SlideShare a Scribd company logo
1 of 25
Download to read offline
GEOBAMBOO พี่แบมบู - อนพัช มีมัง่คัง่ |1| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพมิ่เติม 
© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com 
สงวนลิขสิทธ์ิโดย www.Edu-deo.com ห้ามผู้ใดทา ซา้หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต 
น้องๆ ทราบหรือไม่ครับว่า ลมเกิดขึ้นได้อย่างไร กระแสลมและกระแสน้าในมหาสมุทรมีการหมุนเวียนใน โลกนี้อย่างไร บทนี้เราจะเรียนเกี่ยวกับเรื่องการหมุนเวียนของทั้งกระแสลมและกระแสน้าในมหาสมุทร อาจจะเข้าใจ ยากสักนิดนึง แต่พี่เชื่อว่า ไม่ยากเกินความสามารถของน้องๆ แน่นอนครับ 
8.1 การหมุนเวียนของกระแสลม 
ลม (Wind) เกิดจากการหมุนเวียนของอากาศ เราสามารถสัมผัสลมได้ทุกที่บนโลก ลมทาประโยชน์ให้กับ มนุษย์ได้เสมอ ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจ จุบัน เรานาประโยชน์ของลมมาใช้มากมาย ตัวอย่างของการนาลมมาใช้ประโยชน์ เช่น การแล่นเรือใบ เรือสาเภา การผลิตไฟฟ้าพลังงานลม การพักผ่อนหย่อนใจ เป็นต้น 
การแล่นเรือสาเภาและการใช้กังหันลม เป็นตัวอย่างของการนาลมมาใช้ประโยชน์ 
ที่มา : http://www.natures-desktop.com/windmill-wallpapers/greens-windmill-blue-sky.php http://thaimisc.pukpik.com/freewebboard/php/vreply.php?user=tddschool_01&topic=1200&page=4 
8.1.1 ปัจจัยที่ทาให้เกิดลม 
ปัจ จัยหลักๆ ที่ทาให้เกิดลม คือ ความแตกต่างของอุณหภูมิ การหมุนรอบตัวเองของโลก และปัจ จัย อื่นๆ อีกมากมาย เรามาศึกษากันว่า ปัจ จัยเหล่านี้ ทาให้เกิดลมได้อย่างไร 
8.1.1.1 ความแตกต่างของอุณหภูมิ 
โลกของเราในแต่ละบริเวณได้รับแสงอาทิตย์ไม่เท่ากัน ทาให้อุณหภูมิในแต่ละบริเวณมี ความแตกต่างกัน อุณหภูมิจึงถือเป็นปัจ จัยหนึ่งที่ทาให้เกิดการเคลื่อนที่ของกระแสลม ลมจะพัดจากบริเวณที่มี
GEOBAMBOO พี่แบมบู - อนพัช มีมัง่คัง่ |2| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพมิ่เติม 
© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com 
สงวนลิขสิทธ์ิโดย www.Edu-deo.com ห้ามผู้ใดทา ซา้หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต 
อุณหภูมิต่าไปยังบริเวณที่มีอุณหภูมิสูง1 หรือจะกล่าวในอีกแง่หนึ่งคือ ลมจะพัดจากบริเวณที่มีความกดอากาศสูงไป ยังบริเวณที่มีความกดอากาศต่า2 แรงที่ทาให้อากาศในบริเวณที่มีความกดอากาศสูงไหลไปยังบริเวณที่มีความกด อากาศต่า เรียกว่า แรงแกรเดียนท์ของความกดอากาศ (Pressure gradient force; PGF)3,4 แรงดังกล่าวเกิดขึ้นได้ทั้ง แนวระดับและแนวตั้ง 
แรงแกรเดียนท์ของความกดอากาศ (Pressure gradient force; PGF) เป็นแรงที่ทาให้อากาศในบริเวณที่มี ความกดอากาศสูง (H) ไหลไปยังบริเวณที่มีความกดอากาศต่า (L) 
ที่มา : http://www.newmediastudio.org/DataDiscovery/Hurr_ED_Center/Hurr_Structure_Energetics/Spiral_Winds/Spiral_Winds.html 
8.1.1.2 การหมุนรอบตัวเองของโลก 
การหมุนรอบตัวเองของโลกทาให้เกิดแรงบิดที่ทาให้ลมเปลี่ยนแปลงทิศทางการเคลื่อนที่ เราเรียกแรงนี้ว่า แรงคอริออลิส (Coriolis force) แรงบิดนี้มีผลทาให้ทิศทางการเคลื่อนที่ของลมในแนวเหนือ-ใต้ เปลี่ยนไป เช่น ลมปกติควรเคลื่อนที่จากขั้วโลกเหนือมายังเส้นศูนย์สูตรเป็นเส้นตรง แต่แรงคอริออลิสทาให้ทิศทาง ของลมเบี่ยงเบนไปทางทิศตะวันตก ขนาดของแรงคอริออลิสหาได้จาก 
1คาว่า ลมพัดจากบริเวณที่มีอุณหภูมิต่าไปยังบริเวณที่มีอุณหภูมิสูง หมายถึง ลมพัดเอาอากาศเย็นเข้า ไปแทนที่อากาศร้อนนั่นเอง 2บริเวณที่มีอุณหภูมิสูง โมเลกุลของอากาศจะขยายตัว ทาให้มีความกดอากาศต่า ส่วนบริเวณที่มี อุณหภูมิต่า โมเลกุลของอากาศจะอยู่รวมกันอย่างหนาแน่น ทาให้มีความกดอากาศสูง 3แรงแกรเดียนท์ของความกดอากาศ (PGF) คือ ความแตกต่างของแรงกดอากาศต่อระยะทาง หรือ PGF = dP/dS 4แรงแกรเดียนท์ของความกดอากาศ (PGF) เกิดจากความแตกต่างระหว่างความกดอากาศสองบริเวณ ถ้าทั้งสองบริเวณมีความกดอากาศแตกต่างกันมาก แรงแกรเดียนท์ของความกดอากาศจะมีค่ามาก จะทาให้เกิด ลมแรง
GEOBAMBOO พี่แบมบู - อนพัช มีมัง่คัง่ |3| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพมิ่เติม 
© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com 
สงวนลิขสิทธ์ิโดย www.Edu-deo.com ห้ามผู้ใดทา ซา้หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต 
โดย C คือ แรงคอริออลิส V คือ ความเร็วลม คือ ความเร็วเชิงมุม คือ ละติจูด 
ทิศทางของลมที่เป็นผลมาจากแรงคอริออลิส 
ที่มา : http://sealevel.jpl.nasa.gov/overview/overviewclimate/overviewclimatemovement/ 
จากสมการ ขนาดของแรงคอริออริสจะแปรผันตรงกับความเร็วลมและละติจูด นั่นแสดงว่า บริเวณเส้นศูนย์สูตร (ละติจูด 0 องศา) ขนาดของแรงคอริออลิสจะมีค่าเท่ากับศูนย์ ส่วนบริเวณขั้วโลก (ละติจูด 90 องศา) ขนาดของแรงคอริออลิสจะมีค่ามากที่สุด ทิศทางของแรงคอริออลิสตั้งฉากกับทิศทางการเคลื่อนที่ของลมเสมอ 
8.1.1.3 ปัจจัยอื่นๆ 
ปัจ จัยอื่นๆ ที่สาคัญ ที่มีผลต่อการเคลื่อนที่ของลม คือ แรงเสียดทาน (Friction force) และ แรงสู่ศูนย์กลาง (Centripetal force) 
แรงเสียดทาน (Friction force) จะมีผลต่อการเคลื่อนที่ของลมในบริเวณใกล้พื้นดิน เกิดขึ้น เพราะสภาพภูมิประเทศ โดยเฉพาะภูมิประเทศที่ขรุขระหรือมีภูเขาซึ่งต้านการเคลื่อนที่ของลม อาจจะทาให้กระแส ลมเกิดความปั่น ป่ว นได้ 
แรงสู่ศูนย์กลาง (Centripetal force) เกิดขึ้นเนื่องจากมวลของอากาศได้รับอิทธิพลจากแรง โน้มถ่วงของโลก เป็นแรงที่มีผลน้อยที่สุดต่อการเกิดลม แต่เป็นแรงที่มีผลมากต่อการหมุนของลม แรงมีทิศทางเข้าสู่ ศูนย์กลางการหมุน โดยความเร็วในการหมุน ( ) จะแปรผกผันกับระยะทางจากจุดศูนย์กลาง (R) 
นอกจากนี้ยังมีปัจ จัยอื่นๆ ที่มีผลต่อการเคลื่อนที่ของลม เช่น พลังงานจากดวงอาทิตย์ หรือ การที่แกนโลกเอียง เป็นต้น 
C = 2V sin
GEOBAMBOO พี่แบมบู - อนพัช มีมัง่คัง่ |4| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพมิ่เติม 
© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com 
สงวนลิขสิทธ์ิโดย www.Edu-deo.com ห้ามผู้ใดทา ซา้หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต 
Q: 66. ข้อใดเป็นปัจ จัยที่ทาให้เกิดลม 1. ความแตกต่างของอุณหภูมิ 2. การหมุนรอบตัวเองของโลก 3. แรงโน้มถ่วงของโลก 4. ถูกทุกข้อ Q: 68. การไหลของอากาศที่ถูกต้องจะเป็นไปตามข้อใด 1. อากาศเย็นเข้าไปแทนที่อากาศร้อน และดันให้อากาศร้อนลอยสูงขึ้น 2. อากาศเย็นเข้าไปแทนที่อากาศร้อน และดันให้อากาศร้อนจมลง 3. อากาศร้อนเข้าไปแทนที่อากาศเย็น และดันให้อากาศเย็นลอยสูงขึ้น 4. อากาศร้อนเข้าไปแทนที่อากาศเย็น และดันให้อากาศเย็นจมลง Q: 69. ข้อใดแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิกับความกดอากาศได้ถูกต้อง 1. อุณหภูมิสูง จะมีความกดอากาศต่า 2. อุณหภูมิสูง จะมีความกดอากาศสูง 3. อุณหภูมิต่า จะมีความกดอากาศต่า 4. สรุปไม่ได้ แล้วแต่สถานการณ์ Q: 71. จากรูป ข้อใดระบุทิศทางการเคลื่อนที่ของลมได้ถูกต้อง 
1. ทิศตาม A 2. ทิศตาม B 3. เป็นไปได้ทั้ง 2 ทิศ 4. เป็นไปไม่ได้ทั้ง 2 ทิศ Q: 72. แรงที่ทาให้อากาศในบริเวณที่มีความกดอากาศสูงไหลไปยังบริเวณที่มีความกดอากาศต่า เรียกว่าอะไร 1. แรงสู่ศูนย์กลาง 2. แรงระหว่างมวล 3. แรงแกรเดียนท์ของความกดอากาศ 4. แรงคอริออลิส Q: 77. แรงบิดของลมที่เกิดจากการที่โลกหมุนรอบตัวเองเรียกว่าอะไร 1. แรงสู่ศูนย์กลาง 2. แรงระหว่างมวล 3. แรงแกรเดียนท์ของความกดอากาศ 4. แรงคอริออลิส Q: 79. ถ้าโลกหมุนในทิศทวนเข็มนาฬิกา จะมีแรงคอริออลิสที่ส่งผลให้กระแสลมเบี่ยงเบนไปยังทิศทางใด 1. เหนือ 2. ใต้ 3. ตะวันออก 4. ตะวันตก
GEOBAMBOO พี่แบมบู - อนพัช มีมัง่คัง่ |5| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพมิ่เติม 
© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com 
สงวนลิขสิทธ์ิโดย www.Edu-deo.com ห้ามผู้ใดทา ซา้หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต 
8.1.2 การหมุนเวียนของระบบลมของโลก 
เป็นที่ทราบกันดีว่า โลกมีการหมุนเวียนของกระแสลมอยู่ตลอดเวลา ในอดีต นักวิทยาศาสตร์หลาย ท่านพยายามหาทฤษฎีที่จะนามาอธิบายการหมุนเวียนดังกล่าว สาหรับแนวคิดที่น่าสนใจมีดังนี้ 
8.1.2.1 แบบจาลองการหมุนเวียนของอากาศแบบเซลล์เดียว 
แบบจาลองการหมุนเวียนของอากาศแบบเซลล์เดียว (Single-cell model) เสนอโดย จอร์จ แฮดลีย์ (George Hadley) ชาวอังกฤษ โดยสมมติให้ดวงอาทิตย์อยู่เหนือเส้นศูนย์สูตร ทาให้บริเวณเส้นศูนย์สูตรเป็น บริเวณที่มีรังสีจากดวงอาทิตย์ส่องมายังพื้นโลกตลอดเวลา บริเวณนี้จึงมีอุณหภูมิสูง (อากาศร้อน) กว่าบริเวณอื่นๆ อากาศที่มีอุณหภูมิต่า (อากาศเย็น) จากขั้วโลกจะเข้ามาแทนที่ ทาให้อากาศร้อนที่มีอยู่เดิมลอยตัวสูงขึ้น และ เคลื่อนที่จากบริเวณเส้นศูนย์สูตรไปยังบริเวณขั้วโลก ส่งผลให้มีการหมุนเวียนของกระแสลมเกิดขึ้น การหมุนเวียน ดังกล่าวนี้ เรียกว่า แฮดลีย์เซลล์ (Hadley cell) 
แบบจาลองการหมุนเวียนของอากาศแบบเซลล์เดียว (Single-cell model) 
Q: 80. จากสูตรการหาขนาดของแรงคอริออลิส ความสัมพันธ์ระหว่างแรงคอริออลิสกับความเร็วลมเป็นอย่างไร 1. ความเร็วลมมาก แรงคอริออลิสน้อย 2. ความเร็วลมน้อย แรงคอริออลิสมาก 3. ความเร็วลมมาก แรงคอริออลิสมาก 4. ถูกทั้ง 1. และ 2. Q: 83. น้องๆ คิดว่า บริเวณใดที่น่าจะมีความปั่น ป่ว นของกระแสลมมากที่สุด 1. ริมชายหาด 2. กลางป่า ลึก 3. แนวเทือกเขา 4. ทุ่งหญ้า Q: 84. แรงชนิดใดที่มีผลน้อยต่อการเกิดลม แต่มีผลมากต่อการหมุนของลม 1. แรงเสียดทาน 2. แรงสู่ศูนย์กลาง 3. แรงคอริออลิส 4. แรงแกรเดียนท์ Q: 86. ข้อใดกล่าวถึงความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วในการหมุนกับระยะทางจากจุดศูนย์กลางได้ถูกต้อง 1. ความเร็วมาก ระยะห่างมาก 2. ความเร็วน้อย ระยะห่างน้อย 3. ความเร็วมาก ระยะห่างน้อย 4. ถูกทั้ง 1. และ 2. 
ที่มา : http://apollo.lsc.vsc.edu/classes/met130/notes/chapter10/single_cell.html
GEOBAMBOO พี่แบมบู - อนพัช มีมัง่คัง่ |6| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพมิ่เติม 
© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com 
สงวนลิขสิทธ์ิโดย www.Edu-deo.com ห้ามผู้ใดทา ซา้หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต 
แม้ว่าจะเป็นแบบจาลองที่อธิบายง่ายและเข้าใจง่าย แต่อย่างไรก็ตาม แบบจาลองนี้มี ข้อจากัด เพราะมีเงื่อนไขที่ว่า ผิวโลกต้องเรียบสม่าเสมอ เป็นผืนน้าหรือผืนแผ่นดินเพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง รังสีจาก ดวงอาทิตย์ส่องตรงมายังบริเวณเส้นศูนย์สูตรเท่านั้น และโลกต้องไม่หมุน 
8.1.2.2 แบบจาลองการหมุนเวียนของอากาศแบบทั่วไป 
เนื่องจากแบบจาลองการหมุนเวียนของอากาศแบบเซลล์เดียวมีข้อจากัดมากมาย นักวิทยาศาสตร์จึงได้นาเสนอแบบจาลองการหมุนเวียนของอากาศแบบใหม่ โดยทาให้แบบจาลองการหมุนเวียนของ อากาศแบบเซลล์เดียวแตกออกเป็น 3 ส่วน คือ แฮดลีย์เซลล์ (Hadley cell) เฟอร์เรลเซลล์ (Ferrel cell) และ โพลาร์เซลล์ (Polar cell) เราเรียกแบบจาลองแบบนี้ว่า แบบจาลองการหมุนเวียนของอากาศแบบทั่วไป (General circulation) 
ทิศทางการพัดของลมบนโลก (บน) และแบบจาลองการหมุนเวียนของอากาศแบบทั่วไป (General circulation) (ล่าง) 
ที่มา : http://apollo.lsc.vsc.edu/classes/met130/notes/chapter10/three_cell.html
GEOBAMBOO พี่แบมบู - อนพัช มีมัง่คัง่ |7| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพมิ่เติม 
© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com 
สงวนลิขสิทธ์ิโดย www.Edu-deo.com ห้ามผู้ใดทา ซา้หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต 
จากภาพที่แสดงทิศทางการพัดของลมบนโลก จะพบว่า บริเวณละติจูดสูง (ใกล้ขั้วโลก) และบริเวณละติจูดต่า (ใกล้เส้นศูนย์สูตร) ลมจะพัดมาจากทิศตะวันออก เรียกว่า ลมตะวันออก (Easterlies) ในขณะที่ บริเวณละติจูดกลาง ลมจะพัดมาจากทิศตะวันตก เรียกว่า ลมตะวันตก (Westerlies) การหมุนเวียนของลมที่ละติจูด ต่างๆ สรุปได้ดังนี้ 
1) ที่บริเวณขั้วโลกจะมีความกดอากาศสูง ทาให้ลมเคลื่อนที่จากขั้วโลกไปยังบริเวณที่มี ความกดอากาศต่าที่เรียกว่า Subpolar low ซึ่งอยู่ที่ละติจูดประมาณ 60 องศา 2) ที่บริเวณละติจูดประมาณ 60 องศา เป็นบริเวณที่มีความกดอากาศต่า (Subpolar low) ทาให้ลมตะวันออกจากขั้วโลก (Polar easterlies) เคลื่อนที่เข้าปะทะกับลมตะวันตกในบริเวณดังกล่าว5 เกิดเป็นแนว ปะทะอากาศ (Polar front) ทาให้อากาศในบริเวณนี้มีความแปรปรวน และมีหยาดน้าฟ้าเกิดขึ้นมาก 3) การหมุนเวียนของลมระหว่างขั้วโลกกับ Subpolar low เรียกว่า โพลาร์เซลล์ (Polar cell) 4) ที่บริเวณละติจูดประมาณ 30 องศา6 เป็นบริเวณที่มีความกดอากาศสูง (Subtropical high) ทาให้บริเวณนี้มีท้องฟ้าแจ่มใส แต่พื้นดินมีความแห้งแล้ง ส่วนพื้นน้าก็มีลมพัดเบา จึงเป็นอุปสรรคต่อการ เดินเรือในสมัยโบราณ กว่าจะแล่นเรือผ่านออกไปได้ก็ทาให้ม้าที่บรรทุกไปในเรือต้องเสียชีวิตไปมาก บริเวณนี้จึงมี ชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ละติจูดม้า (Horse latitude) 
5) การหมุนเวียนของลมระหว่าง Subpolar low กับ Subtropical high เรียกว่า เฟอร์เรล เซลล์ (Ferrel cell) 6) ที่บริเวณเส้นศูนย์สูตร เป็นบริเวณที่ลมสินค้าจากซีกโลกเหนือและซีกโลกใต้มาปะทะ กัน ทาให้เกิดร่องความกดอากาศต่า (Intertropic convergence zone; ITCZ) ในบริเวณนี้มีความแตกต่างของ อุณหภูมิและความกดอากาศเพียงเล็กน้อย ทาให้มีลมค่อนข้างสงบ เรียกว่า แถบลมสงบบริเวณศูนย์สูตร (Doldrums) 
5ลมตะวันออกจากขั้วโลก (Polar easterlies) เคลื่อนที่มาจากบริเวณที่มีความกดอากาศสูง (Polar high) เช่นเดียวกับลมตะวันตก (Westerlies) ที่เคลื่อนที่มาจากบริเวณที่มีความกดอากาศสูง (Subtropical high) และกระแสลมทั้งสองก็เคลื่อนที่มาสู่บริเวณที่มีความกดอากาศต่า (Subpolar low) เช่นเดียวกัน 6ลมที่พัดออกมาจากบริเวณละติจูดประมาณ 30 องศา (Subtropical high) มีอยู่ด้วยกัน 2 ชนิด คือ ลม ที่พัดมาจากทิศตะวันตก (Westerlies) ไปยัง Subpolar low และอีกชนิดหนึ่งคือ ลมที่พัดมาจากทิศตะวันออก ไปยังบริเวณร่องความกดอากาศต่า (Intertropic convergence zone; ITCZ) ลมชนิดนี้ใช้ในการเดินเรือสินค้าใน สมัยโบราณ จึงมีอีกชื่อหนึ่งว่า ลมสินค้า (Trade winds)
GEOBAMBOO พี่แบมบู - อนพัช มีมัง่คัง่ |8| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพมิ่เติม 
© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com 
สงวนลิขสิทธ์ิโดย www.Edu-deo.com ห้ามผู้ใดทา ซา้หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต 
โดยปกติแล้วบริเวณเส้นศูนย์สูตรจะมีอากาศที่ร้อนและชื้น มีเมฆหนาแน่น เมื่อเกิดการ คายความร้อนจะทาให้ไอน้าในอากาศกลั่นตัวเป็นเมฆฝน บริเวณนี้จึงมีฝนตกชุกและมีพายุฝนฟ้าคะนอง 
ร่องความกดอากาศต่า (ITCZ) 
ที่มา : http://en.wikipedia.org/wiki/File:IntertropicalConvergenceZone-EO.jpg 
7) การหมุนเวียนของลมระหว่าง Subtropical high กับบริเวณเส้นศูนย์สูตร เรียกว่า แฮด ลีย์เซลล์ (Hadley cell) 
Q: 88. ข้อใดที่ไม่ใช่เงื่อนไขของแบบจาลองการหมุนเวียนของอากาศแบบเซลล์เดียว 1. ผิวโลกเรียบสม่าเสมอ 2. แสงอาทิตย์ตั้งฉากกับเส้นศูนย์สูตร 3. ผิวโลกเป็นผืนน้าหรือผืนดินอย่างใดอย่างหนึ่ง 4. โลกต้องหมุนด้วยความเร็วสม่าเสมอ Q: 89. แบบจาลองการหมุนเวียนของอากาศแบบเซลล์เดียวอาศัยการหมุนเวียนของอากาศอันเนื่องมาจากสิ่งใด 1. ความแตกต่างของอุณหภูมิ 2. แรงคอริออลิส 3. แรงเสียดทาน 4. แรงสู่ศูนย์กลาง Q: 90. จากแบบจาลองการหมุนเวียนของอากาศแบบเซลล์เดียว อากาศร้อนจะลอยขึ้นที่บริเวณใด 1. เส้นศูนย์สูตร 2. เส้นทรอปิกออฟแคนเซอร์ 3. เส้นทรอปิกออฟแคปริคอร์น 4. เส้นอาร์กติกเซอร์เคิล Q: 92. จากแบบจาลองการหมุนเวียนของอากาศแบบทั่วไป กระแสลมจะพัดเข้าสู่ละติจูดใด 1. 0 องศา 2. 30 องศา 3. 60 องศา 4. ถูกทั้ง 1. และ 3. Q: 93. บริเวณละติจูดใดเป็นที่อยู่ของหย่อมความกดอากาศต่า 1. 0 องศา 2. 30 องศา 3. 60 องศา 4. ถูกทั้ง 1. และ 3. Q: 94. บริเวณละติจูดใดเป็นที่อยู่ของหย่อมความกดอากาศสูง 1. 0 องศา 2. 30 องศา 3. 60 องศา 4. ถูกทั้ง 1. และ 3. Q: 95. จากแบบจาลองการหมุนเวียนของอากาศแบบทั่วไป ประเทศไทยจะมีกระแสลมพัดมาจากทิศทางใด 1. ทิศเหนือ 2. ทิศใต้ 3. ทิศตะวันออก 4. ทิศตะวันตก
GEOBAMBOO พี่แบมบู - อนพัช มีมัง่คัง่ |9| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพมิ่เติม 
© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com 
สงวนลิขสิทธ์ิโดย www.Edu-deo.com ห้ามผู้ใดทา ซา้หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต 
8.2 การหมุนเวียนของกระแสน้า 
กระแสน้าในมหาสมุทรก็มีการหมุนเวียนเช่นเดียวกับกระแสลม แต่จะมีรูปแบบการหมุนเวียนเหมือนหรือ แตกต่างกันอย่างไร ติดตามต่อได้ครับ แต่ก่อนที่เราจะเรียนกันว่า กระแสน้าในมหาสมุทรมีการหมุนเวียนอย่างไร เรา ต้องเรียนเรื่องของการแบ่งชั้นน้าในมหาสมุทรกันก่อน เพื่อเอาไว้ใช้เป็นพื้นฐานครับ 
8.2.1 การแบ่งชั้นน้าในมหาสมุทร 
การแบ่งชั้นน้าในมหาสมุทร 
Q: 98. ข้อใดจัดเป็นบริเวณที่มีความกดอากาศสูง 1. มีอากาศแปรปรวน มีหยาดน้าฟ้า 2. เป็นแนวปะทะของอากาศ 3. เป็นบริเวณที่มีอากาศเย็น 4. แถบลมสงบบริเวณเส้นศูนย์สูตร Q: 99. ความกดอากาศสูงกับความกดอากาศต่ามีความแตกต่างกันที่จุดใด 1. อุณหภูมิ 2. การไหลของลม 3. ความแปรปรวนของอากาศ 4. ถูกทุกข้อ Q: 102. ลมชนิดใดที่มีแหล่งกาเนิดมาจากบริเวณละติจูดม้า 1. ลมตะวันออก ลมสินค้า 2. ลมตะวันตก ลมสินค้า 3. ลมตะวันออก ลมตะวันตก 4. ลมสินค้าเพียงอย่างเดียว Q: 104. แนวร่องความกดอากาศต่าเกิดขึ้นจากการปะทะกันของลมชนิดใด 1. ลมสินค้า กับลมตะวันออก 2. ลมสินค้า กับลมตะวันตก 3. ลมตะวันออก กับลมตะวันตก 4. ลมตะวันตก กับลมตะวันตก Q: 105. ลมสินค้า จัดเป็นลมชนิดใด 1. ลมตะวันออก 2. ลมตะวันตก 3. ถูกทั้ง 1. และ 2. 4. ผิดทั้ง 1. และ 2. Q: 106. บริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองและฝนตกชุกมากที่สุดในโลกคือบริเวณใด 1. เส้นศูนย์สูตร 2. เส้นทรอปิกออฟแคนเซอร์ 3. เส้นทรอปิกออฟแคปริคอร์น 4. เส้นอาร์กติกเซอร์เคิล 
ที่มา : http://oceanmotion.org/html/background/ocean- vertical-structure.htm
GEOBAMBOO พี่แบมบู - อนพัช มีมัง่คัง่ |10| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพมิ่เติม 
© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com 
สงวนลิขสิทธ์ิโดย www.Edu-deo.com ห้ามผู้ใดทา ซา้หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต 
น้าในมหาสมุทรแบ่งออกเป็นชั้นๆ ตามอุณหภูมิและความเค็ม ได้ดังนี้ 
1) น้าชั้นบน (Mixed layer) มีความหนาแน่นต่ากว่าน้าชั้นล่าง มีอุณหภูมิสูงเพราะได้รับรังสีจาก ดวงอาทิตย์โดยตรง และมีความเค็มต่าเพราะมีน้าฝนและน้าจืดอื่นๆ ผสมอยู่ มีความหนาไม่เกิน 200 เมตร (ในอ่าว ไทยหนา 40 - 50 เมตร) บริเวณใกล้ผิวน้าจะมีอุณหภูมิคงที่ 2) น้าชั้นล่าง (Deep layer) มีความหนาแน่นสูง มีอุณหภูมิต่า และมีความเค็มสูง เนื่องจากเป็นน้า ที่ไหลมาจากขั้วโลก7 อุณหภูมิลดลงอย่างช้าๆ ตามความลึก 3) พิคโนไคลน์ (Pycnocline) อยู่ระหว่างน้าชั้นบนกับน้าชั้นล่าง ทาให้น้าชั้นบนกับน้าชั้นล่างไม่ สามารถมาผสมกันได้อย่างสะดวก อุณหภูมิลดลงอย่างรวดเร็วตามความลึกที่เพิ่มขึ้น ทาให้มีอีกชื่อหนึ่งว่า เทอร์โม ไคลน์ (Thermocline) และมีความเค็มเพิ่มขึ้นตามความลึกที่เพิ่มขึ้น ทาให้มีอีกชื่อหนึ่งว่า ฮาโลไคลน์ (Halocline) 
Q: 108. ชั้นน้าในมหาสมุทรมีกี่ชั้น อะไรบ้าง 1. 2 ชั้น คือ น้าชั้นบน น้าชั้นล่าง 2. 3 ชั้น คือ น้าชั้นบน น้าชั้นล่าง พิคโนไคลน์ 3. 4 ชั้น คือ น้าชั้นบน น้าชั้นล่าง พิคโนไคลน์ เทอร์โมไคลน์ 4. 5 ชั้น คือ น้าชั้นบน น้าชั้นล่าง พิคโนไคลน์ เทอร์โมไคลน์ ฮาโลไคลน์ Q: 110. การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิของน้าชั้นบนมีลักษณะเป็นอย่างไร 1. ใกล้ผิวน้าจะมีอุณหภูมิคงที่ 2. อุณหภูมิลดลงตามความลึกที่เพิ่มขึ้น 3. อุณหภูมิสูงขึ้นตามความลึกที่เพิ่มขึ้น 4. อุณหภูมิเปลี่ยนแปลงอย่างช้าๆ Q: 112. เพราะเหตุใด พิคโนไคลน์ จึงเรียกชื่อได้อีกอย่างหนึ่งว่า เทอร์โมไคลน์ 1. มีอุณหภูมิลดลงอย่างรวดเร็วตามความลึกที่เพิ่มขึ้น 2. มีอุณหภูมิเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วตามความลึกที่เพิ่มขึ้น 3. มีความเค็มลดลงอย่างรวดเร็วตามความลึกที่เพิ่มขึ้น 4. มีความเค็มเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วตามความลึกที่เพิ่มขึ้น Q: 113. เพราะเหตุใด พิคโนไคลน์ หรือ เทอร์โมไคลน์ จึงเรียกชื่อได้อีกอย่างหนึ่งว่า ฮาโลไคลน์ 1. มีอุณหภูมิเพิ่มขึ้นตามความลึกที่เพิ่มขึ้น 2. มีความเค็มเพิ่มขึ้นตามความลึกที่เพิ่มขึ้น 3. มีอุณหภูมิลดลงตามความลึกที่เพิ่มขึ้น 4. มีความเค็มลดลงตามความลึกที่เพิ่มขึ้น Q: 114. การแบ่งชั้นน้าในมหาสมุทร ทาให้เราทราบถึงสิ่งใด 1. น้าทะเลแต่ละระดับความลึกจะมีความเค็มไม่เท่ากัน 2. น้าทะเลแต่ละระดับความลึกจะมีอุณหภูมิไม่เท่ากัน 3. กระแสน้าอุ่นจะไหลบริเวณผิวหน้า ส่วนกระแสน้าเย็นจะไหลลึก 4. ถูกทุกข้อ
GEOBAMBOO พี่แบมบู - อนพัช มีมัง่คัง่ |11| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพมิ่เติม 
© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com 
สงวนลิขสิทธ์ิโดย www.Edu-deo.com ห้ามผู้ใดทา ซา้หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต 
8.2.2 การหมุนเวียนของน้าในมหาสมุทร 
การหมุนเวียนของน้าในมหาสมุทรจะขึ้นอยู่กับหลายปัจ จัย เช่น กระแสลม อุณหภูมิ ความเค็ม การ หมุนเวียนของน้าจะไปได้ 2 รูปแบบ คือ การหมุนเวียนของน้าในแนวราบ และการหมุนเวียนของน้าในแนวดิ่ง 
8.2.2.1 การหมุนเวียนของน้าในแนวราบ 
เป็นการหมุนเวียนของกระแสน้าผิวหน้า (Surface currents) ซึ่งเกิดจากอิทธิพลของลมที่ พัดเหนือผิวน้า ได้แก่ ลมสินค้า ลมตะวันตก และแรงคอริออลิส ส่งผลให้น้าในมหาสมุทรไหลวนไปเป็นวงตามเข็ม นาฬิกาในซีกโลกเหนือ และไหลวนไปเป็นวงทวนเข็มนาฬิกาในซีกโลกใต้ 
การหมุนเวียนของกระแสน้าผิวหน้า 
ที่มา : http://mynasadata.larc.nasa.gov/glossary.php?&letter=G 
ที่บริเวณเส้นศูนย์สูตร ลมสินค้าจะพัดน้าผิวหน้าให้ไหลไปยังทิศตะวันตก เมื่อปะทะกับ แผ่นดิน จะทาให้มวลน้าบางส่วนเกิดการไหลย้อนบริเวณเส้นศูนย์สูตร (Equatorial counter current) และมวลน้า ส่วนใหญ่กลายเป็นกระแสน้าอุ่นไหลไปยังบริเวณอื่น ที่บริเวณแนวละติจูด 30 องศา ลมตะวันตกจะพัดพาผิวน้าให้ไหลไปยังทิศตะวันออก เมื่อ ปะทะกับแผ่นดิน จะทาให้มวลน้าบางส่วนจะเป็นกระแสน้าเย็นไหลกลับไปที่เส้นศูนย์สูตรดังเดิม 
8.2.2.2 การหมุนเวียนของน้าในแนวดิ่ง 
เป็นการหมุนเวียนของกระแสน้าลึก (Deep currents) เกิดจากความแตกต่างของอุณหภูมิ และความเค็ม (Thermohaline circulation) ความเค็มของน้าทะเลในแต่ละบริเวณจะไม่เท่ากัน น้าทะเลที่อยู่บริเวณ เส้นศูนย์สูตรจะถูกความร้อนจากแสงอาทิตย์และระเหยได้ง่าย ทาให้เหลือแร่ธาตุไว้ในทะเลเยอะ น้าทะเลบริเวณเส้น
GEOBAMBOO พี่แบมบู - อนพัช มีมัง่คัง่ |12| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพมิ่เติม 
© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com 
สงวนลิขสิทธ์ิโดย www.Edu-deo.com ห้ามผู้ใดทา ซา้หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต 
ศูนย์สูตรจึงมีความเค็มสูง และมีความหนาแน่นสูง แต่น้าทะเลบริเวณขั้วโลกจะมีความเค็มน้อย และมีความหนาแน่น ต่า ซึ่งตามปกติแล้ว น้าทะเลที่มีความหนาแน่นสูงจะไหลไปแทนที่น้าทะเลที่มีความหนาแน่นต่า ดังนั้น น้าทะเล บางส่วนจากบริเวณเส้นศูนย์สูตรจึงไหลไปยังบริเวณขั้วโลกและกลายเป็นกระแสน้าเย็นแล้วจมตัวลง8 ใน ขณะเดียวกัน น้าทะเลจากขั้วโลกที่เกิดการจมตัวลง จะเคลื่อนตัวตามก้นทะเลไหลไปยังเส้นศูนย์สูตรและกลายเป็น กระแสน้าอุ่นแล้วยกตัวขึ้น กระแสน้าจะไหลสลับหมุนเวียนกันไปเป็นวัฏจักร โดยการหมุนเวียนของน้าทะเล 1 รอบ จะใช้เวลาประมาณ 500 - 2,000 ปี ซึ่งจะส่งผลต่อภูมิอากาศของโลกในระยะยาว 
การหมุนเวียนของกระแสน้าลึก 
ที่มา : http://en.wikipedia.org/wiki/File:Thermohaline_Circulation_2.png 
8.2.2.3 น้าผุด น้าจม 
น้าผุด (Upwelling) และน้าจม (Downwelling) เป็นผลจากการหมุนเวียนของกระแสลม เกิดขึ้นบริเวณชายฝั่ง เมื่อมีลมพัดขนานกับชายฝั่ง9 และผลจากแรงคอริออลิส ทาให้มวลน้าชั้นบนถูกพัดออกไป จากชายฝั่งในแนวตั้งฉากกับทิศทางลม และมีน้าชั้นล่างขึ้นมาแทนที่ เรียกว่า น้าผุด ซึ่งมีประโยชน์ต่อระบบนิเวศ ทางทะเล เพราะน้าได้พัดพาสารอาหารขึ้นมาจากด้านล่างด้วย เมื่อมีลมพัดขนานกับชายฝั่ง และผลจากแรงคอริออลิส ทาให้มวลน้าชั้นบนถูกพัดเข้าสู่ ชายฝั่งในแนวตั้งฉากกับทิศทางลม แล้วจมตัวลง เรียกว่า น้าจม 
7ที่บริเวณขั้วโลกจะมีอุณหภูมิต่ามาก ทาให้น้าทะเลกลายเป็นน้าแข็งในบริเวณผิวหน้า ซึ่งน้าแข็งจะ คายเกลือให้กับน้าทะเลด้านล่าง ทาให้น้าทะเลมีความหนาแน่นมากขึ้น และเกิดการจมตัวลง 8จากการแบ่งชั้นน้า จึงทาให้ทราบว่า กระแสน้าอุ่นจะไหลอยู่ที่บริเวณผิวหน้า ขณะที่กระแสน้าเย็นจะ ไหลอยู่ที่บริเวณลึก
GEOBAMBOO พี่แบมบู - อนพัช มีมัง่คัง่ |13| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพมิ่เติม 
© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com 
สงวนลิขสิทธ์ิโดย www.Edu-deo.com ห้ามผู้ใดทา ซา้หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต 
น้าผุด (บน) และน้าจม (ล่าง) 
ที่มา : http://oceanmotion.org/html/background/upwelling-and-downwelling.htm 
Q: 115. การหมุนเวียนของกระแสน้าในมหาสมุทรมีกี่แบบ อะไรบ้าง 1. 2 แบบ การหมุนเวียนของน้าแนวตั้ง การหมุนเวียนของน้าแนวนอน 2. 2 แบบ การหมุนเวียนของน้าแนวดิ่ง การหมุนเวียนของน้าแนวราบ 3. 3 แบบ การหมุนเวียนของน้าแนวตั้ง การหมุนเวียนของน้าแนวนอน การหมุนเวียนของน้าแนว ทแยง 4. 3 แบบ การหมุนเวียนของน้าแนวดิ่ง การหมุนเวียนของน้าแนวราบ การหมุนเวียนของน้าแนวลึก Q: 116. การหมุนเวียนของกระแสน้าแบบใดที่เกิดจากอิทธิพลของลมที่พัดเหนือผิวน้า 1. การหมุนเวียนของน้าแนวตั้ง 2. การหมุนเวียนของน้าแนวนอน 3. การหมุนเวียนของน้าแนวดิ่ง 4. การหมุนเวียนของน้าแนวราบ Q: 117. การหมุนเวียนของกระแสน้าแบบใดที่เกิดจากความแตกต่างของอุณหภูมิและความเค็ม 1. การหมุนเวียนของน้าแนวดิ่ง 2. การหมุนเวียนของน้าแนวราบ 3. การหมุนเวียนของน้าแนวลึก 4. การหมุนเวียนของน้าแนวนอน 
9ในซีกโลกเหนือ ชายฝั่งจะอยู่ทางซ้ายมือของลม ส่วนในซีกโลกใต้ ชายฝั่งจะอยู่ทางขวามือของลม
GEOBAMBOO พี่แบมบู - อนพัช มีมัง่คัง่ |14| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพมิ่เติม 
© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com 
สงวนลิขสิทธ์ิโดย www.Edu-deo.com ห้ามผู้ใดทา ซา้หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต 
Q: 120. การไหลย้อนของกระแสน้าบริเวณเส้นศูนย์สูตร เกิดจากอิทธิพลของอะไร 1. ลมตะวันตก 2. ลมตะวันออก 3. ลมเหนือ 4. ลมใต้ Q: 121. ข้อใดกล่าวถึงการไหลของน้าทะเลได้ถูกต้อง 1. น้าทะเลจะไหลจากบริเวณที่มีความเค็มสูงไปยังบริเวณที่มีความเค็มต่า 2. น้าทะเลจะไหลจากบริเวณที่มีความหนาแน่นสูงไปยังบริเวณที่มีความหนาแน่นต่า 3. น้าทะเลจะไหลจากบริเวณที่มีอุณหภูมิสูงไปยังบริเวณที่มีอุณหภูมิต่า 4. ถูกทุกข้อ Q: 122. กระบวนการ Thermohaline circulation จะเกิดขึ้นกับการหมุนเวียนของกระแสน้าแบบใด 1. การหมุนเวียนของกระแสน้าลึก 2. การหมุนเวียนของกระแสน้าผิวหน้า 3. การหมุนเวียนของกระแสน้าลึกและผิวหน้า 4. ไม่มีกระบวนการนี้อยู่จริงๆ Q: 124. น้าผุด และน้าจม เป็นผลที่เกิดขึ้นจากอิทธิพลของสิ่งใด 1. แรงคอริออลิส 2. แรงโน้มถ่วง 3. แรงสู่ศูนย์กลาง 4. แรงเสียดทาน Q: 126. เพราะเหตุใด น้าผุดจึงมีประโยชน์ต่อระบบนิเวศทางทะเล 1. เพราะนาสารอาหารจากพื้นทะเลขึ้นมาด้วย 2. เพราะช่วยให้สิ่งมีชีวิตในทะเลได้ย้ายที่อยู่ 3. เพราะมีแนวปากการังที่อุดมสมบูรณ์ 4. ถูกทุกข้อ
GEOBAMBOO พี่แบมบู - อนพัช มีมัง่คัง่ |15| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพมิ่เติม 
© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com 
สงวนลิขสิทธ์ิโดย www.Edu-deo.com ห้ามผู้ใดทา ซา้หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต 
ตอนที่ 1 ข้อ 1 - 25 จงขีดผิดหน้าข้อที่ผิด แล้วแก้ไขให้ถูกต้อง 
_____ 1. ปัจจัยหลักๆ ที่ทาให้เกิดลม คือ ความแตกต่างของอุณหภูมิ การหมุนรอบตัวเองของโลก _____ 2. ลมจะพัดจากบริเวณที่มีอุณหภูมิสูงไปยังบริเวณที่มีอุณหภูมิต่า _____ 3. ลมจะพัดจากบริเวณที่มีความกดอากาศสูงไปยังบริเวณที่มีความกดอากาศต่า _____ 4. แรงแกรเดียนท์ของความกดอากาศ เป็นแรงที่เกิดจากความแตกต่างของความกดอากาศ _____ 5. อากาศร้อนลอยตัวสูงขึ้น เพราะมีอากาศเย็นเข้าไปแทนที่ _____ 6. ถ้าความแตกต่างของความกดอากาศมีค่ามาก แรงแกรเดียนท์ของความกดอากาศจะมีค่าน้อย _____ 7. การที่โลกหมุนรอบตัวเอง ทาให้เกิดแรงเหวี่ยงขึ้น แรงดังกล่าวจะส่งผลทาให้ทิศทางลมบนโลกเปลี่ยนไป _____ 8. จากข้อ 7. แรงชนิดนี้มีชื่อว่า แรงคอริออลิส _____ 9. ทิศของแรงคอริออลิสจะขนานกับทิศการเคลื่อนที่ของลมเสมอ _____ 10. ขนาดของแรงคอริออลิสจะมีค่าเป็นศูนย์เมื่ออยู่บริเวณเส้นศูนย์สูตร _____ 11. แบบจาลองการหมุนเวียนของอากาศแบบเซลล์เดียว เสนอโดย จอร์จ แฮดลีย์ _____ 12. แบบจาลองการหมุนเวียนของอากาศแบบทั่วไป แบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ แฮดลีย์เซลล์ เฟอร์เรลเซลล์ และโซลาร์เซลล์ _____ 13. บริเวณที่เป็นเขตความกดอากาศต่าของโลก ได้แก่ Subpolar low และ Equator _____ 14. ลมที่พัดอยู่ระหว่าง Equator กับ Horse latitude คือ Trade wind _____ 15. แนวของอากาศที่มีความแปรปรวนบริเวณละติจูด 30 องศา เรียกว่า Polar front _____ 16. ร่องความกดอากาศต่า (ITCZ) เป็นแนวปะทะของลมสินค้า อยู่บริเวณเส้นศูนย์สูตร _____ 17. น้าในมหาสมุทรแบ่งได้ 3 ชั้นเรียงจากตื้นไปลึก คือ น้าชั้นบน พิคโนไคลน์ น้าชั้นล่าง _____ 18. บริเวณรอยต่อระหว่างน้าชั้นบนกับน้าชั้นล่างมีชื่อเรียกว่า เทอร์โมไคลน์ _____ 19. การหมุนเวียนของน้าในแนวดิ่ง จะส่งผลต่อภูมิอากาศของโลกในระยะยาว _____ 20. กระแสน้าอุ่นจะไหลอยู่บริเวณผิวหน้า ส่วนกระแสน้าเย็นจะไหลอยู่ลึก _____ 21. น้าทะเลบริเวณเส้นศูนย์สูตรจะมีความเค็มสูง ความหนาแน่นสูง เพราะผลของความร้อนจากดวงอาทิตย์ _____ 22. การหมุนเวียนของกระแสน้าในแนวราบ เกิดจากอิทธิพลของลม ส่วนการหมุนเวียนของกระแสน้าใน แนวดิ่ง เกิดจากอิทธิพลของอุณหภูมิและความเค็ม _____ 23. เกลือของน้าทะเลบริเวณขั้วโลกจะได้มาจากการที่น้าทะเลผิวหน้ากลายเป็นน้าแข็งแล้วคายเกลือออกมา
GEOBAMBOO พี่แบมบู - อนพัช มีมัง่คัง่ |16| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพมิ่เติม 
© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com 
สงวนลิขสิทธ์ิโดย www.Edu-deo.com ห้ามผู้ใดทา ซา้หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต 
_____ 24. การหมุนเวียนของน้าที่มีประโยชน์ต่อระบบนิเวศมาก คือ น้าจม _____ 25. การพัดของลม และแรงคอริออลิส ส่งผลทาให้เกิดน้าผุดและน้าจม 
ตอนที่ 2 ข้อ 26 - 64 จงเติมคาลงในช่องว่างให้ถูกต้อง 
26. จงบอกประโยชน์ของลมมาอย่างน้อย 3 ข้อ___________________________________________________ ______________________________________________________________________________________ 27. ปัจ จัยที่ทาให้เกิดลมได้แก่อะไรบ้าง_________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________ 28. เพราะเหตุใด ในแต่ละบริเวณของโลกจึงมีอุณหภูมิแตกต่างกัน_____________________________________ 29. ความแตกต่างของอุณหภูมิจะทาให้ลมมีทิศทางการพัดเป็นอย่างไร__________________________________ ______________________________________________________________________________________ 30. จงอธิบายความหมายของแรงแกรเดียนท์ของความกดอากาศมาพอสังเขป____________________________ ______________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________ 31. แรงคอริออลิสคืออะไร___________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________ 32. แรงคอริออลิสมีผลอย่างไรต่อทิศทางการเคลื่อนที่ของลม_________________________________________ ______________________________________________________________________________________ 33. ขนาดของแรงคอริออลิสจะขึ้นอยู่กับอะไร_____________________________________________________ 34. แรงเสียดทานของการเคลื่อนที่ของลมเกิดขึ้นได้อย่างไร__________________________________________ 35. แรงสู่ศูนย์กลางมีผลอย่างไรต่อกระแสลม_____________________________________________________ 36. ลักษณะของแบบจาลองการหมุนเวียนของอากาศแบบเซลล์เดียวเป็นอย่างไร__________________________ ______________________________________________________________________________________ 37. การหมุนเวียนของกระแสลมในแบบจาลองการหมุนเวียนของอากาศแบบเซลล์เดียว เรียกว่าอะไร___________ ______________________________________________________________________________________ 38. เงื่อนไขที่เป็นข้อจากัดของแบบจาลองการหมุนเวียนของอากาศแบบเซลล์เดียวมีอะไรบ้าง_________________ ______________________________________________________________________________________ 39. แบบจาลองการหมุนเวียนของอากาศแบบทั่วไป แบ่งออกเป็นกี่เซลล์ อะไรบ้าง_________________________ ______________________________________________________________________________________ 40. แนวปะทะอากาศ เกิดจากการปะทะกันของลมชนิดใด เกิดขึ้นที่ละติจูดเท่าใด__________________________ ______________________________________________________________________________________
GEOBAMBOO พี่แบมบู - อนพัช มีมัง่คัง่ |17| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพมิ่เติม 
© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com 
สงวนลิขสิทธ์ิโดย www.Edu-deo.com ห้ามผู้ใดทา ซา้หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต 
41. บริเวณที่มีความกดอากาศสูงจะส่งผลให้สภาพบนพื้นโลกเป็นอย่างไร________________________________ ______________________________________________________________________________________ 42. ละติจูดม้าคืออะไร มีที่มาจากอะไร__________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________ 43. ลมสินค้าอยู่ที่บริเวณใดและมีทิศทางการพัดเป็นอย่างไร__________________________________________ ______________________________________________________________________________________ 44. โพลาร์เซลล์ อยู่ระหว่างละติจูดเท่าไร________________________________________________________ 45. เฟอร์เรลเซลล์ อยู่ระหว่างละติจูดเท่าไร______________________________________________________ 46. แฮดลีย์เซลล์ ในแบบจาลองการหมุนเวียนของอากาศแบบทั่วไป อยู่ระหว่างละติจูดเท่าไร_________________ 47. แถมลมสงบบริเวณศูนย์สูตรมีลักษณะเป็นอย่างไร______________________________________________ 48. บริเวณที่มีฝนตกชุกและพายุฝนฟ้าคะนองคือบริเวณใด__________________________________________ 49. น้าในมหาสมุทรแบ่งออกได้เป็นกี่ชั้น อะไรบ้าง_________________________________________________ 50. น้าชั้นบนมีลักษณะเป็นอย่างไร____________________________________________________________ 51. น้าชั้นล่างมีลักษณะเป็นอย่างไร____________________________________________________________ 52. ชั้นน้าที่คั่นอยู่ระหว่างน้าชั้นบนกับน้าชั้นล่างมีชื่อเรียกว่าอะไรบ้าง แต่ละชื่อมีที่มาจากอะไร________________ ______________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________ 53. พิคโนไคลน์ มีผลต่อการผสมกันของน้าชั้นบนกับน้าชั้นล่างอย่างไร__________________________________ ______________________________________________________________________________________ 54. การหมุนเวียนของน้าในมหาสมุทรมีกี่รูปแบบ อะไรบ้าง__________________________________________ ______________________________________________________________________________________ 55. จงยกตัวอย่างปัจ จัยที่มีผลต่อการหมุนเวียนของน้าในมหาสมุทรมา 3 อย่าง___________________________ ______________________________________________________________________________________ 56. การหมุนเวียนของกระแสน้าผิวหน้า เกิดขึ้นจากอิทธิพลของสิ่งใด___________________________________ 57. การไหลย้อนของกระแสน้าบริเวณเส้นศูนย์สูตร เกิดขึ้นจากอะไร___________________________________ ______________________________________________________________________________________ 58. กระแสน้าอุ่นและกระแสน้าเย็นจะมีการไหลแตกต่างกันอย่างไร_____________________________________ ______________________________________________________________________________________ 59. การหมุนเวียนของกระแสน้าลึก เกิดขึ้นจากอิทธิพลของสิ่งใด______________________________________ 60. น้าทะเลบริเวณขั้วโลกมีความหนาแน่นมากขึ้นเนื่องจากเหตุใด_____________________________________ ______________________________________________________________________________________ 61. น้าทะเลที่อยู่บริเวณเส้นศูนย์สูตรกับบริเวณขั้วโลก บริเวณใดจะมีความเค็มมากกว่ากัน เพราะเหตุใด_________ ______________________________________________________________________________________
GEOBAMBOO พี่แบมบู - อนพัช มีมัง่คัง่ |18| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพมิ่เติม 
© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com 
สงวนลิขสิทธ์ิโดย www.Edu-deo.com ห้ามผู้ใดทา ซา้หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต 
62. เพราะเหตุใด การหมุนเวียนของกระแสน้าลึกจึงส่งผลต่อสภาพภูมิอากาศของโลกในระยะยาว______________ ______________________________________________________________________________________ 63. น้าผุด และน้าจม เกิดขึ้นจากอิทธิพลของสิ่งใด_________________________________________________ 64. น้าผุดจะส่งผลดีให้กับระบบนิเวศทางทะเลได้อย่างไร____________________________________________ 
ตอนที่ 3 ข้อ 65 - 126 จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุด 
65. ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ของลมสาหรับประเทศไทย 1. การกีฬา 2. การเดินทาง 3. การผลิตไฟฟ้า 4. การพักผ่อนในวันหยุด 66. ข้อใดเป็นปัจ จัยที่ทาให้เกิดลม 1. ความแตกต่างของอุณหภูมิ 2. การหมุนรอบตัวเองของโลก 3. แรงโน้มถ่วงของโลก 4. ถูกทุกข้อ 67. ปัจ จัยที่มีอิทธิพลมากที่สุดที่ทาให้โลกมีอุณหภูมิในแต่ละบริเวณไม่เท่ากันคือข้อใด 1. แต่ละบริเวณมีระดับความสูงแตกต่างกัน 2. แต่ละบริเวณมีลมพัดแรงไม่เท่ากัน 3. แต่ละบริเวณได้รับพลังงานแสงอาทิตย์ไม่เท่ากัน 4. แต่ละบริเวณอยู่ห่างจากทะเลไม่เท่ากัน 68. การไหลของอากาศที่ถูกต้องจะเป็นไปตามข้อใด 1. อากาศเย็นเข้าไปแทนที่อากาศร้อน และดันให้อากาศร้อนลอยสูงขึ้น 2. อากาศเย็นเข้าไปแทนที่อากาศร้อน และดันให้อากาศร้อนจมลง 3. อากาศร้อนเข้าไปแทนที่อากาศเย็น และดันให้อากาศเย็นลอยสูงขึ้น 4. อากาศร้อนเข้าไปแทนที่อากาศเย็น และดันให้อากาศเย็นจมลง 69. ข้อใดแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิกับความกดอากาศได้ถูกต้อง 1. อุณหภูมิสูง จะมีความกดอากาศต่า 2. อุณหภูมิสูง จะมีความกดอากาศสูง 3. อุณหภูมิต่า จะมีความกดอากาศต่า 4. สรุปไม่ได้ แล้วแต่สถานการณ์ 70. ถ้าหากว่ามีหย่อมความกดอากาศต่าอยู่ 2 แห่ง อยู่ที่บริเวณประเทศไทยและประเทศมัลดีฟส์ ส่วนหย่อมความ กดอากาศสูงมีอยู่ 1 แห่ง อยู่บริเวณประเทศจีน จะมีการเคลื่อนที่ของอากาศแบบใดที่เป็นไปได้ 1. เคลื่อนที่จากไทยไปมัลดีฟส์ 2. เคลื่อนที่จากมัลดีฟส์ไปไทย 3. เคลื่อนที่จากไทยไปจีน 4. เคลื่อนที่จากจีนไปมัลดีฟส์
GEOBAMBOO พี่แบมบู - อนพัช มีมัง่คัง่ |19| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพมิ่เติม 
© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com 
สงวนลิขสิทธ์ิโดย www.Edu-deo.com ห้ามผู้ใดทา ซา้หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต 
71. จากรูป ข้อใดระบุทิศทางการเคลื่อนที่ของลมได้ถูกต้อง 
1. ทิศตาม A 2. ทิศตาม B 3. เป็นไปได้ทั้ง 2 ทิศ 4. เป็นไปไม่ได้ทั้ง 2 ทิศ 72. แรงที่ทาให้อากาศในบริเวณที่มีความกดอากาศสูงไหลไปยังบริเวณที่มีความกดอากาศต่า เรียกว่าอะไร 1. แรงสู่ศูนย์กลาง 2. แรงระหว่างมวล 3. แรงแกรเดียนท์ของความกดอากาศ 4. แรงคอริออลิส 73. PGF มีชื่อย่อมาจากอะไร 1. Pressure Gravitation Force 2. Pressure Gradient Force 3. Power Graduation Force 4. Power Grand Force 74. แรงแกรเดียนท์ของความกดอากาศ มีความหมายว่าอะไร 1. ความแตกต่างของแรงกดอากาศต่อระยะทาง 2. ความแตกต่างของแรงกดอากาศต่อเวลา 3. ความแตกต่างของแรงกดอากาศต่อความเร็ว 4. ความแตกต่างของแรงกดอากาศต่อพื้นที่ 75. ข้อใดกล่าวถึง PGF ได้ถูกต้อง 1. ถ้าสองบริเวณมีความแตกต่างของความกดอากาศมาก จะมี PGF มาก 2. ถ้าสองบริเวณมีความแตกต่างของความกดอากาศมาก จะมี PGF น้อย 3. ถ้าสองบริเวณมีความแตกต่างของความกดอากาศน้อย จะมี PGF มาก 3. สรุปไม่ได้ ขนาดของ PGF จะแล้วแต่สถานการณ์ 76. ข้อใดกล่าวถึงผลของ PGF ที่มีต่อความแรงของลมได้ถูกต้อง 1. PGF มาก ลมจะแรง 2. PGF มาก ลมจะเบา 3. PGF น้อย ลมจะแรง 4. ผิดทุกข้อ 77. แรงบิดของลมที่เกิดจากการที่โลกหมุนรอบตัวเองเรียกว่าอะไร 1. แรงสู่ศูนย์กลาง 2. แรงระหว่างมวล 3. แรงแกรเดียนท์ของความกดอากาศ 4. แรงคอริออลิส 78. จากข้อ 77. แรงดังกล่าวจะส่งผลต่อลมที่มีการเคลื่อนที่ในทิศทางใด 1. เหนือ-ใต้ 2. ตะวันออก-ตะวันตก 3. ถูกทั้ง 1. และ 2. 4. ผิดทั้ง 1. และ 2.
GEOBAMBOO พี่แบมบู - อนพัช มีมัง่คัง่ |20| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพมิ่เติม 
© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com 
สงวนลิขสิทธ์ิโดย www.Edu-deo.com ห้ามผู้ใดทา ซา้หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต 
79. ถ้าโลกหมุนในทิศทวนเข็มนาฬิกา จะมีแรงคอริออลิสที่ส่งผลให้กระแสลมเบี่ยงเบนไปยังทิศทางใด 1. เหนือ 2. ใต้ 3. ตะวันออก 4. ตะวันตก 80. จากสูตรการหาขนาดของแรงคอริออลิส ความสัมพันธ์ระหว่างแรงคอริออลิสกับความเร็วลมเป็นอย่างไร 1. ความเร็วลมมาก แรงคอริออลิสน้อย 2. ความเร็วลมน้อย แรงคอริออลิสมาก 3. ความเร็วลมมาก แรงคอริออลิสมาก 4. ถูกทั้ง 1. และ 2. 81. ทิศทางของแรงคอริออลิสกับทิศทางของลมจะทามุมกันอย่างไร 1. 0 องศา 2. 30 องศา 3. 45 องศา 4. 90 องศา 82. ที่ละติจูด 30 องศา กับละติจูด 45 องศา บริเวณใดจะมีขนาดของแรงคอริออลิสมากกว่ากัน 1. ละติจูด 30 องศา 2. ละติจูด 45 องศา 3. ขนาดเท่ากันทั้งสองบริเวณ 4. สรุปไม่ได้ 83. น้องๆ คิดว่า บริเวณใดที่น่าจะมีความปั่น ป่ว นของกระแสลมมากที่สุด 1. ริมชายหาด 2. กลางป่า ลึก 3. แนวเทือกเขา 4. ทุ่งหญ้า 84. แรงชนิดใดที่มีผลน้อยต่อการเกิดลม แต่มีผลมากต่อการหมุนของลม 1. แรงเสียดทาน 2. แรงสู่ศูนย์กลาง 3. แรงคอริออลิส 4. แรงแกรเดียนท์ 85. แรงสู่ศูนย์กลางเกิดขึ้นจากอิทธิพลของสิ่งใด 1. แรงโน้มถ่วงของโลก 2. แรงดึงดูดระหว่างมวล 3. แรงดล 4. แรงจากดวงอาทิตย์ 86. ข้อใดกล่าวถึงความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วในการหมุนกับระยะทางจากจุดศูนย์กลางได้ถูกต้อง 1. ความเร็วมาก ระยะห่างมาก 2. ความเร็วน้อย ระยะห่างน้อย 3. ความเร็วมาก ระยะห่างน้อย 4. ถูกทั้ง 1. และ 2. 87. เซลล์เพียงหนึ่งเซลล์ในแบบจาลองการหมุนเวียนของอากาศแบบเซลล์เดียว เรียกว่าอะไร 1. แฮดลีย์เซลล์ 2. เฟอร์เรลเซลล์ 3. โพลาร์เซลล์ 4. สเตมเซลล์ 88. ข้อใดที่ไม่ใช่เงื่อนไขของแบบจาลองการหมุนเวียนของอากาศแบบเซลล์เดียว 1. ผิวโลกเรียบสม่าเสมอ 2. แสงอาทิตย์ตั้งฉากกับเส้นศูนย์สูตร 3. ผิวโลกเป็นผืนน้าหรือผืนดินอย่างใดอย่างหนึ่ง 4. โลกต้องหมุนด้วยความเร็วสม่าเสมอ 89. แบบจาลองการหมุนเวียนของอากาศแบบเซลล์เดียว อาศัยการหมุนเวียนของอากาศอันเนื่องมาจากสิ่งใด 1. ความแตกต่างของอุณหภูมิ 2. แรงคอริออลิส 3. แรงเสียดทาน 4. แรงสู่ศูนย์กลาง 90. จากแบบจาลองการหมุนเวียนของอากาศแบบเซลล์เดียว อากาศร้อนจะลอยขึ้นที่บริเวณใด 1. เส้นศูนย์สูตร 2. เส้นทรอปิกออฟแคนเซอร์ 3. เส้นทรอปิกออฟแคปริคอร์น 4. เส้นอาร์กติกเซอร์เคิล 91. แบบจาลองการหมุนเวียนของอากาศแบบทั่วไป จะแบ่งเซลล์ออกเป็น 3 ส่วน ข้อใดไม่ใช่เซลล์ในแบบจาลองนี้ 1. แฮดลีย์เซลล์ 2. เฟอร์เรลเซลล์ 3. โพลาร์เซลล์ 4. สเตมเซลล์
GEOBAMBOO พี่แบมบู - อนพัช มีมัง่คัง่ |21| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพมิ่เติม 
© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com 
สงวนลิขสิทธ์ิโดย www.Edu-deo.com ห้ามผู้ใดทา ซา้หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต 
92. จากแบบจาลองการหมุนเวียนของอากาศแบบทั่วไป กระแสลมจะพัดเข้าสู่ละติจูดใด 1. 0 องศา 2. 30 องศา 3. 60 องศา 4. ถูกทั้ง 1. และ 3. 93. บริเวณละติจูดใดเป็นที่อยู่ของหย่อมความกดอากาศต่า 1. 0 องศา 2. 30 องศา 3. 60 องศา 4. ถูกทั้ง 1. และ 3. 94. บริเวณละติจูดใดเป็นที่อยู่ของหย่อมความกดอากาศสูง 1. 0 องศา 2. 30 องศา 3. 60 องศา 4. ถูกทั้ง 1. และ 3. 95. จากแบบจาลองการหมุนเวียนของอากาศแบบทั่วไป ในบริเวณประเทศไทยจะมีกระแสลมพัดมาจากทิศทางใด 1. ทิศเหนือ 2. ทิศใต้ 3. ทิศตะวันออก 4. ทิศตะวันตก 96. บริเวณ Subpolar low มีลักษณะเป็นอย่างไร 1. มีอากาศสงบ 2. มีลมพัดเบา แห้งแล้ง 3. มีอากาศแปรปรวน 4. มีทุกรูปแบบ 97. เพราะเหตุใด บริเวณ Polar front จึงมีความแปรปรวนของอากาศ และมีหยาดน้าฟ้าเกิดขึ้นมาก 1. เพราะเป็นแนวที่เป็นแหล่งกาเนิดของลมตะวันออก 2. เพราะเป็นแนวที่เกิดการปะทะกันของลมตะวันออกกับลมตะวันตก 3. เพราะเป็นแนวที่เป็นแหล่งกาเนิดของลมตะวันตก 4. เพราะเป็นแนวที่เกิดการปะทะกันของลมสินค้า 98. ข้อใดจัดเป็นบริเวณที่มีความกดอากาศสูง 1. มีอากาศแปรปรวน มีหยาดน้าฟ้า 2. เป็นแนวปะทะของอากาศ 3. เป็นบริเวณที่มีอากาศเย็น 4. แถบลมสงบบริเวณเส้นศูนย์สูตร 99. ความกดอากาศสูงกับความกดอากาศต่ามีความแตกต่างกันที่จุดใด 1. อุณหภูมิ 2. การไหลของลม 3. ความแปรปรวนของอากาศ 4. ถูกทุกข้อ 100. หย่อมความกดอากาศสูงที่พัดมาสู่ประเทศไทยส่วนใหญ่มาจากประเทศใด 1. จีน 2. อินเดีย 3. เวียดนาม 4. อินโดนีเซีย 101. คาว่า “ละติจูดม้า” มีที่มาจากอะไร 1. เป็นบริเวณที่มีลมแรง เหมาะกับการแข่งม้า 2. มีลมพัดเบา การส่งม้าทางเรือลาบาก ทาให้ม้าตาย 2. เป็นบริเวณที่มีอากาศดี เหมาะกับการเลี้ยงม้า 4. เป็นบริเวณที่อากาศแปรปรวน ม้าอาศัยอยู่ไม่ได้ 102. ลมชนิดใดที่มีแหล่งกาเนิดมาจากบริเวณละติจูดม้า 1. ลมตะวันออก ลมสินค้า 2. ลมตะวันตก ลมสินค้า 3. ลมตะวันออก ลมตะวันตก 4. ลมสินค้าเพียงอย่างเดียว 103. ร่องความกดอากาศต่าอยู่บริเวณละติจูดใด 1. 0 องศา 2. 30 องศา 3. 60 องศา 4. 90 องศา
GEOBAMBOO พี่แบมบู - อนพัช มีมัง่คัง่ |22| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพมิ่เติม 
© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com 
สงวนลิขสิทธ์ิโดย www.Edu-deo.com ห้ามผู้ใดทา ซา้หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต 
104. แนวร่องความกดอากาศต่าเกิดขึ้นจากการปะทะกันของลมชนิดใด 1. ลมสินค้า กับลมตะวันออก 2. ลมสินค้า กับลมตะวันตก 3. ลมตะวันออก กับลมตะวันตก 4. ลมตะวันตก กับลมตะวันตก 105. ลมสินค้า จัดเป็นลมชนิดใด 1. ลมตะวันออก 2. ลมตะวันตก 3. ถูกทั้ง 1. และ 2. 4. ผิดทั้ง 1. และ 2. 106. บริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองและฝนตกชุกมากที่สุดในโลกคือบริเวณใด 1. เส้นศูนย์สูตร 2. เส้นทรอปิกออฟแคนเซอร์ 3. เส้นทรอปิกออฟแคปริคอร์น 4. เส้นอาร์กติกเซอร์เคิล 107. เพราะเหตุใดบริเวณร่องความกดอากาศต่าจึงมีลมที่สงบ 1. มีความแตกต่างของอุณหภูมิในบริเวณนี้เพียงเล็กน้อย 2. มีความแตกต่างของความกดอากาศในบริเวณนี้เพียงเล็กน้อย 3. มีความแตกต่างของแรงคอริออลิสในบริเวณนี้เพียงเล็กน้อย 4. ถูกทั้ง 1. และ 2. 108. ชั้นน้าในมหาสมุทรมีกี่ชั้น อะไรบ้าง 1. 2 ชั้น คือ น้าชั้นบน น้าชั้นล่าง 2. 3 ชั้น คือ น้าชั้นบน น้าชั้นล่าง พิคโนไคลน์ 3. 4 ชั้น คือ น้าชั้นบน น้าชั้นล่าง พิคโนไคลน์ เทอร์โมไคลน์ 4. 5 ชั้น คือ น้าชั้นบน น้าชั้นล่าง พิคโนไคลน์ เทอร์โมไคลน์ ฮาโลไคลน์ 109. น้าชั้นใดมีอุณหภูมิสูงที่สุด เพราะเหตุใด 1. น้าชั้นบน เพราะได้รับแสงอาทิตย์โดยตรง 2. น้าชั้นล่าง เพราะกักเก็บความร้อนไว้ได้อย่างดี 3. พิคโนไคลน์ เพราะมีความดันสูง 4. เทอร์โมไคลน์ เพราะเป็นแหล่งความร้อนของทะเล 110. การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิของน้าชั้นบนมีลักษณะเป็นอย่างไร 1. ใกล้ผิวน้าจะมีอุณหภูมิคงที่ 2. อุณหภูมิลดลงตามความลึกที่เพิ่มขึ้น 3. อุณหภูมิสูงขึ้นตามความลึกที่เพิ่มขึ้น 4. อุณหภูมิเปลี่ยนแปลงอย่างช้าๆ 111. เพราะเหตุใด น้าที่ไหลมาจากขั้วโลก จึงมีความเค็มสูง 1. น้าทะเลบริเวณขั้วโลกมีคุณสมบัติในการเก็บเกลือไว้ได้เป็นอย่างดี 2. มีแร่เกลืออยู่มากในบริเวณขั้วโลก 3. เมื่อน้าทะเลกลายเป็นน้าแข็งจะคายเกลือให้กับส่วนที่ยังเป็นน้า 4. เมื่อน้าแข็งขั้วโลกละลายจะได้เกลือออกมามหาศาล 112. เพราะเหตุใด พิคโนไคลน์ จึงเรียกชื่อได้อีกอย่างหนึ่งว่า เทอร์โมไคลน์ 1. มีอุณหภูมิลดลงอย่างรวดเร็วตามความลึกที่เพิ่มขึ้น 2. มีอุณหภูมิเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วตามความลึกที่เพิ่มขึ้น
01
01
01

More Related Content

What's hot

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
Khwankamon Changwiriya
 
การขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนการขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคน
Wan Ngamwongwan
 

What's hot (20)

บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
 
เรื่อง เมฆ
เรื่อง เมฆเรื่อง เมฆ
เรื่อง เมฆ
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5  เอกภพบทที่ 5  เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
การขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนการขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคน
 
o net-2552
o net-2552o net-2552
o net-2552
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 

Similar to 01

ชั้นบรรยากาศ
ชั้นบรรยากาศชั้นบรรยากาศ
ชั้นบรรยากาศ
krupornpana55
 
งานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็น
งานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็นงานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็น
งานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็น
focuswirakarn
 
องค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศ
องค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศองค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศ
องค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศ
dnavaroj
 
บรรยากาศที่ห่อหุ้มโลก
บรรยากาศที่ห่อหุ้มโลกบรรยากาศที่ห่อหุ้มโลก
บรรยากาศที่ห่อหุ้มโลก
Sukanya Burana
 
บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)
พัน พัน
 
ระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาลระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาล
Miewz Tmioewr
 
โครงงานเรื่องภาวะโลกร้อน
โครงงานเรื่องภาวะโลกร้อนโครงงานเรื่องภาวะโลกร้อน
โครงงานเรื่องภาวะโลกร้อน
songpol
 
ทฤษฎีความอลวน Chaos theory.ppt3
ทฤษฎีความอลวน Chaos theory.ppt3ทฤษฎีความอลวน Chaos theory.ppt3
ทฤษฎีความอลวน Chaos theory.ppt3
Mew
 
คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402
คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402
คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402
Petch Tongthummachat
 
องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
krupornpana55
 
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
ANelu Upperyard
 
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
ANelu Upperyard
 

Similar to 01 (20)

บรรยากาศ(Atmosphere)
บรรยากาศ(Atmosphere)บรรยากาศ(Atmosphere)
บรรยากาศ(Atmosphere)
 
ชั้นบรรยากาศ
ชั้นบรรยากาศชั้นบรรยากาศ
ชั้นบรรยากาศ
 
งานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็น
งานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็นงานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็น
งานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็น
 
องค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศ
องค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศองค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศ
องค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศ
 
การแบ่งเขตภูมิอากาศ
การแบ่งเขตภูมิอากาศการแบ่งเขตภูมิอากาศ
การแบ่งเขตภูมิอากาศ
 
โลกของเรา
โลกของเราโลกของเรา
โลกของเรา
 
บรรยากาศที่ห่อหุ้มโลก
บรรยากาศที่ห่อหุ้มโลกบรรยากาศที่ห่อหุ้มโลก
บรรยากาศที่ห่อหุ้มโลก
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)
 
11.ลม
11.ลม11.ลม
11.ลม
 
Atmosphere1
Atmosphere1Atmosphere1
Atmosphere1
 
Sci31101 cloud
Sci31101 cloudSci31101 cloud
Sci31101 cloud
 
ระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาลระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาล
 
โครงงานเรื่องภาวะโลกร้อน
โครงงานเรื่องภาวะโลกร้อนโครงงานเรื่องภาวะโลกร้อน
โครงงานเรื่องภาวะโลกร้อน
 
ทฤษฎีความอลวน Chaos theory.ppt3
ทฤษฎีความอลวน Chaos theory.ppt3ทฤษฎีความอลวน Chaos theory.ppt3
ทฤษฎีความอลวน Chaos theory.ppt3
 
คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402
คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402
คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402
 
องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
 
Climate change2009
Climate change2009Climate change2009
Climate change2009
 
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
 
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
 

More from Matdavit Physics (20)

___ 5 _____
  ___ 5 _____  ___ 5 _____
___ 5 _____
 
___ 8 ______________
  ___ 8 ______________  ___ 8 ______________
___ 8 ______________
 
___ 7 __________
  ___ 7 __________  ___ 7 __________
___ 7 __________
 
การคิด วิทย์ มัธยม
การคิด วิทย์ มัธยม การคิด วิทย์ มัธยม
การคิด วิทย์ มัธยม
 
Plasma ball
Plasma ballPlasma ball
Plasma ball
 
M200
M200M200
M200
 
M6
M6M6
M6
 
A50343134
A50343134A50343134
A50343134
 
หลักสูตรแกนกลาง ฟิสิกส์ม6
หลักสูตรแกนกลาง ฟิสิกส์ม6หลักสูตรแกนกลาง ฟิสิกส์ม6
หลักสูตรแกนกลาง ฟิสิกส์ม6
 
Electrostatics clipvidva 1
Electrostatics clipvidva 1Electrostatics clipvidva 1
Electrostatics clipvidva 1
 
Best parichart
 Best parichart Best parichart
Best parichart
 
355
355355
355
 
360
360360
360
 
357
357357
357
 
349 2
349 2349 2
349 2
 
367
367367
367
 
367
367367
367
 
1047
10471047
1047
 
1072
10721072
1072
 
928
928928
928
 

01

  • 1. GEOBAMBOO พี่แบมบู - อนพัช มีมัง่คัง่ |1| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพมิ่เติม © 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธ์ิโดย www.Edu-deo.com ห้ามผู้ใดทา ซา้หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต น้องๆ ทราบหรือไม่ครับว่า ลมเกิดขึ้นได้อย่างไร กระแสลมและกระแสน้าในมหาสมุทรมีการหมุนเวียนใน โลกนี้อย่างไร บทนี้เราจะเรียนเกี่ยวกับเรื่องการหมุนเวียนของทั้งกระแสลมและกระแสน้าในมหาสมุทร อาจจะเข้าใจ ยากสักนิดนึง แต่พี่เชื่อว่า ไม่ยากเกินความสามารถของน้องๆ แน่นอนครับ 8.1 การหมุนเวียนของกระแสลม ลม (Wind) เกิดจากการหมุนเวียนของอากาศ เราสามารถสัมผัสลมได้ทุกที่บนโลก ลมทาประโยชน์ให้กับ มนุษย์ได้เสมอ ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจ จุบัน เรานาประโยชน์ของลมมาใช้มากมาย ตัวอย่างของการนาลมมาใช้ประโยชน์ เช่น การแล่นเรือใบ เรือสาเภา การผลิตไฟฟ้าพลังงานลม การพักผ่อนหย่อนใจ เป็นต้น การแล่นเรือสาเภาและการใช้กังหันลม เป็นตัวอย่างของการนาลมมาใช้ประโยชน์ ที่มา : http://www.natures-desktop.com/windmill-wallpapers/greens-windmill-blue-sky.php http://thaimisc.pukpik.com/freewebboard/php/vreply.php?user=tddschool_01&topic=1200&page=4 8.1.1 ปัจจัยที่ทาให้เกิดลม ปัจ จัยหลักๆ ที่ทาให้เกิดลม คือ ความแตกต่างของอุณหภูมิ การหมุนรอบตัวเองของโลก และปัจ จัย อื่นๆ อีกมากมาย เรามาศึกษากันว่า ปัจ จัยเหล่านี้ ทาให้เกิดลมได้อย่างไร 8.1.1.1 ความแตกต่างของอุณหภูมิ โลกของเราในแต่ละบริเวณได้รับแสงอาทิตย์ไม่เท่ากัน ทาให้อุณหภูมิในแต่ละบริเวณมี ความแตกต่างกัน อุณหภูมิจึงถือเป็นปัจ จัยหนึ่งที่ทาให้เกิดการเคลื่อนที่ของกระแสลม ลมจะพัดจากบริเวณที่มี
  • 2. GEOBAMBOO พี่แบมบู - อนพัช มีมัง่คัง่ |2| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพมิ่เติม © 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธ์ิโดย www.Edu-deo.com ห้ามผู้ใดทา ซา้หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต อุณหภูมิต่าไปยังบริเวณที่มีอุณหภูมิสูง1 หรือจะกล่าวในอีกแง่หนึ่งคือ ลมจะพัดจากบริเวณที่มีความกดอากาศสูงไป ยังบริเวณที่มีความกดอากาศต่า2 แรงที่ทาให้อากาศในบริเวณที่มีความกดอากาศสูงไหลไปยังบริเวณที่มีความกด อากาศต่า เรียกว่า แรงแกรเดียนท์ของความกดอากาศ (Pressure gradient force; PGF)3,4 แรงดังกล่าวเกิดขึ้นได้ทั้ง แนวระดับและแนวตั้ง แรงแกรเดียนท์ของความกดอากาศ (Pressure gradient force; PGF) เป็นแรงที่ทาให้อากาศในบริเวณที่มี ความกดอากาศสูง (H) ไหลไปยังบริเวณที่มีความกดอากาศต่า (L) ที่มา : http://www.newmediastudio.org/DataDiscovery/Hurr_ED_Center/Hurr_Structure_Energetics/Spiral_Winds/Spiral_Winds.html 8.1.1.2 การหมุนรอบตัวเองของโลก การหมุนรอบตัวเองของโลกทาให้เกิดแรงบิดที่ทาให้ลมเปลี่ยนแปลงทิศทางการเคลื่อนที่ เราเรียกแรงนี้ว่า แรงคอริออลิส (Coriolis force) แรงบิดนี้มีผลทาให้ทิศทางการเคลื่อนที่ของลมในแนวเหนือ-ใต้ เปลี่ยนไป เช่น ลมปกติควรเคลื่อนที่จากขั้วโลกเหนือมายังเส้นศูนย์สูตรเป็นเส้นตรง แต่แรงคอริออลิสทาให้ทิศทาง ของลมเบี่ยงเบนไปทางทิศตะวันตก ขนาดของแรงคอริออลิสหาได้จาก 1คาว่า ลมพัดจากบริเวณที่มีอุณหภูมิต่าไปยังบริเวณที่มีอุณหภูมิสูง หมายถึง ลมพัดเอาอากาศเย็นเข้า ไปแทนที่อากาศร้อนนั่นเอง 2บริเวณที่มีอุณหภูมิสูง โมเลกุลของอากาศจะขยายตัว ทาให้มีความกดอากาศต่า ส่วนบริเวณที่มี อุณหภูมิต่า โมเลกุลของอากาศจะอยู่รวมกันอย่างหนาแน่น ทาให้มีความกดอากาศสูง 3แรงแกรเดียนท์ของความกดอากาศ (PGF) คือ ความแตกต่างของแรงกดอากาศต่อระยะทาง หรือ PGF = dP/dS 4แรงแกรเดียนท์ของความกดอากาศ (PGF) เกิดจากความแตกต่างระหว่างความกดอากาศสองบริเวณ ถ้าทั้งสองบริเวณมีความกดอากาศแตกต่างกันมาก แรงแกรเดียนท์ของความกดอากาศจะมีค่ามาก จะทาให้เกิด ลมแรง
  • 3. GEOBAMBOO พี่แบมบู - อนพัช มีมัง่คัง่ |3| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพมิ่เติม © 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธ์ิโดย www.Edu-deo.com ห้ามผู้ใดทา ซา้หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต โดย C คือ แรงคอริออลิส V คือ ความเร็วลม คือ ความเร็วเชิงมุม คือ ละติจูด ทิศทางของลมที่เป็นผลมาจากแรงคอริออลิส ที่มา : http://sealevel.jpl.nasa.gov/overview/overviewclimate/overviewclimatemovement/ จากสมการ ขนาดของแรงคอริออริสจะแปรผันตรงกับความเร็วลมและละติจูด นั่นแสดงว่า บริเวณเส้นศูนย์สูตร (ละติจูด 0 องศา) ขนาดของแรงคอริออลิสจะมีค่าเท่ากับศูนย์ ส่วนบริเวณขั้วโลก (ละติจูด 90 องศา) ขนาดของแรงคอริออลิสจะมีค่ามากที่สุด ทิศทางของแรงคอริออลิสตั้งฉากกับทิศทางการเคลื่อนที่ของลมเสมอ 8.1.1.3 ปัจจัยอื่นๆ ปัจ จัยอื่นๆ ที่สาคัญ ที่มีผลต่อการเคลื่อนที่ของลม คือ แรงเสียดทาน (Friction force) และ แรงสู่ศูนย์กลาง (Centripetal force) แรงเสียดทาน (Friction force) จะมีผลต่อการเคลื่อนที่ของลมในบริเวณใกล้พื้นดิน เกิดขึ้น เพราะสภาพภูมิประเทศ โดยเฉพาะภูมิประเทศที่ขรุขระหรือมีภูเขาซึ่งต้านการเคลื่อนที่ของลม อาจจะทาให้กระแส ลมเกิดความปั่น ป่ว นได้ แรงสู่ศูนย์กลาง (Centripetal force) เกิดขึ้นเนื่องจากมวลของอากาศได้รับอิทธิพลจากแรง โน้มถ่วงของโลก เป็นแรงที่มีผลน้อยที่สุดต่อการเกิดลม แต่เป็นแรงที่มีผลมากต่อการหมุนของลม แรงมีทิศทางเข้าสู่ ศูนย์กลางการหมุน โดยความเร็วในการหมุน ( ) จะแปรผกผันกับระยะทางจากจุดศูนย์กลาง (R) นอกจากนี้ยังมีปัจ จัยอื่นๆ ที่มีผลต่อการเคลื่อนที่ของลม เช่น พลังงานจากดวงอาทิตย์ หรือ การที่แกนโลกเอียง เป็นต้น C = 2V sin
  • 4. GEOBAMBOO พี่แบมบู - อนพัช มีมัง่คัง่ |4| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพมิ่เติม © 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธ์ิโดย www.Edu-deo.com ห้ามผู้ใดทา ซา้หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต Q: 66. ข้อใดเป็นปัจ จัยที่ทาให้เกิดลม 1. ความแตกต่างของอุณหภูมิ 2. การหมุนรอบตัวเองของโลก 3. แรงโน้มถ่วงของโลก 4. ถูกทุกข้อ Q: 68. การไหลของอากาศที่ถูกต้องจะเป็นไปตามข้อใด 1. อากาศเย็นเข้าไปแทนที่อากาศร้อน และดันให้อากาศร้อนลอยสูงขึ้น 2. อากาศเย็นเข้าไปแทนที่อากาศร้อน และดันให้อากาศร้อนจมลง 3. อากาศร้อนเข้าไปแทนที่อากาศเย็น และดันให้อากาศเย็นลอยสูงขึ้น 4. อากาศร้อนเข้าไปแทนที่อากาศเย็น และดันให้อากาศเย็นจมลง Q: 69. ข้อใดแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิกับความกดอากาศได้ถูกต้อง 1. อุณหภูมิสูง จะมีความกดอากาศต่า 2. อุณหภูมิสูง จะมีความกดอากาศสูง 3. อุณหภูมิต่า จะมีความกดอากาศต่า 4. สรุปไม่ได้ แล้วแต่สถานการณ์ Q: 71. จากรูป ข้อใดระบุทิศทางการเคลื่อนที่ของลมได้ถูกต้อง 1. ทิศตาม A 2. ทิศตาม B 3. เป็นไปได้ทั้ง 2 ทิศ 4. เป็นไปไม่ได้ทั้ง 2 ทิศ Q: 72. แรงที่ทาให้อากาศในบริเวณที่มีความกดอากาศสูงไหลไปยังบริเวณที่มีความกดอากาศต่า เรียกว่าอะไร 1. แรงสู่ศูนย์กลาง 2. แรงระหว่างมวล 3. แรงแกรเดียนท์ของความกดอากาศ 4. แรงคอริออลิส Q: 77. แรงบิดของลมที่เกิดจากการที่โลกหมุนรอบตัวเองเรียกว่าอะไร 1. แรงสู่ศูนย์กลาง 2. แรงระหว่างมวล 3. แรงแกรเดียนท์ของความกดอากาศ 4. แรงคอริออลิส Q: 79. ถ้าโลกหมุนในทิศทวนเข็มนาฬิกา จะมีแรงคอริออลิสที่ส่งผลให้กระแสลมเบี่ยงเบนไปยังทิศทางใด 1. เหนือ 2. ใต้ 3. ตะวันออก 4. ตะวันตก
  • 5. GEOBAMBOO พี่แบมบู - อนพัช มีมัง่คัง่ |5| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพมิ่เติม © 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธ์ิโดย www.Edu-deo.com ห้ามผู้ใดทา ซา้หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต 8.1.2 การหมุนเวียนของระบบลมของโลก เป็นที่ทราบกันดีว่า โลกมีการหมุนเวียนของกระแสลมอยู่ตลอดเวลา ในอดีต นักวิทยาศาสตร์หลาย ท่านพยายามหาทฤษฎีที่จะนามาอธิบายการหมุนเวียนดังกล่าว สาหรับแนวคิดที่น่าสนใจมีดังนี้ 8.1.2.1 แบบจาลองการหมุนเวียนของอากาศแบบเซลล์เดียว แบบจาลองการหมุนเวียนของอากาศแบบเซลล์เดียว (Single-cell model) เสนอโดย จอร์จ แฮดลีย์ (George Hadley) ชาวอังกฤษ โดยสมมติให้ดวงอาทิตย์อยู่เหนือเส้นศูนย์สูตร ทาให้บริเวณเส้นศูนย์สูตรเป็น บริเวณที่มีรังสีจากดวงอาทิตย์ส่องมายังพื้นโลกตลอดเวลา บริเวณนี้จึงมีอุณหภูมิสูง (อากาศร้อน) กว่าบริเวณอื่นๆ อากาศที่มีอุณหภูมิต่า (อากาศเย็น) จากขั้วโลกจะเข้ามาแทนที่ ทาให้อากาศร้อนที่มีอยู่เดิมลอยตัวสูงขึ้น และ เคลื่อนที่จากบริเวณเส้นศูนย์สูตรไปยังบริเวณขั้วโลก ส่งผลให้มีการหมุนเวียนของกระแสลมเกิดขึ้น การหมุนเวียน ดังกล่าวนี้ เรียกว่า แฮดลีย์เซลล์ (Hadley cell) แบบจาลองการหมุนเวียนของอากาศแบบเซลล์เดียว (Single-cell model) Q: 80. จากสูตรการหาขนาดของแรงคอริออลิส ความสัมพันธ์ระหว่างแรงคอริออลิสกับความเร็วลมเป็นอย่างไร 1. ความเร็วลมมาก แรงคอริออลิสน้อย 2. ความเร็วลมน้อย แรงคอริออลิสมาก 3. ความเร็วลมมาก แรงคอริออลิสมาก 4. ถูกทั้ง 1. และ 2. Q: 83. น้องๆ คิดว่า บริเวณใดที่น่าจะมีความปั่น ป่ว นของกระแสลมมากที่สุด 1. ริมชายหาด 2. กลางป่า ลึก 3. แนวเทือกเขา 4. ทุ่งหญ้า Q: 84. แรงชนิดใดที่มีผลน้อยต่อการเกิดลม แต่มีผลมากต่อการหมุนของลม 1. แรงเสียดทาน 2. แรงสู่ศูนย์กลาง 3. แรงคอริออลิส 4. แรงแกรเดียนท์ Q: 86. ข้อใดกล่าวถึงความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วในการหมุนกับระยะทางจากจุดศูนย์กลางได้ถูกต้อง 1. ความเร็วมาก ระยะห่างมาก 2. ความเร็วน้อย ระยะห่างน้อย 3. ความเร็วมาก ระยะห่างน้อย 4. ถูกทั้ง 1. และ 2. ที่มา : http://apollo.lsc.vsc.edu/classes/met130/notes/chapter10/single_cell.html
  • 6. GEOBAMBOO พี่แบมบู - อนพัช มีมัง่คัง่ |6| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพมิ่เติม © 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธ์ิโดย www.Edu-deo.com ห้ามผู้ใดทา ซา้หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต แม้ว่าจะเป็นแบบจาลองที่อธิบายง่ายและเข้าใจง่าย แต่อย่างไรก็ตาม แบบจาลองนี้มี ข้อจากัด เพราะมีเงื่อนไขที่ว่า ผิวโลกต้องเรียบสม่าเสมอ เป็นผืนน้าหรือผืนแผ่นดินเพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง รังสีจาก ดวงอาทิตย์ส่องตรงมายังบริเวณเส้นศูนย์สูตรเท่านั้น และโลกต้องไม่หมุน 8.1.2.2 แบบจาลองการหมุนเวียนของอากาศแบบทั่วไป เนื่องจากแบบจาลองการหมุนเวียนของอากาศแบบเซลล์เดียวมีข้อจากัดมากมาย นักวิทยาศาสตร์จึงได้นาเสนอแบบจาลองการหมุนเวียนของอากาศแบบใหม่ โดยทาให้แบบจาลองการหมุนเวียนของ อากาศแบบเซลล์เดียวแตกออกเป็น 3 ส่วน คือ แฮดลีย์เซลล์ (Hadley cell) เฟอร์เรลเซลล์ (Ferrel cell) และ โพลาร์เซลล์ (Polar cell) เราเรียกแบบจาลองแบบนี้ว่า แบบจาลองการหมุนเวียนของอากาศแบบทั่วไป (General circulation) ทิศทางการพัดของลมบนโลก (บน) และแบบจาลองการหมุนเวียนของอากาศแบบทั่วไป (General circulation) (ล่าง) ที่มา : http://apollo.lsc.vsc.edu/classes/met130/notes/chapter10/three_cell.html
  • 7. GEOBAMBOO พี่แบมบู - อนพัช มีมัง่คัง่ |7| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพมิ่เติม © 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธ์ิโดย www.Edu-deo.com ห้ามผู้ใดทา ซา้หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต จากภาพที่แสดงทิศทางการพัดของลมบนโลก จะพบว่า บริเวณละติจูดสูง (ใกล้ขั้วโลก) และบริเวณละติจูดต่า (ใกล้เส้นศูนย์สูตร) ลมจะพัดมาจากทิศตะวันออก เรียกว่า ลมตะวันออก (Easterlies) ในขณะที่ บริเวณละติจูดกลาง ลมจะพัดมาจากทิศตะวันตก เรียกว่า ลมตะวันตก (Westerlies) การหมุนเวียนของลมที่ละติจูด ต่างๆ สรุปได้ดังนี้ 1) ที่บริเวณขั้วโลกจะมีความกดอากาศสูง ทาให้ลมเคลื่อนที่จากขั้วโลกไปยังบริเวณที่มี ความกดอากาศต่าที่เรียกว่า Subpolar low ซึ่งอยู่ที่ละติจูดประมาณ 60 องศา 2) ที่บริเวณละติจูดประมาณ 60 องศา เป็นบริเวณที่มีความกดอากาศต่า (Subpolar low) ทาให้ลมตะวันออกจากขั้วโลก (Polar easterlies) เคลื่อนที่เข้าปะทะกับลมตะวันตกในบริเวณดังกล่าว5 เกิดเป็นแนว ปะทะอากาศ (Polar front) ทาให้อากาศในบริเวณนี้มีความแปรปรวน และมีหยาดน้าฟ้าเกิดขึ้นมาก 3) การหมุนเวียนของลมระหว่างขั้วโลกกับ Subpolar low เรียกว่า โพลาร์เซลล์ (Polar cell) 4) ที่บริเวณละติจูดประมาณ 30 องศา6 เป็นบริเวณที่มีความกดอากาศสูง (Subtropical high) ทาให้บริเวณนี้มีท้องฟ้าแจ่มใส แต่พื้นดินมีความแห้งแล้ง ส่วนพื้นน้าก็มีลมพัดเบา จึงเป็นอุปสรรคต่อการ เดินเรือในสมัยโบราณ กว่าจะแล่นเรือผ่านออกไปได้ก็ทาให้ม้าที่บรรทุกไปในเรือต้องเสียชีวิตไปมาก บริเวณนี้จึงมี ชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ละติจูดม้า (Horse latitude) 5) การหมุนเวียนของลมระหว่าง Subpolar low กับ Subtropical high เรียกว่า เฟอร์เรล เซลล์ (Ferrel cell) 6) ที่บริเวณเส้นศูนย์สูตร เป็นบริเวณที่ลมสินค้าจากซีกโลกเหนือและซีกโลกใต้มาปะทะ กัน ทาให้เกิดร่องความกดอากาศต่า (Intertropic convergence zone; ITCZ) ในบริเวณนี้มีความแตกต่างของ อุณหภูมิและความกดอากาศเพียงเล็กน้อย ทาให้มีลมค่อนข้างสงบ เรียกว่า แถบลมสงบบริเวณศูนย์สูตร (Doldrums) 5ลมตะวันออกจากขั้วโลก (Polar easterlies) เคลื่อนที่มาจากบริเวณที่มีความกดอากาศสูง (Polar high) เช่นเดียวกับลมตะวันตก (Westerlies) ที่เคลื่อนที่มาจากบริเวณที่มีความกดอากาศสูง (Subtropical high) และกระแสลมทั้งสองก็เคลื่อนที่มาสู่บริเวณที่มีความกดอากาศต่า (Subpolar low) เช่นเดียวกัน 6ลมที่พัดออกมาจากบริเวณละติจูดประมาณ 30 องศา (Subtropical high) มีอยู่ด้วยกัน 2 ชนิด คือ ลม ที่พัดมาจากทิศตะวันตก (Westerlies) ไปยัง Subpolar low และอีกชนิดหนึ่งคือ ลมที่พัดมาจากทิศตะวันออก ไปยังบริเวณร่องความกดอากาศต่า (Intertropic convergence zone; ITCZ) ลมชนิดนี้ใช้ในการเดินเรือสินค้าใน สมัยโบราณ จึงมีอีกชื่อหนึ่งว่า ลมสินค้า (Trade winds)
  • 8. GEOBAMBOO พี่แบมบู - อนพัช มีมัง่คัง่ |8| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพมิ่เติม © 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธ์ิโดย www.Edu-deo.com ห้ามผู้ใดทา ซา้หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต โดยปกติแล้วบริเวณเส้นศูนย์สูตรจะมีอากาศที่ร้อนและชื้น มีเมฆหนาแน่น เมื่อเกิดการ คายความร้อนจะทาให้ไอน้าในอากาศกลั่นตัวเป็นเมฆฝน บริเวณนี้จึงมีฝนตกชุกและมีพายุฝนฟ้าคะนอง ร่องความกดอากาศต่า (ITCZ) ที่มา : http://en.wikipedia.org/wiki/File:IntertropicalConvergenceZone-EO.jpg 7) การหมุนเวียนของลมระหว่าง Subtropical high กับบริเวณเส้นศูนย์สูตร เรียกว่า แฮด ลีย์เซลล์ (Hadley cell) Q: 88. ข้อใดที่ไม่ใช่เงื่อนไขของแบบจาลองการหมุนเวียนของอากาศแบบเซลล์เดียว 1. ผิวโลกเรียบสม่าเสมอ 2. แสงอาทิตย์ตั้งฉากกับเส้นศูนย์สูตร 3. ผิวโลกเป็นผืนน้าหรือผืนดินอย่างใดอย่างหนึ่ง 4. โลกต้องหมุนด้วยความเร็วสม่าเสมอ Q: 89. แบบจาลองการหมุนเวียนของอากาศแบบเซลล์เดียวอาศัยการหมุนเวียนของอากาศอันเนื่องมาจากสิ่งใด 1. ความแตกต่างของอุณหภูมิ 2. แรงคอริออลิส 3. แรงเสียดทาน 4. แรงสู่ศูนย์กลาง Q: 90. จากแบบจาลองการหมุนเวียนของอากาศแบบเซลล์เดียว อากาศร้อนจะลอยขึ้นที่บริเวณใด 1. เส้นศูนย์สูตร 2. เส้นทรอปิกออฟแคนเซอร์ 3. เส้นทรอปิกออฟแคปริคอร์น 4. เส้นอาร์กติกเซอร์เคิล Q: 92. จากแบบจาลองการหมุนเวียนของอากาศแบบทั่วไป กระแสลมจะพัดเข้าสู่ละติจูดใด 1. 0 องศา 2. 30 องศา 3. 60 องศา 4. ถูกทั้ง 1. และ 3. Q: 93. บริเวณละติจูดใดเป็นที่อยู่ของหย่อมความกดอากาศต่า 1. 0 องศา 2. 30 องศา 3. 60 องศา 4. ถูกทั้ง 1. และ 3. Q: 94. บริเวณละติจูดใดเป็นที่อยู่ของหย่อมความกดอากาศสูง 1. 0 องศา 2. 30 องศา 3. 60 องศา 4. ถูกทั้ง 1. และ 3. Q: 95. จากแบบจาลองการหมุนเวียนของอากาศแบบทั่วไป ประเทศไทยจะมีกระแสลมพัดมาจากทิศทางใด 1. ทิศเหนือ 2. ทิศใต้ 3. ทิศตะวันออก 4. ทิศตะวันตก
  • 9. GEOBAMBOO พี่แบมบู - อนพัช มีมัง่คัง่ |9| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพมิ่เติม © 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธ์ิโดย www.Edu-deo.com ห้ามผู้ใดทา ซา้หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต 8.2 การหมุนเวียนของกระแสน้า กระแสน้าในมหาสมุทรก็มีการหมุนเวียนเช่นเดียวกับกระแสลม แต่จะมีรูปแบบการหมุนเวียนเหมือนหรือ แตกต่างกันอย่างไร ติดตามต่อได้ครับ แต่ก่อนที่เราจะเรียนกันว่า กระแสน้าในมหาสมุทรมีการหมุนเวียนอย่างไร เรา ต้องเรียนเรื่องของการแบ่งชั้นน้าในมหาสมุทรกันก่อน เพื่อเอาไว้ใช้เป็นพื้นฐานครับ 8.2.1 การแบ่งชั้นน้าในมหาสมุทร การแบ่งชั้นน้าในมหาสมุทร Q: 98. ข้อใดจัดเป็นบริเวณที่มีความกดอากาศสูง 1. มีอากาศแปรปรวน มีหยาดน้าฟ้า 2. เป็นแนวปะทะของอากาศ 3. เป็นบริเวณที่มีอากาศเย็น 4. แถบลมสงบบริเวณเส้นศูนย์สูตร Q: 99. ความกดอากาศสูงกับความกดอากาศต่ามีความแตกต่างกันที่จุดใด 1. อุณหภูมิ 2. การไหลของลม 3. ความแปรปรวนของอากาศ 4. ถูกทุกข้อ Q: 102. ลมชนิดใดที่มีแหล่งกาเนิดมาจากบริเวณละติจูดม้า 1. ลมตะวันออก ลมสินค้า 2. ลมตะวันตก ลมสินค้า 3. ลมตะวันออก ลมตะวันตก 4. ลมสินค้าเพียงอย่างเดียว Q: 104. แนวร่องความกดอากาศต่าเกิดขึ้นจากการปะทะกันของลมชนิดใด 1. ลมสินค้า กับลมตะวันออก 2. ลมสินค้า กับลมตะวันตก 3. ลมตะวันออก กับลมตะวันตก 4. ลมตะวันตก กับลมตะวันตก Q: 105. ลมสินค้า จัดเป็นลมชนิดใด 1. ลมตะวันออก 2. ลมตะวันตก 3. ถูกทั้ง 1. และ 2. 4. ผิดทั้ง 1. และ 2. Q: 106. บริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองและฝนตกชุกมากที่สุดในโลกคือบริเวณใด 1. เส้นศูนย์สูตร 2. เส้นทรอปิกออฟแคนเซอร์ 3. เส้นทรอปิกออฟแคปริคอร์น 4. เส้นอาร์กติกเซอร์เคิล ที่มา : http://oceanmotion.org/html/background/ocean- vertical-structure.htm
  • 10. GEOBAMBOO พี่แบมบู - อนพัช มีมัง่คัง่ |10| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพมิ่เติม © 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธ์ิโดย www.Edu-deo.com ห้ามผู้ใดทา ซา้หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต น้าในมหาสมุทรแบ่งออกเป็นชั้นๆ ตามอุณหภูมิและความเค็ม ได้ดังนี้ 1) น้าชั้นบน (Mixed layer) มีความหนาแน่นต่ากว่าน้าชั้นล่าง มีอุณหภูมิสูงเพราะได้รับรังสีจาก ดวงอาทิตย์โดยตรง และมีความเค็มต่าเพราะมีน้าฝนและน้าจืดอื่นๆ ผสมอยู่ มีความหนาไม่เกิน 200 เมตร (ในอ่าว ไทยหนา 40 - 50 เมตร) บริเวณใกล้ผิวน้าจะมีอุณหภูมิคงที่ 2) น้าชั้นล่าง (Deep layer) มีความหนาแน่นสูง มีอุณหภูมิต่า และมีความเค็มสูง เนื่องจากเป็นน้า ที่ไหลมาจากขั้วโลก7 อุณหภูมิลดลงอย่างช้าๆ ตามความลึก 3) พิคโนไคลน์ (Pycnocline) อยู่ระหว่างน้าชั้นบนกับน้าชั้นล่าง ทาให้น้าชั้นบนกับน้าชั้นล่างไม่ สามารถมาผสมกันได้อย่างสะดวก อุณหภูมิลดลงอย่างรวดเร็วตามความลึกที่เพิ่มขึ้น ทาให้มีอีกชื่อหนึ่งว่า เทอร์โม ไคลน์ (Thermocline) และมีความเค็มเพิ่มขึ้นตามความลึกที่เพิ่มขึ้น ทาให้มีอีกชื่อหนึ่งว่า ฮาโลไคลน์ (Halocline) Q: 108. ชั้นน้าในมหาสมุทรมีกี่ชั้น อะไรบ้าง 1. 2 ชั้น คือ น้าชั้นบน น้าชั้นล่าง 2. 3 ชั้น คือ น้าชั้นบน น้าชั้นล่าง พิคโนไคลน์ 3. 4 ชั้น คือ น้าชั้นบน น้าชั้นล่าง พิคโนไคลน์ เทอร์โมไคลน์ 4. 5 ชั้น คือ น้าชั้นบน น้าชั้นล่าง พิคโนไคลน์ เทอร์โมไคลน์ ฮาโลไคลน์ Q: 110. การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิของน้าชั้นบนมีลักษณะเป็นอย่างไร 1. ใกล้ผิวน้าจะมีอุณหภูมิคงที่ 2. อุณหภูมิลดลงตามความลึกที่เพิ่มขึ้น 3. อุณหภูมิสูงขึ้นตามความลึกที่เพิ่มขึ้น 4. อุณหภูมิเปลี่ยนแปลงอย่างช้าๆ Q: 112. เพราะเหตุใด พิคโนไคลน์ จึงเรียกชื่อได้อีกอย่างหนึ่งว่า เทอร์โมไคลน์ 1. มีอุณหภูมิลดลงอย่างรวดเร็วตามความลึกที่เพิ่มขึ้น 2. มีอุณหภูมิเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วตามความลึกที่เพิ่มขึ้น 3. มีความเค็มลดลงอย่างรวดเร็วตามความลึกที่เพิ่มขึ้น 4. มีความเค็มเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วตามความลึกที่เพิ่มขึ้น Q: 113. เพราะเหตุใด พิคโนไคลน์ หรือ เทอร์โมไคลน์ จึงเรียกชื่อได้อีกอย่างหนึ่งว่า ฮาโลไคลน์ 1. มีอุณหภูมิเพิ่มขึ้นตามความลึกที่เพิ่มขึ้น 2. มีความเค็มเพิ่มขึ้นตามความลึกที่เพิ่มขึ้น 3. มีอุณหภูมิลดลงตามความลึกที่เพิ่มขึ้น 4. มีความเค็มลดลงตามความลึกที่เพิ่มขึ้น Q: 114. การแบ่งชั้นน้าในมหาสมุทร ทาให้เราทราบถึงสิ่งใด 1. น้าทะเลแต่ละระดับความลึกจะมีความเค็มไม่เท่ากัน 2. น้าทะเลแต่ละระดับความลึกจะมีอุณหภูมิไม่เท่ากัน 3. กระแสน้าอุ่นจะไหลบริเวณผิวหน้า ส่วนกระแสน้าเย็นจะไหลลึก 4. ถูกทุกข้อ
  • 11. GEOBAMBOO พี่แบมบู - อนพัช มีมัง่คัง่ |11| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพมิ่เติม © 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธ์ิโดย www.Edu-deo.com ห้ามผู้ใดทา ซา้หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต 8.2.2 การหมุนเวียนของน้าในมหาสมุทร การหมุนเวียนของน้าในมหาสมุทรจะขึ้นอยู่กับหลายปัจ จัย เช่น กระแสลม อุณหภูมิ ความเค็ม การ หมุนเวียนของน้าจะไปได้ 2 รูปแบบ คือ การหมุนเวียนของน้าในแนวราบ และการหมุนเวียนของน้าในแนวดิ่ง 8.2.2.1 การหมุนเวียนของน้าในแนวราบ เป็นการหมุนเวียนของกระแสน้าผิวหน้า (Surface currents) ซึ่งเกิดจากอิทธิพลของลมที่ พัดเหนือผิวน้า ได้แก่ ลมสินค้า ลมตะวันตก และแรงคอริออลิส ส่งผลให้น้าในมหาสมุทรไหลวนไปเป็นวงตามเข็ม นาฬิกาในซีกโลกเหนือ และไหลวนไปเป็นวงทวนเข็มนาฬิกาในซีกโลกใต้ การหมุนเวียนของกระแสน้าผิวหน้า ที่มา : http://mynasadata.larc.nasa.gov/glossary.php?&letter=G ที่บริเวณเส้นศูนย์สูตร ลมสินค้าจะพัดน้าผิวหน้าให้ไหลไปยังทิศตะวันตก เมื่อปะทะกับ แผ่นดิน จะทาให้มวลน้าบางส่วนเกิดการไหลย้อนบริเวณเส้นศูนย์สูตร (Equatorial counter current) และมวลน้า ส่วนใหญ่กลายเป็นกระแสน้าอุ่นไหลไปยังบริเวณอื่น ที่บริเวณแนวละติจูด 30 องศา ลมตะวันตกจะพัดพาผิวน้าให้ไหลไปยังทิศตะวันออก เมื่อ ปะทะกับแผ่นดิน จะทาให้มวลน้าบางส่วนจะเป็นกระแสน้าเย็นไหลกลับไปที่เส้นศูนย์สูตรดังเดิม 8.2.2.2 การหมุนเวียนของน้าในแนวดิ่ง เป็นการหมุนเวียนของกระแสน้าลึก (Deep currents) เกิดจากความแตกต่างของอุณหภูมิ และความเค็ม (Thermohaline circulation) ความเค็มของน้าทะเลในแต่ละบริเวณจะไม่เท่ากัน น้าทะเลที่อยู่บริเวณ เส้นศูนย์สูตรจะถูกความร้อนจากแสงอาทิตย์และระเหยได้ง่าย ทาให้เหลือแร่ธาตุไว้ในทะเลเยอะ น้าทะเลบริเวณเส้น
  • 12. GEOBAMBOO พี่แบมบู - อนพัช มีมัง่คัง่ |12| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพมิ่เติม © 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธ์ิโดย www.Edu-deo.com ห้ามผู้ใดทา ซา้หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต ศูนย์สูตรจึงมีความเค็มสูง และมีความหนาแน่นสูง แต่น้าทะเลบริเวณขั้วโลกจะมีความเค็มน้อย และมีความหนาแน่น ต่า ซึ่งตามปกติแล้ว น้าทะเลที่มีความหนาแน่นสูงจะไหลไปแทนที่น้าทะเลที่มีความหนาแน่นต่า ดังนั้น น้าทะเล บางส่วนจากบริเวณเส้นศูนย์สูตรจึงไหลไปยังบริเวณขั้วโลกและกลายเป็นกระแสน้าเย็นแล้วจมตัวลง8 ใน ขณะเดียวกัน น้าทะเลจากขั้วโลกที่เกิดการจมตัวลง จะเคลื่อนตัวตามก้นทะเลไหลไปยังเส้นศูนย์สูตรและกลายเป็น กระแสน้าอุ่นแล้วยกตัวขึ้น กระแสน้าจะไหลสลับหมุนเวียนกันไปเป็นวัฏจักร โดยการหมุนเวียนของน้าทะเล 1 รอบ จะใช้เวลาประมาณ 500 - 2,000 ปี ซึ่งจะส่งผลต่อภูมิอากาศของโลกในระยะยาว การหมุนเวียนของกระแสน้าลึก ที่มา : http://en.wikipedia.org/wiki/File:Thermohaline_Circulation_2.png 8.2.2.3 น้าผุด น้าจม น้าผุด (Upwelling) และน้าจม (Downwelling) เป็นผลจากการหมุนเวียนของกระแสลม เกิดขึ้นบริเวณชายฝั่ง เมื่อมีลมพัดขนานกับชายฝั่ง9 และผลจากแรงคอริออลิส ทาให้มวลน้าชั้นบนถูกพัดออกไป จากชายฝั่งในแนวตั้งฉากกับทิศทางลม และมีน้าชั้นล่างขึ้นมาแทนที่ เรียกว่า น้าผุด ซึ่งมีประโยชน์ต่อระบบนิเวศ ทางทะเล เพราะน้าได้พัดพาสารอาหารขึ้นมาจากด้านล่างด้วย เมื่อมีลมพัดขนานกับชายฝั่ง และผลจากแรงคอริออลิส ทาให้มวลน้าชั้นบนถูกพัดเข้าสู่ ชายฝั่งในแนวตั้งฉากกับทิศทางลม แล้วจมตัวลง เรียกว่า น้าจม 7ที่บริเวณขั้วโลกจะมีอุณหภูมิต่ามาก ทาให้น้าทะเลกลายเป็นน้าแข็งในบริเวณผิวหน้า ซึ่งน้าแข็งจะ คายเกลือให้กับน้าทะเลด้านล่าง ทาให้น้าทะเลมีความหนาแน่นมากขึ้น และเกิดการจมตัวลง 8จากการแบ่งชั้นน้า จึงทาให้ทราบว่า กระแสน้าอุ่นจะไหลอยู่ที่บริเวณผิวหน้า ขณะที่กระแสน้าเย็นจะ ไหลอยู่ที่บริเวณลึก
  • 13. GEOBAMBOO พี่แบมบู - อนพัช มีมัง่คัง่ |13| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพมิ่เติม © 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธ์ิโดย www.Edu-deo.com ห้ามผู้ใดทา ซา้หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต น้าผุด (บน) และน้าจม (ล่าง) ที่มา : http://oceanmotion.org/html/background/upwelling-and-downwelling.htm Q: 115. การหมุนเวียนของกระแสน้าในมหาสมุทรมีกี่แบบ อะไรบ้าง 1. 2 แบบ การหมุนเวียนของน้าแนวตั้ง การหมุนเวียนของน้าแนวนอน 2. 2 แบบ การหมุนเวียนของน้าแนวดิ่ง การหมุนเวียนของน้าแนวราบ 3. 3 แบบ การหมุนเวียนของน้าแนวตั้ง การหมุนเวียนของน้าแนวนอน การหมุนเวียนของน้าแนว ทแยง 4. 3 แบบ การหมุนเวียนของน้าแนวดิ่ง การหมุนเวียนของน้าแนวราบ การหมุนเวียนของน้าแนวลึก Q: 116. การหมุนเวียนของกระแสน้าแบบใดที่เกิดจากอิทธิพลของลมที่พัดเหนือผิวน้า 1. การหมุนเวียนของน้าแนวตั้ง 2. การหมุนเวียนของน้าแนวนอน 3. การหมุนเวียนของน้าแนวดิ่ง 4. การหมุนเวียนของน้าแนวราบ Q: 117. การหมุนเวียนของกระแสน้าแบบใดที่เกิดจากความแตกต่างของอุณหภูมิและความเค็ม 1. การหมุนเวียนของน้าแนวดิ่ง 2. การหมุนเวียนของน้าแนวราบ 3. การหมุนเวียนของน้าแนวลึก 4. การหมุนเวียนของน้าแนวนอน 9ในซีกโลกเหนือ ชายฝั่งจะอยู่ทางซ้ายมือของลม ส่วนในซีกโลกใต้ ชายฝั่งจะอยู่ทางขวามือของลม
  • 14. GEOBAMBOO พี่แบมบู - อนพัช มีมัง่คัง่ |14| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพมิ่เติม © 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธ์ิโดย www.Edu-deo.com ห้ามผู้ใดทา ซา้หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต Q: 120. การไหลย้อนของกระแสน้าบริเวณเส้นศูนย์สูตร เกิดจากอิทธิพลของอะไร 1. ลมตะวันตก 2. ลมตะวันออก 3. ลมเหนือ 4. ลมใต้ Q: 121. ข้อใดกล่าวถึงการไหลของน้าทะเลได้ถูกต้อง 1. น้าทะเลจะไหลจากบริเวณที่มีความเค็มสูงไปยังบริเวณที่มีความเค็มต่า 2. น้าทะเลจะไหลจากบริเวณที่มีความหนาแน่นสูงไปยังบริเวณที่มีความหนาแน่นต่า 3. น้าทะเลจะไหลจากบริเวณที่มีอุณหภูมิสูงไปยังบริเวณที่มีอุณหภูมิต่า 4. ถูกทุกข้อ Q: 122. กระบวนการ Thermohaline circulation จะเกิดขึ้นกับการหมุนเวียนของกระแสน้าแบบใด 1. การหมุนเวียนของกระแสน้าลึก 2. การหมุนเวียนของกระแสน้าผิวหน้า 3. การหมุนเวียนของกระแสน้าลึกและผิวหน้า 4. ไม่มีกระบวนการนี้อยู่จริงๆ Q: 124. น้าผุด และน้าจม เป็นผลที่เกิดขึ้นจากอิทธิพลของสิ่งใด 1. แรงคอริออลิส 2. แรงโน้มถ่วง 3. แรงสู่ศูนย์กลาง 4. แรงเสียดทาน Q: 126. เพราะเหตุใด น้าผุดจึงมีประโยชน์ต่อระบบนิเวศทางทะเล 1. เพราะนาสารอาหารจากพื้นทะเลขึ้นมาด้วย 2. เพราะช่วยให้สิ่งมีชีวิตในทะเลได้ย้ายที่อยู่ 3. เพราะมีแนวปากการังที่อุดมสมบูรณ์ 4. ถูกทุกข้อ
  • 15. GEOBAMBOO พี่แบมบู - อนพัช มีมัง่คัง่ |15| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพมิ่เติม © 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธ์ิโดย www.Edu-deo.com ห้ามผู้ใดทา ซา้หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต ตอนที่ 1 ข้อ 1 - 25 จงขีดผิดหน้าข้อที่ผิด แล้วแก้ไขให้ถูกต้อง _____ 1. ปัจจัยหลักๆ ที่ทาให้เกิดลม คือ ความแตกต่างของอุณหภูมิ การหมุนรอบตัวเองของโลก _____ 2. ลมจะพัดจากบริเวณที่มีอุณหภูมิสูงไปยังบริเวณที่มีอุณหภูมิต่า _____ 3. ลมจะพัดจากบริเวณที่มีความกดอากาศสูงไปยังบริเวณที่มีความกดอากาศต่า _____ 4. แรงแกรเดียนท์ของความกดอากาศ เป็นแรงที่เกิดจากความแตกต่างของความกดอากาศ _____ 5. อากาศร้อนลอยตัวสูงขึ้น เพราะมีอากาศเย็นเข้าไปแทนที่ _____ 6. ถ้าความแตกต่างของความกดอากาศมีค่ามาก แรงแกรเดียนท์ของความกดอากาศจะมีค่าน้อย _____ 7. การที่โลกหมุนรอบตัวเอง ทาให้เกิดแรงเหวี่ยงขึ้น แรงดังกล่าวจะส่งผลทาให้ทิศทางลมบนโลกเปลี่ยนไป _____ 8. จากข้อ 7. แรงชนิดนี้มีชื่อว่า แรงคอริออลิส _____ 9. ทิศของแรงคอริออลิสจะขนานกับทิศการเคลื่อนที่ของลมเสมอ _____ 10. ขนาดของแรงคอริออลิสจะมีค่าเป็นศูนย์เมื่ออยู่บริเวณเส้นศูนย์สูตร _____ 11. แบบจาลองการหมุนเวียนของอากาศแบบเซลล์เดียว เสนอโดย จอร์จ แฮดลีย์ _____ 12. แบบจาลองการหมุนเวียนของอากาศแบบทั่วไป แบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ แฮดลีย์เซลล์ เฟอร์เรลเซลล์ และโซลาร์เซลล์ _____ 13. บริเวณที่เป็นเขตความกดอากาศต่าของโลก ได้แก่ Subpolar low และ Equator _____ 14. ลมที่พัดอยู่ระหว่าง Equator กับ Horse latitude คือ Trade wind _____ 15. แนวของอากาศที่มีความแปรปรวนบริเวณละติจูด 30 องศา เรียกว่า Polar front _____ 16. ร่องความกดอากาศต่า (ITCZ) เป็นแนวปะทะของลมสินค้า อยู่บริเวณเส้นศูนย์สูตร _____ 17. น้าในมหาสมุทรแบ่งได้ 3 ชั้นเรียงจากตื้นไปลึก คือ น้าชั้นบน พิคโนไคลน์ น้าชั้นล่าง _____ 18. บริเวณรอยต่อระหว่างน้าชั้นบนกับน้าชั้นล่างมีชื่อเรียกว่า เทอร์โมไคลน์ _____ 19. การหมุนเวียนของน้าในแนวดิ่ง จะส่งผลต่อภูมิอากาศของโลกในระยะยาว _____ 20. กระแสน้าอุ่นจะไหลอยู่บริเวณผิวหน้า ส่วนกระแสน้าเย็นจะไหลอยู่ลึก _____ 21. น้าทะเลบริเวณเส้นศูนย์สูตรจะมีความเค็มสูง ความหนาแน่นสูง เพราะผลของความร้อนจากดวงอาทิตย์ _____ 22. การหมุนเวียนของกระแสน้าในแนวราบ เกิดจากอิทธิพลของลม ส่วนการหมุนเวียนของกระแสน้าใน แนวดิ่ง เกิดจากอิทธิพลของอุณหภูมิและความเค็ม _____ 23. เกลือของน้าทะเลบริเวณขั้วโลกจะได้มาจากการที่น้าทะเลผิวหน้ากลายเป็นน้าแข็งแล้วคายเกลือออกมา
  • 16. GEOBAMBOO พี่แบมบู - อนพัช มีมัง่คัง่ |16| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพมิ่เติม © 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธ์ิโดย www.Edu-deo.com ห้ามผู้ใดทา ซา้หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต _____ 24. การหมุนเวียนของน้าที่มีประโยชน์ต่อระบบนิเวศมาก คือ น้าจม _____ 25. การพัดของลม และแรงคอริออลิส ส่งผลทาให้เกิดน้าผุดและน้าจม ตอนที่ 2 ข้อ 26 - 64 จงเติมคาลงในช่องว่างให้ถูกต้อง 26. จงบอกประโยชน์ของลมมาอย่างน้อย 3 ข้อ___________________________________________________ ______________________________________________________________________________________ 27. ปัจ จัยที่ทาให้เกิดลมได้แก่อะไรบ้าง_________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________ 28. เพราะเหตุใด ในแต่ละบริเวณของโลกจึงมีอุณหภูมิแตกต่างกัน_____________________________________ 29. ความแตกต่างของอุณหภูมิจะทาให้ลมมีทิศทางการพัดเป็นอย่างไร__________________________________ ______________________________________________________________________________________ 30. จงอธิบายความหมายของแรงแกรเดียนท์ของความกดอากาศมาพอสังเขป____________________________ ______________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________ 31. แรงคอริออลิสคืออะไร___________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________ 32. แรงคอริออลิสมีผลอย่างไรต่อทิศทางการเคลื่อนที่ของลม_________________________________________ ______________________________________________________________________________________ 33. ขนาดของแรงคอริออลิสจะขึ้นอยู่กับอะไร_____________________________________________________ 34. แรงเสียดทานของการเคลื่อนที่ของลมเกิดขึ้นได้อย่างไร__________________________________________ 35. แรงสู่ศูนย์กลางมีผลอย่างไรต่อกระแสลม_____________________________________________________ 36. ลักษณะของแบบจาลองการหมุนเวียนของอากาศแบบเซลล์เดียวเป็นอย่างไร__________________________ ______________________________________________________________________________________ 37. การหมุนเวียนของกระแสลมในแบบจาลองการหมุนเวียนของอากาศแบบเซลล์เดียว เรียกว่าอะไร___________ ______________________________________________________________________________________ 38. เงื่อนไขที่เป็นข้อจากัดของแบบจาลองการหมุนเวียนของอากาศแบบเซลล์เดียวมีอะไรบ้าง_________________ ______________________________________________________________________________________ 39. แบบจาลองการหมุนเวียนของอากาศแบบทั่วไป แบ่งออกเป็นกี่เซลล์ อะไรบ้าง_________________________ ______________________________________________________________________________________ 40. แนวปะทะอากาศ เกิดจากการปะทะกันของลมชนิดใด เกิดขึ้นที่ละติจูดเท่าใด__________________________ ______________________________________________________________________________________
  • 17. GEOBAMBOO พี่แบมบู - อนพัช มีมัง่คัง่ |17| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพมิ่เติม © 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธ์ิโดย www.Edu-deo.com ห้ามผู้ใดทา ซา้หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต 41. บริเวณที่มีความกดอากาศสูงจะส่งผลให้สภาพบนพื้นโลกเป็นอย่างไร________________________________ ______________________________________________________________________________________ 42. ละติจูดม้าคืออะไร มีที่มาจากอะไร__________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________ 43. ลมสินค้าอยู่ที่บริเวณใดและมีทิศทางการพัดเป็นอย่างไร__________________________________________ ______________________________________________________________________________________ 44. โพลาร์เซลล์ อยู่ระหว่างละติจูดเท่าไร________________________________________________________ 45. เฟอร์เรลเซลล์ อยู่ระหว่างละติจูดเท่าไร______________________________________________________ 46. แฮดลีย์เซลล์ ในแบบจาลองการหมุนเวียนของอากาศแบบทั่วไป อยู่ระหว่างละติจูดเท่าไร_________________ 47. แถมลมสงบบริเวณศูนย์สูตรมีลักษณะเป็นอย่างไร______________________________________________ 48. บริเวณที่มีฝนตกชุกและพายุฝนฟ้าคะนองคือบริเวณใด__________________________________________ 49. น้าในมหาสมุทรแบ่งออกได้เป็นกี่ชั้น อะไรบ้าง_________________________________________________ 50. น้าชั้นบนมีลักษณะเป็นอย่างไร____________________________________________________________ 51. น้าชั้นล่างมีลักษณะเป็นอย่างไร____________________________________________________________ 52. ชั้นน้าที่คั่นอยู่ระหว่างน้าชั้นบนกับน้าชั้นล่างมีชื่อเรียกว่าอะไรบ้าง แต่ละชื่อมีที่มาจากอะไร________________ ______________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________ 53. พิคโนไคลน์ มีผลต่อการผสมกันของน้าชั้นบนกับน้าชั้นล่างอย่างไร__________________________________ ______________________________________________________________________________________ 54. การหมุนเวียนของน้าในมหาสมุทรมีกี่รูปแบบ อะไรบ้าง__________________________________________ ______________________________________________________________________________________ 55. จงยกตัวอย่างปัจ จัยที่มีผลต่อการหมุนเวียนของน้าในมหาสมุทรมา 3 อย่าง___________________________ ______________________________________________________________________________________ 56. การหมุนเวียนของกระแสน้าผิวหน้า เกิดขึ้นจากอิทธิพลของสิ่งใด___________________________________ 57. การไหลย้อนของกระแสน้าบริเวณเส้นศูนย์สูตร เกิดขึ้นจากอะไร___________________________________ ______________________________________________________________________________________ 58. กระแสน้าอุ่นและกระแสน้าเย็นจะมีการไหลแตกต่างกันอย่างไร_____________________________________ ______________________________________________________________________________________ 59. การหมุนเวียนของกระแสน้าลึก เกิดขึ้นจากอิทธิพลของสิ่งใด______________________________________ 60. น้าทะเลบริเวณขั้วโลกมีความหนาแน่นมากขึ้นเนื่องจากเหตุใด_____________________________________ ______________________________________________________________________________________ 61. น้าทะเลที่อยู่บริเวณเส้นศูนย์สูตรกับบริเวณขั้วโลก บริเวณใดจะมีความเค็มมากกว่ากัน เพราะเหตุใด_________ ______________________________________________________________________________________
  • 18. GEOBAMBOO พี่แบมบู - อนพัช มีมัง่คัง่ |18| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพมิ่เติม © 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธ์ิโดย www.Edu-deo.com ห้ามผู้ใดทา ซา้หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต 62. เพราะเหตุใด การหมุนเวียนของกระแสน้าลึกจึงส่งผลต่อสภาพภูมิอากาศของโลกในระยะยาว______________ ______________________________________________________________________________________ 63. น้าผุด และน้าจม เกิดขึ้นจากอิทธิพลของสิ่งใด_________________________________________________ 64. น้าผุดจะส่งผลดีให้กับระบบนิเวศทางทะเลได้อย่างไร____________________________________________ ตอนที่ 3 ข้อ 65 - 126 จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุด 65. ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ของลมสาหรับประเทศไทย 1. การกีฬา 2. การเดินทาง 3. การผลิตไฟฟ้า 4. การพักผ่อนในวันหยุด 66. ข้อใดเป็นปัจ จัยที่ทาให้เกิดลม 1. ความแตกต่างของอุณหภูมิ 2. การหมุนรอบตัวเองของโลก 3. แรงโน้มถ่วงของโลก 4. ถูกทุกข้อ 67. ปัจ จัยที่มีอิทธิพลมากที่สุดที่ทาให้โลกมีอุณหภูมิในแต่ละบริเวณไม่เท่ากันคือข้อใด 1. แต่ละบริเวณมีระดับความสูงแตกต่างกัน 2. แต่ละบริเวณมีลมพัดแรงไม่เท่ากัน 3. แต่ละบริเวณได้รับพลังงานแสงอาทิตย์ไม่เท่ากัน 4. แต่ละบริเวณอยู่ห่างจากทะเลไม่เท่ากัน 68. การไหลของอากาศที่ถูกต้องจะเป็นไปตามข้อใด 1. อากาศเย็นเข้าไปแทนที่อากาศร้อน และดันให้อากาศร้อนลอยสูงขึ้น 2. อากาศเย็นเข้าไปแทนที่อากาศร้อน และดันให้อากาศร้อนจมลง 3. อากาศร้อนเข้าไปแทนที่อากาศเย็น และดันให้อากาศเย็นลอยสูงขึ้น 4. อากาศร้อนเข้าไปแทนที่อากาศเย็น และดันให้อากาศเย็นจมลง 69. ข้อใดแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิกับความกดอากาศได้ถูกต้อง 1. อุณหภูมิสูง จะมีความกดอากาศต่า 2. อุณหภูมิสูง จะมีความกดอากาศสูง 3. อุณหภูมิต่า จะมีความกดอากาศต่า 4. สรุปไม่ได้ แล้วแต่สถานการณ์ 70. ถ้าหากว่ามีหย่อมความกดอากาศต่าอยู่ 2 แห่ง อยู่ที่บริเวณประเทศไทยและประเทศมัลดีฟส์ ส่วนหย่อมความ กดอากาศสูงมีอยู่ 1 แห่ง อยู่บริเวณประเทศจีน จะมีการเคลื่อนที่ของอากาศแบบใดที่เป็นไปได้ 1. เคลื่อนที่จากไทยไปมัลดีฟส์ 2. เคลื่อนที่จากมัลดีฟส์ไปไทย 3. เคลื่อนที่จากไทยไปจีน 4. เคลื่อนที่จากจีนไปมัลดีฟส์
  • 19. GEOBAMBOO พี่แบมบู - อนพัช มีมัง่คัง่ |19| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพมิ่เติม © 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธ์ิโดย www.Edu-deo.com ห้ามผู้ใดทา ซา้หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต 71. จากรูป ข้อใดระบุทิศทางการเคลื่อนที่ของลมได้ถูกต้อง 1. ทิศตาม A 2. ทิศตาม B 3. เป็นไปได้ทั้ง 2 ทิศ 4. เป็นไปไม่ได้ทั้ง 2 ทิศ 72. แรงที่ทาให้อากาศในบริเวณที่มีความกดอากาศสูงไหลไปยังบริเวณที่มีความกดอากาศต่า เรียกว่าอะไร 1. แรงสู่ศูนย์กลาง 2. แรงระหว่างมวล 3. แรงแกรเดียนท์ของความกดอากาศ 4. แรงคอริออลิส 73. PGF มีชื่อย่อมาจากอะไร 1. Pressure Gravitation Force 2. Pressure Gradient Force 3. Power Graduation Force 4. Power Grand Force 74. แรงแกรเดียนท์ของความกดอากาศ มีความหมายว่าอะไร 1. ความแตกต่างของแรงกดอากาศต่อระยะทาง 2. ความแตกต่างของแรงกดอากาศต่อเวลา 3. ความแตกต่างของแรงกดอากาศต่อความเร็ว 4. ความแตกต่างของแรงกดอากาศต่อพื้นที่ 75. ข้อใดกล่าวถึง PGF ได้ถูกต้อง 1. ถ้าสองบริเวณมีความแตกต่างของความกดอากาศมาก จะมี PGF มาก 2. ถ้าสองบริเวณมีความแตกต่างของความกดอากาศมาก จะมี PGF น้อย 3. ถ้าสองบริเวณมีความแตกต่างของความกดอากาศน้อย จะมี PGF มาก 3. สรุปไม่ได้ ขนาดของ PGF จะแล้วแต่สถานการณ์ 76. ข้อใดกล่าวถึงผลของ PGF ที่มีต่อความแรงของลมได้ถูกต้อง 1. PGF มาก ลมจะแรง 2. PGF มาก ลมจะเบา 3. PGF น้อย ลมจะแรง 4. ผิดทุกข้อ 77. แรงบิดของลมที่เกิดจากการที่โลกหมุนรอบตัวเองเรียกว่าอะไร 1. แรงสู่ศูนย์กลาง 2. แรงระหว่างมวล 3. แรงแกรเดียนท์ของความกดอากาศ 4. แรงคอริออลิส 78. จากข้อ 77. แรงดังกล่าวจะส่งผลต่อลมที่มีการเคลื่อนที่ในทิศทางใด 1. เหนือ-ใต้ 2. ตะวันออก-ตะวันตก 3. ถูกทั้ง 1. และ 2. 4. ผิดทั้ง 1. และ 2.
  • 20. GEOBAMBOO พี่แบมบู - อนพัช มีมัง่คัง่ |20| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพมิ่เติม © 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธ์ิโดย www.Edu-deo.com ห้ามผู้ใดทา ซา้หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต 79. ถ้าโลกหมุนในทิศทวนเข็มนาฬิกา จะมีแรงคอริออลิสที่ส่งผลให้กระแสลมเบี่ยงเบนไปยังทิศทางใด 1. เหนือ 2. ใต้ 3. ตะวันออก 4. ตะวันตก 80. จากสูตรการหาขนาดของแรงคอริออลิส ความสัมพันธ์ระหว่างแรงคอริออลิสกับความเร็วลมเป็นอย่างไร 1. ความเร็วลมมาก แรงคอริออลิสน้อย 2. ความเร็วลมน้อย แรงคอริออลิสมาก 3. ความเร็วลมมาก แรงคอริออลิสมาก 4. ถูกทั้ง 1. และ 2. 81. ทิศทางของแรงคอริออลิสกับทิศทางของลมจะทามุมกันอย่างไร 1. 0 องศา 2. 30 องศา 3. 45 องศา 4. 90 องศา 82. ที่ละติจูด 30 องศา กับละติจูด 45 องศา บริเวณใดจะมีขนาดของแรงคอริออลิสมากกว่ากัน 1. ละติจูด 30 องศา 2. ละติจูด 45 องศา 3. ขนาดเท่ากันทั้งสองบริเวณ 4. สรุปไม่ได้ 83. น้องๆ คิดว่า บริเวณใดที่น่าจะมีความปั่น ป่ว นของกระแสลมมากที่สุด 1. ริมชายหาด 2. กลางป่า ลึก 3. แนวเทือกเขา 4. ทุ่งหญ้า 84. แรงชนิดใดที่มีผลน้อยต่อการเกิดลม แต่มีผลมากต่อการหมุนของลม 1. แรงเสียดทาน 2. แรงสู่ศูนย์กลาง 3. แรงคอริออลิส 4. แรงแกรเดียนท์ 85. แรงสู่ศูนย์กลางเกิดขึ้นจากอิทธิพลของสิ่งใด 1. แรงโน้มถ่วงของโลก 2. แรงดึงดูดระหว่างมวล 3. แรงดล 4. แรงจากดวงอาทิตย์ 86. ข้อใดกล่าวถึงความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วในการหมุนกับระยะทางจากจุดศูนย์กลางได้ถูกต้อง 1. ความเร็วมาก ระยะห่างมาก 2. ความเร็วน้อย ระยะห่างน้อย 3. ความเร็วมาก ระยะห่างน้อย 4. ถูกทั้ง 1. และ 2. 87. เซลล์เพียงหนึ่งเซลล์ในแบบจาลองการหมุนเวียนของอากาศแบบเซลล์เดียว เรียกว่าอะไร 1. แฮดลีย์เซลล์ 2. เฟอร์เรลเซลล์ 3. โพลาร์เซลล์ 4. สเตมเซลล์ 88. ข้อใดที่ไม่ใช่เงื่อนไขของแบบจาลองการหมุนเวียนของอากาศแบบเซลล์เดียว 1. ผิวโลกเรียบสม่าเสมอ 2. แสงอาทิตย์ตั้งฉากกับเส้นศูนย์สูตร 3. ผิวโลกเป็นผืนน้าหรือผืนดินอย่างใดอย่างหนึ่ง 4. โลกต้องหมุนด้วยความเร็วสม่าเสมอ 89. แบบจาลองการหมุนเวียนของอากาศแบบเซลล์เดียว อาศัยการหมุนเวียนของอากาศอันเนื่องมาจากสิ่งใด 1. ความแตกต่างของอุณหภูมิ 2. แรงคอริออลิส 3. แรงเสียดทาน 4. แรงสู่ศูนย์กลาง 90. จากแบบจาลองการหมุนเวียนของอากาศแบบเซลล์เดียว อากาศร้อนจะลอยขึ้นที่บริเวณใด 1. เส้นศูนย์สูตร 2. เส้นทรอปิกออฟแคนเซอร์ 3. เส้นทรอปิกออฟแคปริคอร์น 4. เส้นอาร์กติกเซอร์เคิล 91. แบบจาลองการหมุนเวียนของอากาศแบบทั่วไป จะแบ่งเซลล์ออกเป็น 3 ส่วน ข้อใดไม่ใช่เซลล์ในแบบจาลองนี้ 1. แฮดลีย์เซลล์ 2. เฟอร์เรลเซลล์ 3. โพลาร์เซลล์ 4. สเตมเซลล์
  • 21. GEOBAMBOO พี่แบมบู - อนพัช มีมัง่คัง่ |21| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพมิ่เติม © 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธ์ิโดย www.Edu-deo.com ห้ามผู้ใดทา ซา้หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต 92. จากแบบจาลองการหมุนเวียนของอากาศแบบทั่วไป กระแสลมจะพัดเข้าสู่ละติจูดใด 1. 0 องศา 2. 30 องศา 3. 60 องศา 4. ถูกทั้ง 1. และ 3. 93. บริเวณละติจูดใดเป็นที่อยู่ของหย่อมความกดอากาศต่า 1. 0 องศา 2. 30 องศา 3. 60 องศา 4. ถูกทั้ง 1. และ 3. 94. บริเวณละติจูดใดเป็นที่อยู่ของหย่อมความกดอากาศสูง 1. 0 องศา 2. 30 องศา 3. 60 องศา 4. ถูกทั้ง 1. และ 3. 95. จากแบบจาลองการหมุนเวียนของอากาศแบบทั่วไป ในบริเวณประเทศไทยจะมีกระแสลมพัดมาจากทิศทางใด 1. ทิศเหนือ 2. ทิศใต้ 3. ทิศตะวันออก 4. ทิศตะวันตก 96. บริเวณ Subpolar low มีลักษณะเป็นอย่างไร 1. มีอากาศสงบ 2. มีลมพัดเบา แห้งแล้ง 3. มีอากาศแปรปรวน 4. มีทุกรูปแบบ 97. เพราะเหตุใด บริเวณ Polar front จึงมีความแปรปรวนของอากาศ และมีหยาดน้าฟ้าเกิดขึ้นมาก 1. เพราะเป็นแนวที่เป็นแหล่งกาเนิดของลมตะวันออก 2. เพราะเป็นแนวที่เกิดการปะทะกันของลมตะวันออกกับลมตะวันตก 3. เพราะเป็นแนวที่เป็นแหล่งกาเนิดของลมตะวันตก 4. เพราะเป็นแนวที่เกิดการปะทะกันของลมสินค้า 98. ข้อใดจัดเป็นบริเวณที่มีความกดอากาศสูง 1. มีอากาศแปรปรวน มีหยาดน้าฟ้า 2. เป็นแนวปะทะของอากาศ 3. เป็นบริเวณที่มีอากาศเย็น 4. แถบลมสงบบริเวณเส้นศูนย์สูตร 99. ความกดอากาศสูงกับความกดอากาศต่ามีความแตกต่างกันที่จุดใด 1. อุณหภูมิ 2. การไหลของลม 3. ความแปรปรวนของอากาศ 4. ถูกทุกข้อ 100. หย่อมความกดอากาศสูงที่พัดมาสู่ประเทศไทยส่วนใหญ่มาจากประเทศใด 1. จีน 2. อินเดีย 3. เวียดนาม 4. อินโดนีเซีย 101. คาว่า “ละติจูดม้า” มีที่มาจากอะไร 1. เป็นบริเวณที่มีลมแรง เหมาะกับการแข่งม้า 2. มีลมพัดเบา การส่งม้าทางเรือลาบาก ทาให้ม้าตาย 2. เป็นบริเวณที่มีอากาศดี เหมาะกับการเลี้ยงม้า 4. เป็นบริเวณที่อากาศแปรปรวน ม้าอาศัยอยู่ไม่ได้ 102. ลมชนิดใดที่มีแหล่งกาเนิดมาจากบริเวณละติจูดม้า 1. ลมตะวันออก ลมสินค้า 2. ลมตะวันตก ลมสินค้า 3. ลมตะวันออก ลมตะวันตก 4. ลมสินค้าเพียงอย่างเดียว 103. ร่องความกดอากาศต่าอยู่บริเวณละติจูดใด 1. 0 องศา 2. 30 องศา 3. 60 องศา 4. 90 องศา
  • 22. GEOBAMBOO พี่แบมบู - อนพัช มีมัง่คัง่ |22| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพมิ่เติม © 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธ์ิโดย www.Edu-deo.com ห้ามผู้ใดทา ซา้หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต 104. แนวร่องความกดอากาศต่าเกิดขึ้นจากการปะทะกันของลมชนิดใด 1. ลมสินค้า กับลมตะวันออก 2. ลมสินค้า กับลมตะวันตก 3. ลมตะวันออก กับลมตะวันตก 4. ลมตะวันตก กับลมตะวันตก 105. ลมสินค้า จัดเป็นลมชนิดใด 1. ลมตะวันออก 2. ลมตะวันตก 3. ถูกทั้ง 1. และ 2. 4. ผิดทั้ง 1. และ 2. 106. บริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองและฝนตกชุกมากที่สุดในโลกคือบริเวณใด 1. เส้นศูนย์สูตร 2. เส้นทรอปิกออฟแคนเซอร์ 3. เส้นทรอปิกออฟแคปริคอร์น 4. เส้นอาร์กติกเซอร์เคิล 107. เพราะเหตุใดบริเวณร่องความกดอากาศต่าจึงมีลมที่สงบ 1. มีความแตกต่างของอุณหภูมิในบริเวณนี้เพียงเล็กน้อย 2. มีความแตกต่างของความกดอากาศในบริเวณนี้เพียงเล็กน้อย 3. มีความแตกต่างของแรงคอริออลิสในบริเวณนี้เพียงเล็กน้อย 4. ถูกทั้ง 1. และ 2. 108. ชั้นน้าในมหาสมุทรมีกี่ชั้น อะไรบ้าง 1. 2 ชั้น คือ น้าชั้นบน น้าชั้นล่าง 2. 3 ชั้น คือ น้าชั้นบน น้าชั้นล่าง พิคโนไคลน์ 3. 4 ชั้น คือ น้าชั้นบน น้าชั้นล่าง พิคโนไคลน์ เทอร์โมไคลน์ 4. 5 ชั้น คือ น้าชั้นบน น้าชั้นล่าง พิคโนไคลน์ เทอร์โมไคลน์ ฮาโลไคลน์ 109. น้าชั้นใดมีอุณหภูมิสูงที่สุด เพราะเหตุใด 1. น้าชั้นบน เพราะได้รับแสงอาทิตย์โดยตรง 2. น้าชั้นล่าง เพราะกักเก็บความร้อนไว้ได้อย่างดี 3. พิคโนไคลน์ เพราะมีความดันสูง 4. เทอร์โมไคลน์ เพราะเป็นแหล่งความร้อนของทะเล 110. การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิของน้าชั้นบนมีลักษณะเป็นอย่างไร 1. ใกล้ผิวน้าจะมีอุณหภูมิคงที่ 2. อุณหภูมิลดลงตามความลึกที่เพิ่มขึ้น 3. อุณหภูมิสูงขึ้นตามความลึกที่เพิ่มขึ้น 4. อุณหภูมิเปลี่ยนแปลงอย่างช้าๆ 111. เพราะเหตุใด น้าที่ไหลมาจากขั้วโลก จึงมีความเค็มสูง 1. น้าทะเลบริเวณขั้วโลกมีคุณสมบัติในการเก็บเกลือไว้ได้เป็นอย่างดี 2. มีแร่เกลืออยู่มากในบริเวณขั้วโลก 3. เมื่อน้าทะเลกลายเป็นน้าแข็งจะคายเกลือให้กับส่วนที่ยังเป็นน้า 4. เมื่อน้าแข็งขั้วโลกละลายจะได้เกลือออกมามหาศาล 112. เพราะเหตุใด พิคโนไคลน์ จึงเรียกชื่อได้อีกอย่างหนึ่งว่า เทอร์โมไคลน์ 1. มีอุณหภูมิลดลงอย่างรวดเร็วตามความลึกที่เพิ่มขึ้น 2. มีอุณหภูมิเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วตามความลึกที่เพิ่มขึ้น