SlideShare a Scribd company logo
1 of 25
หมายถึง ภัยหรืออันตรายที่เกิดจากลมพายุพัดผ่าน ซึ่งแรงของ
พายุนอกจากจะทาให้สิ่งต่างๆ ที่ขวางทางล้มระเนระนาด ทา
อันตรายต่อชีวิตและทรัพย์สินแล้ว ยังจะมีอุทกภัยตามมาด้วย
เสมอ ส่วนอันตรายนั้น จะมีมากหรือน้อย ย่อมขึ้นอยู่กับชนิด
ของลมพายุที่มีความเร็วสูงสุดใกล้บริเวณศูนย์กลาง
พายุ (Storms) เกิดขึ้นเมื่อเกิดศูนย์กลางของแรงดันในอากาศต่าลง
มากกว่าในบริเวณรอบๆ พื้นที่หนึ่ง พร้อมกับมีแรงดันอากาศสูงเกิดขึ้น
รอบ ๆ พื้นที่นั้น การรวมของแรงปะทะต่าง ๆ ก่อให้เกิดลม อันส่งผล
ให้เกิด การเคลื่อนตัวเปลี่ยนรูปของพายุเมฆ เช่น สภาพที่เรียกว่า
cumulonimbus ซึ่งเป็นในรูปแบบก้อนเมฆดาทะมึนหนาทึบอันเต็ม
ไปด้วยประจุไฟฟ้าที่ก่อให้เกิดฝนฟ้าคะนอง
ซึ่งแรงดันอากาศต่าอาจเกิดจากจุดเล็ก ๆ ที่พื้นที่ใด ๆ อันเกิดจาก
อากาศร้อนลอยล่องขึ้นจากพื้นดิน ส่งผลให้เกิดการปั่นป่วนน้อย ๆ
เช่น การเกิดพายุฝุ่น (dust devils) หรือลมหมุน (whirlwinds)
ลักษณะของการหมุนเวียนของกระแสอากาศชั้นบนและชั้นล่างในแต่ละฤดูกาล
ของประเทศไทย
พายุฝนฟ้าคะนอง พายุหมุนเขตร้อน
พายุ
ทอร์นาโด
พายุฝนฟ้าคะนองหรือพายุฤดูร้อน (Summer
Storm) เกิดลมร้อน และความชื้นจากน้าทะเล พัดไป
ปะทะกับลมแห้ง และลมเย็น ทาให้เกิดพายุฝนฟ้า
คะนอง ฝนตก ฟ้าผ่า อาจมีลูกเห็บตก ซึ่งบางครั้ง ทาให้
เกิดลมงวงสูงมาก จึงทาลายบ้านเรือน และสิ่งที่กีดขวางกั้น
ให้พังทลายได้ ปกติความเร็วของ ลมพายุฤดูร้อน จะมี
กาลังประมาณ 50 กิโลเมตรต่อชั่วโมง แต่ก็อาจมีความเร็ว
ถึง 149 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
พายุหมุนเขตร้อน เป็นพายุที่หมุน และฝนที่ตก
อย่างรุนแรงฉับพลันต่อเนื่อง เป็นบริเวณกว้าง
ระบบการหมุนเวียนของกระแสลม จะพัดจากทุก
ทิศทางเวียนก้นหอยเข้าหาศูนย์กลางความกด
อากาศต่า โดยในซีกโลกเหนือจะหมุนทวนเข็ม
นาฬิกา ส่วนซีกโลกใต้จะพัดตามเข็มนาฬิกาพายุ
หมุนเขตร้อนนี้ มักเกิดขึ้นเฉพาะในเขตร้อน
แบ่งออกเป็น3ประเภทดังต่อไปนี้
• พายุเฮอร์ริเคน (hurricane)
• พายุไต้ฝุ่น (typhoon)
• พายุไซโคลน (cyclone)
• พายุโซนร้อน (tropical storm)
• พายุดีเปรสชัน (depression)
เป็นชื่อเรียกพายุหมุนที่เกิดบริเวณทิศตะวันตกของมหาสมุทร
แอตแลนติก เช่น บริเวณฟลอริดา สหรัฐอเมริกา อ่าวเม็กซิโก
ทะเลแคริบเบียน เป็นต้น รวมทั้งมหาสมุทรแปซิฟิกบริเวณ
ชายฝั่งประเทศเม็กซิโกมักจะเริ่มจากพายุฝนฟ้าคะนองแล้วค่อย
พัฒนา ความรุนแรงขึ้นจนมีความเร็วลมอย่างน้อย 74 ไมล์ต่อ
ชั่วโมง ตัวพายุอาจกว้างถึง 600 ไมล์
เป็นลมพายุที่มีความเร็วสูงใกล้ศูนย์กลางตั้งแต่ 64 น็อต หรือ
118 กิโลเมตรต่อชั่วโมงขึ้นไป มีชื่อเรียกแตกต่างกันไปตามแต่ละ
ท้องถิ่น เช่น หากเกิดขึ้นบริเวณ มหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลจีน จะ
เรียกว่า พายุไต้ฝุ่น (Typhoon) หากเกิดขึ้นบริเวณอ่าวเบ
กอล มหาสมุทรอินเดีย และทะเลอาราเบียน จะเรียกว่า พายุไซโคลน
(Cyclones) และหากเกิดขึ้นบริเวณมหาสมุทร แอตแลนติก ทะเล
แคริบเบียน หรือฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของอเมริกาเรียกว่าเฮอริเคน
(Huricanes) พายุไต้ฝุ่นเป็นพายุที่มีความรุนแรงมากที่สุด ทาให้เกิด
ฝนตกหนักมากบริเวณที่พัดผ่าน และมีอานาจ ในการทาลายชีวิตและ
ทรัพย์สินมาก
ไซโคลนหมุนตัวทวนเข็มนาฬิกาเข้าสู่ศูนย์กลาง และมวล
อากาศรอบ หย่อมความกดอากาศสูง (H) “แอนติไซโคลน”
(Anticyclone) หมุนตัวตามเข็มนาฬิกาออกจากศูนย์กลางใน
บริเวณซีกโลกใต้ และ “แอนติไซโคลน” จะหมุนตัวทวน เข็ม
นาฬิกาตรงกันข้ามกับซีกโลกเหนือเป็นชื่อพายุหมุนที่เกิดใน
มหาสมุทรอินเดีย เหนือ เช่น บริเวณอ่าวเบงกอล ทะเล
อาหรับ เป็นต้น แต่ถ้าพายุนี้เกิดบริเวณทะเลติมอร์และทิศ
ตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศออสเตรเลีย จะเรียกว่า พายุ
วิลลี-วิลลี (willy-willy)
เป็นลมพายุที่พัดด้วยความเร็ว 34-62 หรือ 62-
117 กิโลเมตรต่อชั่วโมง มีกาลังแรงของลมปานกลาง ทา
ให้เรือล่ม บ้านจมน้า พัดกวาดผู้คนจมน้าได้ และหาก
พายุนี้มีความเร็วลมสูงขึ้นอีก จะกลายเป็นพายุใต้
ฝุ่น กรณีที่ฝนตกหนัก บ้านเรือนจะพังพินาศ การ
คมนาคมถูกตัดขาด สูญเสียชีวิต และทรัพย์สินมาก
เป็นลมพายุที่เกิดขึ้นในบริเวณที่มีความกดอากาศ
ต่า ลมพัดเข้าหาศูนย์กลางไม่เกิน 33 น๊อตหรือ 61
กิโลเมตรต่อชั่วโมง เป็นลมพายุที่กาลังอ่อน ไม่อันตราย
รุนแรง แต่ทาให้เกิดฝนตก ลมพัด น้าท่วม
เป็นชื่อเรียกพายุหมุนที่เกิดในทวีปอเมริกา มีขนาดเนื้อที่เล็ก
หรือเส้นผ่าศูนย์กลางน้อย แต่หมุนด้วยความเร็วสูง หรือ
ความเร็วที่จุดศูนย์กลางสูงมากกว่าพายุหมุนอื่น ๆ ก่อความ
เสียหายได้รุนแรงในบริเวณที่พัดผ่าน เกิดได้ทั้งบนบก และใน
ทะเล หากเกิดในทะเล จะเรียกว่า นาคเล่นน้า (water
spout) บางครั้งอาจเกิดจากกลุ่มเมฆบนท้องฟ้า แต่หมุนตัว
ยื่นลงมาจากท้องฟ้าไม่ถึงพื้นดิน มีรูปร่างเหมือนงวงช้าง จึง
เรียกกันว่า ลมงวง
เป็นชื่อภาษาไทยใช้เรียกลมแรงหรือพายุช่วงปลายฤดูฝน
ที่พัดจากทิศตะวันตกเฉียงใต้ไปทางทิศ
ตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย นอกจากนี้ยังใช้เรียก
พายุทั่วไปที่มีความรุนแรงทุกชนิด รวมทั้งพายุต่างๆ
ข้างต้นที่มีความรุนแรงข้างต้น
1. ต้นไม้ล้มถอนรากถอนโคน
เรือกสวน ไร่นาเสียหาย เสาไฟฟ้าล้ม สายไฟฟ้าขาด ไฟ
ฟ้าช๊อต อาจเกิดเพลิงไหม้ได้
2. บ้านเรือนที่ไม่แข็งแรงพังทลาย ชิ้นส่วนของบ้านถูกลมพายุ
พัดปลิว เป็นอันตรายต่อผู้ที่อยู่ในที่โล่งแจ้ง บ้านเรือน และผู้คน
ที่พักอาศัยริมทะเลอาจถูกคลื่นใหญ่ซัดและม้วนลงทะเล
3. ฝนตกหนักมากทั้งวันทั้งคืน จนทาให้เกิดน้าป่าและแผ่นดิน
ถล่ม
4. ในทะเลมีคลื่นลมแรงจัดมากเป็นอันตรายต่อการเดินเรือ
โดยเฉพาะเรือเล็ก และอาจมีคลื่นใหญ่ซัดชายฝั่ง ทาให้
ระดับน้าทะเลสูงขึ้นมากจนท่วมอาคารบ้านเรือนริมทะเลได้
จากข้อมูลในรอบ 48 ปี (พ.ศ. 2494 -2541)
ปรากฏว่าพายุเริ่มเคลื่อนเข้าสู่ประเทศไทย ได้ตั้งแต่
เดือนเมษายนแต่มีโอกาสน้อยมาก โดยเกิดขึ้นเพียงครั้ง
เดียวเมื่อ พ.ศ. 2504 พายุจะมีโอกาสเคลื่อนเข้าสู่
ประเทศไทยมากขึ้น เป็นลาดับตั้งแต่เดือนพฤษภาคม
เป็นต้นไป และเดือนตุลาคมเป็นเดือนที่พายุมีโอกาส
เคลื่อนเข้าสู่ประเทศไทยมากที่สุด รองลงไปคือเดือน
กันยายน
เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่มีผลกระทบต่อพื้นที่กว้าง
นับร้อยตารางกิโลเมตรซึ่งความเสียหายมักผันแปรไป
ตามความรุนแรง เมื่อพายุมีกาลังแรงในชั้นดีเปรสชั่นจะ
ให้เกิดฝนตกหนัก และมักมีอุทกภัยตามมา หากพายุมี
กาลังแรงขึ้นเป็นพายุโซนร้อน หรือพายุไต้ฝุ่น จะ
ก่อให้เกิดภัยหลายอย่างพร้อมกัน ทั้งวาตภัย อุทกภัย
และคลื่นพายุซัดฝั่งอาจก่อให้เกิดความเสียหายถึงขั้น
รุนแรง ทาให้ประชาชนเสียชีวิตเป็นจานวนมากได้
สาหรับประเทศไทยได้เกิดภัยพิบัติจากวาตภัยหลายครั้ง
โดยสถิติการเกิดวาตภัย
ตารางแสดงความเสียหายจากวาตภัยในแต่ละปี
ที่มา http://www.isranews.org/
วาตภัย – “เกิดขึ้นกว่า 3 หมื่นครั้ง ในรอบ 20 ปี ”
วาตภัยเกิดขึ้นเมื่อพายุมีกาลังแรงในชั้นดีเปรสชั่นทาให้เกิดฝนตกหนัก
และหากพายุมีกาลังแรงขึ้นเป็นพายุโซนร้อนหรือไต้ฝุ่น จะก่อให้เกิด
ภัยหลายอย่างพร้อมกันทั้งวาตภัย อุกภัยและคลื่นพายุซัดฝั่ง ซึ่งเป็น
อันตรายเสียหายรุนแรง จากสถิติปี 2532–2552 ประเทศไทยเกิด
วาตภัยรวม 36,024 ครั้ง ผู้เสียชีวิต 842 คน มูลค่าความเสียหาย
รวมกว่า 5 พันล้านบาท โดยในปี 2547 เกิดวาตภัยบ่อยครั้งมาก
ที่สุด 3,834 ครั้ง ครอบคลุม 76 จังหวัด ทาให้เกิดมูลค่าความเสีย
เกือบ 4 ร้อยล้านบาท
ที่มา:http://www.youtube.com/watch?v=3_Uaj0I1IRo
“ทอร์นาโดไฟ”ที่ออสเตรเลีย
ทอร์นาโดแฝดถล่มรัฐเนแบรสกาของสหรัฐฯ เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน 2557
สานักข่าวเอพี
ที่มา:http://www.youtube.com/watch?v=kzkC_UML9FA
การเตรียมการและขณะเกิดวาตภัย
1. ติดตามข่าวและประกาศคาเตือนลักษณะอากาศร้ายจากกรม
อุตุนิยมวิทยา
2. เตรียมวิทยุและอุปกรณ์สื่อสาร ชนิดใช้ถ่านแบตเตอรี่ เพื่อติดตาม
ข่าวในกรณีที่ไฟฟ้าขัดข้อง
3. ตัดกิ่งไม้ หรือรีดกิ่งไม้ที่อาจหักได้จากลมพายุ โดยเฉพาะกิ่งที่จะหักมา
ทับบ้าน สายไฟฟ้า ต้นไม้ที่ตายยืนต้นควรจัดการโค่นลงเสีย
4. ตรวจเสาและสายไฟฟ้าทั้งในและนอกบริเวณบ้านให้เรียบร้อย ถ้า
ไม่แข็งแรงให้ยึดเหนี่ยวเสาไฟฟ้าให้มั่นคง
5. พักในอาคารที่มั่นคงตลอดเวลาขณะเกิดวาตภัย อย่าออกมาในที่
โล่งแจ้ง
เมื่อพายุสงบแล้ว
1. เมื่อมีผู้บาดเจ็บให้รีบช่วยเหลือและนาส่งโรงพยาบาลหรือ
สถานพยาบาลที่ใกล้เคียงให้เร็ว ที่สุด
2. ต้นไม้ใกล้จะล้มให้รีบจัดการโค่นล้มลงเสีย มิฉะนั้นจะหักโค่นล้ม
ภายหลัง
3. ถ้ามีเสาไฟฟ้าล้ม สายไฟขาดอย่าเข้าใกล้หรือแตะต้องเป็นอันขาด ทา
เครื่องหมายแสดงอันตราย
4. แจ้งให้เจ้าหน้าที่หรือช่างไฟฟ้าจัดการด่วน อย่าแตะโลหะที่เป็นสื่อ
ไฟฟ้าเมื่อปรากฏว่าท่อประปาแตกที่ใด ให้รีบแจ้งเจ้าหน้าที่มาแก้ไข
โดยด่วน
5. อย่าเพิ่งใช้น้าประปา เพราะน้าอาจไม่บริสุทธิ์ เนื่องจากท่อแตกหรือ
น้าท่วม ถ้าใช้น้าประปาขณะนั้นดื่มอาจจะเกิดโรคได้ ให้ใช้น้าที่กักตุน
ก่อนเกิดเหตุดื่มแทน
• http://www.oknation.net/blog/tu46934/2007/08/23/entry-2
• http://www.tlcthai.com/education/knowledge-online/content-
edu/16477.html
• http://www.tmd.go.th/info/info.php?FileID=72
• http://www.ipesp.ac.th/learning/supitcha/html/F5-4.html
• http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%
• http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type1/science03/1
6/contents/p30.htm
• http://www2.tmd.go.th/webboard/show.php?Category=meteorology
&No=9076&PHPSESSID=29fd3b1ab2e1d3efa6dda1fafa737282

More Related Content

What's hot

โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงsmEduSlide
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมTa Lattapol
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
การวัดปริมาณน้ำฝน
การวัดปริมาณน้ำฝนการวัดปริมาณน้ำฝน
การวัดปริมาณน้ำฝนdnavaroj
 
ธรณีภิบัติภัย
ธรณีภิบัติภัยธรณีภิบัติภัย
ธรณีภิบัติภัยMark Pitchayut
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Supaluk Juntap
 
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์Srinthip Chaiya
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกTa Lattapol
 
ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า Faris Singhasena
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมWichai Likitponrak
 
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)Jariya Jaiyot
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3Jariya Jaiyot
 
อุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศอุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศKhwankamon Changwiriya
 

What's hot (20)

โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
South america
South americaSouth america
South america
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
น้ำ
น้ำน้ำ
น้ำ
 
การวัดปริมาณน้ำฝน
การวัดปริมาณน้ำฝนการวัดปริมาณน้ำฝน
การวัดปริมาณน้ำฝน
 
ธรณีภิบัติภัย
ธรณีภิบัติภัยธรณีภิบัติภัย
ธรณีภิบัติภัย
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialismลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
 
ม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศ
 
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
อุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศอุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศ
 

Similar to วาตภัย

พายุหมุนเขตร้อน
พายุหมุนเขตร้อนพายุหมุนเขตร้อน
พายุหมุนเขตร้อนdnavaroj
 
ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศ
ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศปรากฏการทางลมฟ้าอากาศ
ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศdnavaroj
 
Ch 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsCh 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsfreelance
 
การแบ่งเขตภูมิอากาศ
การแบ่งเขตภูมิอากาศการแบ่งเขตภูมิอากาศ
การแบ่งเขตภูมิอากาศพัน พัน
 
พายุฟ้าคะนอง
พายุฟ้าคะนองพายุฟ้าคะนอง
พายุฟ้าคะนองdnavaroj
 
ภัยธรรมชาติ
ภัยธรรมชาติภัยธรรมชาติ
ภัยธรรมชาติN'nam Love Peerayut
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
2562 final-project 21-waigoon.docx
2562 final-project 21-waigoon.docx2562 final-project 21-waigoon.docx
2562 final-project 21-waigoon.docxnoeynymon
 
วัฏจักรของน้ำนิดชุดา1
วัฏจักรของน้ำนิดชุดา1วัฏจักรของน้ำนิดชุดา1
วัฏจักรของน้ำนิดชุดา1nidchuda
 

Similar to วาตภัย (11)

พายุหมุนเขตร้อน
พายุหมุนเขตร้อนพายุหมุนเขตร้อน
พายุหมุนเขตร้อน
 
ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศ
ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศปรากฏการทางลมฟ้าอากาศ
ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศ
 
Ch 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsCh 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informatics
 
การแบ่งเขตภูมิอากาศ
การแบ่งเขตภูมิอากาศการแบ่งเขตภูมิอากาศ
การแบ่งเขตภูมิอากาศ
 
พายุฟ้าคะนอง
พายุฟ้าคะนองพายุฟ้าคะนอง
พายุฟ้าคะนอง
 
ภัยธรรมชาติ
ภัยธรรมชาติภัยธรรมชาติ
ภัยธรรมชาติ
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
2562 final-project 21-waigoon.docx
2562 final-project 21-waigoon.docx2562 final-project 21-waigoon.docx
2562 final-project 21-waigoon.docx
 
เอกสารประกอบการติวo net57 สพฐ. วิทยาศาสตร์ป.6
เอกสารประกอบการติวo net57 สพฐ. วิทยาศาสตร์ป.6เอกสารประกอบการติวo net57 สพฐ. วิทยาศาสตร์ป.6
เอกสารประกอบการติวo net57 สพฐ. วิทยาศาสตร์ป.6
 
วัฏจักรของน้ำนิดชุดา1
วัฏจักรของน้ำนิดชุดา1วัฏจักรของน้ำนิดชุดา1
วัฏจักรของน้ำนิดชุดา1
 
เมฆ (clouds)
เมฆ (clouds)เมฆ (clouds)
เมฆ (clouds)
 

วาตภัย