SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
P a g e | 1
ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
กลุ่ม บรรยากาศ
ใบความรู้ 1 เรื่อง การจาแนกชนิดเมฆ
ชนิดของเมฆ เป็นสัญญาณที่สาคัญของกระบวนการต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชั้นบรรยากาศ เมฆชี้ให้เห็นถึง
อากาศชื้นที่กาลังเคลื่อนตัวสูงขึ้น และอาจจะมีหยาดน้าฟ้าเกิดขึ้นได้เมฆมักให้สัญญาณว่าสภาพอากาศจะมีการ
เปลี่ยนแปลง เช่น เมฆที่มีฐานเมฆสีเทา-ดา มักจะทาให้เกิดฝนตก
การเรียกชื่อเมฆ
การเรียกชื่อเมฆจะเรียกตามระดับความสูงและลักษณะรูปร่างของก้อนเมฆ ซึ่งเมฆสามารถแบ่งตาม
ระดับความสูง (Altitude) ของฐานเมฆ (Cloud Base) ได้ออกเป็น 3 กลุ่มใหญ่ๆ ได้แก่
1. เมฆระดับสูง เรียกว่า เซอร์โร (Cirro) หรือเซอร์รัส (Cirrus) ในบริเวณแถบโซนร้อนจะอยู่ที่ความ
สูง 6,000 – 18,000 เมตร (20,000 – 60,000 ฟุต) ขึ้นไป จึงทาให้เห็นเมฆชนิดนี้มีขนาดเล็กกว่าเมฆ
ชนิดอื่นๆ ส่วนใหญ่จะมีสีขาวหรือเทาอ่อน และเกิดขึ้นในบรรยากาศที่คงที่ ไม่มีการเปลี่ยนแปลง
มากนัก เป็นเมฆซึ่งไม่ทาให้เกิดฝน แต่ส่วนใหญ่จะเป็นเกล็ดน้าแข็ง
2. เมฆระดับกลาง เรียกว่า อัลโต (Alto) ในบริเวณแถบโซนร้อนจะอยู่ที่ความสูงระหว่าง 2,000 –
8,000 เมตร (6,500 -26,000 ฟุต) มีส่วนประกอบหลักคือ หยดน้า และมีน้าแข็งบางส่วน แสงอาทิตย์
ส่องผ่านเมฆชนิดนี้ได้
3. เมฆระดับต่า เรียกว่า สตราโต (Strato) อยู่ใกล้ผิวโลกมากที่สุด ในบริเวณแถบโซนร้อนจะอยู่ที่
ความสูงไม่เกิน 2,000 เมตร (ผิวพื้น – 6,500 ฟุต) จะสามารถมองเห็นว่ามีขนาดใหญ่กว่าเมฆชนิด
อื่นๆ เมฆในกลุ่มนี้อาจจะมีสีดาและเป็นสีเทามากกว่าเมฆในระดับกลางและระดับสูง
เมฆแบ่งตามลักษณะรูปร่าง
เมฆแบ่งตามลักษณะรูปร่างได้2 แบบ คือ
1. เมฆก้อน เรียกว่า คิวมูโล (Cumulo) หรือคิวมูลัส (Cumulus) มีลักษณะเป็นก้อนรวมตัวกันคล้ายปุย
ฝ้ายหรือดอกกะหล่า
2. เมฆแผ่น เรียกว่า สตราโต (Strato) หรือสตราตัส (Stratus) มีลักษณะเป็นแผ่นแบนแผ่คล้ายแผ่นสาลี
นอกจากนี้ เรายังเรียกเมฆที่มีฐานเมฆสีเทา-ดา ทาให้เกิดฝนตกว่า นิมโบ (Nimbo) หรือ นิมบัส (Nimbus)
P a g e | 2
ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
กลุ่ม บรรยากาศ
P a g e | 3
ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
กลุ่ม บรรยากาศ
P a g e | 4
ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
กลุ่ม บรรยากาศ
P a g e | 5
ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
กลุ่ม บรรยากาศ
ใบความรู้ 2 เรื่อง การศึกษาปริมาณเมฆปกคลุม
ปริมาณเมฆปกคลุม คือ ปริมาณเมฆทั้งหมดที่ปกคลุมทั่วท้องฟ้า ซึ่งนักอุตุนิยมวิทยาและ
นักวิทยาศาสตร์ด้านภูมิอากาศจะนาข้อมูลปริมาณเมฆปกคลุมไปใช้คานวณปริมาณรังสีจากดวงอาทิตย์ที่ถูก
สะท้อนหรือดูดซับไว้ก่อนที่จะมาถึงพื้นผิวโลก รวมทั้งปริมาณรังสีจากพื้นผิวโลกที่จะถูกสะท้อนกลับหรือดูด
ซับไว้ก่อนที่จะกลับสู่อวกาศ
วิธีการตรวจวัด
การเตรียมตัวของนักเรียน
การคาดคะเนปริมาณเมฆปกคลุม เป็นการตรวจวัดที่ขึ้นกับดุลยพินิจของแต่ละบุคคล ดังนั้นนักเรียน
ควรรวมกลุ่มกันเพื่อทาการศึกษา โดยแต่ละคนทาการสังเกตเมฆ และหาข้อตกลงร่วมกันของกลุ่ม ว่าท้องฟ้ามี
ปริมาณเมฆปกคลุมเท่าไร
การจาแนกและปริมาณเมฆปกคลุม
1. กรอกข้อมูลในส่วนด้านบนของใบบันทึกข้อมูล
2. มองท้องฟ้าในทุกทิศทาง (ครอบคลุม 360 องศา) ในแนวระนาบ
3. คาดประมาณปริมาณเมฆปกคลุม ตั้งแต่ 0% คือ ไม่มีเมฆ จนถึง 90%
ภาพที่ 1 การสังเกตเมฆโดยตาเปล่าเพื่อจาแนกและปริมาณเมฆปกคลุม
P a g e | 6
ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
กลุ่ม บรรยากาศ
ตารางแสดงค่าประมาณปริมาณเมฆปกคลุม
P a g e | 7
ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
กลุ่ม บรรยากาศ
ใบความรู้ 3 เรื่อง การตรวจวัดอุณหภูมิอากาศสูงสุด ต่าสุดและปัจจุบัน
การตรวจวัดอุณหภูมิอากาศสู งสุ ด ต่าสุ ดและปัจจุบัน (MAXIMUM-MINIMUM-CURRENT
TEMPERATURE)
ปัจจัยที่ส่งผลต่ออุณหภูมิอากาศ (โครงการการเรียนรู้เรื่องวิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ (LESA Project),
2546) ได้แก่
1. พื้นดินและพื้นน้า
พื้นดินและพื้นน้ามีคุณสมบัติในการดูดกลืนและคายความร้อนแตกต่างกัน เมื่อรับความร้อนพื้นดินจะ
ร้อนขึ้นอย่างรวดเร็ว และมีอุณหภูมิสูงกว่าพื้นน้า เมื่อคายความร้อนพื้นดินจะเย็นตัวอย่างรวดเร็ว และมีอุณหภูมิ
ต่ากว่าพื้นน้า ทั้งนี้เนื่องจากพื้นน้ามีความร้อนจาเพาะสูงกว่าพื้นดินถึง 3 เท่าตัว (ความร้อนจาเพาะ หมายถึง
ปริมาณความร้อนที่ทาให้สสาร 1 กรัม มีอุณหภูมิสูงขึ้น 1 ํC)
2. ระดับความสูงของพื้นที่ (Elevation)
อากาศมีคุณสมบัติเป็นตัวนาความร้อน (Conduction) ที่เลว เนื่องจากอากาศมีความโปร่งใส และมีความ
หนาแน่นต่า พื้นดินจึงดูดกลืนพลังงานจากแสงอาทิตย์ได้ดีกว่า อากาศถ่ายเทความร้อนจากพื้นดิน ด้วยการพา
ความร้อน (Convection) ไปตามการเคลื่อนที่ของอากาศ ในสภาพทั่วไปเราจะพบว่ายิ่งสูงขึ้นไป อุณหภูมิของ
อากาศในชั้นบรรยากาศใกล้ผิวโลก (โทรโปสเฟียร์) จะลดต่าลงด้วยอัตรา 6.5 ํC ต่อกิโลเมตร (Adiabatic Lapse
Rate) ดังนั้นอุณหภูมิบนยอดเขาสูง 2,000 เมตร จะต่ากว่าอุณหภูมิที่ระดับน้าทะเลประมาณ 13 ํC
3. ละติจูด
เนื่องจากโลกเป็นทรงกลมรี (คล้ายผลส้ม) แสงอาทิตย์จึงตกกระทบพื้นโลกเป็นมุมไม่เท่ากัน (ดังภาพที่
50) ในเวลาเที่ยงวันพื้นผิวบริเวณศูนย์สูตรได้รับรังสีจากแสงอาทิตย์เป็นมุมชันแต่พื้นผิวบริเวณขั้วโลกได้รับ
รังสีจากแสงอาทิตย์เป็นมุมลาดส่งผลให้เขตศูนย์สูตรมีอุณหภูมิสูงกว่าเขตขั้วโลก ประกอบกับรังสีที่ตกกระทบ
P a g e | 8
ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
กลุ่ม บรรยากาศ
พื้นโลกเป็นมุมลาด เดินทางผ่านความหนาชั้นบรรยากาศเป็นระยะทางมากกว่า รังสีที่ตกกระทบเป็นมุมชัน
ความเข้มของแสงจึงถูกบรรยากาศกรองให้ลดน้อยลง ยังผลให้อุณหภูมิลดต่าลงไปอีก
ภาพที่ 1 มุมที่แสงอาทิตย์ตกกระทบพื้นผิวโลก
4. ตาแหน่งทางภูมิศาสตร์
พื้นผิวโลกมีสภาพภูมิประเทศแตกต่างกัน มีทั้งที่ราบ ทิวเขา หุบเขา ทะเล มหาสมุทร ทะเลสาบ
ทะเลทราย ที่ราบสูงสภาพภูมิประเทศมีอิทธิพลส่งผลกระทบต่อสภาพลมฟ้าอากาศโดยตรง เช่น พื้นที่ทะเลทราย
จะมีอุณหภูมิแตกต่างระหว่างกลางวันกลางคืนมากกว่าพื้นที่ชายทะเล โดยส่วนใหญ่พื้นที่รับลมจะมีอุณหภูมิต่า
กว่าพื้นที่อับลมเนื่องจากไม่มีการถ่ายเทความร้อน
5. ปริมาณเมฆปกคลุม
เมฆทาให้อุณหภูมิอากาศเวลากลางวันและกลางคืนไม่แตกต่างกันมากนัก เนื่องจากในเวลากลางวัน
เมฆจะกั้นพลังงานที่ส่องผ่านลงมา และสะท้อนรังสีจากอาทิตย์บางส่วนกลับคืนสู่อวกาศ ส่วนในเวลากลางคืน
ความร้อนจากผิวโลกจะส่งผ่านกลับไปในบรรยากาศได้ไม่สะดวกเพราะมีเมฆมากั้นไว้เหมือนผ้าห่ม
วิธีการตรวจวัด
ในการตรวจวัด ในการวัดอุณหภูมิอากาศสูงสุด-ต่าสุดในรอบ 1 วัน จะตรวจวัดทุกวัน ภายในช่วง 1
ชั่วโมงของเวลาดวงอาทิตย์เที่ยงวันของเวลาท้องถิ่น (Local Solar Noon) (11.00 – 13.00 น.) สามารถใช้เครื่องมือ
ในการตรวจวัดอุณหภูมิได้2 ชนิด คือ
1. เทอร์มอมิเตอร์รูปตัวยู (U-tube Maximum-Minimum Thermometer) เป็นหลอดรูปเกือกม้าประกอบด้วย
เข็มชี้ทั้งสองด้าน ซึ่งด้านซ้ายมือจะแสดงอุณหภูมิอากาศต่าสุดของเวลา 1 วัน และด้านขวามือจะแสดง
อุณหภูมิอากาศสูงสุดของเวลา 1 วัน (ดังภาพที่ 2) เทอร์มอมิเตอร์ด้านที่แสดงอุณหภูมิอากาศสูงสุดมี
อุณหภูมิเพิ่มขึ้นจากล่างขึ้นบน (เหมือนกับเทอร์มอมิเตอร์ที่ใช้กันทั่วไป) ในทางกลับกัน ด้านที่แสดง
P a g e | 9
ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
กลุ่ม บรรยากาศ
อุณหภูมิอากาศต่าสุด อุณหภูมิจะเพิ่มขึ้นจากบนลงล่าง เมื่ออุณหภูมิอากาศสูงขึ้น ของเหลวในกระเปาะ
จะมีการขยายตัวเคลื่อนที่จากทางด้านซ้ายมือ (วัดอุณหภูมิต่าสุด) ไปทางด้านขวามือ (วัดอุณหภูมิสูงสุด)
และไปดันเข็มชี้ (Indicator Pin) ทางด้านขวาขึ้นไปค้างไว้ให้อ่านค่าอุณหภูมิสูงสุดของวัน (Maximum
Temperature) และเมื่ออุณหภูมิอากาศลดลง ของเหลวในกระเปาะจะเคลื่อนที่ในทางตรงข้าม (เคลื่อนที่
จากขวาไปซ้าย) ไปดันเข็มชี้ทางด้านซ้ายมือขึ้นไปค้างไว้ให้อ่านค่าอุณหภูมิต่าสุดของวัน (Minimum
Temperature) นอกจากนี้ เทอร์มอมิเตอร์รูปตัวยู (U-tube Maximum-Minimum Thermometer) ยัง
สามารถวัดอุณหภูมิอากาศปัจจุบัน (Current Temperature) โดยอ่านค่าจากระดับของเหลวในกระเปาะ
ณ เวลาที่อ่านได้อีกด้วย
ภาพที่ 2 เทอร์มอมิเตอร์วัดอุณหภูมิสูงสุด-ต่าสุด
2. เทอร์มอมิเตอร์แบบดิจิตอล (A Digital multi-day Maximum/Minimum) ตรวจวัดข้อมูลอุณหภูมิอากาศ
สูงสุด-ต่าสุด และสามารถเก็บข้อมูลไว้ในเครื่องได้ถึง 6 วัน นอกจากจะตรวจวัดอุณหภูมิสูงสุด-ต่าสุด
อากาศแล้ว เทอร์มอมิเตอร์แบบดิจิตอลยังมีขั้วตรวจวัดอุณหภูมิดินด้วย ซึ่งสามารถฝังกลบลงไปในดิน
เพื่อวัดอุณหภูมิดินได้
P a g e | 10
ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
กลุ่ม บรรยากาศ
ใบความรู้ 4 เรื่อง การตรวจวัดปริมาณน้าฝน
การตรวจวัดปริมาณน้าฝน (RAINFALL)
หยาดน้าฟ้าหมายถึงน้าในทุกสถานะที่เป็นทั้งของเหลวและของแข็งที่ตกจากบรรยากาศลงสู่พื้นผิวโลก
หยาดน้าฟ้าที่เป็นของเหลว ได้แก่ น้าฝน และเป็นของแข็ง ได้แก่ หิมะ เกล็ดน้าแข็งและลูกเห็บ หยาดน้าฟ้าที่ตก
ลงสู่พื้นดินในแต่ละท้องถิ่นมีปริมาณมากน้อยเพียงใด ตกในช่วงใดของปี ตกลงมาเป็นฝนหรือหิมะ ปัจจัยเหล่านี้
จะเป็นตัวกาหนดสภาพภูมิอากาศของท้องถิ่นนั้นๆ เมื่อขาดแคลนน้าก็จะเกิดสภาพทะเลทราย เมื่อมีน้ามากก็
อาจจะทาให้เกิดน้าท่วม การรู้ว่ามีหยาดน้าฟ้าตกสู่พื้นดินมากน้อยเพียงใด และเมื่อใดหิมะจะละลายเป็นกุญแจ
สาคัญสาหรับความเข้าใจสภาพภูมิอากาศท้องถิ่นและของโลก
การบันทึกข้อมูลปริมาณน้าฝน
วิธีการตรวจวัด
1. อ่านระดับน้าฝนที่ท้องน้า (ส่วนโค้งล่างของน้า) ในกระบอกวัดปริมาณน้าฝน โดยให้ระดับสายตา
ของนักเรียนอยู่ในระดับเดียวกันกับระดับน้า (ดังภาพที่ 1)
P a g e | 11
ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
กลุ่ม บรรยากาศ
ภาพที่ 1 การอ่านค่าปริมาณน้าฝน
2. บันทึกปริมาณน้าฝนลงในใบบันทึกข้อมูล
 ถ้าไม่มีน้าในกระบอกวัดปริมาณน้าฝน ให้รายงานว่าเป็น 0.0 มิลลิเมตร
 ถ้ามีน้าฝนในกระบอกวัดปริมาณน้อยกว่า 0.5 มิลลิเมตร ให้บันทึกว่าเป็น “T” (หรือ Trace = น้อย
มาก)
 ถ้านักเรียนทาน้าฝนหกออกไปทั้งหมดก่อนทาการวัด หรือไม่ได้ทาการตรวจวัดปริมาณน้าฝนใน
วันนั้น ให้รายงานว่า “M” (หรือ Missing = หายไป)
 ถ้านักเรียนทาน้าหกออกไปเล็กน้อย ให้รายงานข้อมูลเพิ่มเติมว่าหกไปเท่าใด
3. ถ้ามีน้าฝนล้นจากกระบอกวัดปริมาณน้าฝน (ดังภาพที่ 2)
ภาพที่ 2 น้าล้นออกจากกระบอกวัดปริมาณน้าฝน
3.1 นากระบอกวัดปริมาณน้าฝน (ตัวใน) ออกจากกระบอกรองรับน้าล้น (ตัวนอก)
P a g e | 12
ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
กลุ่ม บรรยากาศ
3.2 อ่านระดับของน้าในกระบอกวัดปริมาณน้าฝนโดยตั้งกระบอกบนพื้นราบ แล้วอ่านค่า ณ ส่วน
โค้งล่างของน้าที่ระดับสายตา
3.3 บันทึกปริมาณฝน
3.4 เทน้าจากกระบอกวัดปริมาณน้าฝนลงในภาชนะสะอาด
3.5 เทน้าจากกระบอกที่รองรับน้าล้นลงในกระบอกวัดปริมาณน้าฝน (ข้างใน)
3.6 ทาซ้าขั้นตอน 3.2 ถึง 3.5 จนกระทั่งน้าในกระบอกรองรับน้าล้นหมด
3.7 นาค่าปริมาณน้าฝนที่อ่านได้ทั้งหมดมารวมกันจะเป็นผลรวมของปริมาณน้าฝนทั้งหมด
P a g e | 13
ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
กลุ่ม บรรยากาศ
ใบความรู้ 5 เรื่อง การตรวจวัดค่าความเป็นกรด-เบสของน้าฝน
การตรวจวัดค่าความเป็นกรด-เบส (pH) ของน้าฝน
บรรยากาศประกอบด้วยโมเลกุลของสารหลายชนิด บางชนิดอยู่ในรูปของอนุภาคเล็กๆ ที่แขวนลอยอยู่
ซึ่งเรียกว่า ละอองลอยบางชนิดอยู่ในรูปของแก๊ส เมื่อฝนตกลงมา น้าฝนจะละลายอนุภาคและแก๊สเหล่านี้ ทาให้
ค่าพีเอชของน้าฝนเปลี่ยนแปลงไป อาจจะเป็นกรด กลาง หรือเบส ขึ้นอยู่กับชนิดสารเคมีเหล่านั้น ค่าพีเอชของ
น้าฝนจะมีผลต่อสิ่งมีชีวิต (ดิน พืช สัตว์ และมนุษย์) และสิ่งไม่มีชีวิต (แม่น้า ทะเลสาบ ลาคลอง อาคาร และ
สิ่งก่อสร้างอื่นๆ) ทั้งทางตรงและทางอ้อม ในสภาวะปกติ น้าฝนจะมีสภาพเป็นกรดเล็กน้อย คือ มีค่าพีเอช
ประมาณ 5.6 เนื่องจากน้าฝนที่ตกลงมาจะละลายรวมตัวกับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) และสารประกอบ
ออกไซด์ของไนโตรเจนที่มีอยู่ในบรรยากาศ เกิดเป็นกรดคาร์บอนิกและกรดไนตริก ตามลาดับ ซึ่งทาให้น้าฝนมี
ความเป็นกรดมากขึ้น น้าฝนที่มีค่าพีเอชต่ากว่า 5.6 เราจัดว่าเป็น ฝนกรด ถ้าพืชได้รับฝนกรดจะก่อให้เกิด
อันตรายต่อพืชได้ทั้งทางตรงและทางอ้อม ขึ้นอยู่กับความเป็นกรดของน้าฝนและความทนทานของพืชชนิดนั้นๆ
วิธีการตรวจวัด
1. เทน้าฝนจากกระบอกวัดปริมาณน้าฝนลงในภาชนะที่สะอาด
2. เติมเกลือในตัวอย่างน้าฝนเล็กน้อย คนให้ละลาย เพื่อให้อ่านค่าพีเอชของน้าฝนได้ถูกต้องมากยิ่งขึ้น
3. ล้างส่วนปลายของกระเปาะวัดค่าพีเอชด้วยน้ากลั่น ซับเบาๆ ด้วยกระดาษทิชชู
4. จุ่มปากกาวัดค่าพีเอชลงไปในภาชนะที่มีน้าฝน ให้พอท่วมส่วนของกระเปาะวัดค่าพีเอช
5. รอจนกว่าค่าพีเอชจะหยุดนิ่ง จึงอ่านค่า
6. บันทึกลงในใบบันทึกข้อมูล
7. ทาซ้าข้อ 2 – 5 อีกอย่างน้อย 2 ครั้ง
P a g e | 14
ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
กลุ่ม บรรยากาศ
ใบความรู้ 6 เรื่อง การตรวจวัดความชื้นสัมพัทธ์ในอากาศ
การตรวจวัดความชื้นสัมพัทธ์ในอากาศ (RELATIVE HUMIDITY: RH)
ความชื้นสัมพัทธ์ในอากาศ
ความชื้น (Humidity) คือ ปริมาณไอน้าที่มีอยู่ในอากาศ ความชื้นของอากาศมีการเปลี่ยนแปลงอยู่
ตลอดเวลา จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับความดันและอุณหภูมิ
ความชื้นสัมพัทธ์ (Relative Humidity) คือ “อัตราส่วนของปริมาณไอน้าที่มีอยู่จริงในอากาศ ต่อ
ปริมาณไอน้าที่จะทาให้อากาศอิ่มตัว ณ อุณหภูมิเดียวกัน” หรือ “อัตราส่วนของความดันไอน้าที่มีอยู่
จริง ต่อ ความดันไอน้าอิ่มตัว” ซึ่งค่าความชื้นสัมพัทธ์แสดงในรูปของร้อยละ (%)
การวัดค่าความชื้นสัมพัทธ์ในอากาศ
การวัดค่าความชื้นสัมพัทธ์ในอากาศสามารถวัดได้จากเครื่องมือ 2 ชนิด คือ
1. ไฮโกรมิเตอร์แบบกระเปาะเปียก-กระเปาะแห้ง
ไฮโกรมิเตอร์แบบกระเปาะเปียก-กระเปาะแห้ง ประกอบไปด้วย เทอร์มอมิเตอร์สองอัน ถูก
ยึดติดด้วยปลอกที่แข็งแรงซึ่งสามารถแกว่งหมุนได้ด้วยมือ ด้านหนึ่งคือด้านเทอร์มอมิเตอร์กระเปาะ
แห้งวัดอุณหภูมิอากาศ อีกด้านเป็นเทอร์มอมิเตอร์กระเปาะเปียก (มีไส้ผ้ายึดติดอยู่ที่ส่วนปลายของ
เทอร์มอมิเตอร์) จะวัดอุณหภูมิอากาศที่ลดลงเมื่อน้าระเหยออกไป ความแตกต่างของอุณหภูมิของ
เทอร์มอมิเตอร์กระเปาะแห้งและเทอร์มอมิเตอร์กระเปาะเปียกยิ่งมากเท่าไร อากาศจะยิ่งแห้งมาก
เท่านั้น การหาค่าความชื้นสัมพัทธ์ทาได้โดยอ่านค่าจากตารางความชื้นสัมพัทธ์ที่แนบมาให้พร้อม
เครื่องวัด
2. ไฮโกรมิเตอร์แบบดิจิตอล
P a g e | 15
ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
กลุ่ม บรรยากาศ
ไฮโกรมิเตอร์แบบดิจิตอล (ดังภาพที่ 2) ใช้งานได้ง่ายและสามารถวัดความชื้นสัมพัทธ์ได้ใน
ช่วงกว้าง ซึ่งเหมาะกับนักเรียนซึ่งไม่สะดวกในการใช้ไฮโกรมิเตอร์แบบกระเปาะเปียก-กระเปาะแห้ง
แต่มีข้อจากัดคือ ราคาจะแพงกว่าและต้องการการดูแลรักษามากกว่าไฮโกรมิเตอร์แบบกระเปาะเปียก-
กระเปาะแห้ง
วิธีการตรวจวัด
1. ตรวจสอบความสมบูรณ์ของเครื่องมือ (ไฮโกรมิเตอร์แบบกระเปาะเปียก-กระเปาะแห้ง หรือ
ไฮโกรมิเตอร์แบบดิจิตอล)
2. ยืนในที่ร่มโดยหันหลังให้ดวงอาทิตย์แต่อย่าใกล้ต้นไม้หรือตึกจนเกินไป และให้ห่างจากคนอื่นๆ
และตู้กาบังเครื่องมืออย่างเพียงพอ เพื่อไม่ให้แกว่งเครื่องมือไปโดนผู้อื่น
3. หยดน้าสะอาดลงบนผ้าที่หุ้มเทอร์มอมิเตอร์กระเปาะเปียกให้พอชุ่ม
4. แกว่งไฮโกรมิเตอร์ติดต่อกันด้วยความเร็วเท่าๆ กันเป็นเวลา 3 นาที เพื่อให้เทอร์มอมิเตอร์กระเปาะ
เปียกและกระเปาะแห้งอ่านค่าอุณหภูมิอากาศ
5. ในขณะแกว่งไฮโกรมิเตอร์แบบกระเปาะเปียก-กระเปาะแห้ง พยายามแกว่งให้ห่างจากตัวเราเท่าที่
จะเป็นไปได้เพื่อป้องกันความร้อนจากร่างกายเปลี่ยนแปลงการอ่านอุณหภูมิ ประเด็นนี้สาคัญมาก
ในอากาศหนาว อย่าสัมผัสหรือหายใจรดลงบนเทอร์มอมิเตอร์เช่นกันเพราะจะมีผลต่อการอ่าน
6. ปล่อยเครื่องวัดหยุดหมุนด้วยตัวมันเอง อย่าหยุดด้วยมือหรือวัตถุอย่างอื่น
7. อ่านค่าอุณหภูมิกระเปาะเปียกและกระเปาะแห้ง โดยให้แน่ใจว่าระดับสายตาของเราอยู่ในระดับ
เดียวกันกับเทอร์มอมิเตอร์ และบันทึกค่าที่อ่านได้
8. อ่านความชื้นสัมพัทธ์โดยการใช้สเกลที่เลื่อนไปมาได้ซึ่งพบบนเครื่องวัด

More Related Content

What's hot

ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 
องค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศ
องค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศองค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศ
องค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศdnavaroj
 
ลม ฟ้า อากาศ
ลม ฟ้า อากาศลม ฟ้า อากาศ
ลม ฟ้า อากาศPatzuri Orz
 
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55krupornpana55
 
บรรยากาศ(Atmosphere)
บรรยากาศ(Atmosphere)บรรยากาศ(Atmosphere)
บรรยากาศ(Atmosphere)พัน พัน
 
บรรยากาศที่ห่อหุ้มโลก
บรรยากาศที่ห่อหุ้มโลกบรรยากาศที่ห่อหุ้มโลก
บรรยากาศที่ห่อหุ้มโลกSukanya Burana
 
บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)พัน พัน
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศkulruedee_chm
 
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลกการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลกdnavaroj
 
Week 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsWeek 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsfreelance
 
อากาศภาค
อากาศภาคอากาศภาค
อากาศภาคPa'rig Prig
 
ทรัพยากรอากาศ
ทรัพยากรอากาศ ทรัพยากรอากาศ
ทรัพยากรอากาศ fainaja
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงWannaporn Sukthawee
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำjintana533
 
การเกิดลม
การเกิดลมการเกิดลม
การเกิดลมdnavaroj
 
ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศ
ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศปรากฏการทางลมฟ้าอากาศ
ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศdnavaroj
 
พายุหมุนเขตร้อน
พายุหมุนเขตร้อนพายุหมุนเขตร้อน
พายุหมุนเขตร้อนdnavaroj
 
ทะเล มหาสมุทร และลักษณะภูมิประเทศที่เกิดจากคลื่น
ทะเล มหาสมุทร และลักษณะภูมิประเทศที่เกิดจากคลื่นทะเล มหาสมุทร และลักษณะภูมิประเทศที่เกิดจากคลื่น
ทะเล มหาสมุทร และลักษณะภูมิประเทศที่เกิดจากคลื่นNoiRr DaRk
 

What's hot (19)

ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
องค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศ
องค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศองค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศ
องค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศ
 
ลม ฟ้า อากาศ
ลม ฟ้า อากาศลม ฟ้า อากาศ
ลม ฟ้า อากาศ
 
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55
 
บรรยากาศ(Atmosphere)
บรรยากาศ(Atmosphere)บรรยากาศ(Atmosphere)
บรรยากาศ(Atmosphere)
 
บรรยากาศที่ห่อหุ้มโลก
บรรยากาศที่ห่อหุ้มโลกบรรยากาศที่ห่อหุ้มโลก
บรรยากาศที่ห่อหุ้มโลก
 
บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลกการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
 
Week 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsWeek 2 disaster informatics
Week 2 disaster informatics
 
อากาศภาค
อากาศภาคอากาศภาค
อากาศภาค
 
Atmosphere
AtmosphereAtmosphere
Atmosphere
 
ทรัพยากรอากาศ
ทรัพยากรอากาศ ทรัพยากรอากาศ
ทรัพยากรอากาศ
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
การเกิดลม
การเกิดลมการเกิดลม
การเกิดลม
 
ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศ
ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศปรากฏการทางลมฟ้าอากาศ
ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศ
 
พายุหมุนเขตร้อน
พายุหมุนเขตร้อนพายุหมุนเขตร้อน
พายุหมุนเขตร้อน
 
ทะเล มหาสมุทร และลักษณะภูมิประเทศที่เกิดจากคลื่น
ทะเล มหาสมุทร และลักษณะภูมิประเทศที่เกิดจากคลื่นทะเล มหาสมุทร และลักษณะภูมิประเทศที่เกิดจากคลื่น
ทะเล มหาสมุทร และลักษณะภูมิประเทศที่เกิดจากคลื่น
 

Similar to การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64

โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงWannaporn Sukthawee
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงWannaporn Sukthawee
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงWannaporn Sukthawee
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงWannaporn Sukthawee
 
งานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็น
งานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็นงานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็น
งานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็นfocuswirakarn
 
การแบ่งเขตภูมิอากาศ
การแบ่งเขตภูมิอากาศการแบ่งเขตภูมิอากาศ
การแบ่งเขตภูมิอากาศพัน พัน
 
???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10
???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10
???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10wachiphoke
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686CUPress
 
Ch 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsCh 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsfreelance
 
หนังสือเล่มเล็ก พร้อม ปริ้น ใหม่
หนังสือเล่มเล็ก พร้อม ปริ้น ใหม่หนังสือเล่มเล็ก พร้อม ปริ้น ใหม่
หนังสือเล่มเล็ก พร้อม ปริ้น ใหม่0857099227
 
โครงการในพระราชดำริฝนหลวง
โครงการในพระราชดำริฝนหลวงโครงการในพระราชดำริฝนหลวง
โครงการในพระราชดำริฝนหลวงTanwalai Kullawong
 
นักสืบสายลม
นักสืบสายลมนักสืบสายลม
นักสืบสายลมTaweesak Poochai
 
คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402
คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402
คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402Petch Tongthummachat
 
ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2fainaja
 
ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2fainaja
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนpattamonhpgo
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำMonticha
 

Similar to การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64 (19)

โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
งานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็น
งานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็นงานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็น
งานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็น
 
เอกสารประกอบการติวo net57 สพฐ. วิทยาศาสตร์ป.6
เอกสารประกอบการติวo net57 สพฐ. วิทยาศาสตร์ป.6เอกสารประกอบการติวo net57 สพฐ. วิทยาศาสตร์ป.6
เอกสารประกอบการติวo net57 สพฐ. วิทยาศาสตร์ป.6
 
การแบ่งเขตภูมิอากาศ
การแบ่งเขตภูมิอากาศการแบ่งเขตภูมิอากาศ
การแบ่งเขตภูมิอากาศ
 
???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10
???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10
???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
 
Ch 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsCh 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informatics
 
หนังสือเล่มเล็ก พร้อม ปริ้น ใหม่
หนังสือเล่มเล็ก พร้อม ปริ้น ใหม่หนังสือเล่มเล็ก พร้อม ปริ้น ใหม่
หนังสือเล่มเล็ก พร้อม ปริ้น ใหม่
 
โครงการในพระราชดำริฝนหลวง
โครงการในพระราชดำริฝนหลวงโครงการในพระราชดำริฝนหลวง
โครงการในพระราชดำริฝนหลวง
 
วาตภัย
วาตภัยวาตภัย
วาตภัย
 
นักสืบสายลม
นักสืบสายลมนักสืบสายลม
นักสืบสายลม
 
คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402
คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402
คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402
 
ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2
 
ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 
Pptgst uprojectcoconut61
Pptgst uprojectcoconut61Pptgst uprojectcoconut61
Pptgst uprojectcoconut61
 

การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64

  • 1. P a g e | 1 ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กลุ่ม บรรยากาศ ใบความรู้ 1 เรื่อง การจาแนกชนิดเมฆ ชนิดของเมฆ เป็นสัญญาณที่สาคัญของกระบวนการต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชั้นบรรยากาศ เมฆชี้ให้เห็นถึง อากาศชื้นที่กาลังเคลื่อนตัวสูงขึ้น และอาจจะมีหยาดน้าฟ้าเกิดขึ้นได้เมฆมักให้สัญญาณว่าสภาพอากาศจะมีการ เปลี่ยนแปลง เช่น เมฆที่มีฐานเมฆสีเทา-ดา มักจะทาให้เกิดฝนตก การเรียกชื่อเมฆ การเรียกชื่อเมฆจะเรียกตามระดับความสูงและลักษณะรูปร่างของก้อนเมฆ ซึ่งเมฆสามารถแบ่งตาม ระดับความสูง (Altitude) ของฐานเมฆ (Cloud Base) ได้ออกเป็น 3 กลุ่มใหญ่ๆ ได้แก่ 1. เมฆระดับสูง เรียกว่า เซอร์โร (Cirro) หรือเซอร์รัส (Cirrus) ในบริเวณแถบโซนร้อนจะอยู่ที่ความ สูง 6,000 – 18,000 เมตร (20,000 – 60,000 ฟุต) ขึ้นไป จึงทาให้เห็นเมฆชนิดนี้มีขนาดเล็กกว่าเมฆ ชนิดอื่นๆ ส่วนใหญ่จะมีสีขาวหรือเทาอ่อน และเกิดขึ้นในบรรยากาศที่คงที่ ไม่มีการเปลี่ยนแปลง มากนัก เป็นเมฆซึ่งไม่ทาให้เกิดฝน แต่ส่วนใหญ่จะเป็นเกล็ดน้าแข็ง 2. เมฆระดับกลาง เรียกว่า อัลโต (Alto) ในบริเวณแถบโซนร้อนจะอยู่ที่ความสูงระหว่าง 2,000 – 8,000 เมตร (6,500 -26,000 ฟุต) มีส่วนประกอบหลักคือ หยดน้า และมีน้าแข็งบางส่วน แสงอาทิตย์ ส่องผ่านเมฆชนิดนี้ได้ 3. เมฆระดับต่า เรียกว่า สตราโต (Strato) อยู่ใกล้ผิวโลกมากที่สุด ในบริเวณแถบโซนร้อนจะอยู่ที่ ความสูงไม่เกิน 2,000 เมตร (ผิวพื้น – 6,500 ฟุต) จะสามารถมองเห็นว่ามีขนาดใหญ่กว่าเมฆชนิด อื่นๆ เมฆในกลุ่มนี้อาจจะมีสีดาและเป็นสีเทามากกว่าเมฆในระดับกลางและระดับสูง เมฆแบ่งตามลักษณะรูปร่าง เมฆแบ่งตามลักษณะรูปร่างได้2 แบบ คือ 1. เมฆก้อน เรียกว่า คิวมูโล (Cumulo) หรือคิวมูลัส (Cumulus) มีลักษณะเป็นก้อนรวมตัวกันคล้ายปุย ฝ้ายหรือดอกกะหล่า 2. เมฆแผ่น เรียกว่า สตราโต (Strato) หรือสตราตัส (Stratus) มีลักษณะเป็นแผ่นแบนแผ่คล้ายแผ่นสาลี นอกจากนี้ เรายังเรียกเมฆที่มีฐานเมฆสีเทา-ดา ทาให้เกิดฝนตกว่า นิมโบ (Nimbo) หรือ นิมบัส (Nimbus)
  • 2. P a g e | 2 ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กลุ่ม บรรยากาศ
  • 3. P a g e | 3 ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กลุ่ม บรรยากาศ
  • 4. P a g e | 4 ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กลุ่ม บรรยากาศ
  • 5. P a g e | 5 ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กลุ่ม บรรยากาศ ใบความรู้ 2 เรื่อง การศึกษาปริมาณเมฆปกคลุม ปริมาณเมฆปกคลุม คือ ปริมาณเมฆทั้งหมดที่ปกคลุมทั่วท้องฟ้า ซึ่งนักอุตุนิยมวิทยาและ นักวิทยาศาสตร์ด้านภูมิอากาศจะนาข้อมูลปริมาณเมฆปกคลุมไปใช้คานวณปริมาณรังสีจากดวงอาทิตย์ที่ถูก สะท้อนหรือดูดซับไว้ก่อนที่จะมาถึงพื้นผิวโลก รวมทั้งปริมาณรังสีจากพื้นผิวโลกที่จะถูกสะท้อนกลับหรือดูด ซับไว้ก่อนที่จะกลับสู่อวกาศ วิธีการตรวจวัด การเตรียมตัวของนักเรียน การคาดคะเนปริมาณเมฆปกคลุม เป็นการตรวจวัดที่ขึ้นกับดุลยพินิจของแต่ละบุคคล ดังนั้นนักเรียน ควรรวมกลุ่มกันเพื่อทาการศึกษา โดยแต่ละคนทาการสังเกตเมฆ และหาข้อตกลงร่วมกันของกลุ่ม ว่าท้องฟ้ามี ปริมาณเมฆปกคลุมเท่าไร การจาแนกและปริมาณเมฆปกคลุม 1. กรอกข้อมูลในส่วนด้านบนของใบบันทึกข้อมูล 2. มองท้องฟ้าในทุกทิศทาง (ครอบคลุม 360 องศา) ในแนวระนาบ 3. คาดประมาณปริมาณเมฆปกคลุม ตั้งแต่ 0% คือ ไม่มีเมฆ จนถึง 90% ภาพที่ 1 การสังเกตเมฆโดยตาเปล่าเพื่อจาแนกและปริมาณเมฆปกคลุม
  • 6. P a g e | 6 ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กลุ่ม บรรยากาศ ตารางแสดงค่าประมาณปริมาณเมฆปกคลุม
  • 7. P a g e | 7 ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กลุ่ม บรรยากาศ ใบความรู้ 3 เรื่อง การตรวจวัดอุณหภูมิอากาศสูงสุด ต่าสุดและปัจจุบัน การตรวจวัดอุณหภูมิอากาศสู งสุ ด ต่าสุ ดและปัจจุบัน (MAXIMUM-MINIMUM-CURRENT TEMPERATURE) ปัจจัยที่ส่งผลต่ออุณหภูมิอากาศ (โครงการการเรียนรู้เรื่องวิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ (LESA Project), 2546) ได้แก่ 1. พื้นดินและพื้นน้า พื้นดินและพื้นน้ามีคุณสมบัติในการดูดกลืนและคายความร้อนแตกต่างกัน เมื่อรับความร้อนพื้นดินจะ ร้อนขึ้นอย่างรวดเร็ว และมีอุณหภูมิสูงกว่าพื้นน้า เมื่อคายความร้อนพื้นดินจะเย็นตัวอย่างรวดเร็ว และมีอุณหภูมิ ต่ากว่าพื้นน้า ทั้งนี้เนื่องจากพื้นน้ามีความร้อนจาเพาะสูงกว่าพื้นดินถึง 3 เท่าตัว (ความร้อนจาเพาะ หมายถึง ปริมาณความร้อนที่ทาให้สสาร 1 กรัม มีอุณหภูมิสูงขึ้น 1 ํC) 2. ระดับความสูงของพื้นที่ (Elevation) อากาศมีคุณสมบัติเป็นตัวนาความร้อน (Conduction) ที่เลว เนื่องจากอากาศมีความโปร่งใส และมีความ หนาแน่นต่า พื้นดินจึงดูดกลืนพลังงานจากแสงอาทิตย์ได้ดีกว่า อากาศถ่ายเทความร้อนจากพื้นดิน ด้วยการพา ความร้อน (Convection) ไปตามการเคลื่อนที่ของอากาศ ในสภาพทั่วไปเราจะพบว่ายิ่งสูงขึ้นไป อุณหภูมิของ อากาศในชั้นบรรยากาศใกล้ผิวโลก (โทรโปสเฟียร์) จะลดต่าลงด้วยอัตรา 6.5 ํC ต่อกิโลเมตร (Adiabatic Lapse Rate) ดังนั้นอุณหภูมิบนยอดเขาสูง 2,000 เมตร จะต่ากว่าอุณหภูมิที่ระดับน้าทะเลประมาณ 13 ํC 3. ละติจูด เนื่องจากโลกเป็นทรงกลมรี (คล้ายผลส้ม) แสงอาทิตย์จึงตกกระทบพื้นโลกเป็นมุมไม่เท่ากัน (ดังภาพที่ 50) ในเวลาเที่ยงวันพื้นผิวบริเวณศูนย์สูตรได้รับรังสีจากแสงอาทิตย์เป็นมุมชันแต่พื้นผิวบริเวณขั้วโลกได้รับ รังสีจากแสงอาทิตย์เป็นมุมลาดส่งผลให้เขตศูนย์สูตรมีอุณหภูมิสูงกว่าเขตขั้วโลก ประกอบกับรังสีที่ตกกระทบ
  • 8. P a g e | 8 ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กลุ่ม บรรยากาศ พื้นโลกเป็นมุมลาด เดินทางผ่านความหนาชั้นบรรยากาศเป็นระยะทางมากกว่า รังสีที่ตกกระทบเป็นมุมชัน ความเข้มของแสงจึงถูกบรรยากาศกรองให้ลดน้อยลง ยังผลให้อุณหภูมิลดต่าลงไปอีก ภาพที่ 1 มุมที่แสงอาทิตย์ตกกระทบพื้นผิวโลก 4. ตาแหน่งทางภูมิศาสตร์ พื้นผิวโลกมีสภาพภูมิประเทศแตกต่างกัน มีทั้งที่ราบ ทิวเขา หุบเขา ทะเล มหาสมุทร ทะเลสาบ ทะเลทราย ที่ราบสูงสภาพภูมิประเทศมีอิทธิพลส่งผลกระทบต่อสภาพลมฟ้าอากาศโดยตรง เช่น พื้นที่ทะเลทราย จะมีอุณหภูมิแตกต่างระหว่างกลางวันกลางคืนมากกว่าพื้นที่ชายทะเล โดยส่วนใหญ่พื้นที่รับลมจะมีอุณหภูมิต่า กว่าพื้นที่อับลมเนื่องจากไม่มีการถ่ายเทความร้อน 5. ปริมาณเมฆปกคลุม เมฆทาให้อุณหภูมิอากาศเวลากลางวันและกลางคืนไม่แตกต่างกันมากนัก เนื่องจากในเวลากลางวัน เมฆจะกั้นพลังงานที่ส่องผ่านลงมา และสะท้อนรังสีจากอาทิตย์บางส่วนกลับคืนสู่อวกาศ ส่วนในเวลากลางคืน ความร้อนจากผิวโลกจะส่งผ่านกลับไปในบรรยากาศได้ไม่สะดวกเพราะมีเมฆมากั้นไว้เหมือนผ้าห่ม วิธีการตรวจวัด ในการตรวจวัด ในการวัดอุณหภูมิอากาศสูงสุด-ต่าสุดในรอบ 1 วัน จะตรวจวัดทุกวัน ภายในช่วง 1 ชั่วโมงของเวลาดวงอาทิตย์เที่ยงวันของเวลาท้องถิ่น (Local Solar Noon) (11.00 – 13.00 น.) สามารถใช้เครื่องมือ ในการตรวจวัดอุณหภูมิได้2 ชนิด คือ 1. เทอร์มอมิเตอร์รูปตัวยู (U-tube Maximum-Minimum Thermometer) เป็นหลอดรูปเกือกม้าประกอบด้วย เข็มชี้ทั้งสองด้าน ซึ่งด้านซ้ายมือจะแสดงอุณหภูมิอากาศต่าสุดของเวลา 1 วัน และด้านขวามือจะแสดง อุณหภูมิอากาศสูงสุดของเวลา 1 วัน (ดังภาพที่ 2) เทอร์มอมิเตอร์ด้านที่แสดงอุณหภูมิอากาศสูงสุดมี อุณหภูมิเพิ่มขึ้นจากล่างขึ้นบน (เหมือนกับเทอร์มอมิเตอร์ที่ใช้กันทั่วไป) ในทางกลับกัน ด้านที่แสดง
  • 9. P a g e | 9 ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กลุ่ม บรรยากาศ อุณหภูมิอากาศต่าสุด อุณหภูมิจะเพิ่มขึ้นจากบนลงล่าง เมื่ออุณหภูมิอากาศสูงขึ้น ของเหลวในกระเปาะ จะมีการขยายตัวเคลื่อนที่จากทางด้านซ้ายมือ (วัดอุณหภูมิต่าสุด) ไปทางด้านขวามือ (วัดอุณหภูมิสูงสุด) และไปดันเข็มชี้ (Indicator Pin) ทางด้านขวาขึ้นไปค้างไว้ให้อ่านค่าอุณหภูมิสูงสุดของวัน (Maximum Temperature) และเมื่ออุณหภูมิอากาศลดลง ของเหลวในกระเปาะจะเคลื่อนที่ในทางตรงข้าม (เคลื่อนที่ จากขวาไปซ้าย) ไปดันเข็มชี้ทางด้านซ้ายมือขึ้นไปค้างไว้ให้อ่านค่าอุณหภูมิต่าสุดของวัน (Minimum Temperature) นอกจากนี้ เทอร์มอมิเตอร์รูปตัวยู (U-tube Maximum-Minimum Thermometer) ยัง สามารถวัดอุณหภูมิอากาศปัจจุบัน (Current Temperature) โดยอ่านค่าจากระดับของเหลวในกระเปาะ ณ เวลาที่อ่านได้อีกด้วย ภาพที่ 2 เทอร์มอมิเตอร์วัดอุณหภูมิสูงสุด-ต่าสุด 2. เทอร์มอมิเตอร์แบบดิจิตอล (A Digital multi-day Maximum/Minimum) ตรวจวัดข้อมูลอุณหภูมิอากาศ สูงสุด-ต่าสุด และสามารถเก็บข้อมูลไว้ในเครื่องได้ถึง 6 วัน นอกจากจะตรวจวัดอุณหภูมิสูงสุด-ต่าสุด อากาศแล้ว เทอร์มอมิเตอร์แบบดิจิตอลยังมีขั้วตรวจวัดอุณหภูมิดินด้วย ซึ่งสามารถฝังกลบลงไปในดิน เพื่อวัดอุณหภูมิดินได้
  • 10. P a g e | 10 ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กลุ่ม บรรยากาศ ใบความรู้ 4 เรื่อง การตรวจวัดปริมาณน้าฝน การตรวจวัดปริมาณน้าฝน (RAINFALL) หยาดน้าฟ้าหมายถึงน้าในทุกสถานะที่เป็นทั้งของเหลวและของแข็งที่ตกจากบรรยากาศลงสู่พื้นผิวโลก หยาดน้าฟ้าที่เป็นของเหลว ได้แก่ น้าฝน และเป็นของแข็ง ได้แก่ หิมะ เกล็ดน้าแข็งและลูกเห็บ หยาดน้าฟ้าที่ตก ลงสู่พื้นดินในแต่ละท้องถิ่นมีปริมาณมากน้อยเพียงใด ตกในช่วงใดของปี ตกลงมาเป็นฝนหรือหิมะ ปัจจัยเหล่านี้ จะเป็นตัวกาหนดสภาพภูมิอากาศของท้องถิ่นนั้นๆ เมื่อขาดแคลนน้าก็จะเกิดสภาพทะเลทราย เมื่อมีน้ามากก็ อาจจะทาให้เกิดน้าท่วม การรู้ว่ามีหยาดน้าฟ้าตกสู่พื้นดินมากน้อยเพียงใด และเมื่อใดหิมะจะละลายเป็นกุญแจ สาคัญสาหรับความเข้าใจสภาพภูมิอากาศท้องถิ่นและของโลก การบันทึกข้อมูลปริมาณน้าฝน วิธีการตรวจวัด 1. อ่านระดับน้าฝนที่ท้องน้า (ส่วนโค้งล่างของน้า) ในกระบอกวัดปริมาณน้าฝน โดยให้ระดับสายตา ของนักเรียนอยู่ในระดับเดียวกันกับระดับน้า (ดังภาพที่ 1)
  • 11. P a g e | 11 ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กลุ่ม บรรยากาศ ภาพที่ 1 การอ่านค่าปริมาณน้าฝน 2. บันทึกปริมาณน้าฝนลงในใบบันทึกข้อมูล  ถ้าไม่มีน้าในกระบอกวัดปริมาณน้าฝน ให้รายงานว่าเป็น 0.0 มิลลิเมตร  ถ้ามีน้าฝนในกระบอกวัดปริมาณน้อยกว่า 0.5 มิลลิเมตร ให้บันทึกว่าเป็น “T” (หรือ Trace = น้อย มาก)  ถ้านักเรียนทาน้าฝนหกออกไปทั้งหมดก่อนทาการวัด หรือไม่ได้ทาการตรวจวัดปริมาณน้าฝนใน วันนั้น ให้รายงานว่า “M” (หรือ Missing = หายไป)  ถ้านักเรียนทาน้าหกออกไปเล็กน้อย ให้รายงานข้อมูลเพิ่มเติมว่าหกไปเท่าใด 3. ถ้ามีน้าฝนล้นจากกระบอกวัดปริมาณน้าฝน (ดังภาพที่ 2) ภาพที่ 2 น้าล้นออกจากกระบอกวัดปริมาณน้าฝน 3.1 นากระบอกวัดปริมาณน้าฝน (ตัวใน) ออกจากกระบอกรองรับน้าล้น (ตัวนอก)
  • 12. P a g e | 12 ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กลุ่ม บรรยากาศ 3.2 อ่านระดับของน้าในกระบอกวัดปริมาณน้าฝนโดยตั้งกระบอกบนพื้นราบ แล้วอ่านค่า ณ ส่วน โค้งล่างของน้าที่ระดับสายตา 3.3 บันทึกปริมาณฝน 3.4 เทน้าจากกระบอกวัดปริมาณน้าฝนลงในภาชนะสะอาด 3.5 เทน้าจากกระบอกที่รองรับน้าล้นลงในกระบอกวัดปริมาณน้าฝน (ข้างใน) 3.6 ทาซ้าขั้นตอน 3.2 ถึง 3.5 จนกระทั่งน้าในกระบอกรองรับน้าล้นหมด 3.7 นาค่าปริมาณน้าฝนที่อ่านได้ทั้งหมดมารวมกันจะเป็นผลรวมของปริมาณน้าฝนทั้งหมด
  • 13. P a g e | 13 ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กลุ่ม บรรยากาศ ใบความรู้ 5 เรื่อง การตรวจวัดค่าความเป็นกรด-เบสของน้าฝน การตรวจวัดค่าความเป็นกรด-เบส (pH) ของน้าฝน บรรยากาศประกอบด้วยโมเลกุลของสารหลายชนิด บางชนิดอยู่ในรูปของอนุภาคเล็กๆ ที่แขวนลอยอยู่ ซึ่งเรียกว่า ละอองลอยบางชนิดอยู่ในรูปของแก๊ส เมื่อฝนตกลงมา น้าฝนจะละลายอนุภาคและแก๊สเหล่านี้ ทาให้ ค่าพีเอชของน้าฝนเปลี่ยนแปลงไป อาจจะเป็นกรด กลาง หรือเบส ขึ้นอยู่กับชนิดสารเคมีเหล่านั้น ค่าพีเอชของ น้าฝนจะมีผลต่อสิ่งมีชีวิต (ดิน พืช สัตว์ และมนุษย์) และสิ่งไม่มีชีวิต (แม่น้า ทะเลสาบ ลาคลอง อาคาร และ สิ่งก่อสร้างอื่นๆ) ทั้งทางตรงและทางอ้อม ในสภาวะปกติ น้าฝนจะมีสภาพเป็นกรดเล็กน้อย คือ มีค่าพีเอช ประมาณ 5.6 เนื่องจากน้าฝนที่ตกลงมาจะละลายรวมตัวกับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) และสารประกอบ ออกไซด์ของไนโตรเจนที่มีอยู่ในบรรยากาศ เกิดเป็นกรดคาร์บอนิกและกรดไนตริก ตามลาดับ ซึ่งทาให้น้าฝนมี ความเป็นกรดมากขึ้น น้าฝนที่มีค่าพีเอชต่ากว่า 5.6 เราจัดว่าเป็น ฝนกรด ถ้าพืชได้รับฝนกรดจะก่อให้เกิด อันตรายต่อพืชได้ทั้งทางตรงและทางอ้อม ขึ้นอยู่กับความเป็นกรดของน้าฝนและความทนทานของพืชชนิดนั้นๆ วิธีการตรวจวัด 1. เทน้าฝนจากกระบอกวัดปริมาณน้าฝนลงในภาชนะที่สะอาด 2. เติมเกลือในตัวอย่างน้าฝนเล็กน้อย คนให้ละลาย เพื่อให้อ่านค่าพีเอชของน้าฝนได้ถูกต้องมากยิ่งขึ้น 3. ล้างส่วนปลายของกระเปาะวัดค่าพีเอชด้วยน้ากลั่น ซับเบาๆ ด้วยกระดาษทิชชู 4. จุ่มปากกาวัดค่าพีเอชลงไปในภาชนะที่มีน้าฝน ให้พอท่วมส่วนของกระเปาะวัดค่าพีเอช 5. รอจนกว่าค่าพีเอชจะหยุดนิ่ง จึงอ่านค่า 6. บันทึกลงในใบบันทึกข้อมูล 7. ทาซ้าข้อ 2 – 5 อีกอย่างน้อย 2 ครั้ง
  • 14. P a g e | 14 ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กลุ่ม บรรยากาศ ใบความรู้ 6 เรื่อง การตรวจวัดความชื้นสัมพัทธ์ในอากาศ การตรวจวัดความชื้นสัมพัทธ์ในอากาศ (RELATIVE HUMIDITY: RH) ความชื้นสัมพัทธ์ในอากาศ ความชื้น (Humidity) คือ ปริมาณไอน้าที่มีอยู่ในอากาศ ความชื้นของอากาศมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ ตลอดเวลา จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับความดันและอุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธ์ (Relative Humidity) คือ “อัตราส่วนของปริมาณไอน้าที่มีอยู่จริงในอากาศ ต่อ ปริมาณไอน้าที่จะทาให้อากาศอิ่มตัว ณ อุณหภูมิเดียวกัน” หรือ “อัตราส่วนของความดันไอน้าที่มีอยู่ จริง ต่อ ความดันไอน้าอิ่มตัว” ซึ่งค่าความชื้นสัมพัทธ์แสดงในรูปของร้อยละ (%) การวัดค่าความชื้นสัมพัทธ์ในอากาศ การวัดค่าความชื้นสัมพัทธ์ในอากาศสามารถวัดได้จากเครื่องมือ 2 ชนิด คือ 1. ไฮโกรมิเตอร์แบบกระเปาะเปียก-กระเปาะแห้ง ไฮโกรมิเตอร์แบบกระเปาะเปียก-กระเปาะแห้ง ประกอบไปด้วย เทอร์มอมิเตอร์สองอัน ถูก ยึดติดด้วยปลอกที่แข็งแรงซึ่งสามารถแกว่งหมุนได้ด้วยมือ ด้านหนึ่งคือด้านเทอร์มอมิเตอร์กระเปาะ แห้งวัดอุณหภูมิอากาศ อีกด้านเป็นเทอร์มอมิเตอร์กระเปาะเปียก (มีไส้ผ้ายึดติดอยู่ที่ส่วนปลายของ เทอร์มอมิเตอร์) จะวัดอุณหภูมิอากาศที่ลดลงเมื่อน้าระเหยออกไป ความแตกต่างของอุณหภูมิของ เทอร์มอมิเตอร์กระเปาะแห้งและเทอร์มอมิเตอร์กระเปาะเปียกยิ่งมากเท่าไร อากาศจะยิ่งแห้งมาก เท่านั้น การหาค่าความชื้นสัมพัทธ์ทาได้โดยอ่านค่าจากตารางความชื้นสัมพัทธ์ที่แนบมาให้พร้อม เครื่องวัด 2. ไฮโกรมิเตอร์แบบดิจิตอล
  • 15. P a g e | 15 ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กลุ่ม บรรยากาศ ไฮโกรมิเตอร์แบบดิจิตอล (ดังภาพที่ 2) ใช้งานได้ง่ายและสามารถวัดความชื้นสัมพัทธ์ได้ใน ช่วงกว้าง ซึ่งเหมาะกับนักเรียนซึ่งไม่สะดวกในการใช้ไฮโกรมิเตอร์แบบกระเปาะเปียก-กระเปาะแห้ง แต่มีข้อจากัดคือ ราคาจะแพงกว่าและต้องการการดูแลรักษามากกว่าไฮโกรมิเตอร์แบบกระเปาะเปียก- กระเปาะแห้ง วิธีการตรวจวัด 1. ตรวจสอบความสมบูรณ์ของเครื่องมือ (ไฮโกรมิเตอร์แบบกระเปาะเปียก-กระเปาะแห้ง หรือ ไฮโกรมิเตอร์แบบดิจิตอล) 2. ยืนในที่ร่มโดยหันหลังให้ดวงอาทิตย์แต่อย่าใกล้ต้นไม้หรือตึกจนเกินไป และให้ห่างจากคนอื่นๆ และตู้กาบังเครื่องมืออย่างเพียงพอ เพื่อไม่ให้แกว่งเครื่องมือไปโดนผู้อื่น 3. หยดน้าสะอาดลงบนผ้าที่หุ้มเทอร์มอมิเตอร์กระเปาะเปียกให้พอชุ่ม 4. แกว่งไฮโกรมิเตอร์ติดต่อกันด้วยความเร็วเท่าๆ กันเป็นเวลา 3 นาที เพื่อให้เทอร์มอมิเตอร์กระเปาะ เปียกและกระเปาะแห้งอ่านค่าอุณหภูมิอากาศ 5. ในขณะแกว่งไฮโกรมิเตอร์แบบกระเปาะเปียก-กระเปาะแห้ง พยายามแกว่งให้ห่างจากตัวเราเท่าที่ จะเป็นไปได้เพื่อป้องกันความร้อนจากร่างกายเปลี่ยนแปลงการอ่านอุณหภูมิ ประเด็นนี้สาคัญมาก ในอากาศหนาว อย่าสัมผัสหรือหายใจรดลงบนเทอร์มอมิเตอร์เช่นกันเพราะจะมีผลต่อการอ่าน 6. ปล่อยเครื่องวัดหยุดหมุนด้วยตัวมันเอง อย่าหยุดด้วยมือหรือวัตถุอย่างอื่น 7. อ่านค่าอุณหภูมิกระเปาะเปียกและกระเปาะแห้ง โดยให้แน่ใจว่าระดับสายตาของเราอยู่ในระดับ เดียวกันกับเทอร์มอมิเตอร์ และบันทึกค่าที่อ่านได้ 8. อ่านความชื้นสัมพัทธ์โดยการใช้สเกลที่เลื่อนไปมาได้ซึ่งพบบนเครื่องวัด