SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
Download to read offline
หน้า 1
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
สาระที่ 5 พลังงาน
มาตรฐาน ว 5.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดารงชีวิต
การเปลี่ยนแปลงรูปพลังงานปฏิสัมพันธ์ระหว่างสาร
และพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม
มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ไปใช้ประโยชน์
ตัวชี้วัด
ม 6/1 วิเคราะห์และอธิบายลักษณะของประจุไฟฟ้า ตัวนา ฉนวน และ
การอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถอธิบายการทาให้วัสดุมีประจุไฟฟ้าโดยการอนุรักษ์
ประจุไฟฟ้าได้
2. นักเรียนสามารถอธิบายเกี่ยวกับตัวนาและฉนวนไฟฟ้าได้
หน้า 2
แบบทดสอบก่อนเรียน
เล่มที่ 3 เรื่อง การอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า
คาชี้แจง ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย  ทับข้อคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
1. ทรงกลมมีประจุลบ สามารถลอยนิ่งในบริเวณที่สนามไฟฟ้ามีทิศ
ก. พุ่งขึ้นในแนวดิ่ง
ข. พุ่งลงในแนวดิ่ง
ค. ตั้งฉากกับทรงกลม
ง. ผิดทุกข้อ
2. ถ้ามีหยดน้ามันเคลื่อนที่ตั้งฉากกับสนามแม่เหล็กทิศของแรงกระทาต่อหยดน้ามัน
ขึ้นอยู่กับ
ก. จานวนประจุที่อยู่บนหยดน้ามัน
ข. ชนิดของประจุที่อยู่บนหยดน้ามัน
ค. ขนาดของความเหนี่ยวนาแม่เหล็ก
ง. ไม่มีข้อใดถูก
3. แท่งแก้วถูด้วยแพร เกิดประจุไฟฟ้าได้ เพราะเหตุใด
ก. การถูทาให้มีประจุชนิดหนึ่งเกิดขึ้นมา
ข. ประจุเกิดจากแรงเสียดทาน
ค. ประจุเกิดจากแรงดึงดูดระหว่างมวล
หน้า 3
ง. ประจุถ่ายเทจากวัตถุหนึ่งไปยังอีกวัตถุหนึ่ง
หน้า 4
4. ขนาดของสนามไฟฟ้าในบริเวณระหว่างแผ่นโลหะที่มีประจุต่างชนิดกัน
จะมีค่าเป็นอย่างไร
ก. ศูนย์
ข. สม่าเสมอตลอดบริเวณ
ค. มากเมื่อเข้าใกล้แผ่นประจุลบ
ง. มากเมื่อเข้าใกล้แผ่นประจุบวก
5. ในขณะที่นาวัตถุสองชนิดมาถูกัน วัตถุมีการถ่ายเทประจุไฟฟ้า ทาให้วัตถุทั้งคู่
แสดงสมบัติทางไฟฟ้า อนุภาคใดที่เคลื่อนที่ออกจากวัตถุ
ก. โปรตอน
ข. นิวตรอน
ค. อิเล็กตรอน
ง. ทั้งอิเล็กตรอนและโปรตอน
6. อะตอมของธาตุทุกชนิดมีประจุไฟฟ้าเป็นชนิดใด
ก. ลบ
ข. บวก
ค. กลาง
ง. ไม่แน่นอน
7. จากการทดลองทาให้วัตถุที่มีสภาพเป็นกลางทางไฟฟ้าเกิดประจุไฟฟ้า วิธีใด
ที่จานวนประจุไฟฟ้าบนวัตถุที่ใช้ทาการทดลองเท่ากันเสมอ
ก. โดยการขัดสี
ข. โดยการสัมผัส
ค. โดยการเหนี่ยวนา
ง. ทั้งข้อ ก , ข และ ค
หน้า 5
8. เมื่อนาตัวนา A ซึ่งมีประจุ +4C แตะกันกับตัวนา B ซึ่งมีประจุ –10 C
อีกสักครูต่อมาแยกตัวนาทั้งสองออกจากกันวางบนพื้นฉนวน จงหาว่าตัวนาแต่
ละตัวจะมีประจุเท่าไร
ก. –3 C
ข. –6 C
ค. –14 C
ง. + 4 C
9. ตัวนาทรงกลม ก และ ข มีขนาดเท่ากันเดิมมีสภาพเป็นกลางทางไฟฟ้า ถ้าให้
ประจุแก่ตัวนา ก. ขนาด +20C โดยการแตะสัมผัส แล้วนาตัวนาทรงกลม
ก. ไปตัดแตะกับตัวนาทรงกลม ข. แล้วแยกออกจากกัน ตัวนาทรงกลม ข. จะมี
ประจุเท่าไร
ก. 0 C
ข. 10 C
ค. 20 C
ง. 40 C
10. ตัวนาทรงกลมสองลูกมีขนาดเท่ากัน ลูกแรกมีประจุ +3Q ส่วนลูกที่สอง
มีประจุ –5Q เมื่อนาตัวนาทั้งสองมาแตะกันแล้วแยกออกจากกัน ตัวนาตัว
แรกจะมีค่าเท่าไร
ก. – Q
ข. – 2Q
ค. – 5Q
ง. + 2Q
หน้า 6
หน้า 7
ใบความรู้
เรื่อง การอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า
กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า คือการทาให้วัตถุมีประจุไฟฟ้าด้วยวิธีต่างๆไม่ใช่เป็นการ
สร้างประจุขึ้นมาใหม่ แต่ เป็นการเคลื่อนย้ายประจุจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่งจะได้ว่าผลรวม
ของจานวนประจุทั้งหมดคงที่เท่าเดิม
การหาประจุหลังจากตัวนาแตะกัน
1. ถ้าขนาดทรงกลมเท่ากัน
Qล1 = Qล2 = (Qก1+Qก2) / 2
2. ถ้าขนาดของทรงกลมไม่เท่ากัน
Qล1 = (Qก1+Qก2)r1 / (r1+r2)
Qล2 = (Qก1+Qก2)r2 / (r1+r2)
เมื่อ Qก1 คือ ประจุก่อนแตะของตัวนาที่ 1 Qก2 คือ ประจุก่อนแตะของตัวนาที่ 2
Qล1 คือ ประจุหลังแตะของตัวนาที่ 1 Qล2 คือ ประจุหลังแตะของตัวนาที่ 2
r1 คือ รัศมีของทรงกลมตัวนาที่ 1 r2 คือ รัศมีของทรงกลมตัวนาที่ 2
ตัวอย่างที่ 1 ตัวนาทรงกลมสองลูกมีขนาดเท่ากัน ลูกแรกมีประจุ -8Q ส่วน
ลูกที่สองมีประจุ +2Q เมื่อนาตัวนาทั้งสองมาแตะกันแล้วแยกออกจากกัน ตัวนาตัวแรก
จะมีค่าเท่าไร
วีธีทา จาก Qล1 = Qล2 = (Qก1+Qก2) / 2
Qหลังแตะตัวแรก =
2
28 QQ 
Qหลังแตะตัวแรก = 3Q ตอบ
หน้า 8
ตัวอย่างที่ 2 ตัวนาทรงกลม A และ B มีรัศมีของทรงกลมเป็น r และ 2r
ตามลาดับ ถ้าตัวนา A มีประจุ Q และตัวนา B มีประจุ -2Q เมื่อเอามาแตะกันแล้ว
แยกออก จงหาประจุของตัวนา A
วิธีทา จาก Qล1 = (Qก1+Qก2)r1 / (r1+r2)
QหลังแตะA = (Qก่อนแตะA+Qก่อนแตะB)rA / (rA+rB)
QหลังแตะA = ( Q + (-2Q) ) r / ( r + 2r )
QหลังแตะA =
3
Q
ตอบ
วัตถุชิ้นหนึ่งๆ ประกอบด้วยอะตอมจานวนมากมาย อะตอม ประกอบด้วย
1. นิวเคลียส ประกอบด้วย
- โปรตอน มีประจุไฟฟ้าเป็นบวก
- นิวตรอน มีประจุไฟฟ้าเป็นศูนย์หรือเป็นกลางทางไฟฟ้า
2. อิเล็กตรอน ประกอบด้วยอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเป็นลบ เคลื่อนที่
รอบนิวเคลียสด้วยพลังงานในการเคลื่อนที่ค่าหนึ่งและมีมวลน้อย สามารถหลุดออก
จากอะตอมหนึ่งไปสู่อะตอมหนึ่งได้
สรุป การทาให้วัตถุมีประจุไฟฟ้า ไม่ใช่การสร้างประจุขึ้นใหม่ แต่เป็นเพียง
การย้ายประจุจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งเท่านั้น โดยที่ผลรวมของประจุทั้งหมดของระบบที่
พิจารณายังคงเท่าเดิม ซึ่งข้อสรุปนี้คือ กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า นั่นเอง
ตัวนาไฟฟ้า (Conductor) และฉนวนไฟฟ้า (Insulator)
ตัวนาไฟฟ้า คือ วัตถุที่ยอมให้ประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ไปได้โดยสะดวก เช่น
โลหะต่างๆ สารละลายของกรด เบส และเกลือ เป็นต้น ตัวนาไฟฟ้าที่ดีที่สุดคือ เงิน
หน้า 9
ฉนวนไฟฟ้า คือ วัตถุที่ไม่ยอมให้ประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ไปโดยสะดวก หรือไม่
ยอมให้ประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ผ่านไป เช่น กระเบื้องเคลือบ ยางอิโบไนต์ เป็นต้น
ลักษณะการกระจายของอิเล็กตรอนในตัวนาและฉนวนจะต่างกัน ถ้าเราใส่
อิเล็กตรอนให้ตัวนา อิเล็กตรอนจะกระจายไปตามผิวของตัวนาและจะออกันมากที่สุด
ตรงปลายแหลมของตัวนา ดังรูป
ตัวนาทรงกลมอิเล็กตรอนกระจายสม่าเสมอ อิเล็กตรอนชอบออกันที่ปลายแหลมของตัวนา
แต่ถ้าเป็นฉนวนเราใส่อิเล็กตรอนเข้าไปตรงส่วนใดอิเล็กตรอนก็จะออกันอยู่
ตรงนั้นไม่กระจายไปที่ผิว ดังรูป
ใส่อิเล็กตรอน
ฉนวนทรงกลมอิเล็กตรอนจะกระจุกอยู่ตรงบริเวณที่ใส่
หน้า 10
หน้า 11
แบบฝึกทักษะ
เรื่อง การอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า
คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
1. กฎอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า คืออะไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………….....................……………………………………………………………………………
………………………………….....................……………………………………………………………………………
2. จงบอกความหมายของตัวนา พร้อมยกตัวอย่างประกอบ
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………….....................……………………………………………………………………………
………………………………….....................……………………………………………………………………………
………………………………….....................……………………………………………………………………………
3. จงบอกความหมายของฉนวน พร้อมยกตัวอย่างประกอบ
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………
หน้า 12
…………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………….....................……………………………………………………………………………
………………………………….....................……………………………………………………………………………
………………………………….....................……………………………………………………………………………
หน้า 13
4. ตัวนาทรงกลมสองลูกมีขนาดเท่ากัน ลูกแรกมีประจุ - 12Q ส่วนลูกที่สอง
มีประจุ +20Q เมื่อนาตัวนาทั้งสองมาแตะกันแล้วแยกออกจากกัน ตัวนาตัวแรกจะมีค่า
เท่าไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………….....................……………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………….....................……………………………………………………………………………
5. ตัวนาทรงกลม A และ B มีรัศมีของทรงกลมเป็น r และ 4r ตามลาดับ
ถ้าตัวนา A มีประจุ -3Q และตัวนา B มีประจุ +18Q เมื่อเอามาแตะกันแล้วแยกออก
จงหาประจุของตัวนา A
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………….....................……………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………….....................……………………………………………………………………………
หน้า 14
แบบทดสอบหลังเรียน
เล่มที่ 3 เรื่อง การอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า
คาชี้แจง ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย  ทับข้อคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
1. อะตอมของธาตุทุกชนิดมีประจุไฟฟ้าเป็นชนิดใด
ก. ลบ
ข. บวก
ค. กลาง
ง. ไม่แน่นอน
2. จากการทดลองทาให้วัตถุที่มีสภาพเป็นกลางทางไฟฟ้าเกิดประจุไฟฟ้า วิธีใด
ที่จานวนประจุไฟฟ้าบนวัตถุที่ใช้ทาการทดลองเท่ากันเสมอ
ก. โดยการขัดสี
ข. โดยการสัมผัส
ค. โดยการเหนี่ยวนา
ง. ทั้งข้อ ก , ข และ ค
3. เมื่อนาตัวนา A ซึ่งมีประจุ +4C แตะกันกับตัวนา B ซึ่งมีประจุ –10 C
อีกสักครูต่อมาแยกตัวนาทั้งสองออกจากกันวางบนพื้นฉนวน จงหาว่าตัวนาแต่
ละตัวจะมีประจุเท่าไร
ก. –3 C
ข. –6 C
ค. –14 C
ง. + 4 C
หน้า 15
4. ตัวนาทรงกลม ก และ ข มีขนาดเท่ากันเดิมมีสภาพเป็นกลางทางไฟฟ้า ถ้าให้
ประจุแก่ตัวนา ก. ขนาด +20C โดยการแตะสัมผัส แล้วนาตัวนาทรงกลม
ก. ไปตัดแตะกับตัวนาทรงกลม ข. แล้วแยกออกจากกัน ตัวนาทรงกลม ข. จะมี
ประจุเท่าไร
ก. 0 C
ข. 10 C
ค. 20 C
ง. 40 C
5. ตัวนาทรงกลมสองลูกมีขนาดเท่ากัน ลูกแรกมีประจุ +3Q ส่วนลูกที่สอง
มีประจุ –5Q เมื่อนาตัวนาทั้งสองมาแตะกันแล้วแยกออกจากกัน ตัวนาตัว
แรกจะมีค่าเท่าไร
ก. – Q
ข. – 2Q
ค. – 5Q
ง. + 2Q
6. ทรงกลมมีประจุลบ สามารถลอยนิ่งในบริเวณที่สนามไฟฟ้ามีทิศ
ก. พุ่งขึ้นในแนวดิ่ง
ข. พุ่งลงในแนวดิ่ง
ค. ตั้งฉากกับทรงกลม
ง. ผิดทุกข้อ
7. ถ้ามีหยดน้ามันเคลื่อนที่ตั้งฉากกับสนามแม่เหล็กทิศของแรงกระทาต่อหยดน้ามัน
ขึ้นอยู่กับ
ก. จานวนประจุที่อยู่บนหยดน้ามัน
ข. ชนิดของประจุที่อยู่บนหยดน้ามัน
หน้า 16
ค. ขนาดของความเหนี่ยวนาแม่เหล็ก
ง. ไม่มีข้อใดถูก
8. แท่งแก้วถูด้วยแพร เกิดประจุไฟฟ้าได้ เพราะเหตุใด
ก. การถูทาให้มีประจุชนิดหนึ่งเกิดขึ้นมา
ข. ประจุเกิดจากแรงเสียดทาน
ค. ประจุเกิดจากแรงดึงดูดระหว่างมวล
ง. ประจุถ่ายเทจากวัตถุหนึ่งไปยังอีกวัตถุหนึ่ง
9. ขนาดของสนามไฟฟ้าในบริเวณระหว่างแผ่นโลหะที่มีประจุต่างชนิดกัน
จะมีค่าเป็นอย่างไร
ก. ศูนย์
ข. สม่าเสมอตลอดบริเวณ
ค. มากเมื่อเข้าใกล้แผ่นประจุลบ
ง. มากเมื่อเข้าใกล้แผ่นประจุบวก
10. ในขณะที่นาวัตถุสองชนิดมาถูกัน วัตถุมีการถ่ายเทประจุไฟฟ้า ทาให้วัตถุทั้งคู่
แสดงสมบัติทางไฟฟ้า อนุภาคใดที่เคลื่อนที่ออกจากวัตถุ
ก. โปรตอน
ข. นิวตรอน
ค. อิเล็กตรอน
ง. ทั้งอิเล็กตรอนและโปรตอน
หน้า 17
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
เล่มที่ 3 เรื่อง การอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
ข้อ เฉลย ข้อ เฉลย
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
ข
ข
ง
ข
ค
ค
ค
ก
ข
ก
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
ค
ค
ก
ข
ก
ข
ข
ง
ข
ค
หน้า 18
เฉลยแบบฝึกทักษะ
เรื่อง การอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า
คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
1. กฎอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า คืออะไร
แนวคาตอบ การทาให้วัตถุมีประจุไฟฟ้าด้วยวิธีต่างๆ ไม่ใช่เป็นการสร้าง
ประจุ ขึ้นมาใหม่แต่เป็นการเคลื่อนย้ายประจุจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่งจะได้ว่าผลรวมของ
จานวนประจุทั้งหมดคงที่เท่าเดิม
2. จงบอกความหมายของตัวนา พร้อมยกตัวอย่างประกอบ
แนวคาตอบ วัตถุที่ยอมให้ประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ไปได้โดยสะดวก
เช่น โลหะต่างๆ สารละลายของกรด เบส และเกลือ เป็นต้น
3. จงบอกความหมายของฉนวน พร้อมยกตัวอย่างประกอบ
แนวคาตอบ วัตถุที่ไม่ยอมให้ประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ไปโดยสะดวก หรือไม่ยอมให้
ประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ผ่านไป เช่น กระเบื้องเคลือบ ยางอิโบไนต์ เป็นต้น
4. ตัวนาทรงกลมสองลูกมีขนาดเท่ากัน ลูกแรกมีประจุ - 12Q ส่วนลูกที่สอง
มีประจุ +20Q เมื่อนา
ตัวนาทั้งสองมาแตะกันแล้วแยกออกจากกัน ตัวนาตัวแรกจะมีค่าเท่าไร
วีธีทา จาก Qล1 = Qล2 = (Qก1+Qก2) / 2
หน้า 19
Qหลังแตะตัวแรก =
2
2012 QQ 
Qหลังแตะตัวแรก = 4Q ตอบ
5. ตัวนาทรงกลม A และ B มีรัศมีของทรงกลมเป็น r และ 4r ตามลาดับ
ถ้าตัวนา A มีประจุ3Q และตัวนา B มีประจุ +18Q เมื่อเอามาแตะกันแล้วแยกออก
จงหาประจุของตัวนา A
วิธีทา จาก Qล1 = (Qก1+Qก2)r1 / (r1+r2)
QหลังแตะA = (Qก่อนแตะA+Qก่อนแตะB)rA / (rA+rB)
QหลังแตะA = ( -3Q + 18Q ) r / ( r + 4r )
QหลังแตะA = 3Q ตอบ
ถ้ายังไม่เข้าใจให้เพื่อนไปทบทวนดู
อีกรอบนะครับ
หน้า 20
กระดาษคาตอบ
ชื่อ .................................................... นามสกุล .......................................................
เลขที่ ................................... ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/....................
วันที่ .................. เดือน ............................................... พ.ศ. ..........................
คาชี้แจง ให้นักเรียนกา x ในช่อง ก ข ค หรือ ง ที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
ทดสอบก่อนเรียน ทดสอบหลังเรียน
ข้อ ก ข ค ง ข้อ ก ข ค ง
1 1
2 2
3 3
4 4
5 5
6 6
7 7
8 8
9 9
10 10
คะแนนเต็ม 10 คะแนน คะแนนเต็ม 10 คะแนน
คะแนนที่ได้ ............. คะแนน คะแนนที่ได้ ............. คะแนน
หน้า 21
บรรณานุกรม
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์. ฟิสิกส์ 1. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย, 2548.
ชัยณรงค์ วิเศษศักดิ์วิชัย. สนามไฟฟ้าและแม่เหล็ก. กรุงเทพฯ : สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี,
2545.
เฉลิมชัย มอญสุขา. หนังสือเสริมสาระการเรียนรู้ฟิสิกส์ ม.6. กรุงเทพฯ : เดอะบุคส์, 2551.
เฉลียว มณีเลิศ . ไฟฟ้า แม่เหล็ก. ปทุมธานี : สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยรังสิต, 2543
ทวี ฉิมอ้อย, มนู เฟื่องฟุ้ง. ฟิสิกส์พื้นฐานระดับมหาวิทยาลัย 1. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ :
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2546.
โทลา, โจ๊ด. ฟิสิกส์และเคมี. กรุงเทพฯ : สุวีริยสาสน์, 2549.
นรินทร์ เนาวประทีป. ฟิสิกส์ ม.6. กรุงเทพฯ : ฟิสิกส์เซ็นเตอร์, 2542.
นิยม ทองอุดม. ฟิสิกส์ 1. ราชบุรี : มหาวิทยาลัยราชภัฏจอมบึง, 2548.
บุชเซ, เฟรคเดอริค เจ. ทฤษฎีตัวอย่างโจทย์ฟิสิกส์. กรุงเทพฯ : แมคกรอ-ฮิว, 2546.
ปรเมษฐ์ ปัญญาเหล็ก. ฟิสิกส์ 1. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2548.
พงษ์ศักดิ์ ชินนาบุญ. ฟิสิกส์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ : วิทยพัฒน์, 2549.
สมโภชน์ อิ่มเอม. ฟิสิกส์มหาลัยวิทยาลัยไม่ยากเล่ม 1. กรุงเทพฯ : เบรน สตอร์ม, 2545.
สุวิทย์ โมนะตระกูล. ฟิสิกส์ยุคใหม่. มหาสารคาม : ภาควิชาฟิสิกส์และวิทยาศาสตร์ทั่วไป
สถาบันราชภัฏมหาสารคาม , 2542.
อ้างอิงเว็บไซต์
1. http://www.neutron.rmutphysics.com/physicsboard/forum/index.php?topic=388.0
[ออนไลน์ วันที่ 24 ตุลาคม 2555]
2. https://sites.google.com/site/learningsanook/fifasthit
[ออนไลน์ วันที่ 24 ตุลาคม 2555]
3. http://weerajit14.blogspot.com/ [ออนไลน์ วันที่ 24 ตุลาคม 2555]

More Related Content

What's hot

บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2Jiraporn Chaimongkol
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารPinutchaya Nakchumroon
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงานdnavaroj
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2dnavaroj
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์Arocha Chaichana
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกลPhanuwat Somvongs
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตAon Narinchoti
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3Jariya Jaiyot
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1พนภาค ผิวเกลี้ยง
 
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงเอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงWijitta DevilTeacher
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3Wijitta DevilTeacher
 

What's hot (20)

ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
เส้นสนามไฟฟ้า (Electric line of force)
เส้นสนามไฟฟ้า (Electric line of force)เส้นสนามไฟฟ้า (Electric line of force)
เส้นสนามไฟฟ้า (Electric line of force)
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซต
 
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่นสภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
Astronomy V
Astronomy VAstronomy V
Astronomy V
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
 
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงเอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
 

Similar to ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3

ฟิสิกส์.pdf
ฟิสิกส์.pdfฟิสิกส์.pdf
ฟิสิกส์.pdfnipatboonkong2
 
Slแบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน 15 กย55
Slแบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน 15 กย55Slแบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน 15 กย55
Slแบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน 15 กย55krupornpana55
 
9789740327752
97897403277529789740327752
9789740327752CUPress
 
กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์Chakkrawut Mueangkhon
 
โครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าโครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าrattanapon
 
ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1Montaya Pratum
 
ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1Montaya Pratum
 
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56
Slโครงสร้างวิชา หน่วย  3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56Slโครงสร้างวิชา หน่วย  3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56krupornpana55
 
ใบความรู้ที่ 01
ใบความรู้ที่ 01ใบความรู้ที่ 01
ใบความรู้ที่ 01Apinya Phuadsing
 
ปฏิกิริยานิวเคลียร์
ปฏิกิริยานิวเคลียร์ปฏิกิริยานิวเคลียร์
ปฏิกิริยานิวเคลียร์girapong
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้าเรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55krupornpana55
 
9789740330912
97897403309129789740330912
9789740330912CUPress
 
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมีปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมีPhakawat Owat
 
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52krukrajeab
 

Similar to ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3 (20)

ฟิสิกส์.pdf
ฟิสิกส์.pdfฟิสิกส์.pdf
ฟิสิกส์.pdf
 
Slแบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน 15 กย55
Slแบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน 15 กย55Slแบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน 15 กย55
Slแบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน 15 กย55
 
ใบความรู้.05
ใบความรู้.05ใบความรู้.05
ใบความรู้.05
 
9789740327752
97897403277529789740327752
9789740327752
 
กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์
 
Punmanee study 3
Punmanee study 3Punmanee study 3
Punmanee study 3
 
โครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าโครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้า
 
ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1
 
ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1
 
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56
Slโครงสร้างวิชา หน่วย  3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56Slโครงสร้างวิชา หน่วย  3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56
 
ใบความรู้ที่ 01
ใบความรู้ที่ 01ใบความรู้ที่ 01
ใบความรู้ที่ 01
 
ปฏิกิริยานิวเคลียร์
ปฏิกิริยานิวเคลียร์ปฏิกิริยานิวเคลียร์
ปฏิกิริยานิวเคลียร์
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
 
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55
 
9789740330912
97897403309129789740330912
9789740330912
 
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมีปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
 
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 

More from พนภาค ผิวเกลี้ยง

มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีครัั้งที่2
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีครัั้งที่2มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีครัั้งที่2
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีครัั้งที่2พนภาค ผิวเกลี้ยง
 
แบบฟอร์มส่งผลงานเข้าประกวดครูกนกรดา สมานบุตรี
แบบฟอร์มส่งผลงานเข้าประกวดครูกนกรดา สมานบุตรีแบบฟอร์มส่งผลงานเข้าประกวดครูกนกรดา สมานบุตรี
แบบฟอร์มส่งผลงานเข้าประกวดครูกนกรดา สมานบุตรีพนภาค ผิวเกลี้ยง
 
แบบฟอร์มโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
แบบฟอร์มโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึมแบบฟอร์มโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
แบบฟอร์มโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึมพนภาค ผิวเกลี้ยง
 
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึมมัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึมพนภาค ผิวเกลี้ยง
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2พนภาค ผิวเกลี้ยง
 
การใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
การใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึมการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
การใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึมพนภาค ผิวเกลี้ยง
 
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึมมัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึมพนภาค ผิวเกลี้ยง
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocxพนภาค ผิวเกลี้ยง
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxพนภาค ผิวเกลี้ยง
 

More from พนภาค ผิวเกลี้ยง (14)

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
 
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีครัั้งที่2
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีครัั้งที่2มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีครัั้งที่2
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีครัั้งที่2
 
แบบฟอร์มส่งผลงานเข้าประกวดครูกนกรดา สมานบุตรี
แบบฟอร์มส่งผลงานเข้าประกวดครูกนกรดา สมานบุตรีแบบฟอร์มส่งผลงานเข้าประกวดครูกนกรดา สมานบุตรี
แบบฟอร์มส่งผลงานเข้าประกวดครูกนกรดา สมานบุตรี
 
รายละเอียดการเข้าประกวด pbl
รายละเอียดการเข้าประกวด pblรายละเอียดการเข้าประกวด pbl
รายละเอียดการเข้าประกวด pbl
 
แบบฟอร์มโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
แบบฟอร์มโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึมแบบฟอร์มโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
แบบฟอร์มโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
 
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึมมัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2
 
การใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
การใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึมการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
การใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
 
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึมมัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
 
ประกาศผลสอบ ประจำปีการศึกษา 2556
ประกาศผลสอบ ประจำปีการศึกษา 2556ประกาศผลสอบ ประจำปีการศึกษา 2556
ประกาศผลสอบ ประจำปีการศึกษา 2556
 
ประกาศผลโควตา
ประกาศผลโควตาประกาศผลโควตา
ประกาศผลโควตา
 
การใช้Wordpress
การใช้Wordpressการใช้Wordpress
การใช้Wordpress
 

ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3

  • 1. หน้า 1 มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด สาระที่ 5 พลังงาน มาตรฐาน ว 5.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดารงชีวิต การเปลี่ยนแปลงรูปพลังงานปฏิสัมพันธ์ระหว่างสาร และพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ตัวชี้วัด ม 6/1 วิเคราะห์และอธิบายลักษณะของประจุไฟฟ้า ตัวนา ฉนวน และ การอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถอธิบายการทาให้วัสดุมีประจุไฟฟ้าโดยการอนุรักษ์ ประจุไฟฟ้าได้ 2. นักเรียนสามารถอธิบายเกี่ยวกับตัวนาและฉนวนไฟฟ้าได้
  • 2. หน้า 2 แบบทดสอบก่อนเรียน เล่มที่ 3 เรื่อง การอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า คาชี้แจง ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย  ทับข้อคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ทรงกลมมีประจุลบ สามารถลอยนิ่งในบริเวณที่สนามไฟฟ้ามีทิศ ก. พุ่งขึ้นในแนวดิ่ง ข. พุ่งลงในแนวดิ่ง ค. ตั้งฉากกับทรงกลม ง. ผิดทุกข้อ 2. ถ้ามีหยดน้ามันเคลื่อนที่ตั้งฉากกับสนามแม่เหล็กทิศของแรงกระทาต่อหยดน้ามัน ขึ้นอยู่กับ ก. จานวนประจุที่อยู่บนหยดน้ามัน ข. ชนิดของประจุที่อยู่บนหยดน้ามัน ค. ขนาดของความเหนี่ยวนาแม่เหล็ก ง. ไม่มีข้อใดถูก 3. แท่งแก้วถูด้วยแพร เกิดประจุไฟฟ้าได้ เพราะเหตุใด ก. การถูทาให้มีประจุชนิดหนึ่งเกิดขึ้นมา ข. ประจุเกิดจากแรงเสียดทาน ค. ประจุเกิดจากแรงดึงดูดระหว่างมวล
  • 4. หน้า 4 4. ขนาดของสนามไฟฟ้าในบริเวณระหว่างแผ่นโลหะที่มีประจุต่างชนิดกัน จะมีค่าเป็นอย่างไร ก. ศูนย์ ข. สม่าเสมอตลอดบริเวณ ค. มากเมื่อเข้าใกล้แผ่นประจุลบ ง. มากเมื่อเข้าใกล้แผ่นประจุบวก 5. ในขณะที่นาวัตถุสองชนิดมาถูกัน วัตถุมีการถ่ายเทประจุไฟฟ้า ทาให้วัตถุทั้งคู่ แสดงสมบัติทางไฟฟ้า อนุภาคใดที่เคลื่อนที่ออกจากวัตถุ ก. โปรตอน ข. นิวตรอน ค. อิเล็กตรอน ง. ทั้งอิเล็กตรอนและโปรตอน 6. อะตอมของธาตุทุกชนิดมีประจุไฟฟ้าเป็นชนิดใด ก. ลบ ข. บวก ค. กลาง ง. ไม่แน่นอน 7. จากการทดลองทาให้วัตถุที่มีสภาพเป็นกลางทางไฟฟ้าเกิดประจุไฟฟ้า วิธีใด ที่จานวนประจุไฟฟ้าบนวัตถุที่ใช้ทาการทดลองเท่ากันเสมอ ก. โดยการขัดสี ข. โดยการสัมผัส ค. โดยการเหนี่ยวนา ง. ทั้งข้อ ก , ข และ ค
  • 5. หน้า 5 8. เมื่อนาตัวนา A ซึ่งมีประจุ +4C แตะกันกับตัวนา B ซึ่งมีประจุ –10 C อีกสักครูต่อมาแยกตัวนาทั้งสองออกจากกันวางบนพื้นฉนวน จงหาว่าตัวนาแต่ ละตัวจะมีประจุเท่าไร ก. –3 C ข. –6 C ค. –14 C ง. + 4 C 9. ตัวนาทรงกลม ก และ ข มีขนาดเท่ากันเดิมมีสภาพเป็นกลางทางไฟฟ้า ถ้าให้ ประจุแก่ตัวนา ก. ขนาด +20C โดยการแตะสัมผัส แล้วนาตัวนาทรงกลม ก. ไปตัดแตะกับตัวนาทรงกลม ข. แล้วแยกออกจากกัน ตัวนาทรงกลม ข. จะมี ประจุเท่าไร ก. 0 C ข. 10 C ค. 20 C ง. 40 C 10. ตัวนาทรงกลมสองลูกมีขนาดเท่ากัน ลูกแรกมีประจุ +3Q ส่วนลูกที่สอง มีประจุ –5Q เมื่อนาตัวนาทั้งสองมาแตะกันแล้วแยกออกจากกัน ตัวนาตัว แรกจะมีค่าเท่าไร ก. – Q ข. – 2Q ค. – 5Q ง. + 2Q
  • 7. หน้า 7 ใบความรู้ เรื่อง การอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า คือการทาให้วัตถุมีประจุไฟฟ้าด้วยวิธีต่างๆไม่ใช่เป็นการ สร้างประจุขึ้นมาใหม่ แต่ เป็นการเคลื่อนย้ายประจุจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่งจะได้ว่าผลรวม ของจานวนประจุทั้งหมดคงที่เท่าเดิม การหาประจุหลังจากตัวนาแตะกัน 1. ถ้าขนาดทรงกลมเท่ากัน Qล1 = Qล2 = (Qก1+Qก2) / 2 2. ถ้าขนาดของทรงกลมไม่เท่ากัน Qล1 = (Qก1+Qก2)r1 / (r1+r2) Qล2 = (Qก1+Qก2)r2 / (r1+r2) เมื่อ Qก1 คือ ประจุก่อนแตะของตัวนาที่ 1 Qก2 คือ ประจุก่อนแตะของตัวนาที่ 2 Qล1 คือ ประจุหลังแตะของตัวนาที่ 1 Qล2 คือ ประจุหลังแตะของตัวนาที่ 2 r1 คือ รัศมีของทรงกลมตัวนาที่ 1 r2 คือ รัศมีของทรงกลมตัวนาที่ 2 ตัวอย่างที่ 1 ตัวนาทรงกลมสองลูกมีขนาดเท่ากัน ลูกแรกมีประจุ -8Q ส่วน ลูกที่สองมีประจุ +2Q เมื่อนาตัวนาทั้งสองมาแตะกันแล้วแยกออกจากกัน ตัวนาตัวแรก จะมีค่าเท่าไร วีธีทา จาก Qล1 = Qล2 = (Qก1+Qก2) / 2 Qหลังแตะตัวแรก = 2 28 QQ  Qหลังแตะตัวแรก = 3Q ตอบ
  • 8. หน้า 8 ตัวอย่างที่ 2 ตัวนาทรงกลม A และ B มีรัศมีของทรงกลมเป็น r และ 2r ตามลาดับ ถ้าตัวนา A มีประจุ Q และตัวนา B มีประจุ -2Q เมื่อเอามาแตะกันแล้ว แยกออก จงหาประจุของตัวนา A วิธีทา จาก Qล1 = (Qก1+Qก2)r1 / (r1+r2) QหลังแตะA = (Qก่อนแตะA+Qก่อนแตะB)rA / (rA+rB) QหลังแตะA = ( Q + (-2Q) ) r / ( r + 2r ) QหลังแตะA = 3 Q ตอบ วัตถุชิ้นหนึ่งๆ ประกอบด้วยอะตอมจานวนมากมาย อะตอม ประกอบด้วย 1. นิวเคลียส ประกอบด้วย - โปรตอน มีประจุไฟฟ้าเป็นบวก - นิวตรอน มีประจุไฟฟ้าเป็นศูนย์หรือเป็นกลางทางไฟฟ้า 2. อิเล็กตรอน ประกอบด้วยอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเป็นลบ เคลื่อนที่ รอบนิวเคลียสด้วยพลังงานในการเคลื่อนที่ค่าหนึ่งและมีมวลน้อย สามารถหลุดออก จากอะตอมหนึ่งไปสู่อะตอมหนึ่งได้ สรุป การทาให้วัตถุมีประจุไฟฟ้า ไม่ใช่การสร้างประจุขึ้นใหม่ แต่เป็นเพียง การย้ายประจุจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งเท่านั้น โดยที่ผลรวมของประจุทั้งหมดของระบบที่ พิจารณายังคงเท่าเดิม ซึ่งข้อสรุปนี้คือ กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า นั่นเอง ตัวนาไฟฟ้า (Conductor) และฉนวนไฟฟ้า (Insulator) ตัวนาไฟฟ้า คือ วัตถุที่ยอมให้ประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ไปได้โดยสะดวก เช่น โลหะต่างๆ สารละลายของกรด เบส และเกลือ เป็นต้น ตัวนาไฟฟ้าที่ดีที่สุดคือ เงิน
  • 9. หน้า 9 ฉนวนไฟฟ้า คือ วัตถุที่ไม่ยอมให้ประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ไปโดยสะดวก หรือไม่ ยอมให้ประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ผ่านไป เช่น กระเบื้องเคลือบ ยางอิโบไนต์ เป็นต้น ลักษณะการกระจายของอิเล็กตรอนในตัวนาและฉนวนจะต่างกัน ถ้าเราใส่ อิเล็กตรอนให้ตัวนา อิเล็กตรอนจะกระจายไปตามผิวของตัวนาและจะออกันมากที่สุด ตรงปลายแหลมของตัวนา ดังรูป ตัวนาทรงกลมอิเล็กตรอนกระจายสม่าเสมอ อิเล็กตรอนชอบออกันที่ปลายแหลมของตัวนา แต่ถ้าเป็นฉนวนเราใส่อิเล็กตรอนเข้าไปตรงส่วนใดอิเล็กตรอนก็จะออกันอยู่ ตรงนั้นไม่กระจายไปที่ผิว ดังรูป ใส่อิเล็กตรอน ฉนวนทรงกลมอิเล็กตรอนจะกระจุกอยู่ตรงบริเวณที่ใส่
  • 11. หน้า 11 แบบฝึกทักษะ เรื่อง การอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง 1. กฎอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า คืออะไร ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………….....................…………………………………………………………………………… ………………………………….....................…………………………………………………………………………… 2. จงบอกความหมายของตัวนา พร้อมยกตัวอย่างประกอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………….....................…………………………………………………………………………… ………………………………….....................…………………………………………………………………………… ………………………………….....................…………………………………………………………………………… 3. จงบอกความหมายของฉนวน พร้อมยกตัวอย่างประกอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………
  • 13. หน้า 13 4. ตัวนาทรงกลมสองลูกมีขนาดเท่ากัน ลูกแรกมีประจุ - 12Q ส่วนลูกที่สอง มีประจุ +20Q เมื่อนาตัวนาทั้งสองมาแตะกันแล้วแยกออกจากกัน ตัวนาตัวแรกจะมีค่า เท่าไร ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………….....................…………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………….....................…………………………………………………………………………… 5. ตัวนาทรงกลม A และ B มีรัศมีของทรงกลมเป็น r และ 4r ตามลาดับ ถ้าตัวนา A มีประจุ -3Q และตัวนา B มีประจุ +18Q เมื่อเอามาแตะกันแล้วแยกออก จงหาประจุของตัวนา A ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………….....................…………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………….....................……………………………………………………………………………
  • 14. หน้า 14 แบบทดสอบหลังเรียน เล่มที่ 3 เรื่อง การอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า คาชี้แจง ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย  ทับข้อคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1. อะตอมของธาตุทุกชนิดมีประจุไฟฟ้าเป็นชนิดใด ก. ลบ ข. บวก ค. กลาง ง. ไม่แน่นอน 2. จากการทดลองทาให้วัตถุที่มีสภาพเป็นกลางทางไฟฟ้าเกิดประจุไฟฟ้า วิธีใด ที่จานวนประจุไฟฟ้าบนวัตถุที่ใช้ทาการทดลองเท่ากันเสมอ ก. โดยการขัดสี ข. โดยการสัมผัส ค. โดยการเหนี่ยวนา ง. ทั้งข้อ ก , ข และ ค 3. เมื่อนาตัวนา A ซึ่งมีประจุ +4C แตะกันกับตัวนา B ซึ่งมีประจุ –10 C อีกสักครูต่อมาแยกตัวนาทั้งสองออกจากกันวางบนพื้นฉนวน จงหาว่าตัวนาแต่ ละตัวจะมีประจุเท่าไร ก. –3 C ข. –6 C ค. –14 C ง. + 4 C
  • 15. หน้า 15 4. ตัวนาทรงกลม ก และ ข มีขนาดเท่ากันเดิมมีสภาพเป็นกลางทางไฟฟ้า ถ้าให้ ประจุแก่ตัวนา ก. ขนาด +20C โดยการแตะสัมผัส แล้วนาตัวนาทรงกลม ก. ไปตัดแตะกับตัวนาทรงกลม ข. แล้วแยกออกจากกัน ตัวนาทรงกลม ข. จะมี ประจุเท่าไร ก. 0 C ข. 10 C ค. 20 C ง. 40 C 5. ตัวนาทรงกลมสองลูกมีขนาดเท่ากัน ลูกแรกมีประจุ +3Q ส่วนลูกที่สอง มีประจุ –5Q เมื่อนาตัวนาทั้งสองมาแตะกันแล้วแยกออกจากกัน ตัวนาตัว แรกจะมีค่าเท่าไร ก. – Q ข. – 2Q ค. – 5Q ง. + 2Q 6. ทรงกลมมีประจุลบ สามารถลอยนิ่งในบริเวณที่สนามไฟฟ้ามีทิศ ก. พุ่งขึ้นในแนวดิ่ง ข. พุ่งลงในแนวดิ่ง ค. ตั้งฉากกับทรงกลม ง. ผิดทุกข้อ 7. ถ้ามีหยดน้ามันเคลื่อนที่ตั้งฉากกับสนามแม่เหล็กทิศของแรงกระทาต่อหยดน้ามัน ขึ้นอยู่กับ ก. จานวนประจุที่อยู่บนหยดน้ามัน ข. ชนิดของประจุที่อยู่บนหยดน้ามัน
  • 16. หน้า 16 ค. ขนาดของความเหนี่ยวนาแม่เหล็ก ง. ไม่มีข้อใดถูก 8. แท่งแก้วถูด้วยแพร เกิดประจุไฟฟ้าได้ เพราะเหตุใด ก. การถูทาให้มีประจุชนิดหนึ่งเกิดขึ้นมา ข. ประจุเกิดจากแรงเสียดทาน ค. ประจุเกิดจากแรงดึงดูดระหว่างมวล ง. ประจุถ่ายเทจากวัตถุหนึ่งไปยังอีกวัตถุหนึ่ง 9. ขนาดของสนามไฟฟ้าในบริเวณระหว่างแผ่นโลหะที่มีประจุต่างชนิดกัน จะมีค่าเป็นอย่างไร ก. ศูนย์ ข. สม่าเสมอตลอดบริเวณ ค. มากเมื่อเข้าใกล้แผ่นประจุลบ ง. มากเมื่อเข้าใกล้แผ่นประจุบวก 10. ในขณะที่นาวัตถุสองชนิดมาถูกัน วัตถุมีการถ่ายเทประจุไฟฟ้า ทาให้วัตถุทั้งคู่ แสดงสมบัติทางไฟฟ้า อนุภาคใดที่เคลื่อนที่ออกจากวัตถุ ก. โปรตอน ข. นิวตรอน ค. อิเล็กตรอน ง. ทั้งอิเล็กตรอนและโปรตอน
  • 17. หน้า 17 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน เล่มที่ 3 เรื่อง การอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน ข้อ เฉลย ข้อ เฉลย 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. ข ข ง ข ค ค ค ก ข ก 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. ค ค ก ข ก ข ข ง ข ค
  • 18. หน้า 18 เฉลยแบบฝึกทักษะ เรื่อง การอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง 1. กฎอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า คืออะไร แนวคาตอบ การทาให้วัตถุมีประจุไฟฟ้าด้วยวิธีต่างๆ ไม่ใช่เป็นการสร้าง ประจุ ขึ้นมาใหม่แต่เป็นการเคลื่อนย้ายประจุจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่งจะได้ว่าผลรวมของ จานวนประจุทั้งหมดคงที่เท่าเดิม 2. จงบอกความหมายของตัวนา พร้อมยกตัวอย่างประกอบ แนวคาตอบ วัตถุที่ยอมให้ประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ไปได้โดยสะดวก เช่น โลหะต่างๆ สารละลายของกรด เบส และเกลือ เป็นต้น 3. จงบอกความหมายของฉนวน พร้อมยกตัวอย่างประกอบ แนวคาตอบ วัตถุที่ไม่ยอมให้ประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ไปโดยสะดวก หรือไม่ยอมให้ ประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ผ่านไป เช่น กระเบื้องเคลือบ ยางอิโบไนต์ เป็นต้น 4. ตัวนาทรงกลมสองลูกมีขนาดเท่ากัน ลูกแรกมีประจุ - 12Q ส่วนลูกที่สอง มีประจุ +20Q เมื่อนา ตัวนาทั้งสองมาแตะกันแล้วแยกออกจากกัน ตัวนาตัวแรกจะมีค่าเท่าไร วีธีทา จาก Qล1 = Qล2 = (Qก1+Qก2) / 2
  • 19. หน้า 19 Qหลังแตะตัวแรก = 2 2012 QQ  Qหลังแตะตัวแรก = 4Q ตอบ 5. ตัวนาทรงกลม A และ B มีรัศมีของทรงกลมเป็น r และ 4r ตามลาดับ ถ้าตัวนา A มีประจุ3Q และตัวนา B มีประจุ +18Q เมื่อเอามาแตะกันแล้วแยกออก จงหาประจุของตัวนา A วิธีทา จาก Qล1 = (Qก1+Qก2)r1 / (r1+r2) QหลังแตะA = (Qก่อนแตะA+Qก่อนแตะB)rA / (rA+rB) QหลังแตะA = ( -3Q + 18Q ) r / ( r + 4r ) QหลังแตะA = 3Q ตอบ ถ้ายังไม่เข้าใจให้เพื่อนไปทบทวนดู อีกรอบนะครับ
  • 20. หน้า 20 กระดาษคาตอบ ชื่อ .................................................... นามสกุล ....................................................... เลขที่ ................................... ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/.................... วันที่ .................. เดือน ............................................... พ.ศ. .......................... คาชี้แจง ให้นักเรียนกา x ในช่อง ก ข ค หรือ ง ที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว ทดสอบก่อนเรียน ทดสอบหลังเรียน ข้อ ก ข ค ง ข้อ ก ข ค ง 1 1 2 2 3 3 4 4 5 5 6 6 7 7 8 8 9 9 10 10 คะแนนเต็ม 10 คะแนน คะแนนเต็ม 10 คะแนน คะแนนที่ได้ ............. คะแนน คะแนนที่ได้ ............. คะแนน
  • 21. หน้า 21 บรรณานุกรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์. ฟิสิกส์ 1. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 2548. ชัยณรงค์ วิเศษศักดิ์วิชัย. สนามไฟฟ้าและแม่เหล็ก. กรุงเทพฯ : สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี, 2545. เฉลิมชัย มอญสุขา. หนังสือเสริมสาระการเรียนรู้ฟิสิกส์ ม.6. กรุงเทพฯ : เดอะบุคส์, 2551. เฉลียว มณีเลิศ . ไฟฟ้า แม่เหล็ก. ปทุมธานี : สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยรังสิต, 2543 ทวี ฉิมอ้อย, มนู เฟื่องฟุ้ง. ฟิสิกส์พื้นฐานระดับมหาวิทยาลัย 1. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2546. โทลา, โจ๊ด. ฟิสิกส์และเคมี. กรุงเทพฯ : สุวีริยสาสน์, 2549. นรินทร์ เนาวประทีป. ฟิสิกส์ ม.6. กรุงเทพฯ : ฟิสิกส์เซ็นเตอร์, 2542. นิยม ทองอุดม. ฟิสิกส์ 1. ราชบุรี : มหาวิทยาลัยราชภัฏจอมบึง, 2548. บุชเซ, เฟรคเดอริค เจ. ทฤษฎีตัวอย่างโจทย์ฟิสิกส์. กรุงเทพฯ : แมคกรอ-ฮิว, 2546. ปรเมษฐ์ ปัญญาเหล็ก. ฟิสิกส์ 1. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2548. พงษ์ศักดิ์ ชินนาบุญ. ฟิสิกส์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ : วิทยพัฒน์, 2549. สมโภชน์ อิ่มเอม. ฟิสิกส์มหาลัยวิทยาลัยไม่ยากเล่ม 1. กรุงเทพฯ : เบรน สตอร์ม, 2545. สุวิทย์ โมนะตระกูล. ฟิสิกส์ยุคใหม่. มหาสารคาม : ภาควิชาฟิสิกส์และวิทยาศาสตร์ทั่วไป สถาบันราชภัฏมหาสารคาม , 2542. อ้างอิงเว็บไซต์ 1. http://www.neutron.rmutphysics.com/physicsboard/forum/index.php?topic=388.0 [ออนไลน์ วันที่ 24 ตุลาคม 2555] 2. https://sites.google.com/site/learningsanook/fifasthit [ออนไลน์ วันที่ 24 ตุลาคม 2555] 3. http://weerajit14.blogspot.com/ [ออนไลน์ วันที่ 24 ตุลาคม 2555]