SlideShare a Scribd company logo
1 of 32
Download to read offline
ทรัพยากรอากาศ
>> สถานะแก๊ส เช่น N , O , CO2
>> สถานะของเหลว เช่น ไอน้้า
>> สถานะของแข็ง เช่น ฝุ่นละออง
ความสาคัญ
    1. มี แ ก๊ ส ที่ จ้ า เป็ น เช่ น แก๊ ส ออกซิ เ จน แก๊ ส
คาร์บอนไดออกไซด์ และแก๊สไนโตรเจน เป็นต้น

    2. มีอิทธิพลต่อการเกิด ปริมาณ และคุณภาพของ
ทรัพยากรอื่นเช่น ป่าไม้และแร่ธาตุ ท้าให้เกิดลมและฝน
3. ช่วยปรับอุณหภูมิของโลก โดยเฉพาะไอน้้าและ
คาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งจะช่วยป้องกันการสูญเสียความ
ร้อนจากพื้นดิน และท้าให้บริเวณผิวโลกมีความอบอุ่นขึ้น

     4. มีผลต่อการด้ารงชีวิต เช่น แห้งแล้งหรือหนาว
เย็นเกินไป คนจะอยู่อาศัยด้วยความยากล้าบาก
5. ช่วยป้องกันอันตรายจากรังสีของดวงอาทิตย์ ที่
ก่อให้เกิดโรคมะเร็งผิวหนัง และโรคต้อกระจก

    6. ช่วยเผาไหม้วัตถุที่ตกมาจากฟ้าหรืออุกกาบาตให้
กลายเป็นอนุภาคเล็ก ๆ จนไม่เป็นอันตรายต่อมนุษย์และ
ทรัพย์สิน
ชั้นบรรยากาศ
        ชั้นของอากาศที่ล้อมรอบโลกและด้วยแรงดึงดูด
   ของโลกท้ า ให้ ชั้ น บรรยากาศคงสภาพอยู่ ไ ด้ ชั้ น
   บรรยากาศมี ค วามหนารวมแล้ ว ประมาณ 500
   กิโลเมตรจากพื้นโลก อากาศในชั้นบรรยากาศแต่ละ
   ชั้นจะแตกต่างกัน
แบ่งได้
4 ชั้น ดังนี้
1 . โทรโพสเฟี ย ร์ (Troposhere) มี ร ะดั บ
ความสูงจากผิวโลกขึ้นไปไม่เกิน 15 กิโลเมตร
ร้อยละ 80 ของมวลอากาศ เป็นแหล่งก้าเนิด
ความร้อนของโทรโพสเฟียร์ คือ พื้นผิวโลกซึ่ง
ดูดกลืนรังสีคลื่นสั้นจากดวงอาทิตย์ และแผ่
รังสีอินฟราเรดออกมา ระยะสูงประมาณ 12
กิโลเมตร
อุณหภูมิจะคงที่ประมาณ - 60 องศาเซลเซียสที่รอยต่อชั้นบน ซึ่ง
เรียกว่า โทรโพพอส (Tropopause) เนืองจากมีไอน้้าอยู่จานวนมาก
                                  ่                 ้
ส่งผลต่อความแปรปรวนของอากาศ จึงท้าให้เกิดปรากฏการณ์
ทางลมฟ้า อากาศ ต่างๆ เช่น เมฆ พายุฝนฟ้าคะนอง เป็นต้น
2. สตราโตสเฟียร์ ( Stratoshere) อยู่ระดับความ
สูงประมาณ 50 กิโลเมตร ไม่มีเมฆ หมอก ไอน้้า
และฝุ่นละออง มักใช้ในการเดินทางทางอากาศ
จนถึงความสูง 50 กิโลเมตร บรรยากาศชั้นสต
ราโตสเฟี ย ร์ มี ค วามสงบมากกว่ า ชั้ นโทรโพส
เฟี ย ร์ เครื่ อ งบิ น ไอพ่ น จึ ง นิ ย มบิ น ในตอนล่ า ง
ของบรรยากาศชั้ น นี้ เพื่ อ หลี ก เลี่ ย งสภาพ
อากาศที่รุนแรงในชั้นโทรโพสเฟียร์
3. มีโซสเฟียร์ ( Mesosphere) อยู่ระดับความสูง
ประมาณ 80 กิ โ ลเมตร โดยอุ ณ หภู มิ จ ะลดลง
ตามความสูง อุณหภูมิลดต่้าลงอีกครั้ง จนถึง
– 100 ถึง - 138 องศาเซลเซียส ที่ระยะสูง 80
กิ โ ลเมตร ทั้ ง นี้ เ นื่ อ งจากห่ า งจากแหล่ ง ความ
ร้ อ นในชั้ น โอโซนออกไป ความดั น ในชั้ น นี้ จ ะ
ค่อนข้างคงที่
4. เทอร์โมสเฟียร์(Thermoshere) อยู่ระดับความสูง
400 - 500 กิโลเมตร อุณหภูมิจะอยู่ระหว่าง 227 -
1,727 องศาเซลเซียส โดยชั้นนี้จะมีความหนาแน่น
ของอนุภาคต่างๆจางมาก แต่แก๊สต่างๆ ในชั้นนี้
จะอยู่ ใ นลั ก ษณะที่ เ ป็ น อนุ ภ าคที่ เ ป็ น ประจุ ไ ฟฟ้ า
เรียกว่า ไอออน สามารถสะท้อนคลื่นวิทยุได้
มวลอากาศอยู่ในสถานะของประจุไฟฟ้า
เพราะได้รับรังสีคลื่นสันจากดวงอาทิตย์ เช่น
                        ้
รังสีเอ็กซ์ และแตกตัวเป็นประจุ แม้ว่า
บรรยากาศชั้นนี้จะมีอณหภูมิสูงมาก แต่ก็
                      ุ
ไม่ได้มีความร้อนมาก เนื่องจากมีอะตอมของ
แก๊สอยู่เบาบางมาก
มลพิษทางอากาศ
 ( Air pollution)
ภาวะของอากาศที่ มี สารเจื อปนอยู่ ใ นปริ มาณที่
มากพอ และเป็นระยะเวลานานพอที่จะท้าให้เกิดผลเสีย
ต่อ มนุ ษ ย์ สั ต ว์ พื ช ซึ่ ง สารเจื อ ปนดั ง กล่ า วอาจเป็ น
ธาตุ หรื อสารประกอบที่เ กิ ด ขึ้น เองตามธรรมชาติ
หรือเกิดจากการกระท้าของมนุษย์ อาจอยู่ในรูปของ
แก๊ส ของเหลว หรือของแข็งก็ได้ โดยมวลสารหลักที่
ส้าคัญคือ ฝุ่นละออง ตะกั่ว แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์
แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ แก๊สออกไซด์ของไนโตรเจน
การแบ่งประเภทของ
 มลพิษทางอากาศ
สามารถแบ่งตามกลุ่มของส่วนประกอบสาร
  มลพิษทางอากาศได้ 8 กลุ่ม ดังนี้
1 . ก ลุ่ ม ค า ร์ บ อ น ม อ น อ ก ไ ซ ด์ เ ช่ น
คาร์บอนไดออกไซด์ คาร์บอนมอนอกไซด์

  2. กลุ่มซัลเฟอร์ออกไซด์ เช่น ซัลเฟอร์ไดออกไซด์
ซัลเฟอร์ไตรออกไซด์

  3. กลุ่มไนโตรเจนออกไซด์ เช่น ไนทริตออกไซด์
ไนโตรเจนไดออกไซด์ ไนตรัสออกไซด์
4. กลุ่ ม ละอองไอของสารประกอบอิ น ทรี ย์
สาร ( Volatile organic compounds ) เช่น มีเทน
โพรเพนครอโรฟลูออโรคาร์บอน (Chlorofluor
carbon : CFCs )

 5. สารแขวนลอยในอากาศต่างๆ (Suspended
particulate matter) ได้แก่ ฝุ่นละอองต่างๆ ควัน
ไอของเอสเบสตอส ( asbestos ) ตะกั่ว ( lead )
เกลือของสารประกอบซัลเฟต ละอองของกรด
ซัลฟิวริกสารไดออกซิน และยาฆ่าแมลงต่างๆ
6.สารออกซิ เ ดนท์ จ ากกระบวนการโฟโทรเคมี คั ล
(Photochemical Oxidants ) เช่น โอโซน ไฮโดรเจนเปอร์
ออกไซด์

7. สารกัมมันตรังสี ( Radioactive substance ) เช่น เรน
ดอน (Radon -222) ไอโอดีน (Iodine -131) สตรอนเตียม
( Strontium-90 ) และพลูโตเนียม ( Plutonium-239 )

 8. มลสารทางอากาศที่เป็นอันตรายต่อร่างกายอื่นๆ
เช่น คาร์บอนและคลอโรฟอร์ม
สาเหตุการเกิดมลพิษทางอากาศ
1. แหล่งก้าเนิดมลพิษทางอากาศที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ (
   Natural Sources) ได้แก่
   1) ภูเขาไฟระเบิด จะมีเถ้าถ่าน ควัน ฝุ่นละอองฟุ้งกระจาย
   ออกสู่บรรยากาศ
2) ลมและพายุพัดพาเอาอนุภาคมลสารจากผิว
ดิน ให้ขึ้นไปแขวนลอยอยู่ในบรรยากาศ

3) สารอินทรีย์ที่เน่าเปื่อยผุพัง ที่ถูกทิ้งหรือทับ
ถมกันอยู่ เช่น ซากต่างๆ จะถูกย่อยสลายโดย
จุ ลิ น ทรี ย์ ใ นดิ น ท้ า ให้ เ กิ ด แก๊ ส ต่ า ง ๆ เช่ น
แอมโมเนี ย แก๊ ส ซั ล เฟอร์ ไ ดออกไซด์ แก๊ ส
ไฮโดรเจนซัลไฟด์ ซึ่งมีกลิ่นเหม็น
2. แหล่งก้าเนิดมลพิษทางอากาศที่เกิดจากการกระท้า
   ของมนุษย์ ( Man-Made Sources) หรือกิจกรรม
   การด้ า รงชีวิ ตจากการคมนาคมต่า งๆ ที่ท้า ให้ มี
   การระบายสารมลพิษออกสู่อากาศ โดยแบ่งออกได้
   เป็น 2 ประเภท คือ
1) แหล่งก้าเนิดที่เคลื่อนที่ได้ ( Mobile
Source) ได้แก่ รถยนต์ เรือยนต์ เครื่องบิน
เป็นต้น
      2) แหล่งก้าเนิดที่อยู่กับที่ ( Stationary
Sources) หมายถึง แหล่งก้าเนิดที่ไม่สามาร
เคลื่อนที่ได้ เช่น โรงงานอุ ตสาหกรรม ซึ่ ง
สารมลพิ ษ ทางอากาศเกิ ด จากการใช้
เชื้อเพลิงและเกิดจากกระบวนการการผลิต
ต่างๆ
ผลกระทบจากมลพิษทางอากาศ
 ด้ า นเศรษฐกิ จ ผลผลิ ต การเกษตรลดลง น้้ า ฝนมี
 สภาพเป็นกรดท้าให้ตายหรือเจริญเติบโตไม่ดี
ด้ า นสุ ข ภาพอนามั ย เกิ ด โรคต่ า งๆ เช่ น
มะเร็งปอด ภูมิแพ้ โรคหัวใจ เป็นต้น
     ด้านพืชผล เติบโตช้า เพราะเขม่าจะไปเกาะ
ผิวใบและท้าให้ปากใบพืชอุดตัน
การแก้ไขปัญหา
        มลพิษทางอากาศ
     ก าหนดนโยบายหรื อ วางแผนควบคุ ม
มลพิ ษ ทางอากาศ การแบ่ ง เขตต่ า งๆออกไม่
ปะปนกัน เช่น เขตการค้า เขตอุตสาหกรรม เขต
ที่อยู่อาศัย เป็นต้น
ให้ ก ารศึ ก ษาและประชาสั ม พั น ธ์ ให้ รู้ จั ก
ตระหนักถึงมลพิษทางอากาศ และช่วยกันป้องกัน
แก้ไขให้ดีขึ้น

    สนั บ สนุ น การใช้ พ ลั ง งานจากเทคโนโลยี
ใหม่ ๆ ที่ ไ ม่ ก่ อ ให้ เ กิ ด มลพิ ษ ทางอากาศ เช่ น
พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม เป็นต้น
อ้างอิง
http://www.krumonbs.ob.tc/html/06.html

http://www.oknation.net/blog/yada4-934/2007/08/19/entry-1

http://www.igetweb.com/www/welovenature1/index.php?mo=3&art
=436729
สมาชิก 6/1
  นางสาวชไมพร       ใจดี         เลขที่   16
  นางสาววรรณกานต์   ตุลา         เลขที่   26
  นางสาวสุภารัตน์   สังข์ทอง     เลขที่   28
  นางสาวแสงทอง      ยศประเสริฐ   เลขที่   29

More Related Content

Similar to ทรัพยากรอากาศ2

โลกร้อน
โลกร้อนโลกร้อน
โลกร้อนsudsanguan
 
องค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศ
องค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศองค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศ
องค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศdnavaroj
 
งานบูรณาการิชาเคมี
งานบูรณาการิชาเคมีงานบูรณาการิชาเคมี
งานบูรณาการิชาเคมีninefiit
 
มลพิษทางอ..
มลพิษทางอ..มลพิษทางอ..
มลพิษทางอ..Kyjung Seekwang
 
บรรยากาศ(Atmosphere)
บรรยากาศ(Atmosphere)บรรยากาศ(Atmosphere)
บรรยากาศ(Atmosphere)พัน พัน
 
โครงงานวิทย์ งานคอม
โครงงานวิทย์  งานคอม โครงงานวิทย์  งานคอม
โครงงานวิทย์ งานคอม Aungkana Na Na
 
บูรณาการเคมี
บูรณาการเคมีบูรณาการเคมี
บูรณาการเคมีninefiit
 
การลดภาวะโลกร้อน
การลดภาวะโลกร้อนการลดภาวะโลกร้อน
การลดภาวะโลกร้อนjzuzu2536
 
โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)Aungkana Na Na
 
งานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็น
งานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็นงานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็น
งานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็นfocuswirakarn
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติOui Nuchanart
 
โอโซน
โอโซนโอโซน
โอโซนnative
 
การสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียมการสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียมSutisa Tantikulwijit
 
เฉลยโอเนต ชีววิทยา 03 key 48
เฉลยโอเนต ชีววิทยา 03 key 48เฉลยโอเนต ชีววิทยา 03 key 48
เฉลยโอเนต ชีววิทยา 03 key 48Krupol Phato
 
แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวsangkom
 
โลกร้อน222
โลกร้อน222โลกร้อน222
โลกร้อน222sangkom
 
โลกร้อน222
โลกร้อน222โลกร้อน222
โลกร้อน222sangkom
 
???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10
???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10
???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10wachiphoke
 

Similar to ทรัพยากรอากาศ2 (20)

โลกร้อน
โลกร้อนโลกร้อน
โลกร้อน
 
องค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศ
องค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศองค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศ
องค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศ
 
งานบูรณาการิชาเคมี
งานบูรณาการิชาเคมีงานบูรณาการิชาเคมี
งานบูรณาการิชาเคมี
 
มลพิษทางอ..
มลพิษทางอ..มลพิษทางอ..
มลพิษทางอ..
 
บรรยากาศ(Atmosphere)
บรรยากาศ(Atmosphere)บรรยากาศ(Atmosphere)
บรรยากาศ(Atmosphere)
 
โครงงานวิทย์ งานคอม
โครงงานวิทย์  งานคอม โครงงานวิทย์  งานคอม
โครงงานวิทย์ งานคอม
 
บูรณาการเคมี
บูรณาการเคมีบูรณาการเคมี
บูรณาการเคมี
 
การลดภาวะโลกร้อน
การลดภาวะโลกร้อนการลดภาวะโลกร้อน
การลดภาวะโลกร้อน
 
โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)
 
งานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็น
งานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็นงานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็น
งานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็น
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติ
 
โอโซน
โอโซนโอโซน
โอโซน
 
การสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียมการสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียม
 
Atmosphere
AtmosphereAtmosphere
Atmosphere
 
เฉลยโอเนต ชีววิทยา 03 key 48
เฉลยโอเนต ชีววิทยา 03 key 48เฉลยโอเนต ชีววิทยา 03 key 48
เฉลยโอเนต ชีววิทยา 03 key 48
 
แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหว
 
โลกร้อน222
โลกร้อน222โลกร้อน222
โลกร้อน222
 
โลกร้อน222
โลกร้อน222โลกร้อน222
โลกร้อน222
 
28 feb07
28 feb0728 feb07
28 feb07
 
???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10
???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10
???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10
 

More from fainaja

หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรหลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรfainaja
 
หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์fainaja
 
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรหลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรfainaja
 
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรหลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรfainaja
 
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรหลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรfainaja
 
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรหลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรfainaja
 
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรหลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรfainaja
 
หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์fainaja
 
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรหลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรfainaja
 
หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์fainaja
 
ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2fainaja
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมfainaja
 
โรคทางพันธุกรรมเพรเดอร์2
โรคทางพันธุกรรมเพรเดอร์2โรคทางพันธุกรรมเพรเดอร์2
โรคทางพันธุกรรมเพรเดอร์2fainaja
 
โรคG6 pd[1]
โรคG6 pd[1]โรคG6 pd[1]
โรคG6 pd[1]fainaja
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มาก
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มากโรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มาก
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มากfainaja
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่fainaja
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมโรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมfainaja
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4fainaja
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4fainaja
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4fainaja
 

More from fainaja (20)

หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรหลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
 
หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์
 
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรหลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
 
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรหลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
 
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรหลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
 
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรหลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
 
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรหลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
 
หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์
 
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรหลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
 
หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์
 
ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
 
โรคทางพันธุกรรมเพรเดอร์2
โรคทางพันธุกรรมเพรเดอร์2โรคทางพันธุกรรมเพรเดอร์2
โรคทางพันธุกรรมเพรเดอร์2
 
โรคG6 pd[1]
โรคG6 pd[1]โรคG6 pd[1]
โรคG6 pd[1]
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มาก
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มากโรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มาก
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มาก
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมโรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
 

ทรัพยากรอากาศ2

  • 2. >> สถานะแก๊ส เช่น N , O , CO2 >> สถานะของเหลว เช่น ไอน้้า >> สถานะของแข็ง เช่น ฝุ่นละออง
  • 3. ความสาคัญ 1. มี แ ก๊ ส ที่ จ้ า เป็ น เช่ น แก๊ ส ออกซิ เ จน แก๊ ส คาร์บอนไดออกไซด์ และแก๊สไนโตรเจน เป็นต้น 2. มีอิทธิพลต่อการเกิด ปริมาณ และคุณภาพของ ทรัพยากรอื่นเช่น ป่าไม้และแร่ธาตุ ท้าให้เกิดลมและฝน
  • 4. 3. ช่วยปรับอุณหภูมิของโลก โดยเฉพาะไอน้้าและ คาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งจะช่วยป้องกันการสูญเสียความ ร้อนจากพื้นดิน และท้าให้บริเวณผิวโลกมีความอบอุ่นขึ้น 4. มีผลต่อการด้ารงชีวิต เช่น แห้งแล้งหรือหนาว เย็นเกินไป คนจะอยู่อาศัยด้วยความยากล้าบาก
  • 5. 5. ช่วยป้องกันอันตรายจากรังสีของดวงอาทิตย์ ที่ ก่อให้เกิดโรคมะเร็งผิวหนัง และโรคต้อกระจก 6. ช่วยเผาไหม้วัตถุที่ตกมาจากฟ้าหรืออุกกาบาตให้ กลายเป็นอนุภาคเล็ก ๆ จนไม่เป็นอันตรายต่อมนุษย์และ ทรัพย์สิน
  • 6. ชั้นบรรยากาศ ชั้นของอากาศที่ล้อมรอบโลกและด้วยแรงดึงดูด ของโลกท้ า ให้ ชั้ น บรรยากาศคงสภาพอยู่ ไ ด้ ชั้ น บรรยากาศมี ค วามหนารวมแล้ ว ประมาณ 500 กิโลเมตรจากพื้นโลก อากาศในชั้นบรรยากาศแต่ละ ชั้นจะแตกต่างกัน
  • 8. 1 . โทรโพสเฟี ย ร์ (Troposhere) มี ร ะดั บ ความสูงจากผิวโลกขึ้นไปไม่เกิน 15 กิโลเมตร ร้อยละ 80 ของมวลอากาศ เป็นแหล่งก้าเนิด ความร้อนของโทรโพสเฟียร์ คือ พื้นผิวโลกซึ่ง ดูดกลืนรังสีคลื่นสั้นจากดวงอาทิตย์ และแผ่ รังสีอินฟราเรดออกมา ระยะสูงประมาณ 12 กิโลเมตร
  • 9. อุณหภูมิจะคงที่ประมาณ - 60 องศาเซลเซียสที่รอยต่อชั้นบน ซึ่ง เรียกว่า โทรโพพอส (Tropopause) เนืองจากมีไอน้้าอยู่จานวนมาก ่ ้ ส่งผลต่อความแปรปรวนของอากาศ จึงท้าให้เกิดปรากฏการณ์ ทางลมฟ้า อากาศ ต่างๆ เช่น เมฆ พายุฝนฟ้าคะนอง เป็นต้น
  • 10. 2. สตราโตสเฟียร์ ( Stratoshere) อยู่ระดับความ สูงประมาณ 50 กิโลเมตร ไม่มีเมฆ หมอก ไอน้้า และฝุ่นละออง มักใช้ในการเดินทางทางอากาศ จนถึงความสูง 50 กิโลเมตร บรรยากาศชั้นสต ราโตสเฟี ย ร์ มี ค วามสงบมากกว่ า ชั้ นโทรโพส เฟี ย ร์ เครื่ อ งบิ น ไอพ่ น จึ ง นิ ย มบิ น ในตอนล่ า ง ของบรรยากาศชั้ น นี้ เพื่ อ หลี ก เลี่ ย งสภาพ อากาศที่รุนแรงในชั้นโทรโพสเฟียร์
  • 11. 3. มีโซสเฟียร์ ( Mesosphere) อยู่ระดับความสูง ประมาณ 80 กิ โ ลเมตร โดยอุ ณ หภู มิ จ ะลดลง ตามความสูง อุณหภูมิลดต่้าลงอีกครั้ง จนถึง – 100 ถึง - 138 องศาเซลเซียส ที่ระยะสูง 80 กิ โ ลเมตร ทั้ ง นี้ เ นื่ อ งจากห่ า งจากแหล่ ง ความ ร้ อ นในชั้ น โอโซนออกไป ความดั น ในชั้ น นี้ จ ะ ค่อนข้างคงที่
  • 12. 4. เทอร์โมสเฟียร์(Thermoshere) อยู่ระดับความสูง 400 - 500 กิโลเมตร อุณหภูมิจะอยู่ระหว่าง 227 - 1,727 องศาเซลเซียส โดยชั้นนี้จะมีความหนาแน่น ของอนุภาคต่างๆจางมาก แต่แก๊สต่างๆ ในชั้นนี้ จะอยู่ ใ นลั ก ษณะที่ เ ป็ น อนุ ภ าคที่ เ ป็ น ประจุ ไ ฟฟ้ า เรียกว่า ไอออน สามารถสะท้อนคลื่นวิทยุได้
  • 13. มวลอากาศอยู่ในสถานะของประจุไฟฟ้า เพราะได้รับรังสีคลื่นสันจากดวงอาทิตย์ เช่น ้ รังสีเอ็กซ์ และแตกตัวเป็นประจุ แม้ว่า บรรยากาศชั้นนี้จะมีอณหภูมิสูงมาก แต่ก็ ุ ไม่ได้มีความร้อนมาก เนื่องจากมีอะตอมของ แก๊สอยู่เบาบางมาก
  • 15. ภาวะของอากาศที่ มี สารเจื อปนอยู่ ใ นปริ มาณที่ มากพอ และเป็นระยะเวลานานพอที่จะท้าให้เกิดผลเสีย ต่อ มนุ ษ ย์ สั ต ว์ พื ช ซึ่ ง สารเจื อ ปนดั ง กล่ า วอาจเป็ น ธาตุ หรื อสารประกอบที่เ กิ ด ขึ้น เองตามธรรมชาติ หรือเกิดจากการกระท้าของมนุษย์ อาจอยู่ในรูปของ แก๊ส ของเหลว หรือของแข็งก็ได้ โดยมวลสารหลักที่ ส้าคัญคือ ฝุ่นละออง ตะกั่ว แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ แก๊สออกไซด์ของไนโตรเจน
  • 16.
  • 18. 1 . ก ลุ่ ม ค า ร์ บ อ น ม อ น อ ก ไ ซ ด์ เ ช่ น คาร์บอนไดออกไซด์ คาร์บอนมอนอกไซด์ 2. กลุ่มซัลเฟอร์ออกไซด์ เช่น ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ซัลเฟอร์ไตรออกไซด์ 3. กลุ่มไนโตรเจนออกไซด์ เช่น ไนทริตออกไซด์ ไนโตรเจนไดออกไซด์ ไนตรัสออกไซด์
  • 19. 4. กลุ่ ม ละอองไอของสารประกอบอิ น ทรี ย์ สาร ( Volatile organic compounds ) เช่น มีเทน โพรเพนครอโรฟลูออโรคาร์บอน (Chlorofluor carbon : CFCs ) 5. สารแขวนลอยในอากาศต่างๆ (Suspended particulate matter) ได้แก่ ฝุ่นละอองต่างๆ ควัน ไอของเอสเบสตอส ( asbestos ) ตะกั่ว ( lead ) เกลือของสารประกอบซัลเฟต ละอองของกรด ซัลฟิวริกสารไดออกซิน และยาฆ่าแมลงต่างๆ
  • 20. 6.สารออกซิ เ ดนท์ จ ากกระบวนการโฟโทรเคมี คั ล (Photochemical Oxidants ) เช่น โอโซน ไฮโดรเจนเปอร์ ออกไซด์ 7. สารกัมมันตรังสี ( Radioactive substance ) เช่น เรน ดอน (Radon -222) ไอโอดีน (Iodine -131) สตรอนเตียม ( Strontium-90 ) และพลูโตเนียม ( Plutonium-239 ) 8. มลสารทางอากาศที่เป็นอันตรายต่อร่างกายอื่นๆ เช่น คาร์บอนและคลอโรฟอร์ม
  • 21.
  • 22. สาเหตุการเกิดมลพิษทางอากาศ 1. แหล่งก้าเนิดมลพิษทางอากาศที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ( Natural Sources) ได้แก่ 1) ภูเขาไฟระเบิด จะมีเถ้าถ่าน ควัน ฝุ่นละอองฟุ้งกระจาย ออกสู่บรรยากาศ
  • 23.
  • 24. 2) ลมและพายุพัดพาเอาอนุภาคมลสารจากผิว ดิน ให้ขึ้นไปแขวนลอยอยู่ในบรรยากาศ 3) สารอินทรีย์ที่เน่าเปื่อยผุพัง ที่ถูกทิ้งหรือทับ ถมกันอยู่ เช่น ซากต่างๆ จะถูกย่อยสลายโดย จุ ลิ น ทรี ย์ ใ นดิ น ท้ า ให้ เ กิ ด แก๊ ส ต่ า ง ๆ เช่ น แอมโมเนี ย แก๊ ส ซั ล เฟอร์ ไ ดออกไซด์ แก๊ ส ไฮโดรเจนซัลไฟด์ ซึ่งมีกลิ่นเหม็น
  • 25. 2. แหล่งก้าเนิดมลพิษทางอากาศที่เกิดจากการกระท้า ของมนุษย์ ( Man-Made Sources) หรือกิจกรรม การด้ า รงชีวิ ตจากการคมนาคมต่า งๆ ที่ท้า ให้ มี การระบายสารมลพิษออกสู่อากาศ โดยแบ่งออกได้ เป็น 2 ประเภท คือ
  • 26. 1) แหล่งก้าเนิดที่เคลื่อนที่ได้ ( Mobile Source) ได้แก่ รถยนต์ เรือยนต์ เครื่องบิน เป็นต้น 2) แหล่งก้าเนิดที่อยู่กับที่ ( Stationary Sources) หมายถึง แหล่งก้าเนิดที่ไม่สามาร เคลื่อนที่ได้ เช่น โรงงานอุ ตสาหกรรม ซึ่ ง สารมลพิ ษ ทางอากาศเกิ ด จากการใช้ เชื้อเพลิงและเกิดจากกระบวนการการผลิต ต่างๆ
  • 27. ผลกระทบจากมลพิษทางอากาศ ด้ า นเศรษฐกิ จ ผลผลิ ต การเกษตรลดลง น้้ า ฝนมี สภาพเป็นกรดท้าให้ตายหรือเจริญเติบโตไม่ดี
  • 28. ด้ า นสุ ข ภาพอนามั ย เกิ ด โรคต่ า งๆ เช่ น มะเร็งปอด ภูมิแพ้ โรคหัวใจ เป็นต้น ด้านพืชผล เติบโตช้า เพราะเขม่าจะไปเกาะ ผิวใบและท้าให้ปากใบพืชอุดตัน
  • 29. การแก้ไขปัญหา มลพิษทางอากาศ ก าหนดนโยบายหรื อ วางแผนควบคุ ม มลพิ ษ ทางอากาศ การแบ่ ง เขตต่ า งๆออกไม่ ปะปนกัน เช่น เขตการค้า เขตอุตสาหกรรม เขต ที่อยู่อาศัย เป็นต้น
  • 30. ให้ ก ารศึ ก ษาและประชาสั ม พั น ธ์ ให้ รู้ จั ก ตระหนักถึงมลพิษทางอากาศ และช่วยกันป้องกัน แก้ไขให้ดีขึ้น สนั บ สนุ น การใช้ พ ลั ง งานจากเทคโนโลยี ใหม่ ๆ ที่ ไ ม่ ก่ อ ให้ เ กิ ด มลพิ ษ ทางอากาศ เช่ น พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม เป็นต้น
  • 32. สมาชิก 6/1 นางสาวชไมพร ใจดี เลขที่ 16 นางสาววรรณกานต์ ตุลา เลขที่ 26 นางสาวสุภารัตน์ สังข์ทอง เลขที่ 28 นางสาวแสงทอง ยศประเสริฐ เลขที่ 29