิทยาระดับโมเลกุล ชีววิทยาเชิงพฤติกรรม และวิวัฒนาการ เป็นต้น โดยสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะเหมือนกันหรือ
ใกล้เคียงกันก็จะถูกจัดไว้กลุ่มเดียวกัน ส่วนสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะแตกต่างกันก็จะถูกจัดไว้ในกลุ่มที่ต่างกัน ระบบการจัดเรียงเป็นลาดับ
ขั้นตั้งแต่ระดับสูงลงไปสู่ระดับต่าลงไปจะเรียกว่า Hierarchy
อนุกรมวิธาน (Taxonomy) จะศึกษาในด้านต่างๆ 3 ลักษณะ ได้แก่
1. การจัดจาแนกสิ่งมีชีวิตออกเป็นหมวดหมู่ในลาดับขั้นต่างๆ(Classification)
2. การตรวจสอบหาชื่อวิทยาศาสตร์ที่ถูกต้องของสิ่งมีชีวิต (Identification)
3. การกาหนดชื่อที่เป็นสากลของหมวดหมู่และชนิดของสิ่งมีชีวิต (Nomenclature)
Systematics เป็นวิชาที่ใช้ในความหมายอย่างเดียวกับอนุกรมวิธานยังรวมไปถึงการศึกษาความสัมพันธ์ในหมู่สิ่งมีชีวิต และวิวัฒนาการด้วย
การจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิต
เราสามารถจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิตออกเป็น 7 หมวดหมู่หลักๆ จากใหญ่ไปเล็กได้ ดังนี้
Biodiversity :
การจัดจาแนกสิ่งมีชีวิตออกเป็นหมวดหมู่มีประโยชน์ คือ
- ทาให้สะดวกในการศึกษาสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ
- ทาให้ทราบถึงลักษณะโครงสร้างของสิ่งมีชีวิตที่ต่างกันหรือคล้ายคลึงกัน
- ทาให้ทราบถึงความสัมพันธ์เชื่อมโยงซึ่งกันและกันของสิ่งมีชีวิตต่างๆ
- ช่วยให้เราสามารถค้นหาสิ่งที่ต้องการได้สะดวกโดยไม่ต้องจดจามาก
ความหลากหลายทางชีวภาพ เป็นตัวชี้บอกถึงความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งมีชีวิตที่เหลืออยู่ในปัจจุบันมีประมาณ 1-5% ของที่เคยปรากฟฏอยู่บนพื้นโลก (สูญพันธุ์ไปแล้ว : Extinctionประมาณ 95-99%)
เกณฑ์ทั่วไปในการจาแนกสิ่งมีชีวิต
• การจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิตมีมาตั้งแต่อดีตเมื่อประมาณ 350 ปีก่อนคริสต์ศักราช
• โดยนักวิทยาศาสตร์เหล่านี้
• อริสโตเติล (Aristotle ) แบ่งสิ่งมีชีวิตเป็น 2 พวกคือ 1. พืช 2. สัตว์
• จอห์น เรย์ ( John Ray ) นักพฤกษศาสตร์ เป็นบุคคลแรกที่ใช้คาว่า
สปีชีส์ ( Species)แบ่งพืชออกเป็น 2 กลุ่ม 1. พืชใบเลี้ยงเดี่ยว 2. พืชใบเลี้ยงคู่
• คาโรลัส ลินเนียส ( carolus Linnaeus) นักธรรมชาติวิทยาชาวสวีเดนจาแนกพืชมีดอกออกเป็นหมวดหมู่
โดยใช้จานวนเกสรตัวผู้และตั้งชื่อวิทยาศาสตร์ของสิ่งมีชีวิตเป็นคนแรกบิดาแห่งวิชาอนุกรมวิธานสมัยใหม่
การตรวจสอบชื่อวิทยาศาสตร์ที่ถูกต้องของสิ่งมีชีวิต (Identification) :
ความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity)
ค . ศ . 1969 Robert H. Whittaker ได้เสนอให้มีการจัดจาแนกสิ่งมีชีวิตออกเป็นอาณาจักรต่างๆ ( kingdom)โดยอาศัยลักษณะ
และการจัดเรียงตัวของเซลล์และความแตกต่างของลักษณะการกินอาหาร ออกเป็น 5 คือ
1. อาณาจักรโมเนอรา (Kingdom Monera) คือพวกสิ่งมีชีวิตที่เป็นโปรคาริโอท (prokaryote) เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว ได้แก่
แบคทีเรียและไซยาโนแบคทีเรีย
2.อาณาจักรโปรติสตา (KingdomProtista) เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว (unicellular organisms) ที่เป็นพวกยูคาริโอท (eukaryote)
อาจจะอาศัยอยู่เดี่ยวๆ หรือเป็นกลุ่ม เช่น อมีบา พารามีเซียม ยูกลีนา
3.อาณาจักรฟังไจ (Kingdom Fungi) เป็นสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ (multicellularorganisms) ที่เป็นยูคาริโอท กินอาหารโดยการ
ย่อยสลายสารอินทรีย์ต่างๆ ได้แก่ เห็ด และรา
4.อาณาจักรพืช ( KingdomPlantae) เป็นสิ่งมีชีวิตพวกพืชซึ่งเป็นพวกยูคาริโอทที่มีหลายเซลล์ มีผนังเซลล์ (cell wall) ไม่
สามารถเคลื่อนที่ได้ด้วยตัวเองมีความสามารถในการสังเคราะห์แสง
5.อาณาจักรสัตว์ ( Kingdom Animalia) เป็นสิ่งมีชีวิตพวกสัตว์ที่เป็นพวกยูคาริโอทที่มีหลายเซลล์ ไม่มีผนังเซลล์ กินอาหารโดย
การกินสิ่งมีชีวิตอื่นเป็นอาหาร ส่วนใหญ่เคลื่อนที่ได้อย่างน้อยในช่วงใดช่วงหนึ่งของชีวิต
ความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity)
ความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity)
ไวรัสและไวรอยด์ (Vira Kingdom)
- ไม่เป็นเซลล์ (ไวรัส : capsid + DNA/RNA , ไวรอยด์ : DNA)
- Obligate intracellular parasite
- ไวรัสก่อโรคในคน = ไข้หวัด ,ไข้หวัดใหญ่ ,โปลิโอ ,ชิคุนกุนยา ,ตัวอักเสบ ,ปอดบวม ,พิษสนัขบ้า ,งูสวัด ,เริม ,ไข้เลือดออก ,ไข้
เหลือง ,ไข้ทรพิษ ,หัด ,หัดเยอรมัน ,คางทูม ,เอดส์ ,ไข้หวัดนก ,ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ,ไข้หวัด SARS / ในพืช = ใบ
ด่างของยาสูบและถั่วลิสง ใบหงิกของพริก
- ไวรัสที่พบในแบคทีเรีย = bacteriophage / phage
- ไวรอยด์เป็นปรสิตในพืช
อาณาจักรมอเนอรา
-โปรคาริโอต (เซลล์ไม่มีนิเคลียส) ,อาจมี/ไม่มีผนังเซลล์ก็ได้ ,อาจอยู่เป็นเซลล์เดี่ยวหรือกลุ่มเซลล์
- แบคทีเรีย และ สาหร่ายสีเขียวแกมน้้าเงิน
- รูปร่างแบคทีเรีย = คอกคัส / บาซิลลัส / สไปริลลัม
- บางชนิดสร้างแคปซูล : เอนโดสปอร์ (ไม่จัดเป็นการสืบพันธุ์แต่ทนต่อสภาพแวดล้อมไม่เหมาะสม)
- ผลิตภัณฑ์จากแบคทีเรีย : นมเปรี้ยว โยเกิร์ต น้้าส้มสายชู เนยแข็ง ปลาร้า ปลาส้ม ผักดอง
- โรคที่เกิดจากแบคทีเรีย : คอตีบ ไอกรน บาคทะยัก หนองใน ไทฟอยด์ (ไข้รากสาดน้อย) ซิฟิลิส อหิวาตกโรค บิดไม่มีตัว วัณโรค
เรื้อน ปอดบวม
- สาหร่ายสีเขียวแกมน้้าเงิน สังเคราะห์แสงได้ (คลอโรฟิลล์) เช่น นอสตอก ,แอนนาบีน่า (แหนแดง) ,ออสซิลาโทเรีย (ช่วยเพิ่มธาตุ
ไนโตรเจน) ,สไปรูไลน่า (สาหร่ายเกลียวทองมีโปรตีนสูง)
อาณาจักรโปรติสตา
- เซลล์ที่มีนิวเคลียส ,ที่คล้ายสัตว์ (โพรโทซัว) คล้ายพืช (สาหร่าย) คล้ายฟังไจ (ราเมือก)
- โพรโทซัว เช่น ไกอาเดีย (ปรสิตล้าไส้คน) ไตรโคนิมฟา (ล้าไส้ปลวก : พึ่งพาช่วยย่อยเซลลูโลส) ,ไตรโคโมแนส (ติด
เชื้อในช่องคลอด) ยูกลีน่า (เป็นทั้งผู้ผลิตและบริโภค) ,ทริปพาโนโซม (ปรสิตโรคเหงานหลับ) ไดโนแฟกเจลเลต (ขี้
ปลาวาฬ/red tide : ทะเลเป็นพิษสัตว์น้้าตาย) พลาสโมเดียม (มาลาเรีย/ไข้จับสั่น) มียุงก้นปล่องเป็นพาหะ) พารามี
เซียม ,วอลติเซลล่า ,สเท็นเตอร์ (พวกที่มีซิเลีย) อะมีบา ,เอนทามีบา ที่ส้าคัญ อิสโทริกา (โรคบิดมีตัว) จินจิวาริส (ช่วย
กินแบคทีเรียบริเวณฟัน)
อาณาจักรโปรติสตา
- สาหร่าย เป็นผู้ผลิตก้าลังสูงสุดในโลก มีรงควัตถุสังเคราะห์แสงชนิดต่างๆบรรจุในคลอโรพลาสต์
• สาหร่ายสีน้้าตาล มีโครงสร้างซับซ้อนน้อยสุด เช่น พาดิน่า , ลามินาเรีย ,ฟิวคัส (ทั้ง 3 ชนิดมีโพแทสเซียม
สูง) ,ซากาสซัม (สาหร่ายทุ่น มีไอโอดีนสูง) ,เคปป์ (ขนาดใหญ่ที่สุด)
• ไดอะตอม มีเซลล์เดียว ผนังเซลล์เป็น 2 ฝาประกบกัน (ซิลิกา) เมื่อตายทับถมซึ่งสามารถขุดมาใช้ใน
อุตสาหกรรมขนาดกลาง : เครื่องแก้ว ยาขัดโลหะ ยาสีฟัน
• สาหร่ายสีแดง มีสารคาราจีแนน (สกัดท้าวุ้น) เช่น พอไฟร่า (จีฉ่าย ,โนริ : ท้าอาหาร) ,สาหร่ายผมนาง
(ผลิตวุ้น)
• สาหร่ายสีเขียว เช่น คลอเรลล่า (โปรตีนสูง) สไปโรไจร่า (เทาน้้า : ท้าอาหาร) คาร่า(สาหร่ายไฟ : ใกล้ชิด
พืชมากที่สุด)
อาณาจักรฟังไจ
- คือพวกเห็ด รา ยีสต์ มีความใกล้ชิดกับสัตว์มากกว่าพืช เป็นผู้ย่อยสลายส้าคัญในระบบนิเวศ
- เป็นเซลลที่มีนิวเคลียส รูปร่างลักษณเป็นเส้นใยไฮฟ่าและไมซีเลียม (หน้าที่หลั่งน้้าย่อยและดูดซึม หรืออาจเปลี่ยนเป็น
อวัยวะกระจายสปอร์)
- ผนังเซลล์เป็นสารไคทิน ,สังเคราะห์แสงไม่ได้
- ตัวอย่างเช่น ราแดง (ข้าวแดงและเต้าหู้ยี้) เพนนิซิเลียม (ยาปฏิชีวนะเพนนิซิลิน) แอสเปอจิลัส ฟลาวัส (อะฟาทอกซิน :
มะเร็งตับ) แอสเปอจิลัส ไนเจอร์ (ผลิตกรดซิตริก) ไรโซปัส ไนจิแคนส์(ผลิตกรดฟูมาริก) ยีสต์ (กระบวนการหมัก  เอท
ทานอล + คาร์บอนไดออกไซด์ : เหล้า ไวน์ ขนมปังฟู) การหมักซีอิ้ว/เต้าเจี้ยว/ถั่วหมัก
- ก่อโรคในสัตว์ = กลาก เกลื้อน ง่ามเท้าเปื่อย / พืช = ราสนิม ราเขม่าด้า ราน้้าค้าง โรคใบไหม้
อาณาจักรพืช
พืชมีความส้าคัญเป็นอย่างยิ่ง (ผู้ผลิตอาหารในระบบนิเวศ) มีประโยชน์ในด้านอื่น, มากมาย แต่บางชนิดก็มีโทษ เช่น
วัชพืชต่างๆ ทั้งหมดมีประมาณ 240,000 สปีชีส์ หรือมากกว่านี้ ซึ่งแพร่กระจายไปได้แทบทุกหนทุกแห่ง แตกต่างกัน
ออกไปในแต่ละสภาพที่อยู่
หลักในการพิจารณาและจัดสิ่งมีชีวิตเข้าไว้ในอาณาจักรพืช
1. เซลล์ที่มีนิเคลียส มีการผสมพันธุ์ได้ไซโกตแล้วพัฒนาต่อเป็นเอมบริโอ
2. ประกอบไปด้วยหลายเซลล์มารวมกันเป็นเนื้อเยื่อท้าหน้าที่เฉพาะอย่าง
3. ผนังเซลล์เป็นสารประกอบพวกเซลลูโลส
4. มีคลอโรฟิลล์บรรจุอยู่ในเม็ดคลอโรพลาสต์
5. โดยทั่วไปไม่เคลื่อนที่เองไม่ได้ แต่ในพืชหลายชนิดขณะเป็นเซลล์สืบพันธุ์เคลื่อนที่ได้ เช่น สเปิร์มของมอส เฟิน ฯลฯ
เพราะมีแฟลเจลลา
6. มีวงจรชีวิตแบบสลับระหว่างสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศและแบบไม่อาศัยเพศ
อาณาจักรพืช ได้แบ่งออกเป็น 10 ไฟลัม ดังนี้
พืช มีเนื้อเยื่อและเอมบริโอ
ไม่มีเนื้อเยื่อล้าเลียง มีเนื้อเยื่อล้าเลียง
ลิเวอร์เวิตส์
ฮอร์นเวิตส์
มอส
สร้อยนางกรอง,ช้องนางคลี่
ตีนตุ๊กแก
พวกเฟิร์น
ไม่มีเมล็ด มีเมล็ด
ปรง
แปะก๊วย
สน
มะเมื่อย
พืชดอก แบ่งเป็น
ใบเลี้ยงเดี่ยว
ใบเลี้ยงคู่
พืชดอก ใบเลี้ยงคู่ ใบเลี้ยงเดี่ยว
ใบเลี้ยง 2 ใบ 1 ใบ
เส้นใบ ร่างแห ขนาน
ราก แก้ว ฝอย
ท่อลาเลียงในราก เรียงตัวเป็นแฉก เรียงตัวเป็นวงกลม
ท่อลาเลียงในลาต้น เรียงเป็นวงอย่างมีระเบียบ จัดเป็นกลุ่มกระจัดกระจาย
แคมเบียม มี ขยายขนาดด้านข้างได้ ไม่มี สูงขึ้นอย่างเดียว
จานวนกลีบดอก 4X .5X 3X
วิวัฒนาการ ต่้ากว่าคล้าย gymnosperm สูงกว่า
พืชที่ไม่มีเมล็ด
พืชที่มีเมล็ด
อาณาจักรสัตว์
- ต้องมีเนื้อเยื่อและเอ็มบริโอ ,สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ ,ผู้บริโภค ,มีคลอลาเจน เป็นโปรตีนเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน ,จ้านวนมากสุด
3 ล้าดับแรก คือ พวกแมลง > พวกหมึก/หอย > พวกมีกระดูกสันหลัง
- เกณฑ์ที่ใช้จ้าแนก 9 ข้อ
1. ชั้นเนื้อเยื่อ
2. ช่องล้าตัว
3. สมมาตรร่างกาย
4. ปล้องล้าตัว
5. ระบบทางเดินอาหาร
6. การเจริญของบลาสโทพอร์
7. การเจริญของตัวอ่อน
8. ระบบประสาท
9. ระบบหมุนเวียนโลหิต
9 ไฟลัมในอาณาจักรสัตว์
1. ไฟลัมพอริเฟอร่า คือ พวกฟองน้้า มีทางน้้าเข้ารอบตัวและทางน้้าออกด้านบน , มีชั้นวุ้นตรงกลาง , มีเซลล์ปลอกคอดักจับ
และย่อยอาหาร ,อะมีโบไซต์ (ย่อย/ขนส่งสารอาหารและสร้างโครงสร้างล้าตัว) จ้าแนกตามชนิดโครงสร้างล้าตัว ได้แก่
ฟองน้้าถูตัว (เส้นใยโปรตีน) ฟองน้้าหินปูน และฟองน้้าแก้ว (ซิลิกา)
9 ไฟลัมในอาณาจักรสัตว์
2. ไฟลัมซีเลนเทอราต้า เช่น ไฮดรา ปะการัง กัลปังหา ดอกไม้ทะเล แมงกะพรุน โอบิเลีย , มีเข็มพิษบนหนวด, มี 2 รูปร่าง
= โฟลิปและเมดูซ่า (วงชีพแบบสลับ) ,มีช่องว่างกลางล้าตัว ,มีทั้งการย่อยอาหารภายนอกเซลล์และในเซลล์
9 ไฟลัมในอาณาจักรสัตว์
3. ไฟลัมแพลทีเฮลทิส คือ พวกหนอนตัวแบน มีทั้งอิสระ (พลานาเรีย) และปรสิต (พยาธิใบไม้/ตัวตืด) ตัวตืดไม่มี
ทางเดินอาหาร พลานาเรียเกิดการงอกใหม่ได้ , มีเฟลมเซลล์ขับถ่าย และส่วนใหญ่เป็นกระเทย
9 ไฟลัมในอาณาจักรสัตว์
4. ไฟลัมนีมาโทดา คือ หนอนตัวกลม มีทั้งอิสระ (หนอนในน้้าส้มสายชู) ปรสิตในคน (พยาธิต่างๆ) ปรสิตในพืช
(ไส้เดือนฝอย) ,ไม่มีเลือดแต่ใช้การหมุนเวียนของเหลวในช่องล้าตัวเทียม, มีท่อขับถ่ายด้านข้างล้าตัว ,มักมีคิวติเคิล
ห่อหุ้มล้าตัว และ มีเพศแยกกัน
9 ไฟลัมในอาณาจักรสัตว์
5. ไฟลัมแอนเนลลิด้า คือ หนอนมีปล้อง (หนอนเจริญสุด) ระบบเลือดปิดสีแดง (ฮีโมโกลบิน) ล้าตัวเป็นปล้องมีเยื่อ
กั้น ส่วนใหญ่เป็นกระเทย ,มีเมทาเนฟฟริเดียในการขับถ่าย ,ผิวหนังหายใจ ,มีหัวใจเทียม (หลอดเลือดส่วนหัว)
ตัวอย่างเช่น ไส้เดือน ไส้เดือนทะเลหรือแม่เพรียง ปลิงน้้าจืด ตัวสงกรานต์ ทากดูดเลือด
9 ไฟลัมในอาณาจักรสัตว์
6. ไฟลัมมอสลัสกา ร่างกาย 3 ส่วน คือ เท้า ตัวอ่อนนุ่ม และ แมนเทิล (ชั้นปกคลุมซึ่งสร้างเปลือกหินปูน) ,ใช้ไตในการ
ขับถ่าย ,ใช้เหงือกในการหายใจ เช่น ทาก ลิ่นทะเล หอยฝาเดียว หอยสองฝา
หมึก หมึกยักษ์ และหอยงวงช้าง (พวกชั้นสูงเพราะเปลี่ยนหนวดเป็นเท้า ,ระบบเลือดปิดมีฮีโมไซยานิน ,มีท่อไซ
ฟอนในการเคลื่อนที่ ,ประสาทเจริญดีสุดในสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง , ลิ้นทะเลเป็นโครงสร้าง)
9 ไฟลัมในอาณาจักรสัตว์
7. ไฟลัมอาร์โทรโพดา จ้านวนมากสุดในโลก โครงสร้างแข็งภายนอก (ไคทิน) ,ระบบเลือดเปิด ,ร่างกาย 3 ส่วน (หัว+อก+ท้อง)
หรือ 2 ส่วน หรือเป็นปล้องๆ ,ลอกคราบเป็นระยะแต่เฉพาะแมลง ส่วนกุ้ง กั้ง ปู จะมีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างระหว่างการ
เจริญเติบโต
9 ไฟลัมในอาณาจักรสัตว์
8. ไฟลัมเอคไคโนเดอร์มาต้า สัตว์ทะเลทั้งหมด เช่น ดาวทะเล เม่นทะเล อีแปะทะเล พลับพลึงทะเล ผิวบางหุ้มโครงร่าง
แข็งหินปูนภายใน ,มีระบบท่อหมุนเวียนน้้าในการล้าเลียงสาร , มีหลอดเท้า (เคลื่อนที่ จับเหยื่อ หายใจ) ส่วนใหญ่ใช้
เหงือกในการหายใจ
9 ไฟลัมในอาณาจักรสัตว์
9. ไฟลัมคอร์ดาต้า ต้องมีลักษณะทั้ง 4 อย่างน้อยช่วงใดช่วงหนึ่งของชีวิต
- เส้นประสาทขนาดใหญ่ด้านหลัง สมองและไขสันหลัง
- โนโทคอดร์ (โครงร่างกาย) ส่วนใหญ่จะมีกระดูกสันหลังมาแทนที่เมื่อโตขึ้น
- ช่องเหงือกที่คอหอย
- กล้ามเนื้อที่ส่วนหาง
ไฟลัมคอร์ดาต้า
สัตว์มีกระดูกสันหลัง : ชั้นสูง ระบบเลือดปิด มีฮีโมโกลบินอยู่ในเม็ดเลือดแดง แบ่งออกเป็น 7 คลาส
1. ปลาปากกลม (ไม่มีขากรรไกร) บางตัวเป็นปรสิต มีแต่ครีบเดี่ยว ไม่มีเกล็ด เช่น hagfish ,lamprey
@ ปากมีขากรรไกร คือ ปลากระดูกอ่อนและปลากระดูกแข็ง มีทั้งครีบคู่และครีบเดี่ยว มีเกล็ด ส่วนใหญ่อิสระ
2. ปลากระดูกอ่อน ไม่มีแผ่นปิดเหงือกจึงเห็นเหงือกชัดเจน ปากอยู่ด้านท้อง ไม่มีถุงลม เช่น ปลาฉลาม ปลาฉนาก ปลากระเบน
ปลากระต่าย
3. ปลากระดูกแข็ง มีแผ่นปิดเหงือกจึงเห็นเงือกไม่ชัด ปากอยู่ข้างหน้า มีถุงลม (กระเพาะปลา) ได้แก่ ปลาทั่วไป
4. สัตว์สะเทินน้้า/บก ผิวเปียกชื้น ไม่มีเกล็ด มี metamorphosis เช่น กบ เขียด ปาด อึ่งอ่าง คางคก จงโคร่ง จิ้งจกน้้า
(salamander) งูดิน หมาน้้า
5. สัตว์เลื้อยคลาน ผิวแห้ง มีเกล็ดหรือกระดอง เช่น เต่า งู จระเข้ จิ้งจก ตุ๊กแก ตุ๊ดตู่ กิ้งก่า ตัวเงินตัวทอง ไดโนเสาร์
6. สัตว์ปีก มีแผงขน มีการรผลิตพลังงานสูง (ส้ารองอากาศหายใจ) กระดูกโพรงตัวเบา ลดรูปอวัยวะ (ไม่มีกระเพาะปัสสาวะ รังไข่
ข้างเดียว) เช่น นก ไก่ เป็ด เพนกวิน
7. สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม มีขนเป็นเส้น เอกลักษณ์ คือ ต่อมน้้านม ใบหู กล้ามเนื้อกระบังลม ต่อมเหงื่อ กระดูกหู 3 ชิ้น (ค้อน ทั่ง
โกลน) เม็ดเลือดแดงไม่มี nucleus (โตเต็มที่) ได้แก่ คน ลิง ช้าง ม้า วัว ควาย แมว หมา แพะ วาฬ โลมา พะยูน ค้างคาว
ฯลฯ
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา)
เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพ
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพ
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพ
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพ
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพ
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพ
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพ
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพ
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพ
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพ
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพ
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพ
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพ
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพ
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพ
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพ
THE END

More Related Content

What's hot

04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอกkruannchem
 
กำหนดการ ค่าย
กำหนดการ ค่ายกำหนดการ ค่าย
กำหนดการ ค่ายphunbuppha jinawong
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560krulef1805
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าพัน พัน
 
อักษรสามหมู่
อักษรสามหมู่อักษรสามหมู่
อักษรสามหมู่Piyarerk Bunkoson
 
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศsomdetpittayakom school
 
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะเล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะmayureesongnoo
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2Weerachat Martluplao
 
บท3การเจริญดอก
บท3การเจริญดอกบท3การเจริญดอก
บท3การเจริญดอกWichai Likitponrak
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5
สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5
สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5Wichai Likitponrak
 
การเกิดลม
การเกิดลมการเกิดลม
การเกิดลมdnavaroj
 
แม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
แม่เหล็กและแรงแม่เหล็กแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
แม่เหล็กและแรงแม่เหล็กSakad Rinrith
 
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2Jiraporn Chaimongkol
 

What's hot (20)

04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
 
โครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟีโครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟี
 
กำหนดการ ค่าย
กำหนดการ ค่ายกำหนดการ ค่าย
กำหนดการ ค่าย
 
Kingdom monera
Kingdom moneraKingdom monera
Kingdom monera
 
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวันภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
 
อักษรสามหมู่
อักษรสามหมู่อักษรสามหมู่
อักษรสามหมู่
 
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
 
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
 
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะเล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
 
Kingdom Animalia
Kingdom AnimaliaKingdom Animalia
Kingdom Animalia
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2
 
บท3การเจริญดอก
บท3การเจริญดอกบท3การเจริญดอก
บท3การเจริญดอก
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5
สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5
สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5
 
การเกิดลม
การเกิดลมการเกิดลม
การเกิดลม
 
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็กใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
 
แม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
แม่เหล็กและแรงแม่เหล็กแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
แม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
 
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
 

Viewers also liked

ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อมติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อมWichai Likitponrak
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวันบทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวันThepsatri Rajabhat University
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1Mayuree Paitoon
 
4.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแก๊สกับพลังงานเปลี่ยน
4.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแก๊สกับพลังงานเปลี่ยน4.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแก๊สกับพลังงานเปลี่ยน
4.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแก๊สกับพลังงานเปลี่ยนWichai Likitponrak
 
เคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมี
เคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมีเคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมี
เคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมีWichai Likitponrak
 
บท5พฤติกรรมสัตว์
บท5พฤติกรรมสัตว์บท5พฤติกรรมสัตว์
บท5พฤติกรรมสัตว์Wichai Likitponrak
 
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุลเคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุลWichai Likitponrak
 
1ติวสอบวิชาวิทยาศาสตร์ป6
1ติวสอบวิชาวิทยาศาสตร์ป61ติวสอบวิชาวิทยาศาสตร์ป6
1ติวสอบวิชาวิทยาศาสตร์ป6Wichai Likitponrak
 
3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลว
3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลว3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลว
3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลวWichai Likitponrak
 
9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมี
9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมี9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมี
9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมีWichai Likitponrak
 
ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdna
ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdnaติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdna
ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdnaWichai Likitponrak
 
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารสมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารnetzad
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสWuttipong Tubkrathok
 
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่ายThepsatri Rajabhat University
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงพัน พัน
 
เคมีพื้นบท4ปิโตรเลียม
เคมีพื้นบท4ปิโตรเลียมเคมีพื้นบท4ปิโตรเลียม
เคมีพื้นบท4ปิโตรเลียมWichai Likitponrak
 
บทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสารบทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสารThepsatri Rajabhat University
 
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตบท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตWichai Likitponrak
 

Viewers also liked (20)

ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อมติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
 
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวันบทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
 
7.พฤติกรรม
7.พฤติกรรม7.พฤติกรรม
7.พฤติกรรม
 
4.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแก๊สกับพลังงานเปลี่ยน
4.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแก๊สกับพลังงานเปลี่ยน4.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแก๊สกับพลังงานเปลี่ยน
4.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแก๊สกับพลังงานเปลี่ยน
 
เคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมี
เคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมีเคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมี
เคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมี
 
บท5พฤติกรรมสัตว์
บท5พฤติกรรมสัตว์บท5พฤติกรรมสัตว์
บท5พฤติกรรมสัตว์
 
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุลเคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
 
1ติวสอบวิชาวิทยาศาสตร์ป6
1ติวสอบวิชาวิทยาศาสตร์ป61ติวสอบวิชาวิทยาศาสตร์ป6
1ติวสอบวิชาวิทยาศาสตร์ป6
 
3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลว
3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลว3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลว
3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลว
 
9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมี
9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมี9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมี
9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมี
 
ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdna
ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdnaติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdna
ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdna
 
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารสมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบส
 
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลง
 
เคมีพื้นบท4ปิโตรเลียม
เคมีพื้นบท4ปิโตรเลียมเคมีพื้นบท4ปิโตรเลียม
เคมีพื้นบท4ปิโตรเลียม
 
บทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสารบทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสาร
 
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตบท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
 

Similar to ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ

Unlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
Unlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตUnlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
Unlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตmahachaisomdet
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพLPRU
 
ความหลากหลาย bio diver
ความหลากหลาย bio diverความหลากหลาย bio diver
ความหลากหลาย bio diverssusera700ad
 
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพSubaidah Yunuh
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2chirapa
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตOui Nuchanart
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตOui Nuchanart
 
ระบบนิเวศน์
 ระบบนิเวศน์ ระบบนิเวศน์
ระบบนิเวศน์Tin Savastham
 
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)firstnarak
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพSupaluk Juntap
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์feeonameray
 

Similar to ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ (20)

Taxonomy 2
Taxonomy 2Taxonomy 2
Taxonomy 2
 
Taxonomy
TaxonomyTaxonomy
Taxonomy
 
ม.6biodiver
ม.6biodiverม.6biodiver
ม.6biodiver
 
Unlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
Unlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตUnlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
Unlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
 
Diver i
Diver iDiver i
Diver i
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ความหลากหลาย bio diver
ความหลากหลาย bio diverความหลากหลาย bio diver
ความหลากหลาย bio diver
 
Biodiversity
BiodiversityBiodiversity
Biodiversity
 
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
 
ระบบนิเวศน์
 ระบบนิเวศน์ ระบบนิเวศน์
ระบบนิเวศน์
 
10 intro-taxonomy
10 intro-taxonomy10 intro-taxonomy
10 intro-taxonomy
 
Diver plantae
Diver plantaeDiver plantae
Diver plantae
 
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
File[1]
File[1]File[1]
File[1]
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ

  • 1. ติวสอบวิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) สาหรับนักเรียนระดับชั้น ม.3 เพื่อเข้าศึกษาต่อระดับชั้น ม.4 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ผู้สอน...ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ สรุปสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพ
  • 2. ความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity) : ความหลากหลายทางชีวภาพ หมายถึง การมีชนิดพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตหลากหลายชนิดมาอยู่ร่วมกัน ณ สถานที่หนึ่งหรือ ระบบนิเวศใดระบบนิเวศหนึ่ง ความหลากหลายทางชีวภาพแบ่งได้ 3 ระดับดังนี้ 1.ความหลากหลายทางพันธุกรรม (genetic diversity) 2. ความหลากหลายของชนิดหรือชนิดพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต (Species diversity) 3. ความหลากหลายของระบบนิเวศ (ecological diversity)
  • 5. สปีชีส์ของสิ่งมีชีวิต (Species) ความหมายของสปีชีส์ 1.1 สปีชีส์ทางด้านสัณฐานวิทยา หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่แตกต่างกันในลักษณะทางสัณฐานและโครงสร้างทางกายวิภาค ของสิ่งมีชีวิต ใช้เป็นแนวคิด ในการศึกษาอนุกรมวิธาน 1.2 สปีชีส์ทางด้านชีววิทยา หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่สามารถผสมพันธุ์กันได้ในธรรมชาติ ให้กาเนิดลูกที่ไม่เป็นหมันแต่ถ้า เป็นสิ่งมีชีวิตต่างสปีชีส์กัน ก็อาจให้กาเนิดลูกได้เช่นกันแต่เป็นหมัน แนวคิดของสปีชีส์ทางด้านชีววิทยาโดยพิจารณาความสามารถในการผสมพันธุ์และให้กาเนิดลูกหลานที่ไม่เป็นหมัน ใน ธรรมชาติมีสิ่งมีชีวิตต่างสปีชีส์กันอยู่ด้วยกันจานวนมาก
  • 7. 7 สาเหตุของการเกิดความหลากหลายทางพันธุกรรม • การคัดเลือกจากธรรมชาติ (natural selection) • การอพยพเคลื่อนย้ายถิ่นที่อยู่อาศัย (migration) • การกลายพันธุ์ (mutation) / ความแปรผันทางพันธุกรรม (variation) • การปรับปรุงพันธุ์ (breeding of plant & animal) • พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพ (genetic engineering/biotechnology) สาเหตุความหลากหลายของชนิดพันธุ์ - การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิศาสตร์ - การเปลี่ยนแปลงที่อยู่อาศัยและแหล่งอาหาร - การปรับตัวเข้ากับสภาพภูมิศาสตร์และแหล่งอาหาร จนเกิดความแตกต่างทางรูปร่างสัณฐาน แยกกลุ่ม และผสมพันธุ์ภายในกลุ่ม
  • 8. การเกิดสปีชีส์ (SPECIATION) การที่สปีชีส์ดั้งเดิมแยกออกจากกันไปตามสภาพ ภูมิศาสตร์ รูปร่างสัณฐาน ความสามารถของการ ผสมพันธุ์กัน ตลอดจนความแตกต่างของ องค์ประกอบทางพันธุกรรม
  • 9. ความสาคัญของความหลากหลายทางชีวภาพ 1. ความสาคัญต่อระบบนิเวศ สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีความเกี่ยวข้องกัน ให้ ประโยชน์ต่อโลก เช่น แนวปะการังเป็นแหล่งอนุบาลของสัตว์น้าในทะเล 2. ความหลากหลายของสายพันธุ์ในสปีชีส์เดียวกัน มีประโยชน์ต่อการอยู่ รอดของสิ่งมีชีวิต เช่น ข้าวพันธุ์พื้นบ้านไทยมียีนที่ต้านทางต่อเพลี้ย กระโดดสีน้าตาล 3. ความหลากหลายของสปีชีส์ ทาให้เกิดประโยชน์ในภาคอุตสาหกรรมอย่าง กว้างขวาง เช่น ต้นยางให้น้ายางที่ใช้ในอุตสาหกรรมยาง พืชและสัตว์ เป็น แหล่งอาหารที่สาคัญของมนุษย์ สารสกัดจากสิ่งมีชีวิตสามารถนามาใช้ ประโยชน์ในทางยารักษาโรคหลายชนิด เช่น สารเปลาโนทอล (Plaonotol) จากต้นเปล้าน้อย ใช้รักษาโรคกระเพาะและลาไส้ได้ 4. ความหลากหลายทางชีวภาพ ทาให้เกิดความหลากหลายชีวิตในธรรมชาติ ก่อให้เกิดจินตนาการและเกิดความรื่นรมย์ใจ
  • 10. การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ 1. การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการผลิตและบริโภค ที่ทาการเกษตรแบบมุ่งเน้นการค้า มีการใช้สารเคมีมากขึ้นในการเกษตร เช่น ยาฆ่าแมลงและยา ปราบศัตรูพืช เกิดสารพิษตกค้างในดินและแหล่งน้า กระทบต่อสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กในดิน และสัตว์น้า 2. การเติบโตของประชากรและการกระจายตัวของประชากร ทาให้เกิดการรุกล้าเข้าไปในพื้นที่ที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสูง ซึ่งกระทบต่อ ความสมดุลของระบบนิเวศ 3. การทาลายถิ่นที่อยู่อาศัยตามธรรมชาติของสัตว์นานาพันธุ์ เช่น การทาลายป่ า การล่าสัตว์ 4. มีการนาทรัพยากรธรรมชาติไปใช้ประโยชน์มากเกินไป 5. การตักตวงผลประโยชน์จากชนิดพันธุ์ของพืชและสัตว์ป่ า เพื่อผลประโยชน์ทางการค้า โดยการค้าขายสัตว์และพืชป่ าแบบผิดกฎหมาย 6. การนาเข้าชนิดพันธุ์ต่างถิ่นซึ่งมีผลกระทบต่อการทาลายสายพันธุ์ท้องถิ่น 7. การสร้างมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม เช่น มลพิษทางน้า มลพิษทางอากาศ และขยะ เป็นต้น 8. การเปลี่ยนแปลงภาวะเศรษฐกิจ และการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมของโลก เช่น อุณหภูมิโลกสูงขึ้น การเพิ่มขึ้นของน้าทะเล ภัยแล้ง ทาให้เกิดปัญหาการขาดแคลนน้า การเกิดไฟป่ า 9. ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีชีวภาพ (biotechnology) ด้านการตัดต่อหน่วยพันธุกรรมหรือจีเอ็มโอ (GMO; GeneticallyModified Organisms) หรือพันธุวิศวกรรมศาสตร์ (genetic engineering)
  • 11. Biodiversity : อนุกรมวิธาน (Taxonomy) เป็นพื้นฐานที่สาคัญของวิทยาศาสตร์ชีวภาพ เป็นศาสตร์แห่งการจัดจาแนกหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิต ออกเป็นกลุ่มต่างๆ อย่างมีระเบียบแบบแผน การจัดหมวดหมู่ทางอนุกรมวิธานจะพยายามจัดลาดับของสิ่งมีชีวิตเข้ากลุ่มโดยพิจารณา ถึงความสัมพันธ์และความคล้ายคลึงกันของสิ่งมีชีวิตเหล่านั้นจากลักษณะต่างๆ เช่น ลักษณะทางสัณฐานวิทยา ลักษณะทางกายวิภาค ศาสตร์ นิเวศวิทยา ชีววิทยาระดับโมเลกุล ชีววิทยาเชิงพฤติกรรม และวิวัฒนาการ เป็นต้น โดยสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะเหมือนกันหรือ ใกล้เคียงกันก็จะถูกจัดไว้กลุ่มเดียวกัน ส่วนสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะแตกต่างกันก็จะถูกจัดไว้ในกลุ่มที่ต่างกัน ระบบการจัดเรียงเป็นลาดับ ขั้นตั้งแต่ระดับสูงลงไปสู่ระดับต่าลงไปจะเรียกว่า Hierarchy อนุกรมวิธาน (Taxonomy) จะศึกษาในด้านต่างๆ 3 ลักษณะ ได้แก่ 1. การจัดจาแนกสิ่งมีชีวิตออกเป็นหมวดหมู่ในลาดับขั้นต่างๆ(Classification) 2. การตรวจสอบหาชื่อวิทยาศาสตร์ที่ถูกต้องของสิ่งมีชีวิต (Identification) 3. การกาหนดชื่อที่เป็นสากลของหมวดหมู่และชนิดของสิ่งมีชีวิต (Nomenclature) Systematics เป็นวิชาที่ใช้ในความหมายอย่างเดียวกับอนุกรมวิธานยังรวมไปถึงการศึกษาความสัมพันธ์ในหมู่สิ่งมีชีวิต และวิวัฒนาการด้วย
  • 12.
  • 14. Biodiversity : การจัดจาแนกสิ่งมีชีวิตออกเป็นหมวดหมู่มีประโยชน์ คือ - ทาให้สะดวกในการศึกษาสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ - ทาให้ทราบถึงลักษณะโครงสร้างของสิ่งมีชีวิตที่ต่างกันหรือคล้ายคลึงกัน - ทาให้ทราบถึงความสัมพันธ์เชื่อมโยงซึ่งกันและกันของสิ่งมีชีวิตต่างๆ - ช่วยให้เราสามารถค้นหาสิ่งที่ต้องการได้สะดวกโดยไม่ต้องจดจามาก ความหลากหลายทางชีวภาพ เป็นตัวชี้บอกถึงความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งมีชีวิตที่เหลืออยู่ในปัจจุบันมีประมาณ 1-5% ของที่เคยปรากฟฏอยู่บนพื้นโลก (สูญพันธุ์ไปแล้ว : Extinctionประมาณ 95-99%)
  • 15.
  • 16. เกณฑ์ทั่วไปในการจาแนกสิ่งมีชีวิต • การจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิตมีมาตั้งแต่อดีตเมื่อประมาณ 350 ปีก่อนคริสต์ศักราช • โดยนักวิทยาศาสตร์เหล่านี้ • อริสโตเติล (Aristotle ) แบ่งสิ่งมีชีวิตเป็น 2 พวกคือ 1. พืช 2. สัตว์ • จอห์น เรย์ ( John Ray ) นักพฤกษศาสตร์ เป็นบุคคลแรกที่ใช้คาว่า สปีชีส์ ( Species)แบ่งพืชออกเป็น 2 กลุ่ม 1. พืชใบเลี้ยงเดี่ยว 2. พืชใบเลี้ยงคู่ • คาโรลัส ลินเนียส ( carolus Linnaeus) นักธรรมชาติวิทยาชาวสวีเดนจาแนกพืชมีดอกออกเป็นหมวดหมู่ โดยใช้จานวนเกสรตัวผู้และตั้งชื่อวิทยาศาสตร์ของสิ่งมีชีวิตเป็นคนแรกบิดาแห่งวิชาอนุกรมวิธานสมัยใหม่
  • 18. ความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity) ค . ศ . 1969 Robert H. Whittaker ได้เสนอให้มีการจัดจาแนกสิ่งมีชีวิตออกเป็นอาณาจักรต่างๆ ( kingdom)โดยอาศัยลักษณะ และการจัดเรียงตัวของเซลล์และความแตกต่างของลักษณะการกินอาหาร ออกเป็น 5 คือ 1. อาณาจักรโมเนอรา (Kingdom Monera) คือพวกสิ่งมีชีวิตที่เป็นโปรคาริโอท (prokaryote) เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว ได้แก่ แบคทีเรียและไซยาโนแบคทีเรีย 2.อาณาจักรโปรติสตา (KingdomProtista) เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว (unicellular organisms) ที่เป็นพวกยูคาริโอท (eukaryote) อาจจะอาศัยอยู่เดี่ยวๆ หรือเป็นกลุ่ม เช่น อมีบา พารามีเซียม ยูกลีนา 3.อาณาจักรฟังไจ (Kingdom Fungi) เป็นสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ (multicellularorganisms) ที่เป็นยูคาริโอท กินอาหารโดยการ ย่อยสลายสารอินทรีย์ต่างๆ ได้แก่ เห็ด และรา 4.อาณาจักรพืช ( KingdomPlantae) เป็นสิ่งมีชีวิตพวกพืชซึ่งเป็นพวกยูคาริโอทที่มีหลายเซลล์ มีผนังเซลล์ (cell wall) ไม่ สามารถเคลื่อนที่ได้ด้วยตัวเองมีความสามารถในการสังเคราะห์แสง 5.อาณาจักรสัตว์ ( Kingdom Animalia) เป็นสิ่งมีชีวิตพวกสัตว์ที่เป็นพวกยูคาริโอทที่มีหลายเซลล์ ไม่มีผนังเซลล์ กินอาหารโดย การกินสิ่งมีชีวิตอื่นเป็นอาหาร ส่วนใหญ่เคลื่อนที่ได้อย่างน้อยในช่วงใดช่วงหนึ่งของชีวิต
  • 19.
  • 20.
  • 22. ความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity) ไวรัสและไวรอยด์ (Vira Kingdom) - ไม่เป็นเซลล์ (ไวรัส : capsid + DNA/RNA , ไวรอยด์ : DNA) - Obligate intracellular parasite - ไวรัสก่อโรคในคน = ไข้หวัด ,ไข้หวัดใหญ่ ,โปลิโอ ,ชิคุนกุนยา ,ตัวอักเสบ ,ปอดบวม ,พิษสนัขบ้า ,งูสวัด ,เริม ,ไข้เลือดออก ,ไข้ เหลือง ,ไข้ทรพิษ ,หัด ,หัดเยอรมัน ,คางทูม ,เอดส์ ,ไข้หวัดนก ,ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ,ไข้หวัด SARS / ในพืช = ใบ ด่างของยาสูบและถั่วลิสง ใบหงิกของพริก - ไวรัสที่พบในแบคทีเรีย = bacteriophage / phage - ไวรอยด์เป็นปรสิตในพืช
  • 23. อาณาจักรมอเนอรา -โปรคาริโอต (เซลล์ไม่มีนิเคลียส) ,อาจมี/ไม่มีผนังเซลล์ก็ได้ ,อาจอยู่เป็นเซลล์เดี่ยวหรือกลุ่มเซลล์ - แบคทีเรีย และ สาหร่ายสีเขียวแกมน้้าเงิน - รูปร่างแบคทีเรีย = คอกคัส / บาซิลลัส / สไปริลลัม - บางชนิดสร้างแคปซูล : เอนโดสปอร์ (ไม่จัดเป็นการสืบพันธุ์แต่ทนต่อสภาพแวดล้อมไม่เหมาะสม) - ผลิตภัณฑ์จากแบคทีเรีย : นมเปรี้ยว โยเกิร์ต น้้าส้มสายชู เนยแข็ง ปลาร้า ปลาส้ม ผักดอง - โรคที่เกิดจากแบคทีเรีย : คอตีบ ไอกรน บาคทะยัก หนองใน ไทฟอยด์ (ไข้รากสาดน้อย) ซิฟิลิส อหิวาตกโรค บิดไม่มีตัว วัณโรค เรื้อน ปอดบวม - สาหร่ายสีเขียวแกมน้้าเงิน สังเคราะห์แสงได้ (คลอโรฟิลล์) เช่น นอสตอก ,แอนนาบีน่า (แหนแดง) ,ออสซิลาโทเรีย (ช่วยเพิ่มธาตุ ไนโตรเจน) ,สไปรูไลน่า (สาหร่ายเกลียวทองมีโปรตีนสูง)
  • 24. อาณาจักรโปรติสตา - เซลล์ที่มีนิวเคลียส ,ที่คล้ายสัตว์ (โพรโทซัว) คล้ายพืช (สาหร่าย) คล้ายฟังไจ (ราเมือก) - โพรโทซัว เช่น ไกอาเดีย (ปรสิตล้าไส้คน) ไตรโคนิมฟา (ล้าไส้ปลวก : พึ่งพาช่วยย่อยเซลลูโลส) ,ไตรโคโมแนส (ติด เชื้อในช่องคลอด) ยูกลีน่า (เป็นทั้งผู้ผลิตและบริโภค) ,ทริปพาโนโซม (ปรสิตโรคเหงานหลับ) ไดโนแฟกเจลเลต (ขี้ ปลาวาฬ/red tide : ทะเลเป็นพิษสัตว์น้้าตาย) พลาสโมเดียม (มาลาเรีย/ไข้จับสั่น) มียุงก้นปล่องเป็นพาหะ) พารามี เซียม ,วอลติเซลล่า ,สเท็นเตอร์ (พวกที่มีซิเลีย) อะมีบา ,เอนทามีบา ที่ส้าคัญ อิสโทริกา (โรคบิดมีตัว) จินจิวาริส (ช่วย กินแบคทีเรียบริเวณฟัน)
  • 25. อาณาจักรโปรติสตา - สาหร่าย เป็นผู้ผลิตก้าลังสูงสุดในโลก มีรงควัตถุสังเคราะห์แสงชนิดต่างๆบรรจุในคลอโรพลาสต์ • สาหร่ายสีน้้าตาล มีโครงสร้างซับซ้อนน้อยสุด เช่น พาดิน่า , ลามินาเรีย ,ฟิวคัส (ทั้ง 3 ชนิดมีโพแทสเซียม สูง) ,ซากาสซัม (สาหร่ายทุ่น มีไอโอดีนสูง) ,เคปป์ (ขนาดใหญ่ที่สุด) • ไดอะตอม มีเซลล์เดียว ผนังเซลล์เป็น 2 ฝาประกบกัน (ซิลิกา) เมื่อตายทับถมซึ่งสามารถขุดมาใช้ใน อุตสาหกรรมขนาดกลาง : เครื่องแก้ว ยาขัดโลหะ ยาสีฟัน • สาหร่ายสีแดง มีสารคาราจีแนน (สกัดท้าวุ้น) เช่น พอไฟร่า (จีฉ่าย ,โนริ : ท้าอาหาร) ,สาหร่ายผมนาง (ผลิตวุ้น) • สาหร่ายสีเขียว เช่น คลอเรลล่า (โปรตีนสูง) สไปโรไจร่า (เทาน้้า : ท้าอาหาร) คาร่า(สาหร่ายไฟ : ใกล้ชิด พืชมากที่สุด)
  • 26. อาณาจักรฟังไจ - คือพวกเห็ด รา ยีสต์ มีความใกล้ชิดกับสัตว์มากกว่าพืช เป็นผู้ย่อยสลายส้าคัญในระบบนิเวศ - เป็นเซลลที่มีนิวเคลียส รูปร่างลักษณเป็นเส้นใยไฮฟ่าและไมซีเลียม (หน้าที่หลั่งน้้าย่อยและดูดซึม หรืออาจเปลี่ยนเป็น อวัยวะกระจายสปอร์) - ผนังเซลล์เป็นสารไคทิน ,สังเคราะห์แสงไม่ได้ - ตัวอย่างเช่น ราแดง (ข้าวแดงและเต้าหู้ยี้) เพนนิซิเลียม (ยาปฏิชีวนะเพนนิซิลิน) แอสเปอจิลัส ฟลาวัส (อะฟาทอกซิน : มะเร็งตับ) แอสเปอจิลัส ไนเจอร์ (ผลิตกรดซิตริก) ไรโซปัส ไนจิแคนส์(ผลิตกรดฟูมาริก) ยีสต์ (กระบวนการหมัก  เอท ทานอล + คาร์บอนไดออกไซด์ : เหล้า ไวน์ ขนมปังฟู) การหมักซีอิ้ว/เต้าเจี้ยว/ถั่วหมัก - ก่อโรคในสัตว์ = กลาก เกลื้อน ง่ามเท้าเปื่อย / พืช = ราสนิม ราเขม่าด้า ราน้้าค้าง โรคใบไหม้
  • 27. อาณาจักรพืช พืชมีความส้าคัญเป็นอย่างยิ่ง (ผู้ผลิตอาหารในระบบนิเวศ) มีประโยชน์ในด้านอื่น, มากมาย แต่บางชนิดก็มีโทษ เช่น วัชพืชต่างๆ ทั้งหมดมีประมาณ 240,000 สปีชีส์ หรือมากกว่านี้ ซึ่งแพร่กระจายไปได้แทบทุกหนทุกแห่ง แตกต่างกัน ออกไปในแต่ละสภาพที่อยู่ หลักในการพิจารณาและจัดสิ่งมีชีวิตเข้าไว้ในอาณาจักรพืช 1. เซลล์ที่มีนิเคลียส มีการผสมพันธุ์ได้ไซโกตแล้วพัฒนาต่อเป็นเอมบริโอ 2. ประกอบไปด้วยหลายเซลล์มารวมกันเป็นเนื้อเยื่อท้าหน้าที่เฉพาะอย่าง 3. ผนังเซลล์เป็นสารประกอบพวกเซลลูโลส 4. มีคลอโรฟิลล์บรรจุอยู่ในเม็ดคลอโรพลาสต์ 5. โดยทั่วไปไม่เคลื่อนที่เองไม่ได้ แต่ในพืชหลายชนิดขณะเป็นเซลล์สืบพันธุ์เคลื่อนที่ได้ เช่น สเปิร์มของมอส เฟิน ฯลฯ เพราะมีแฟลเจลลา 6. มีวงจรชีวิตแบบสลับระหว่างสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศและแบบไม่อาศัยเพศ
  • 28. อาณาจักรพืช ได้แบ่งออกเป็น 10 ไฟลัม ดังนี้ พืช มีเนื้อเยื่อและเอมบริโอ ไม่มีเนื้อเยื่อล้าเลียง มีเนื้อเยื่อล้าเลียง ลิเวอร์เวิตส์ ฮอร์นเวิตส์ มอส สร้อยนางกรอง,ช้องนางคลี่ ตีนตุ๊กแก พวกเฟิร์น ไม่มีเมล็ด มีเมล็ด ปรง แปะก๊วย สน มะเมื่อย พืชดอก แบ่งเป็น ใบเลี้ยงเดี่ยว ใบเลี้ยงคู่
  • 29. พืชดอก ใบเลี้ยงคู่ ใบเลี้ยงเดี่ยว ใบเลี้ยง 2 ใบ 1 ใบ เส้นใบ ร่างแห ขนาน ราก แก้ว ฝอย ท่อลาเลียงในราก เรียงตัวเป็นแฉก เรียงตัวเป็นวงกลม ท่อลาเลียงในลาต้น เรียงเป็นวงอย่างมีระเบียบ จัดเป็นกลุ่มกระจัดกระจาย แคมเบียม มี ขยายขนาดด้านข้างได้ ไม่มี สูงขึ้นอย่างเดียว จานวนกลีบดอก 4X .5X 3X วิวัฒนาการ ต่้ากว่าคล้าย gymnosperm สูงกว่า
  • 32. อาณาจักรสัตว์ - ต้องมีเนื้อเยื่อและเอ็มบริโอ ,สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ ,ผู้บริโภค ,มีคลอลาเจน เป็นโปรตีนเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน ,จ้านวนมากสุด 3 ล้าดับแรก คือ พวกแมลง > พวกหมึก/หอย > พวกมีกระดูกสันหลัง - เกณฑ์ที่ใช้จ้าแนก 9 ข้อ 1. ชั้นเนื้อเยื่อ 2. ช่องล้าตัว 3. สมมาตรร่างกาย 4. ปล้องล้าตัว 5. ระบบทางเดินอาหาร 6. การเจริญของบลาสโทพอร์ 7. การเจริญของตัวอ่อน 8. ระบบประสาท 9. ระบบหมุนเวียนโลหิต
  • 33. 9 ไฟลัมในอาณาจักรสัตว์ 1. ไฟลัมพอริเฟอร่า คือ พวกฟองน้้า มีทางน้้าเข้ารอบตัวและทางน้้าออกด้านบน , มีชั้นวุ้นตรงกลาง , มีเซลล์ปลอกคอดักจับ และย่อยอาหาร ,อะมีโบไซต์ (ย่อย/ขนส่งสารอาหารและสร้างโครงสร้างล้าตัว) จ้าแนกตามชนิดโครงสร้างล้าตัว ได้แก่ ฟองน้้าถูตัว (เส้นใยโปรตีน) ฟองน้้าหินปูน และฟองน้้าแก้ว (ซิลิกา)
  • 34. 9 ไฟลัมในอาณาจักรสัตว์ 2. ไฟลัมซีเลนเทอราต้า เช่น ไฮดรา ปะการัง กัลปังหา ดอกไม้ทะเล แมงกะพรุน โอบิเลีย , มีเข็มพิษบนหนวด, มี 2 รูปร่าง = โฟลิปและเมดูซ่า (วงชีพแบบสลับ) ,มีช่องว่างกลางล้าตัว ,มีทั้งการย่อยอาหารภายนอกเซลล์และในเซลล์
  • 35. 9 ไฟลัมในอาณาจักรสัตว์ 3. ไฟลัมแพลทีเฮลทิส คือ พวกหนอนตัวแบน มีทั้งอิสระ (พลานาเรีย) และปรสิต (พยาธิใบไม้/ตัวตืด) ตัวตืดไม่มี ทางเดินอาหาร พลานาเรียเกิดการงอกใหม่ได้ , มีเฟลมเซลล์ขับถ่าย และส่วนใหญ่เป็นกระเทย
  • 36. 9 ไฟลัมในอาณาจักรสัตว์ 4. ไฟลัมนีมาโทดา คือ หนอนตัวกลม มีทั้งอิสระ (หนอนในน้้าส้มสายชู) ปรสิตในคน (พยาธิต่างๆ) ปรสิตในพืช (ไส้เดือนฝอย) ,ไม่มีเลือดแต่ใช้การหมุนเวียนของเหลวในช่องล้าตัวเทียม, มีท่อขับถ่ายด้านข้างล้าตัว ,มักมีคิวติเคิล ห่อหุ้มล้าตัว และ มีเพศแยกกัน
  • 37. 9 ไฟลัมในอาณาจักรสัตว์ 5. ไฟลัมแอนเนลลิด้า คือ หนอนมีปล้อง (หนอนเจริญสุด) ระบบเลือดปิดสีแดง (ฮีโมโกลบิน) ล้าตัวเป็นปล้องมีเยื่อ กั้น ส่วนใหญ่เป็นกระเทย ,มีเมทาเนฟฟริเดียในการขับถ่าย ,ผิวหนังหายใจ ,มีหัวใจเทียม (หลอดเลือดส่วนหัว) ตัวอย่างเช่น ไส้เดือน ไส้เดือนทะเลหรือแม่เพรียง ปลิงน้้าจืด ตัวสงกรานต์ ทากดูดเลือด
  • 38. 9 ไฟลัมในอาณาจักรสัตว์ 6. ไฟลัมมอสลัสกา ร่างกาย 3 ส่วน คือ เท้า ตัวอ่อนนุ่ม และ แมนเทิล (ชั้นปกคลุมซึ่งสร้างเปลือกหินปูน) ,ใช้ไตในการ ขับถ่าย ,ใช้เหงือกในการหายใจ เช่น ทาก ลิ่นทะเล หอยฝาเดียว หอยสองฝา หมึก หมึกยักษ์ และหอยงวงช้าง (พวกชั้นสูงเพราะเปลี่ยนหนวดเป็นเท้า ,ระบบเลือดปิดมีฮีโมไซยานิน ,มีท่อไซ ฟอนในการเคลื่อนที่ ,ประสาทเจริญดีสุดในสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง , ลิ้นทะเลเป็นโครงสร้าง)
  • 39. 9 ไฟลัมในอาณาจักรสัตว์ 7. ไฟลัมอาร์โทรโพดา จ้านวนมากสุดในโลก โครงสร้างแข็งภายนอก (ไคทิน) ,ระบบเลือดเปิด ,ร่างกาย 3 ส่วน (หัว+อก+ท้อง) หรือ 2 ส่วน หรือเป็นปล้องๆ ,ลอกคราบเป็นระยะแต่เฉพาะแมลง ส่วนกุ้ง กั้ง ปู จะมีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างระหว่างการ เจริญเติบโต
  • 40. 9 ไฟลัมในอาณาจักรสัตว์ 8. ไฟลัมเอคไคโนเดอร์มาต้า สัตว์ทะเลทั้งหมด เช่น ดาวทะเล เม่นทะเล อีแปะทะเล พลับพลึงทะเล ผิวบางหุ้มโครงร่าง แข็งหินปูนภายใน ,มีระบบท่อหมุนเวียนน้้าในการล้าเลียงสาร , มีหลอดเท้า (เคลื่อนที่ จับเหยื่อ หายใจ) ส่วนใหญ่ใช้ เหงือกในการหายใจ
  • 41. 9 ไฟลัมในอาณาจักรสัตว์ 9. ไฟลัมคอร์ดาต้า ต้องมีลักษณะทั้ง 4 อย่างน้อยช่วงใดช่วงหนึ่งของชีวิต - เส้นประสาทขนาดใหญ่ด้านหลัง สมองและไขสันหลัง - โนโทคอดร์ (โครงร่างกาย) ส่วนใหญ่จะมีกระดูกสันหลังมาแทนที่เมื่อโตขึ้น - ช่องเหงือกที่คอหอย - กล้ามเนื้อที่ส่วนหาง
  • 42. ไฟลัมคอร์ดาต้า สัตว์มีกระดูกสันหลัง : ชั้นสูง ระบบเลือดปิด มีฮีโมโกลบินอยู่ในเม็ดเลือดแดง แบ่งออกเป็น 7 คลาส 1. ปลาปากกลม (ไม่มีขากรรไกร) บางตัวเป็นปรสิต มีแต่ครีบเดี่ยว ไม่มีเกล็ด เช่น hagfish ,lamprey @ ปากมีขากรรไกร คือ ปลากระดูกอ่อนและปลากระดูกแข็ง มีทั้งครีบคู่และครีบเดี่ยว มีเกล็ด ส่วนใหญ่อิสระ 2. ปลากระดูกอ่อน ไม่มีแผ่นปิดเหงือกจึงเห็นเหงือกชัดเจน ปากอยู่ด้านท้อง ไม่มีถุงลม เช่น ปลาฉลาม ปลาฉนาก ปลากระเบน ปลากระต่าย 3. ปลากระดูกแข็ง มีแผ่นปิดเหงือกจึงเห็นเงือกไม่ชัด ปากอยู่ข้างหน้า มีถุงลม (กระเพาะปลา) ได้แก่ ปลาทั่วไป 4. สัตว์สะเทินน้้า/บก ผิวเปียกชื้น ไม่มีเกล็ด มี metamorphosis เช่น กบ เขียด ปาด อึ่งอ่าง คางคก จงโคร่ง จิ้งจกน้้า (salamander) งูดิน หมาน้้า 5. สัตว์เลื้อยคลาน ผิวแห้ง มีเกล็ดหรือกระดอง เช่น เต่า งู จระเข้ จิ้งจก ตุ๊กแก ตุ๊ดตู่ กิ้งก่า ตัวเงินตัวทอง ไดโนเสาร์ 6. สัตว์ปีก มีแผงขน มีการรผลิตพลังงานสูง (ส้ารองอากาศหายใจ) กระดูกโพรงตัวเบา ลดรูปอวัยวะ (ไม่มีกระเพาะปัสสาวะ รังไข่ ข้างเดียว) เช่น นก ไก่ เป็ด เพนกวิน 7. สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม มีขนเป็นเส้น เอกลักษณ์ คือ ต่อมน้้านม ใบหู กล้ามเนื้อกระบังลม ต่อมเหงื่อ กระดูกหู 3 ชิ้น (ค้อน ทั่ง โกลน) เม็ดเลือดแดงไม่มี nucleus (โตเต็มที่) ได้แก่ คน ลิง ช้าง ม้า วัว ควาย แมว หมา แพะ วาฬ โลมา พะยูน ค้างคาว ฯลฯ
  • 43.
  • 45. แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพ
  • 46. แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพ
  • 47. แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพ
  • 48. แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพ
  • 49. แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพ
  • 50. แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพ
  • 51. แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพ
  • 52. แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพ
  • 53. แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพ
  • 54. แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพ
  • 55. แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพ
  • 56. แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพ
  • 57. แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพ
  • 58. แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพ
  • 59. แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพ