SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
Download to read offline
สื่อประสมแม่เหล็กและไฟฟ้า ชุดที่ 1 เรื่องแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก จัดทาขึ้น
เพื่อให้นักเรียนสามารถอธิบาย คานวณหาปริมาณที่เกี่ยวข้อง นาความรู้ไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจาวันและคิดสร้างสรรค์ได้ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 รายวิชาฟิสิกส์
รหัสวิชา ว32224 โดยมุ่งเน้นให้นักเรียนมีพื้นฐานความรู้ในเนื้อหาอย่างแม่นยา ฝึกคิด
คานวณ ฝึกฝนให้นักเรียนประเมิน เปรียบเทียบสถานการณ์ กล้าตัดสินใจและให้นักเรียน
ได้แสดงออกทางความคิดเชิงสร้างสรรค์ เพื่อช่วยให้นักเรียนเกิดทักษะความรู้ ความเข้าใจ
การคิดคานวณ การประเมินและคิดสร้างสรรค์
สื่อประสมแม่เหล็กและไฟฟ้า ชุดที่ 1 เรื่องแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก ประกอบด้วย
แบบทดสอบวัดผลการเรียนรู้ประจาชุดสื่อประสม ภาพเคลื่อนไหว เอกสารประกอบการ
สอนเรื่องแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1.1-1.3
สื่อประสมแม่เหล็กและไฟฟ้า ชุดที่ 1 เรื่องแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก มุ่งฝึกให้
นักเรียนสามารถทากิจกรรมการเรียนรู้ลักษณะกิจกรรมเดี่ยวและกิจกรรมกลุ่ม เพื่อให้
นักเรียน รู้ เข้าใจ คิดคานวณและคิดวิเคราะห์ได้
ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าสื่อประสมแม่เหล็กและไฟฟ้า ชุดที่ 1 เรื่องแม่เหล็กและ
แรงแม่เหล็กนี้จะเป็นประโยชน์ในการใช้ประกอบการจัดการเรียนรู้เรื่องแม่เหล็กและไฟฟ้า
ต่อนักเรียนเพื่อให้เกิดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
มีวินัย มีความรับผิดชอบ ยอมรับสิทธิของกันและกัน
นายสกัด รินฤทธิ์
ก
หน้า
คานา ก
สารบัญ ข
บัตรคาสั่ง ค
บัตรคาชี้แจงสาหรับนักเรียน 1
บัตรจุดประสงค์การเรียนรู้ประจาชุดที่ 1 2
แผนผังการเรียนรู้ประจาชุดที่ 1 3
เอกสารประกอบการเรียนรู้ประจาชุดที่ 1 4
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1.1 สร้างเสริมความรู้ 8
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1.2 เชื่อมโยงความเข้าใจ 9
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1.3 นาไปใช้ในการคานวณ 10
ข
เรียนรู้เรื่องแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1.1 สร้างเสริมความรู้
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1.2 เชื่อมโยงความเข้าใจ
นักเรียนเรียนรู้เรื่องแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก ดังนี้
ศึกษาเนื้อหาเรื่องสนามแม่เหล็ก แรงแม่เหล็ก
จากภาพเคลื่อนไหวและเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องแม่เหล็ก
และแรงแม่เหล็ก
นักเรียนทากิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1.1 สร้างเสริมความรู้
เป็นกิจกรรมที่ให้นักเรียนได้ฝึกเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยเรียนรู้
จากภาพเคลื่อนไหว เอกสารประกอบการเรียนรู้และการ
อธิบายเพิ่มเติมจากครูผู้สอน นักเรียนสามารถค้นคว้าเพิ่มเติม
จากหนังสือเรียนและอินเทอร์เน็ตได้ (10 คะแนน)
นักเรียนทากิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1.2 เชื่อมโยงความ
เข้าใจ เป็นกิจกรรมที่ให้นักเรียนตอบคาถามโดยใช้องค์ความรู้มา
เป็นเหตุผลประกอบ (10 คะแนน)
บัตรคาสั่ง
ชุดที่ 1 แม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
ขั้นที่ 1
ขั้นที่ 2
ขั้นที่ 3
ค
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1.3 นาไปใช้ในการคานวณ
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
1. นักเรียนศึกษาวิธีการคานวณเกี่ยวกับแม่เหล็กและ
แรงแม่เหล็ก จากภาพเคลื่อนไหวและการอธิบายเพิ่มเติม
จากครูผู้สอน
2. นักเรียนทากิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1.3 นาไปใช้ในการ
คานวณ เป็นกิจกรรมที่นักเรียนจะได้ฝึกการคิดคานวณ และ
เขียนแสดงวิธีทาอย่างละเอียด (30 คะแนน)
นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียนเรื่องแม่เหล็กและ
แรงแม่เหล็ก โดยแบบทดสอบหลังเรียนประจาชุดที่ 1 แม่เหล็ก
และแรงแม่เหล็ก เป็นแบบปรนัย สถานการณ์และการคิด
คานวณ
ขั้นที่ 4
ขั้นที่ 5
ง
1. สื่อประสมแม่เหล็กและไฟฟ้า ชุดที่ 1 เรื่องแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก ใช้ประกอบการเรียนรู้
รายวิชา ฟิสิกส์ รหัสวิชา ว32224 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เพื่อเป็นเครื่องมือในการพัฒนา
นักเรียน ทั้งด้านการคิดและการปฏิบัติ
2. สื่อประสมแม่เหล็กและไฟฟ้า ชุดที่ 1 เรื่องแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก เป็นสื่อประสมที่มี
เนื้อหาเกี่ยวกับเส้นสนามแม่เหล็ก ฟลักซ์แม่เหล็ก สนามแม่เหล็กจากกระแสไฟฟ้าผ่าน
เส้นลวดตัวนา แรงแม่เหล็กกระทาต่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า แรงแม่เหล็กกระทาต่อลวด
ตัวนาที่มีกระแสไฟฟ้าผ่าน แรงระหว่างลวดตัวนาที่มีกระแสไฟฟ้า ประกอบด้วย
จุดประสงค์การเรียนรู้ ภาพเคลื่อนไหว เอกสารประกอบการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้
ที่ 1.1 –1.3 แบบทดสอบวัดผลการเรียนรู้เรื่องแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
3. การใช้สื่อประสมแม่เหล็กและไฟฟ้า ชุดที่ 1 เรื่องแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก ให้นักเรียน
ปฏิบัติดังนี้
3.1 ศึกษาเนื้อหาความรู้จากเอกสารประกอบการเรียนรู้ประจาชุดที่ 1 แม่เหล็กและแรง
แม่เหล็ก
3.2 กิจกรรมเรียนรู้แบบเดี่ยว นักเรียนอ่านคาแนะนา ทาความเข้าใจจุดประสงค์ของ
กิจกรรมคาชี้แจง ศึกษาจากภาพเคลื่อนไหว เอกสารการเรียนรู้ แล้วทากิจกรรมตอบ
คาถาม รวมทั้งฝึกทักษะการคานวณ
3.3 กิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่ม นักเรียนจับคู่กับเพื่อน ร่วมกันตอบคาถาม อธิบายโดยใช้
องค์ความรู้เป็นเหตุผลประกอบในการอธิบาย ตอบคาถาม
3.4 ทาความเข้าใจกับจุดประสงค์ของสื่อประสมแม่เหล็กและไฟฟ้า ชุดที่ 1 เรื่องแม่เหล็ก
และแรงแม่เหล็ก อ่าน ทาความเข้าใจกับเนื้อหาจากภาพเคลื่อนไหว เนื้อหาความรู้
เรื่องแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก ทากิจกรรมอย่างรอบคอบ โดยทาตามคาชี้แจง
ในแต่ละกิจกรรม คิดวิเคราะห์ ใคร่ครวญก่อนตอบคาถาม
4. นักเรียนจะศึกษาสื่อประสมแม่เหล็กและไฟฟ้า ชุดที่ 1 เรื่องแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
ให้ประสบความสาเร็จตามที่คาดหวังไว้ ต้องปฏิบัติตามคาแนะนาอย่างเคร่งครัด ซื่อสัตย์
ต่อตนเองเสมอ มีความรับผิดชอบและมีวินัยในตนเอง นักเรียนจะเกิดความภาคภูมิใจใน
ตนเอง เมื่อนักเรียนสามารถแก้ปัญหาต่างๆ ได้ด้วยตนเองด้วยวิธีการที่ถูกต้องและ
เหมาะสม
1
ผลการเรียนรู้
สังเกต และอธิบายเส้นสนามแม่เหล็ก อธิบายและคานวณฟลักซ์แม่เหล็กในบริเวณ
ที่กาหนดรวมทั้งสังเกต และอธิบายสนามแม่เหล็กที่เกิดจากกระแสไฟฟ้าในลวดตัวนาเส้นตรงและ
โซเลนอยด์
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนรู้และเข้าใจเกี่ยวกับแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
2. นักเรียนสามารถคิดคานวณเกี่ยวกับแม่เหล็กและแรงแม่เหล็กได้
อ่านและทาความเข้าใจ
คาชี้แจงของแต่ละกิจกรรม
ด้วยนะครับ
2
ภาพเคลื่อนไหว/เนื้อหาความรู้/เอกสารประกอบการเรียน
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1.1 สร้างเสริมความรู้
แบบทดสอบวัดผลการเรียนรู้ประจาชุดที่ 1
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1.2 เชื่อมโยงความเข้าใจ
ภาพเคลื่อนไหว/กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1.3 นาไปใช้ในการคานวณ
ไม่ผ่าน
ไม่ผ่าน
ไม่ผ่าน
ผ่านเกณฑ์การประเมิน
ไม่ผ่าน
3
เอกสารประกอบการสอน
วิชาฟิสิกส์ ว32224 ภาคเรียนที่ 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
บทที่ 15 แม่เหล็กและไฟฟ้า กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เรื่อง แม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก โรงเรียนห้างฉัตรวิทยา ครูผู้สอน นายสกัด รินฤทธิ์
@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@
15.1 แม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
แม่เหล็ก (magnet) คือ วัตถุที่ดูดเหล็กได้ และวัตถุที่แม่เหล็กส่งแรงกระทาเรียกว่าสาร
แม่เหล็ก (magnetic substance) แรงที่เกิดขึ้นระหว่างขั้วแม่เหล็ก จะเป็นแรงกิริยา ปฏิกิริยา
ที่มา https://sites.google.com/site/beamskg7/ ที่มา http://www.legendnews.net/_m/article/content/content.php?aid=539341436
บริเวณที่แม่เหล็กส่งแรงกระทาไปถึง เรียกว่าสนามแม่เหล็ก (magnetic field) เมื่อโรยผงตะไบ
เหล็กในบริเวณสนามแม่เหล็ก ผงตะไบเหล็กจะถูกแรงแม่เหล็กกระทา ทาให้เรียงตัวเป็นแนว เรียก
แนวนี้ว่า เส้นแรงแม่เหล็ก หรือเส้นสนามแม่เหล็ก (magnetic field line) เมื่อนาแท่งแม่เหล็กไว้ใกล้กันจะ
เกิดแรงกระทาต่อกัน ดังรูป
ที่มา : https://ardra.biz/topik/contoh-gambar-garis-garis-gaya-magnet/
สนามแม่เหล็กโลก (Magnetosphere)
1
สนามแม่เหล็กโลกเกิดจากการกระบวนการไดนาโมของโลก กล่าวคือโลหะหนักที่มีสถานะ
เป็นของเหลวที่อยู่ในแกนโลกมีการหมุนวน ทาให้เกิดสนามแม่เหล็กที่เอียงทามุมประมาณ 10 องศา
1
สนามแม่เหล็กโลก. (มปป.). สืบค้นเมื่อ 2 มกราคม 2564. จากhttp://astro.phys.sc.chula.ac.th/IHY/Earth/Eart
h_magnetosphere.htm
4
จากแกนหมุนของโลก ที่ผิวโลกมีความเข้มของสนามแม่เหล็กโลกประมาณ 30,000 - 60,000
นาโนเทสลา และความเข้มจะค่อยๆ ลดลงเมื่ออยู่ห่างจากผิวโลกมากขึ้น
ที่มา : https://www.scimath.org/lesson-physics/item/7320-2017-06-14-16-05-39
ฟลักซ์แม่เหล็ก (magnetic flux)
ฟลักซ์แม่เหล็ก คือ เส้นแรงแม่เหล็กที่ผ่านพื้นที่หนึ่งๆ ขนาดของฟลักซ์แม่เหล็กมีหน่วยเป็น
เวเบอร์ (Wb) คานวณหาขนาดของฟลักซ์แม่เหล็กได้จากสมการ
เมื่อ คือ ขนาดของฟลักซ์แม่เหล็ก มีหน่วยเป็น เวเบอร์ (Wb)
B คือ ความหนาแน่นฟลักซ์แม่เหล็ก หรือขนาดของสนามแม่เหล็ก
มีหน่วยเป็น เวเบอร์ต่อตารางเมตร (Wb/m2
)
A คือ พื้นที่รองรับฟลักซ์แม่เหล็ก มีหน่วยเป็น ตารางเมตร (m2
)
 คือ มุมระหว่างทิศของสนามแม่เหล็กกับระนาบพื้นที่รองรับฟลักซ์แม่เหล็ก
การเคลื่อนที่ของอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าในสนามแม่เหล็ก
2
เมื่อวางอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า q ในสนามแม่เหล็ก ⃑ จากการทดลองถ้าประจุอยู่นิ่งจะไม่มีแรง
กระทาต่อประจุ q แต่ถ้าทาให้ประจุเคลื่อนที่เข้าไปในสนามแม่เหล็กด้วยความเร็ว ⃑ จะมีแรง
แม่เหล็ก ⃑ กระทาต่อประจุ q ในทิศตั้งฉากกับ ⃑ แรงที่กระทาต่อประจุ สามารถเขียนได้ดังนี้
⃑ ⃑ ⃑ หรือ F = qvB sin 
เมื่อ F คือแรงเนื่องจากสนามแม่เหล็กกระทาต่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า
มีหน่วยเป็น นิวตัน (Newton : N)
q คือขนาดของประจุไฟฟ้า มีหน่วยเป็น คูลอมบ์ (Coulomb : C)
2
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (มปป.). สืบค้นเมื่อ 2 มกราคม 2564. จาก https://ww
w.scimath.org/lesson-physics/item/7218-electromagnetics
5
v คือความเร็วของอนุภาคนั้น มีหน่วยเป็น เมตรต่อวินาที (m/s2
)
B คือขนาดของสนามแม่เหล็ก มีหน่วยเป็น เทสลา (Tesla : T)
 คือมุมระหว่างทิศของสนามแม่เหล็กกับทิศความเร็วอนุภาคไฟฟ้า
ถ้าประจุไฟฟ้าเป็นประจุบวก ทิศของแรง ⃑ หาได้จากผลการ cross product ของ ⃑ ⃑
พิจารณาได้โดยใช้กฎมือขวา ดังรูป โดยที่นิ้วชี้แทนทิศของ ⃑ นิ้วหัวแม่มือเป็นทิศของแรงที่กระทา
ต่อประจุ +q นิ้วกลางแทนทิศของสนามแม่เหล็ก ⃑
เมื่ออนุภาคไฟฟ้าถูกแรงกระทาในสนามแม่เหล็ก อนุภาคนั้นจะเคลื่อนที่เป็นรูปโค้งวงกลม
สามารถหารัศมีการเคลื่อนที่ได้จาก
เมื่อ R คือรัศมีของวงโคจรของอนุภาคไฟฟ้าในสนามแม่เหล็ก มีหน่วยเป็น
เมตร (metre : m)
m คือมวลของอนุภาคนั้น มีหน่วยเป็น กิโลกรัม (kilogram : m)
v คือความเร็วของประจุนั้น มีหน่วยเป็น เมตรต่อวินาที (m/s)
q คือขนาดของประจุไฟฟ้า มีหน่วยเป็น คูลอมบ์ (coulomb : C)
B คือขนาดของสนามแม่เหล็ก มีหน่วยเป็น เทสลา (Tesla : T)
 คือมุมระหว่างทิศของสนามแม่เหล็กกับทิศความเร็วอนุภาคไฟฟ้า
หากประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่เข้าไปในบริเวณที่มีสนามแม่เหล็กโดยทามุม  ใดๆ กับสนามแม่เหล็ก
ประจุจะเคลื่อนเป็นเกลียวสปริง
เออร์เสตด นักฟิสิกส์ชาวเดนมาร์คเป็นผู้ค้นพบว่าเมื่อปล่อยให้กระแสไฟฟ้าผ่านเส้นลวดตัวนา
จะเกิดสนามแม่เหล็กวนรอบๆ เส้นลวดตัวนานั้น ในทิศทางการวนซึ่งหาได้จากกฎมือขวา โดยใช้มือ
v
⃑
B
⃑
F
⃑
6
ขวากาเส้นลวดตัวนา และให้หัวแม่มือชี้ไปตามทิศการไหลของกระแสไฟฟ้า สนามแม่เหล็กที่เกิดจะ
วนไปตามทิศของนิ้วทั้งสี่ที่กาเส้นลวดนั้น
ที่มา : https://srcaltufevo.ru/th/chto-takoe-vtoroi-uroven-vysshego-obrazovaniya-vysshee-obrazovanie-otlichiya.html
ขนาดของสนามแม่เหล็กที่เกิดหาได้จากสมการ
B = (2  10-7
)
เมื่อ B คือขนาดของสนามแม่เหล็กเหนี่ยวนารอบลวดตัวนาโลหะตัวนา หน่วย เทสลา
I คือกระแสไฟฟ้า หน่วย แอมแปร์
R คือระยะห่างจากตัวนาถึงจุดที่วัดขนาดสนามแม่เหล็ก หน่วยเมตร
เมื่อปล่อยกระแสไฟฟ้าเข้าไปในขดลวดที่พันเป็นเกลียว จะเกิดสนามแม่เหล็กไหลวนรอบ
เกลียวขดลวด ดังรูป ทิศการไหลวนของสนามแม่เหล็กนี้หาได้จากฏมือขวา โดยใช้มือขวากา
รอบขดลวด นิ้วทั้งสี่จะชี้วนตามการไหลของกระแสไฟฟ้า หัวแม่มือชี้ไปทางทิศขั้วแม่เหล็กขั้ว
เหนือ ขดลวดนี้เป็นเสมือนแท่งแม่เหล็ก เรียกชดลวดนี้ว่า โซเลนอยด์
https://srcaltufevo.ru/th/chto-takoe-vtoroi-uroven-vysshego-obrazovaniya-vysshee-obrazovanie-otlichiya.html
7
1. ขั้วโลกทางภูมิศาสตร์ ขั้วแม่เหล็กโลก และเส้นแรงแม่เหล็กโลก ให้ถูกต้อง
2. สมการ = BA sin 
ที่มา https://physicskruadd.wordpress.com/2012/03/13/%
E0%B8%9F%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%
81%E0%B8%8B%E0%B9%8C%E0%B9%81%E0%
B8%A1%E0%B9%88%E0%B9%80%E0%B8%AB%
E0%B8%A5%E0%B9%87%E0%B8%81/
คือ .......................................................................................... มีหน่วยเป็น .....................
B คือ .......................................................................................... มีหน่วยเป็น .....................
A คือ .......................................................................................... มีหน่วยเป็น .....................
 คือ .......................................................................................... มีหน่วยเป็น .....................
3. กฎมือขวา ใช้กับประจุไฟฟ้าบวกที่เคลื่อนที่ตัดกับสนามแม่เหล็ก ดังรูป
ที่มา https://webstarsnet.com/th/40-
flemings-left-hand-rule-and-
right-hand-rule.html
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1.1 สร้างเสริมความรู้
คาชี้แจง เขียนคาตอบที่ถูกต้องลงในช่องว่าง
คะแนนเต็ม
10 คะแนน
คะแนนที่ได้
…..…คะแนน
ชื่อ - สกุล ..........................................................................................ชั้น ม.5/1 เลขที่ .............
8
3.1 หัวแม่มือแทนทิศของ ............................................ ..........................................................
3.2 นิ้วทั้งสี่ แทนทิศของ .........................................................................................................
3.3 นิ้วกลาง แทนทิศของ .......................................................................................................
4. เมื่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่เข้าไปในสนามแม่เหล็ก จะเกิดแรงเนื่องจากสนามแม่เหล็ก
กระทาต่อประจุไฟฟ้า ดังสมการ F = qvB sin  เมื่อ
4.1 F คือ............................................................................................. มีหน่วยเป็น .............
4.2 q คือ............................................................................................. มีหน่วยเป็น .............
4.3 v คือ............................................................................................. มีหน่วยเป็น ..............
4.4 B คือ............................................................................................. มีหน่วยเป็น .............
4.5  คือ............................................................................................. มีหน่วยเป็น .............
5. เมื่อให้กระแสไฟฟ้าไหลในลวดตัวนาดังรูป จะเกิดสนามแม่เหล็กในทิศใด (เขียนหัวลูกศรแสดง
ทิศของสนามแม่เหล็ก)
6. ขนาดของสนามแม่เหล็กรอบลวดตัวนา หาได้จากสมการ -
เมื่อ B คือ ………………………………………………………………………………………………………………………
I คือ ………………………………………………………………………………………………………………………
R คือ ………………………………………………………………………………………………………………………
7. เมื่อให้กระแสไฟฟ้าไหลในขวดลวดโซเลนอยด์ เกิดสนามแม่เหล็กชั่วคราว
จงหาขั้วของสนามแม่เหล็กดังกล่าว
8. เมื่อนาลวดตัวนาไปวางไว้ในสนามแม่เหล็ก จะเกิดแรงกระทาต่อลวดตัวนา
คานวณหาขนาดของแรงได้จากสมการ F = ILB sin 
เมื่อ F คือ ....................................................................................หน่วย ..................
I คือ ....................................................................................หน่วย ..................
L คือ ....................................................................................หน่วย ..................
 คือ ....................................................................................หน่วย ..................
9
1. นาแท่งแม่เหล็ก 2 แท่ง วางไว้ใกล้ๆ กันดังรูป จงเติมขั้วแม่เหล็กและหัวลูกศรของเส้นแรง
แม่เหล็กให้ครบ ถูกต้อง
2. สนามแม่เหล็กสม่าเสมอ ดังรูป ถ้าให้อนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่เข้าหาสนามแม่เหล็ก
อนุภาคดังกล่าวจะเคลื่อนที่อย่างไร (นาข้อความต่อไปนี้เติมลงในช่องว่าง เบี่ยงเบน ตรงไป เป็น
เกลียว)
ตาแหน่ง …………………………..
ตาแหน่ง …………………………..
ตาแหน่ง C …………………………..
ตาแหน่ง D …………………………..
3. ให้นักเรียนกาหนดทิศการไหลของกระแสไฟฟ้า
รอบขดลวดโซลินอยด์และระบุขั้วแม่เหล็กชั่วคราว
ที่เกิดขึ้นในขดลวดโซลินอยด์และเขียนเส้นแรงแม่เหล็ก
รอบๆ ขดลวดตัวนานี้ด้วย
4. อนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า q เคลื่อนที่ทามุม  เข้าไปในสนามแม่เหล็กสม่าเสมอ B ถูกแรง เนื่อง
จากสนามแม่เหล็ก F กระทา ทาให้เคลื่อนที่เป็นส่วนโค้งของวงกลมรัศมี R จากสมการ
F = qvB sin  และ F = จงหาว่ารัศมี R จะเท่ากับเท่าใด
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1.2 เชื่อมโยงความเข้าใจ
คาชี้แจง อธิบายและตอบคาถามที่ถูกต้องลงในช่องว่าง
คะแนนเต็ม
10 คะแนน
คะแนนที่ได้
…..…คะแนน
ชื่อ - สกุล ..........................................................................................ชั้น ม.5/1 เลขที่ .............
ชื่อ - สกุล ..........................................................................................ชั้น ม.5/1 เลขที่ .............
N
N
q
q q
q
A
B C
D
10
1. แพรงาม นาลวดมาขดเป็นรูปสี่เหลี่ยมพื้นที่ 2  10-4
ตารางเมตร วางไว้ในสนามแม่เหล็ก
สม่าเสมอ 5 เทสลา ฟลักซ์แม่เหล็กที่ผ่านขดลวด เมื่อระนาบของขดลวดทามุม 30 และ 0
กับสนามแม่เหล็กมีค่าเท่าใด
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. ประจุไฟฟ้าลบขนาด 3.2  10-19
คูลอมบ์ ถูกเร่งให้เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 2.5  105
เมตรต่อ
วินาที เข้าไปในบริเวณที่มีสนามแม่เหล็กขนาด 1.0 เทสลา โดยทิศของความเร็วตั้งฉากกับทิศ
ของสนามแม่เหล็ก จงหาขนาดของแรงที่กระทาต่อประจุไฟฟ้านี้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1.3 นาไปใช้ในการคานวณ
คาชี้แจง แสดงวิธีทาให้ถูกต้อง ละเอียด ชัดเจน
คะแนนเต็ม
30 คะแนน
คะแนนที่ได้
…..…คะแนน
ชื่อ - สกุล ..........................................................................................ชั้น ม.5/1 เลขที่ .............
11
3. โปรตอนตัวหนึ่งเข้ามาในสนามแม่เหล็กขนาด 2.0 เทสลา ด้วยความเร็ว 2  107
เมตรต่อ
วินาที ถ้าโปรตอนมีประจุไฟฟ้า 1.6  10-19
คูลอมบ์ จงคานวณหาแรงที่สนามแม่เหล็กนี้
กระทาต่อโปรตอน เมื่อโปรตอนเคลื่อนที่ทามุม 30 กับสนามแม่เหล็ก
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. โปรตอนตัวหนึ่งเข้ามาในสนามแม่เหล็กขนาด 2.0 เทสลา ด้วยความเร็ว 2  107
เมตรต่อ
วินาที ถ้าโปรตอนมีประจุไฟฟ้า 1.6  10-19
คูลอมบ์ มีมวล 1.6  10-27
กิโลกรัม จงหารัศมีวง
โคจรการเคลื่อนที่ของโปรตอน เมื่อโปรตอนเคลื่อนที่ทามุม 30 กับสนามแม่เหล็ก
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
5. ลวดตัวนาตรง ยาว 1 เมตร ให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน 0.5 แอมแปร์ เกิดสนามแม่เหล็กรอบลวด
ตัวนานี้ จงหาว่าสนามแม่เหล็กที่วัดได้น้อยที่สุดอยู่ห่างจากลวดตัวนาเท่าไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
12
6. เส้นลวดตัวนายาว 60 เซนติเมตร มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน 10 แอมแปร์ และทามุม 30o
กับทิศ
ของสนามแม่เหล็กขนาด 1.5 เทสลา จงหาขนาดของแรงที่เกิดในหน่วยนิวตัน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
A charged particle moving in a plane perpendicular to a magnetic field will move in a
circular orbit as shown in the diagram. What is the magnetic force on the particle with 25
C of charges?
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
ที่มา : https://braingenie.ck12.org/skills/105698
A wire of 62.0 cm length and 13.0 g mass is suspended by a pair of flexible leads in a
uniform magnetic field of magnitude 0.440 T (see figure) what are the magnitude and
direction of the current required to remove the tension in the supporting leads?
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ที่มา : https://web.njit.edu/~janow/Physics%20121%20Fall%202019/Solved%20Homework%20Problems%20-
%20HR/ProbHR09sol.pdf
13
เอกสารอ้างอิง
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (มปป.). แม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagne
tics). สืบค้นเมื่อ 2 มกราคม 2564. จาก https://www.scimath.org/lesson-physics/item/7
218-electromagnetics
สนามแม่เหล็กโลก. (มปป.). สืบค้นเมื่อ 2 มกราคม 2564. จาก http://astro.phys.sc.chula.ac.th
/IHY/Earth/Eart h_magnetosphere.htm
14
วีดิทัศน์นาเสนอเรื่องแม่เหล็กและไฟฟ้า
แม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
แม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก

More Related Content

What's hot

แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdfตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdfbansarot
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2dnavaroj
 
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
 
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบบทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบJariya Jaiyot
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้าเรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
ธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีพัน พัน
 
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาหน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาkrupornpana55
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
 
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานjirupi
 
ใบงาน 17.1 17.3
ใบงาน 17.1 17.3ใบงาน 17.1 17.3
ใบงาน 17.1 17.3oraneehussem
 
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2Wijitta DevilTeacher
 

What's hot (20)

แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็กใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิตหน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
 
เสียง
เสียงเสียง
เสียง
 
172 130909011745-
172 130909011745-172 130909011745-
172 130909011745-
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdfตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบบทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
 
ธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสี
 
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาหน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
 
ใบงาน 17.1 17.3
ใบงาน 17.1 17.3ใบงาน 17.1 17.3
ใบงาน 17.1 17.3
 
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
 

Similar to แม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก

ตารางวิเคราะห์สาระ มาตรฐาน ตัวชี้วัด.docx
ตารางวิเคราะห์สาระ มาตรฐาน ตัวชี้วัด.docxตารางวิเคราะห์สาระ มาตรฐาน ตัวชี้วัด.docx
ตารางวิเคราะห์สาระ มาตรฐาน ตัวชี้วัด.docxssuser7ea064
 
แผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็กแผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็กNiwat Yod
 
Magnetism and force of magnet.ppt
Magnetism and force of magnet.pptMagnetism and force of magnet.ppt
Magnetism and force of magnet.pptSakad Rinrith
 
สนามของแรง
สนามของแรงสนามของแรง
สนามของแรงkrukhunnaphat
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์cardphone
 
ดงมะไฟพิทยาคม สนามแม่เหล็ก
ดงมะไฟพิทยาคม สนามแม่เหล็กดงมะไฟพิทยาคม สนามแม่เหล็ก
ดงมะไฟพิทยาคม สนามแม่เหล็กNang Ka Nangnarak
 
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชาฟิสิกส์ 2
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชาฟิสิกส์ 2ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชาฟิสิกส์ 2
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชาฟิสิกส์ 2Niwat Yod
 
Training
TrainingTraining
Trainingphon29
 
การใช้ชีวิตในอวกาศ
การใช้ชีวิตในอวกาศการใช้ชีวิตในอวกาศ
การใช้ชีวิตในอวกาศChapa Paha
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...Prachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...Prachoom Rangkasikorn
 
โครงงาน คอม
โครงงาน คอมโครงงาน คอม
โครงงาน คอมLupin F'n
 

Similar to แม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก (16)

ตารางวิเคราะห์สาระ มาตรฐาน ตัวชี้วัด.docx
ตารางวิเคราะห์สาระ มาตรฐาน ตัวชี้วัด.docxตารางวิเคราะห์สาระ มาตรฐาน ตัวชี้วัด.docx
ตารางวิเคราะห์สาระ มาตรฐาน ตัวชี้วัด.docx
 
แผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็กแผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็ก
 
Magnetism and force of magnet.ppt
Magnetism and force of magnet.pptMagnetism and force of magnet.ppt
Magnetism and force of magnet.ppt
 
สนามของแรง
สนามของแรงสนามของแรง
สนามของแรง
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ดงมะไฟพิทยาคม สนามแม่เหล็ก
ดงมะไฟพิทยาคม สนามแม่เหล็กดงมะไฟพิทยาคม สนามแม่เหล็ก
ดงมะไฟพิทยาคม สนามแม่เหล็ก
 
My project1
My project1My project1
My project1
 
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชาฟิสิกส์ 2
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชาฟิสิกส์ 2ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชาฟิสิกส์ 2
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชาฟิสิกส์ 2
 
Hydroelectric power
Hydroelectric powerHydroelectric power
Hydroelectric power
 
Training
TrainingTraining
Training
 
การใช้ชีวิตในอวกาศ
การใช้ชีวิตในอวกาศการใช้ชีวิตในอวกาศ
การใช้ชีวิตในอวกาศ
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
 
ตัวชี้วัด วิทย์ม 3
ตัวชี้วัด วิทย์ม 3ตัวชี้วัด วิทย์ม 3
ตัวชี้วัด วิทย์ม 3
 
อบรมSme1 มฟล.1
อบรมSme1 มฟล.1อบรมSme1 มฟล.1
อบรมSme1 มฟล.1
 
โครงงาน คอม
โครงงาน คอมโครงงาน คอม
โครงงาน คอม
 

แม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก

  • 1.
  • 2. สื่อประสมแม่เหล็กและไฟฟ้า ชุดที่ 1 เรื่องแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก จัดทาขึ้น เพื่อให้นักเรียนสามารถอธิบาย คานวณหาปริมาณที่เกี่ยวข้อง นาความรู้ไปประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจาวันและคิดสร้างสรรค์ได้ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 รายวิชาฟิสิกส์ รหัสวิชา ว32224 โดยมุ่งเน้นให้นักเรียนมีพื้นฐานความรู้ในเนื้อหาอย่างแม่นยา ฝึกคิด คานวณ ฝึกฝนให้นักเรียนประเมิน เปรียบเทียบสถานการณ์ กล้าตัดสินใจและให้นักเรียน ได้แสดงออกทางความคิดเชิงสร้างสรรค์ เพื่อช่วยให้นักเรียนเกิดทักษะความรู้ ความเข้าใจ การคิดคานวณ การประเมินและคิดสร้างสรรค์ สื่อประสมแม่เหล็กและไฟฟ้า ชุดที่ 1 เรื่องแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก ประกอบด้วย แบบทดสอบวัดผลการเรียนรู้ประจาชุดสื่อประสม ภาพเคลื่อนไหว เอกสารประกอบการ สอนเรื่องแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1.1-1.3 สื่อประสมแม่เหล็กและไฟฟ้า ชุดที่ 1 เรื่องแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก มุ่งฝึกให้ นักเรียนสามารถทากิจกรรมการเรียนรู้ลักษณะกิจกรรมเดี่ยวและกิจกรรมกลุ่ม เพื่อให้ นักเรียน รู้ เข้าใจ คิดคานวณและคิดวิเคราะห์ได้ ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าสื่อประสมแม่เหล็กและไฟฟ้า ชุดที่ 1 เรื่องแม่เหล็กและ แรงแม่เหล็กนี้จะเป็นประโยชน์ในการใช้ประกอบการจัดการเรียนรู้เรื่องแม่เหล็กและไฟฟ้า ต่อนักเรียนเพื่อให้เกิดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น มีวินัย มีความรับผิดชอบ ยอมรับสิทธิของกันและกัน นายสกัด รินฤทธิ์ ก
  • 3. หน้า คานา ก สารบัญ ข บัตรคาสั่ง ค บัตรคาชี้แจงสาหรับนักเรียน 1 บัตรจุดประสงค์การเรียนรู้ประจาชุดที่ 1 2 แผนผังการเรียนรู้ประจาชุดที่ 1 3 เอกสารประกอบการเรียนรู้ประจาชุดที่ 1 4 กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1.1 สร้างเสริมความรู้ 8 กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1.2 เชื่อมโยงความเข้าใจ 9 กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1.3 นาไปใช้ในการคานวณ 10 ข
  • 4. เรียนรู้เรื่องแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1.1 สร้างเสริมความรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1.2 เชื่อมโยงความเข้าใจ นักเรียนเรียนรู้เรื่องแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก ดังนี้ ศึกษาเนื้อหาเรื่องสนามแม่เหล็ก แรงแม่เหล็ก จากภาพเคลื่อนไหวและเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องแม่เหล็ก และแรงแม่เหล็ก นักเรียนทากิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1.1 สร้างเสริมความรู้ เป็นกิจกรรมที่ให้นักเรียนได้ฝึกเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยเรียนรู้ จากภาพเคลื่อนไหว เอกสารประกอบการเรียนรู้และการ อธิบายเพิ่มเติมจากครูผู้สอน นักเรียนสามารถค้นคว้าเพิ่มเติม จากหนังสือเรียนและอินเทอร์เน็ตได้ (10 คะแนน) นักเรียนทากิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1.2 เชื่อมโยงความ เข้าใจ เป็นกิจกรรมที่ให้นักเรียนตอบคาถามโดยใช้องค์ความรู้มา เป็นเหตุผลประกอบ (10 คะแนน) บัตรคาสั่ง ชุดที่ 1 แม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก ขั้นที่ 1 ขั้นที่ 2 ขั้นที่ 3 ค
  • 5. กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1.3 นาไปใช้ในการคานวณ แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก 1. นักเรียนศึกษาวิธีการคานวณเกี่ยวกับแม่เหล็กและ แรงแม่เหล็ก จากภาพเคลื่อนไหวและการอธิบายเพิ่มเติม จากครูผู้สอน 2. นักเรียนทากิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1.3 นาไปใช้ในการ คานวณ เป็นกิจกรรมที่นักเรียนจะได้ฝึกการคิดคานวณ และ เขียนแสดงวิธีทาอย่างละเอียด (30 คะแนน) นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียนเรื่องแม่เหล็กและ แรงแม่เหล็ก โดยแบบทดสอบหลังเรียนประจาชุดที่ 1 แม่เหล็ก และแรงแม่เหล็ก เป็นแบบปรนัย สถานการณ์และการคิด คานวณ ขั้นที่ 4 ขั้นที่ 5 ง
  • 6. 1. สื่อประสมแม่เหล็กและไฟฟ้า ชุดที่ 1 เรื่องแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก ใช้ประกอบการเรียนรู้ รายวิชา ฟิสิกส์ รหัสวิชา ว32224 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เพื่อเป็นเครื่องมือในการพัฒนา นักเรียน ทั้งด้านการคิดและการปฏิบัติ 2. สื่อประสมแม่เหล็กและไฟฟ้า ชุดที่ 1 เรื่องแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก เป็นสื่อประสมที่มี เนื้อหาเกี่ยวกับเส้นสนามแม่เหล็ก ฟลักซ์แม่เหล็ก สนามแม่เหล็กจากกระแสไฟฟ้าผ่าน เส้นลวดตัวนา แรงแม่เหล็กกระทาต่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า แรงแม่เหล็กกระทาต่อลวด ตัวนาที่มีกระแสไฟฟ้าผ่าน แรงระหว่างลวดตัวนาที่มีกระแสไฟฟ้า ประกอบด้วย จุดประสงค์การเรียนรู้ ภาพเคลื่อนไหว เอกสารประกอบการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ ที่ 1.1 –1.3 แบบทดสอบวัดผลการเรียนรู้เรื่องแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก 3. การใช้สื่อประสมแม่เหล็กและไฟฟ้า ชุดที่ 1 เรื่องแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก ให้นักเรียน ปฏิบัติดังนี้ 3.1 ศึกษาเนื้อหาความรู้จากเอกสารประกอบการเรียนรู้ประจาชุดที่ 1 แม่เหล็กและแรง แม่เหล็ก 3.2 กิจกรรมเรียนรู้แบบเดี่ยว นักเรียนอ่านคาแนะนา ทาความเข้าใจจุดประสงค์ของ กิจกรรมคาชี้แจง ศึกษาจากภาพเคลื่อนไหว เอกสารการเรียนรู้ แล้วทากิจกรรมตอบ คาถาม รวมทั้งฝึกทักษะการคานวณ 3.3 กิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่ม นักเรียนจับคู่กับเพื่อน ร่วมกันตอบคาถาม อธิบายโดยใช้ องค์ความรู้เป็นเหตุผลประกอบในการอธิบาย ตอบคาถาม 3.4 ทาความเข้าใจกับจุดประสงค์ของสื่อประสมแม่เหล็กและไฟฟ้า ชุดที่ 1 เรื่องแม่เหล็ก และแรงแม่เหล็ก อ่าน ทาความเข้าใจกับเนื้อหาจากภาพเคลื่อนไหว เนื้อหาความรู้ เรื่องแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก ทากิจกรรมอย่างรอบคอบ โดยทาตามคาชี้แจง ในแต่ละกิจกรรม คิดวิเคราะห์ ใคร่ครวญก่อนตอบคาถาม 4. นักเรียนจะศึกษาสื่อประสมแม่เหล็กและไฟฟ้า ชุดที่ 1 เรื่องแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก ให้ประสบความสาเร็จตามที่คาดหวังไว้ ต้องปฏิบัติตามคาแนะนาอย่างเคร่งครัด ซื่อสัตย์ ต่อตนเองเสมอ มีความรับผิดชอบและมีวินัยในตนเอง นักเรียนจะเกิดความภาคภูมิใจใน ตนเอง เมื่อนักเรียนสามารถแก้ปัญหาต่างๆ ได้ด้วยตนเองด้วยวิธีการที่ถูกต้องและ เหมาะสม 1
  • 7. ผลการเรียนรู้ สังเกต และอธิบายเส้นสนามแม่เหล็ก อธิบายและคานวณฟลักซ์แม่เหล็กในบริเวณ ที่กาหนดรวมทั้งสังเกต และอธิบายสนามแม่เหล็กที่เกิดจากกระแสไฟฟ้าในลวดตัวนาเส้นตรงและ โซเลนอยด์ จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนรู้และเข้าใจเกี่ยวกับแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก 2. นักเรียนสามารถคิดคานวณเกี่ยวกับแม่เหล็กและแรงแม่เหล็กได้ อ่านและทาความเข้าใจ คาชี้แจงของแต่ละกิจกรรม ด้วยนะครับ 2
  • 8. ภาพเคลื่อนไหว/เนื้อหาความรู้/เอกสารประกอบการเรียน กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1.1 สร้างเสริมความรู้ แบบทดสอบวัดผลการเรียนรู้ประจาชุดที่ 1 กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1.2 เชื่อมโยงความเข้าใจ ภาพเคลื่อนไหว/กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1.3 นาไปใช้ในการคานวณ ไม่ผ่าน ไม่ผ่าน ไม่ผ่าน ผ่านเกณฑ์การประเมิน ไม่ผ่าน 3
  • 9. เอกสารประกอบการสอน วิชาฟิสิกส์ ว32224 ภาคเรียนที่ 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 บทที่ 15 แม่เหล็กและไฟฟ้า กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เรื่อง แม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก โรงเรียนห้างฉัตรวิทยา ครูผู้สอน นายสกัด รินฤทธิ์ @@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@ 15.1 แม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก แม่เหล็ก (magnet) คือ วัตถุที่ดูดเหล็กได้ และวัตถุที่แม่เหล็กส่งแรงกระทาเรียกว่าสาร แม่เหล็ก (magnetic substance) แรงที่เกิดขึ้นระหว่างขั้วแม่เหล็ก จะเป็นแรงกิริยา ปฏิกิริยา ที่มา https://sites.google.com/site/beamskg7/ ที่มา http://www.legendnews.net/_m/article/content/content.php?aid=539341436 บริเวณที่แม่เหล็กส่งแรงกระทาไปถึง เรียกว่าสนามแม่เหล็ก (magnetic field) เมื่อโรยผงตะไบ เหล็กในบริเวณสนามแม่เหล็ก ผงตะไบเหล็กจะถูกแรงแม่เหล็กกระทา ทาให้เรียงตัวเป็นแนว เรียก แนวนี้ว่า เส้นแรงแม่เหล็ก หรือเส้นสนามแม่เหล็ก (magnetic field line) เมื่อนาแท่งแม่เหล็กไว้ใกล้กันจะ เกิดแรงกระทาต่อกัน ดังรูป ที่มา : https://ardra.biz/topik/contoh-gambar-garis-garis-gaya-magnet/ สนามแม่เหล็กโลก (Magnetosphere) 1 สนามแม่เหล็กโลกเกิดจากการกระบวนการไดนาโมของโลก กล่าวคือโลหะหนักที่มีสถานะ เป็นของเหลวที่อยู่ในแกนโลกมีการหมุนวน ทาให้เกิดสนามแม่เหล็กที่เอียงทามุมประมาณ 10 องศา 1 สนามแม่เหล็กโลก. (มปป.). สืบค้นเมื่อ 2 มกราคม 2564. จากhttp://astro.phys.sc.chula.ac.th/IHY/Earth/Eart h_magnetosphere.htm 4
  • 10. จากแกนหมุนของโลก ที่ผิวโลกมีความเข้มของสนามแม่เหล็กโลกประมาณ 30,000 - 60,000 นาโนเทสลา และความเข้มจะค่อยๆ ลดลงเมื่ออยู่ห่างจากผิวโลกมากขึ้น ที่มา : https://www.scimath.org/lesson-physics/item/7320-2017-06-14-16-05-39 ฟลักซ์แม่เหล็ก (magnetic flux) ฟลักซ์แม่เหล็ก คือ เส้นแรงแม่เหล็กที่ผ่านพื้นที่หนึ่งๆ ขนาดของฟลักซ์แม่เหล็กมีหน่วยเป็น เวเบอร์ (Wb) คานวณหาขนาดของฟลักซ์แม่เหล็กได้จากสมการ เมื่อ คือ ขนาดของฟลักซ์แม่เหล็ก มีหน่วยเป็น เวเบอร์ (Wb) B คือ ความหนาแน่นฟลักซ์แม่เหล็ก หรือขนาดของสนามแม่เหล็ก มีหน่วยเป็น เวเบอร์ต่อตารางเมตร (Wb/m2 ) A คือ พื้นที่รองรับฟลักซ์แม่เหล็ก มีหน่วยเป็น ตารางเมตร (m2 )  คือ มุมระหว่างทิศของสนามแม่เหล็กกับระนาบพื้นที่รองรับฟลักซ์แม่เหล็ก การเคลื่อนที่ของอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าในสนามแม่เหล็ก 2 เมื่อวางอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า q ในสนามแม่เหล็ก ⃑ จากการทดลองถ้าประจุอยู่นิ่งจะไม่มีแรง กระทาต่อประจุ q แต่ถ้าทาให้ประจุเคลื่อนที่เข้าไปในสนามแม่เหล็กด้วยความเร็ว ⃑ จะมีแรง แม่เหล็ก ⃑ กระทาต่อประจุ q ในทิศตั้งฉากกับ ⃑ แรงที่กระทาต่อประจุ สามารถเขียนได้ดังนี้ ⃑ ⃑ ⃑ หรือ F = qvB sin  เมื่อ F คือแรงเนื่องจากสนามแม่เหล็กกระทาต่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า มีหน่วยเป็น นิวตัน (Newton : N) q คือขนาดของประจุไฟฟ้า มีหน่วยเป็น คูลอมบ์ (Coulomb : C) 2 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (มปป.). สืบค้นเมื่อ 2 มกราคม 2564. จาก https://ww w.scimath.org/lesson-physics/item/7218-electromagnetics 5
  • 11. v คือความเร็วของอนุภาคนั้น มีหน่วยเป็น เมตรต่อวินาที (m/s2 ) B คือขนาดของสนามแม่เหล็ก มีหน่วยเป็น เทสลา (Tesla : T)  คือมุมระหว่างทิศของสนามแม่เหล็กกับทิศความเร็วอนุภาคไฟฟ้า ถ้าประจุไฟฟ้าเป็นประจุบวก ทิศของแรง ⃑ หาได้จากผลการ cross product ของ ⃑ ⃑ พิจารณาได้โดยใช้กฎมือขวา ดังรูป โดยที่นิ้วชี้แทนทิศของ ⃑ นิ้วหัวแม่มือเป็นทิศของแรงที่กระทา ต่อประจุ +q นิ้วกลางแทนทิศของสนามแม่เหล็ก ⃑ เมื่ออนุภาคไฟฟ้าถูกแรงกระทาในสนามแม่เหล็ก อนุภาคนั้นจะเคลื่อนที่เป็นรูปโค้งวงกลม สามารถหารัศมีการเคลื่อนที่ได้จาก เมื่อ R คือรัศมีของวงโคจรของอนุภาคไฟฟ้าในสนามแม่เหล็ก มีหน่วยเป็น เมตร (metre : m) m คือมวลของอนุภาคนั้น มีหน่วยเป็น กิโลกรัม (kilogram : m) v คือความเร็วของประจุนั้น มีหน่วยเป็น เมตรต่อวินาที (m/s) q คือขนาดของประจุไฟฟ้า มีหน่วยเป็น คูลอมบ์ (coulomb : C) B คือขนาดของสนามแม่เหล็ก มีหน่วยเป็น เทสลา (Tesla : T)  คือมุมระหว่างทิศของสนามแม่เหล็กกับทิศความเร็วอนุภาคไฟฟ้า หากประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่เข้าไปในบริเวณที่มีสนามแม่เหล็กโดยทามุม  ใดๆ กับสนามแม่เหล็ก ประจุจะเคลื่อนเป็นเกลียวสปริง เออร์เสตด นักฟิสิกส์ชาวเดนมาร์คเป็นผู้ค้นพบว่าเมื่อปล่อยให้กระแสไฟฟ้าผ่านเส้นลวดตัวนา จะเกิดสนามแม่เหล็กวนรอบๆ เส้นลวดตัวนานั้น ในทิศทางการวนซึ่งหาได้จากกฎมือขวา โดยใช้มือ v ⃑ B ⃑ F ⃑ 6
  • 12. ขวากาเส้นลวดตัวนา และให้หัวแม่มือชี้ไปตามทิศการไหลของกระแสไฟฟ้า สนามแม่เหล็กที่เกิดจะ วนไปตามทิศของนิ้วทั้งสี่ที่กาเส้นลวดนั้น ที่มา : https://srcaltufevo.ru/th/chto-takoe-vtoroi-uroven-vysshego-obrazovaniya-vysshee-obrazovanie-otlichiya.html ขนาดของสนามแม่เหล็กที่เกิดหาได้จากสมการ B = (2  10-7 ) เมื่อ B คือขนาดของสนามแม่เหล็กเหนี่ยวนารอบลวดตัวนาโลหะตัวนา หน่วย เทสลา I คือกระแสไฟฟ้า หน่วย แอมแปร์ R คือระยะห่างจากตัวนาถึงจุดที่วัดขนาดสนามแม่เหล็ก หน่วยเมตร เมื่อปล่อยกระแสไฟฟ้าเข้าไปในขดลวดที่พันเป็นเกลียว จะเกิดสนามแม่เหล็กไหลวนรอบ เกลียวขดลวด ดังรูป ทิศการไหลวนของสนามแม่เหล็กนี้หาได้จากฏมือขวา โดยใช้มือขวากา รอบขดลวด นิ้วทั้งสี่จะชี้วนตามการไหลของกระแสไฟฟ้า หัวแม่มือชี้ไปทางทิศขั้วแม่เหล็กขั้ว เหนือ ขดลวดนี้เป็นเสมือนแท่งแม่เหล็ก เรียกชดลวดนี้ว่า โซเลนอยด์ https://srcaltufevo.ru/th/chto-takoe-vtoroi-uroven-vysshego-obrazovaniya-vysshee-obrazovanie-otlichiya.html 7
  • 13. 1. ขั้วโลกทางภูมิศาสตร์ ขั้วแม่เหล็กโลก และเส้นแรงแม่เหล็กโลก ให้ถูกต้อง 2. สมการ = BA sin  ที่มา https://physicskruadd.wordpress.com/2012/03/13/% E0%B8%9F%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8% 81%E0%B8%8B%E0%B9%8C%E0%B9%81%E0% B8%A1%E0%B9%88%E0%B9%80%E0%B8%AB% E0%B8%A5%E0%B9%87%E0%B8%81/ คือ .......................................................................................... มีหน่วยเป็น ..................... B คือ .......................................................................................... มีหน่วยเป็น ..................... A คือ .......................................................................................... มีหน่วยเป็น .....................  คือ .......................................................................................... มีหน่วยเป็น ..................... 3. กฎมือขวา ใช้กับประจุไฟฟ้าบวกที่เคลื่อนที่ตัดกับสนามแม่เหล็ก ดังรูป ที่มา https://webstarsnet.com/th/40- flemings-left-hand-rule-and- right-hand-rule.html กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1.1 สร้างเสริมความรู้ คาชี้แจง เขียนคาตอบที่ถูกต้องลงในช่องว่าง คะแนนเต็ม 10 คะแนน คะแนนที่ได้ …..…คะแนน ชื่อ - สกุล ..........................................................................................ชั้น ม.5/1 เลขที่ ............. 8
  • 14. 3.1 หัวแม่มือแทนทิศของ ............................................ .......................................................... 3.2 นิ้วทั้งสี่ แทนทิศของ ......................................................................................................... 3.3 นิ้วกลาง แทนทิศของ ....................................................................................................... 4. เมื่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่เข้าไปในสนามแม่เหล็ก จะเกิดแรงเนื่องจากสนามแม่เหล็ก กระทาต่อประจุไฟฟ้า ดังสมการ F = qvB sin  เมื่อ 4.1 F คือ............................................................................................. มีหน่วยเป็น ............. 4.2 q คือ............................................................................................. มีหน่วยเป็น ............. 4.3 v คือ............................................................................................. มีหน่วยเป็น .............. 4.4 B คือ............................................................................................. มีหน่วยเป็น ............. 4.5  คือ............................................................................................. มีหน่วยเป็น ............. 5. เมื่อให้กระแสไฟฟ้าไหลในลวดตัวนาดังรูป จะเกิดสนามแม่เหล็กในทิศใด (เขียนหัวลูกศรแสดง ทิศของสนามแม่เหล็ก) 6. ขนาดของสนามแม่เหล็กรอบลวดตัวนา หาได้จากสมการ - เมื่อ B คือ ……………………………………………………………………………………………………………………… I คือ ……………………………………………………………………………………………………………………… R คือ ……………………………………………………………………………………………………………………… 7. เมื่อให้กระแสไฟฟ้าไหลในขวดลวดโซเลนอยด์ เกิดสนามแม่เหล็กชั่วคราว จงหาขั้วของสนามแม่เหล็กดังกล่าว 8. เมื่อนาลวดตัวนาไปวางไว้ในสนามแม่เหล็ก จะเกิดแรงกระทาต่อลวดตัวนา คานวณหาขนาดของแรงได้จากสมการ F = ILB sin  เมื่อ F คือ ....................................................................................หน่วย .................. I คือ ....................................................................................หน่วย .................. L คือ ....................................................................................หน่วย ..................  คือ ....................................................................................หน่วย .................. 9
  • 15. 1. นาแท่งแม่เหล็ก 2 แท่ง วางไว้ใกล้ๆ กันดังรูป จงเติมขั้วแม่เหล็กและหัวลูกศรของเส้นแรง แม่เหล็กให้ครบ ถูกต้อง 2. สนามแม่เหล็กสม่าเสมอ ดังรูป ถ้าให้อนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่เข้าหาสนามแม่เหล็ก อนุภาคดังกล่าวจะเคลื่อนที่อย่างไร (นาข้อความต่อไปนี้เติมลงในช่องว่าง เบี่ยงเบน ตรงไป เป็น เกลียว) ตาแหน่ง ………………………….. ตาแหน่ง ………………………….. ตาแหน่ง C ………………………….. ตาแหน่ง D ………………………….. 3. ให้นักเรียนกาหนดทิศการไหลของกระแสไฟฟ้า รอบขดลวดโซลินอยด์และระบุขั้วแม่เหล็กชั่วคราว ที่เกิดขึ้นในขดลวดโซลินอยด์และเขียนเส้นแรงแม่เหล็ก รอบๆ ขดลวดตัวนานี้ด้วย 4. อนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า q เคลื่อนที่ทามุม  เข้าไปในสนามแม่เหล็กสม่าเสมอ B ถูกแรง เนื่อง จากสนามแม่เหล็ก F กระทา ทาให้เคลื่อนที่เป็นส่วนโค้งของวงกลมรัศมี R จากสมการ F = qvB sin  และ F = จงหาว่ารัศมี R จะเท่ากับเท่าใด …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……… กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1.2 เชื่อมโยงความเข้าใจ คาชี้แจง อธิบายและตอบคาถามที่ถูกต้องลงในช่องว่าง คะแนนเต็ม 10 คะแนน คะแนนที่ได้ …..…คะแนน ชื่อ - สกุล ..........................................................................................ชั้น ม.5/1 เลขที่ ............. ชื่อ - สกุล ..........................................................................................ชั้น ม.5/1 เลขที่ ............. N N q q q q A B C D 10
  • 16. 1. แพรงาม นาลวดมาขดเป็นรูปสี่เหลี่ยมพื้นที่ 2  10-4 ตารางเมตร วางไว้ในสนามแม่เหล็ก สม่าเสมอ 5 เทสลา ฟลักซ์แม่เหล็กที่ผ่านขดลวด เมื่อระนาบของขดลวดทามุม 30 และ 0 กับสนามแม่เหล็กมีค่าเท่าใด …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ประจุไฟฟ้าลบขนาด 3.2  10-19 คูลอมบ์ ถูกเร่งให้เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 2.5  105 เมตรต่อ วินาที เข้าไปในบริเวณที่มีสนามแม่เหล็กขนาด 1.0 เทสลา โดยทิศของความเร็วตั้งฉากกับทิศ ของสนามแม่เหล็ก จงหาขนาดของแรงที่กระทาต่อประจุไฟฟ้านี้ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1.3 นาไปใช้ในการคานวณ คาชี้แจง แสดงวิธีทาให้ถูกต้อง ละเอียด ชัดเจน คะแนนเต็ม 30 คะแนน คะแนนที่ได้ …..…คะแนน ชื่อ - สกุล ..........................................................................................ชั้น ม.5/1 เลขที่ ............. 11
  • 17. 3. โปรตอนตัวหนึ่งเข้ามาในสนามแม่เหล็กขนาด 2.0 เทสลา ด้วยความเร็ว 2  107 เมตรต่อ วินาที ถ้าโปรตอนมีประจุไฟฟ้า 1.6  10-19 คูลอมบ์ จงคานวณหาแรงที่สนามแม่เหล็กนี้ กระทาต่อโปรตอน เมื่อโปรตอนเคลื่อนที่ทามุม 30 กับสนามแม่เหล็ก …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. โปรตอนตัวหนึ่งเข้ามาในสนามแม่เหล็กขนาด 2.0 เทสลา ด้วยความเร็ว 2  107 เมตรต่อ วินาที ถ้าโปรตอนมีประจุไฟฟ้า 1.6  10-19 คูลอมบ์ มีมวล 1.6  10-27 กิโลกรัม จงหารัศมีวง โคจรการเคลื่อนที่ของโปรตอน เมื่อโปรตอนเคลื่อนที่ทามุม 30 กับสนามแม่เหล็ก …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. ลวดตัวนาตรง ยาว 1 เมตร ให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน 0.5 แอมแปร์ เกิดสนามแม่เหล็กรอบลวด ตัวนานี้ จงหาว่าสนามแม่เหล็กที่วัดได้น้อยที่สุดอยู่ห่างจากลวดตัวนาเท่าไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 12
  • 18. 6. เส้นลวดตัวนายาว 60 เซนติเมตร มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน 10 แอมแปร์ และทามุม 30o กับทิศ ของสนามแม่เหล็กขนาด 1.5 เทสลา จงหาขนาดของแรงที่เกิดในหน่วยนิวตัน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… A charged particle moving in a plane perpendicular to a magnetic field will move in a circular orbit as shown in the diagram. What is the magnetic force on the particle with 25 C of charges? ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ที่มา : https://braingenie.ck12.org/skills/105698 A wire of 62.0 cm length and 13.0 g mass is suspended by a pair of flexible leads in a uniform magnetic field of magnitude 0.440 T (see figure) what are the magnitude and direction of the current required to remove the tension in the supporting leads? …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ที่มา : https://web.njit.edu/~janow/Physics%20121%20Fall%202019/Solved%20Homework%20Problems%20- %20HR/ProbHR09sol.pdf 13
  • 19. เอกสารอ้างอิง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (มปป.). แม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagne tics). สืบค้นเมื่อ 2 มกราคม 2564. จาก https://www.scimath.org/lesson-physics/item/7 218-electromagnetics สนามแม่เหล็กโลก. (มปป.). สืบค้นเมื่อ 2 มกราคม 2564. จาก http://astro.phys.sc.chula.ac.th /IHY/Earth/Eart h_magnetosphere.htm 14