SlideShare a Scribd company logo
1 of 90
Download to read offline
ติวเข้มวิทยาศาสตร์ (SCIENCE)
สาหรับนักเรียนที่มีความสามารถ
พิเศษทางด้านวิทยาศาสตร์
(GIFTED SCIENCE)
เรื่อง
การเปลี่ยนแปลงของสาร
[ตอนที่ 2]
ผู้สอน...ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์
การเปลี่ยนแปลงของสาร [ตอนที่ 2]
• 1. การเปลี่ยนแปลงสถานะของแข็ง
• 2. การเปลี่ยนแปลงสถานะของเหลว
• 3. การเปลี่ยนแปลงสถานะของแก๊ส
• 4. พลังงานกับการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร
3. การเปลี่ยนแปลงสถานะของแก๊ส
• แก๊ส (GAS ; G) หมาย ถึง สารที่มีขนาดและรูปร่างไม่แน่นอน เนื่องจากอนุภาคอยู่ห่างกันมาก ฟุ้ง
กระจาย เคลื่อนที่ได้อย่างอิสระทุกทิศทางและไม่เป็นระเบียบ ยึดเหนี่ยวกันน้อยมาก
และ เปลี่ยนแปลงรูปร่างตามภาชนะ ไม่สามารถรักษารูปร่างและปริมาตรให้คงที่ได้ เช่น อากาศที่
บรรจุในลูกบอล อากาศที่บรรจุในยางรถยนต์ ไฮโดรเจน ออกซิเจน เป็นต้น
สมบัติของแก๊ส
• 1. แก๊สมีรูปร่างเป็นปริมาตรไม่แน่นอน เปลี่ยนแปลงไปตามภาชนะที่
บรรจุ บรรจุ ในภาชนะใดก็จะมีรูปร่างเป็นปริมาตรตามภาชนะนั้น
เพราะแก๊สมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค น้อยมาก จึงทาให้อนุภาคของ
แก๊สสามารถเคลื่อนที่หรือแพร่กระจายเต็มภาชนะที่บรรจุ
• 2. สารที่อยู่ในสถานะแก๊สมีความหนาแน่นน้อยกว่าเมื่ออยู่ในสถานะ
ของเหลวและของแข็ง
• 3. แก๊สสามารถแพร่ได้ และแพร่ได้เร็วเพราะแก็สมีแรงยึดเหนี่ยว
ระหว่างโมเลกุลน้อยกว่าของเหลวและของแข็ง
• 4. แก็สต่างๆ ตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปเมื่อนามาใส่ในภาชนะเดียวกัน แก๊สแต่
ละชนิดจะแพร่ผสมกันอย่างสมบูรณ์ทุกส่วน นั้นคือส่วนผสมของแก๊ส
เป็นสารเดียวหรือเป็นสารละลาย (SOLUTION)
สมบัติของแก๊ส
ประเภทของแก๊ส
• 1. แก๊สอุดมคติ (IDEAL GAS) เป็นแก๊สที่ไม่มีอยู่จริง นักวิทยาศาสตร์กาหนดขึ้นเพื่ออธิบาย
สมบัติต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับแก๊ส โดยให้มีพฤติกรรมเป็นไปตามกฎของแก๊สไม่ว่าที่อุณหภูมิหรือ
ความดันใด แก๊สสมบูรณ์เป็นแก๊สที่ไม่มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล
• 2. แก๊สจริง (REAL GAS) หมายถึงแก๊สที่ไม่เป็นไปตามกฎต่าง ๆ ของแก๊สสมบูรณ์ เป็นแก๊ส
ที่มีอยู่จริงในธรรมชาติ มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลน้อย แต่ในบางสภาวะแก๊สจริงอาจ
มีสมบัติใกล้เคียงกับแก๊สสมบูรณ์ได้ คือที่อุณหภูมิสูงและความดันต่ามาก ๆ แก๊สจริงที่มี
สมบัติใกล้เคียงกับแก๊สสมบูรณ์มากที่สุดที่อุณหภูมิห้องและความดัน 1 บรรยากาศคือแก๊ส
เฉื่อย (INNERT GAS) สมบัติของแก๊สที่ศึกษากันได้แก่ มวล ปริมาตร ความดัน อุณหภูมิ การ
นาความร้อน และการแพร่ เป็นต้น
ประเภทของแก๊ส
ประเภทของแก๊ส เมื่อกล่าวถึงแก๊ส จะต้องระบุปริมาตร อุณหภูมิ และความดันด้วย เนื่องจากเป็นสมบัติเฉพาะของแก๊ส
(INTENSIVE PROPERTIES)
- ปริมาตร(VOLUME)ในการวัดปริมาตรของแก๊สใช้หน่วยลูกบาศก์เดซิเมตร (DM3) หรือลิตร (LITRE)
ถ้าเป็นหน่วยย่อยใช้หน่วยลูกบาศก์เซนติเมตร (CM3)
- อุณหภูมิ (TEMPERATURE) เครื่องมือที่ใช้วัดอุณหภูมิคือเทอร์มอมิเตอร์ เทอร์มอคัพเพิล และไพโร
มิเตอร์ มาตรส่วนที่ใช้วัดอุณหภูมิคือ เซลเซียส (ํC) เคลวิน (K) ฟาเรนไฮต์ (F) และโรเมอร์ (R)
สาหรับการคานวณเรื่องแก๊สใช้ เคลวิน หรือเรียกว่าองศาสัมบูรณ์ (ABSOLUTE TEMPERATURE)
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
• เป็นทฤษฎีที่ตั้งขึ้นเพื่อใช้อธิบายกฎปรากฏการณ์ หรือผลการทดลองที่เกี่ยวกับแก๊ส และพฤติกรรมของแก๊ส
• 1. แก๊สประกอบด้วยอนุภาคจานวนมากที่มีขนาดเล็กมาก จนถือได้ว่าอนุภาคของแก๊สไม่มีปริมาตรเมื่อเทียบกับ
ขนาดภาชนะที่บรรจุ
• 2. โมเลกุลของแก๊สอยู่ห่างกันมาก ทาให้แรงดึงดูดและแรงผลักระหว่างโมเลกุลน้อยมาก จนถือได้ว่าไม่มีแรง
กระทาต่อกัน
• 3. โมเลกุลของแก๊สเคลื่อนที่อย่างรวดเร็วในแนวเส้นตรง เป็นอิสระ ด้วยอัตราเร็วคงที่ และไม่เป็นระเบียบ
จนกระทั่งชนกับโมเลกุลอื่น ๆ หรือชนกับผนังภาชนะจึงจะเปลี่ยนทิศทางและอัตราเร็ว
• 4. โมเลกุลของแก๊สที่ชนกันเองหรือชนกับผนังภาชนะจะเกิดการถ่ายโอนพลังงานให้แก่กันได้ แต่พลังงานรวม
ของระบบคงที่
• 5. ณ อุณหภูมิเดียวกัน โมเลกุลของแก๊สแต่ละโมเลกุลเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วไม่เท่ากัน แต่จะมีพลังงานจลน์เฉลี่ย
เท่ากัน โดยที่พลังงานจลน์เฉลี่ยของแก๊สจะแปรผันตรงกับอุณหภูมิเคลวิน
+ แก๊สที่มีสมบัติเป็นไปตามทฤษฎีจลน์
ของแก๊สทุกประการเรียกว่า แก๊สอุดมคติ
(Ideal gas) โดยปกติแก๊สทั่วไปจะมีสมบัติ
เคียงกับแก๊สอุดมคติเท่านั้นสาหรับแก๊สที่
มีอนุภาคขนาดเล็ก เมื่อควบคุมให้อยู่ใน
ภาวะที่มีปริมาตรมาก ความดันต่า และ
อุณหภูมิสูง จะมีสมบัติใกล้เคียงกับแก๊ส
อุดมคติมากขึ้น โดยเฉพาะแก๊สเฉื่อยจะมี
สมบัติใกล้เคียงกับแก๊สอุดมคติมากจนอาจ
จัดเป็นแก๊สอุดมคติได้
กฎของบอยล์ (BOYLE'S LAW)
เมื่อทดลองโดยใช้การกดและดึงก้านกระบอกฉีดยา สามารถใช้ทฤษฎีจลน์ของแก๊สอธิบายได้ว่าเมื่อปริมาตรของแก๊สในกระบอก
ฉีดยาลดลง ทาให้โมเลกุลของแก๊สอยู่ใกล้กันมากขึ้น จึงเกิดการชนกันเองและชนผนังภาชนะมากขึ้น เป็นผลให้ความดันของ
แก๊สในกระบอกฉีดยาเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับตอนเริ่มต้น ในทางตรงกันข้ามการเพิ่มปริมาตรของแก๊สในกระบอกฉีดยาทาให้
โมเลกุลของแก๊สอยู่ห่างกัน การชนกันเองของโมเลกุลของแก๊สและการชนผนังภาชนะน้อยลง ความดันของแก๊สในกระบอกฉีด
ยาจึงลดลง
กฎของบอยล์ (BOYLE'S LAW)
จากผลการทดลองพบว่า ผลคูณของความดันกับปริมาตร (PV) ของแก๊สในการทดลองแต่ละครั้งมีค่าค่อนข้างคงที่ และ
พบว่า ขณะที่อุณหภูมิคงที่ ถ้าปริมาตรของแก๊สเพิ่มขึ้นจะทาให้ความดันของแก๊สลดลงและเมื่อปริมาตรของแก๊สลดลง
ความดันของแก๊สจะเพิ่มขึ้น
กฎของบอยล์ (BOYLE'S LAW)
กฎของบอยล์ (BOYLE'S LAW) : อุณหภูมิแก๊สคงที่
กฎของชาร์ล • มีใจความดังนี้ “เมื่อมวลและความดันของ
แก๊สคงที่ ปริมาตรของแก๊สจะแปรผันตรง
กับอุณหภูมิเคลวิน”
• ซึ่งจากความสัมพันธ์ จะได้
กฎของชาร์ล
กฎของชาร์ล : ความดันแก๊สคงที่
กฎของเกย์ ลูสแซก
เกย์–ลูสแซกได้ทาการทดลอง โดยให้ปริมาตรของแก๊ส
คงที่ เพื่อที่จะหาความสัมพันธ์ระหว่างความดันกับ
อุณหภูมิ ผลที่ได้คือ ความดันของ
แก๊สใด ๆ จะแปรผันตรงกับอุณหภูมิเมื่อปริมาตรคงที่
ดังนั้น
กฎของเกย์ ลูสแซก
กฎของเกย์ ลูสแซก
กฎรวมแก๊ส (GAS LAW)
เนื่องจากกฎของบอยล์และชาร์ลกล่าวถึงเฉพาะ
ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรกับความดัน และ
ปริมาตรกับอุณหภูมิ แต่การเปลี่ยนแปลงใน
ธรรมชาติอาจเกิดขึ้นพร้อม ๆ กันดังนั้นจึงมี
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตร ความ
ดัน และอุณหภูมิของแก๊สในขณะที่มวลคงที่ ดังนี้
จากกฎรวมแก๊ส จะได้
เมื่อ P คือ ความดันของแก๊ส (atm , mmHg)
V คือ ปริมาตรของแก๊ส (cm3 , dm3)
n คือ จานวนโมลของแก๊ส (mol)
T คือ อุณหภูมิในหน่วยเคลวิน (K)
R คือ ค่าคงที่ของแก๊ส (0.082058 dm3.atm / mol.K)
M คือ มวลโมเลกุลของแก๊ส (g/mol)
w คือ มวลของแก๊ส (g)
กฎรวมแก๊ส (GAS LAW)
สูตรการคานวณความสัมพันธ์เชิงโมล (MOL)
กฎการแพร่ของ เกรแฮม
• การแพร่ (DIFFUSION)
หมายถึง กระบวนการที่โมเลกุลของแก๊สเคลื่อนที่จากบริเวณที่มีความเข้มข้นสูงไปสู่บริเวณที่มีความ
เข้มข้นต่ากว่า โดยโมเลกุลมีการชนกันตลอดเวลา
โทมัส เกรแฮม (Thomas Graham) พบว่า “อัตราการแพร่และอัตราการแพร่ผ่านของแก๊สจะ
แปรผกผันกับรากที่สองของความหนาแน่นของแก๊ส ภายใต้อุณหภูมิและความดันเดียวกัน”
ซึ่งจากความสัมพันธ์จะได้สูตร คือ
กฎการแพร่ของ เกรแฮม
การแพร่ของแก๊ส
การเเพร่ของเเก๊สแอมโมเนียเเละเเก๊สไฮโดรเจนคลอไรด์
แก๊สแอมโมเนีย (NH3 ) และโมเลกุลของแก๊ส HCl จะแพร่เข้าหา
กันแล้วทาปฏิกิริยากันได้ของแข็งสีขาว คือ แอมโมเนียคลอไรด์
(NH4Cl) ดังสมการ
NH3 (g) + HCl(g) NH4Cl(s)
แต่เนื่องจากแก๊สNH3 มีโมเลกุลน้อยกว่าแก๊สHCl ( NH3 มีมวล
โมเลกุล 17 HCl มีมวลโมเลกุล 36.5 ) แก๊สNH3 จึงแพร่ได้เร็วกว่า
แก๊ส HCl ดังนั้นจึงเกิดของแข็งสีขาว (NH4Cl) ใกล้สาลีที่ชุบ
สารละลาย HCl
ตัวอย่างโจทย์ฝึกประสบการณ์
1.
ตัวอย่างโจทย์ฝึกประสบการณ์
ทอร์ (Torr) หรือ มิลลิเมตรปรอท (mmHg) คือ หน่วยวัดความดัน (pressure) ในระบบเอสไอ โดย
หน่วยความดันนี้นิยมใช้กับค่าความดันสุญญากาศ (vacuum) สูงๆ ซึ่ง “1 Torr = 1 mmHg” “1
บรรยากาศ (1 atm) = 760 Torr” เเละ "1 ทอร์ เท่ากับประมาณ 133.322 ปาสคาล (Pa)"
100
200
2. 127
ตัวอย่างโจทย์ฝึกประสบการณ์
3.0
2.0
3.
ตัวอย่างโจทย์ฝึกประสบการณ์
127 2008004.
ตัวอย่างโจทย์ฝึกประสบการณ์
5.
ตัวอย่างโจทย์ฝึกประสบการณ์
327 27900 300
6.
ตัวอย่างโจทย์ฝึกประสบการณ์
7. 320
ตัวอย่างโจทย์ฝึกประสบการณ์
8.
327
100
4. พลังงานกับการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร
การเปลี่ยนแปลงสาร
การเปลี่ยนแปลงสาร แบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ คือ
- การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ( Physical Change ) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงของสารที่เกี่ยวกับสมบัติกายภาพ
โดยไม่มีผลต่อองค์ประกอบภายใน และ ไม่เกิดสารใหม่ เช่น การเปลี่ยนสถานะ , การละลายน้า
- การเปลี่ยนแปลงทางทางเคมี ( Chemistry Change ) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงของสารที่เกี่ยวข้องกับสมบัติทาง
เคมีซึ่งมีผลต่อองค์ประกอบภายใน และจะมีสมบัติต่างไปจากเดิม นั่นคือ การเกิดสารใหม่ เช่น กรดเกลือ ( HCl ) ทา
ปฏิกิริยากับลวดแมกนีเซียม ( Mg ) แล้วเกิดสารใหม่คือ ก๊าซไฮโดรเจน ( H2 )
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
การเปลี่ยนแปลงทางทางเคมี
พลังงานกับการเปลี่ยนแปลงของสาร
• การเปลี่ยนสถานะของสารอาจเป็นการเปลี่ยนแปลงประเภทดูดพลังงานหรือคายพลังงานตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร
ที่พบในชีวิตประจาวันได้แก่น้าแข็งหลอมเหลวกลายเป็นน้าและน้าได้รับความร้อนกลายเป็นไอเป็นการเปลี่ยนแปลงประเภทดูด
ความร้อนในทางตรงกันข้ามเมื่อไอน้าเปลี่ยนสถานะกลับมาเป็นน้าและน้าแข็ง เป็นการเปลี่ยนแปลงประเภทคายความร้อน
• 1. ค่าความร้อนแฝงจาเพาะของการหลอมเหลวเป็นค่าพลังงานความร้อนที่นามาใช้เปลี่ยนสถานะจากของแข็งเป็นของเหลว
• 2. ความร้อนแฝงจาเพาะของการกลายเป็นไอเป็นค่าพลังงานความร้อนที่นาไปใช้ในการเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเป็นไอ ค่า
ความร้อนแฝงจาเพาะของการกลายเป็นไอของสารทุกชนิดจะมีค่ามากว่าความร้อนแฝงจาเพาะของการหลอมเหลวเสมอ เช่น
• - น้ามีค่าความร้อนแฝงจาเพาะของการหลอมเหลว 80 แคลอรีต่อกรัม หมายความว่า ในการทาน้าแข็ง 1 กรัม ให้หลอมเหลวเป็น
น้า ต้องใช้พลังงานความร้อน 80 แคลอรี
• - น้ามีค่าความร้อนแฝงจาเพาะของการกลายเป็นไอ 540 แคลอรีต่อกรัม หมายความว่า ในการทาน้า 1 กรัม อุณหภูมิ 100 องศา
เซลเซียส ให้เปลี่ยนเป็นไอน้า 1 กรัม อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส ต้องใช้พลังงานความร้อน 540 แคลอรี
พลังงานกับการเปลี่ยนแปลงของสาร
•
• กรณีที่ 1 การคานวณหาค่าปริมาณความร้อนที่ทาให้สารเปลี่ยนสถานะโดยอุณหภูมิคงที่ คานวณได้จากสูตร Q = ML
•
• M คือมวลของสาร มีหน่วยเป็นกรัมหรือกิโลกรัม
•
พลังงานกับการเปลี่ยนแปลงของสาร
• การหาค่าปริมาณความร้อนสามารถแยกพิจารณาได้ 2 กรณี ดังนี้
• กรณีที่ 2 การคานวณหาปริมาณความร้อนโดยที่อุณหภูมิเปลี่ยนแปลง คานวณได้จากสูตร Q = MSDT
• เมื่อ Q คือ ปริมาณความร้อนที่สารได้รับ มีหน่วยเป็นแคลอรี
• M คือ มวลของสาร มีหน่วยเป็นกรัม
• S คือ ความจุจาเพาะของสารมีหน่วยเป็นแคลอรีต่อกรัม×องศาเซลเซียส (น้าใช้สัญลักษณ์ C แทนค่าความจุจาเพาะของน้า)
ของน้าแข็ง และ ไอน้า คือ ประมาณ 0.5)
• DT คือ อุณหภูมิของน้าที่เปลี่ยนไป มีหน่วยเป็นองศาเซลเซียส
พลังงานกับการเปลี่ยนแปลงของสาร
ในช่วงหมายเลข 1 กับหมายเลข 3 สถานะ
เปลี่ยนแต่อุณหภูมิไม่เปลี่ยน ส่วนในช่วง
หมายเลข 2 อุณหภูมิเปลี่ยนแต่สถานะไม่
เปลี่ยน นักเรียนจะได้ศึกษาการคานวณหาค่า
พลังงานที่ใช้ในการเปลี่ยนสถานะจากตัวอย่าง
ต่อไปนี้
พลังงานกับการเปลี่ยนแปลงของสาร
จากกราฟของการเปลี่ยนแปลงประเภทดูดความร้อนและ
คายความร้อน นักเรียนจะสังเกตเห็นว่าเส้นกราฟที่ได้เมื่อ
เวลาผ่านไปมีลักษณะกลับกัน
จากการศึกษากิจกรรมเรื่องการเปลี่ยนสถานะของน้าแสดง
ให้เห็นว่าความร้อนทาให้สารเกิดการเปลี่ยนแปลงได้ เช่น
เกิดการเปลี่ยนแปลงสถานะหรือเปลี่ยนอุณหภูมิ
นอกจากที่กล่าวมาแล้วพลังงานความร้อนยังมีผลต่อการ
เกิดการเปลี่ยนแปลงของสารอีกหลายประการ เช่น การจุด
ไม้ขีดไฟ การเผากระดาษ ซึ่งเป็นการรวมตัวของสาร
เชื้อเพลิงกับก๊าซออกซิเจน เกิดเป็นก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์และน้า หากมีการเผาไหม้ที่สมบูรณ์
แต่ถ้าหากมีการเผาไหม้ที่ไม่สมบูรณ์จะเกิดก๊าซคาร์บอน
มอนนอกไซด์ แล้วสารเดิมจะเปลี่ยนเป็นธาตุคาร์บอน
แสดงว่าพลังงานความร้อนทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงได้
พลังงานกับการเปลี่ยนแปลงของสาร
พลังงานกับการ
เปลี่ยนแปลงของสาร
การคานวณหาอุณหภูมิผสมของสาร
• หลักการเรื่องนี้
1. พยายามแยกวัตถุเป็น 2 จาพวก คือพวกอุณหภูมิสูง กับพวก อุณหภูมิต่า
2. หาปริมาณความร้อนที่วัตถุต่างๆที่อุณหภูมิสูงคายออกมาทั้งหมด (เรียกพวกฝั่งนี้ว่าความร้อนลด)
จากสูตร Q = MCΔT และ Q = ML
3. หาปริมาณความร้อนที่วัตถุต่างๆที่อุณหภูมิต่ารับไว้ทั้งหมด (เรียกพวกฝั่งนี้ว่าความร้อนเพิ่ม)
จากสูตร Q = MCΔT และ Q = ML
4. คานวณหาค่าที่ต้องการ จากความสัมพันธ์
ปริมาณความร้อนลด = ปริมาณความร้อนเพิ่ม
ตัวอย่างโจทย์ฝึกประสบการณ์
1. น้าแข็ง 100 กรัม อุณหภูมิ -5 องศาเซลเซียส ทาให้กลายเป็นไอน้าเดือด 10 กรัม อุณหภูมิ 100 องศา
เซลเซียส ใช้ความร้อนกี่แคลอรี
ตัวอย่างโจทย์ฝึกประสบการณ์
2. ไอน้า 20 กรัม ที่ 110 องศาเซลเซียส ทาให้เป็นน้าแข็ง -10 องศาเซลเซียส ทั้งหมด 20 กรัม จะคาย
พลังงานเท่าใด
ตัวอย่างโจทย์ฝึกประสบการณ์
3.
ตัวอย่างโจทย์ฝึกประสบการณ์
4.
ตัวอย่างโจทย์ฝึกประสบการณ์
5. น้าแข็ง 20 g อุณหภูมิ 0°c ผสมกับน้า 100g 60°c อุณหภูมิผสมเป็นเท่าไร
ตัวอย่างโจทย์ฝึกประสบการณ์
6.
การแยกสารโดยอาศัยหลักการพลังงานกับการเปลี่ยนแปลงของสาร
การกลั่น (Distillation)
การกลั่น (distillation) เป็นการแยกสารที่มีสถานะเป็นของเหลวออกจากสารละลาย โดยอาศัยจุดเดือดที่ต่างกัน โดยที่
สารบริสุทธิ์แต่ละชนิด เปลี่ยนสถานะได้ที่อุณหภูมิจาเพาะ สารที่มีจุดเดือดต่าจะเดือดเป็นไอออกมาก่อน เมื่อทาให้ไอของสารมี
อุณหภูมิต่าลงจะควบแน่นกลับมาเป็นของเหลวอีกครั้ง
การกลั่นแบบธรรมดาหรือการกลั่นอย่างง่าย (simple distillation)
การกลั่นแบบธรรมดาหรือการกลั่นอย่างง่าย (simple distillation)เป็นวิธีการที่ใช้กลั่นแยกสารที่ระเหยง่ายซึ่งปนอยู่กับสาร
ที่ระเหยยาก การกลั่นธรรมดานี้จะใช้แยกสารออกเป็นสารบริสุทธิ์เพียงครั้งเดียวได้สารที่มีจุดเดือดต่างกันตั้งแต่ 80 องศาเซลเซียส
ขึ้นไป
การแยกสารโดยอาศัยหลักการพลังงานกับการเปลี่ยนแปลงของสาร
การกลั่นลาดับส่วน (FRACTIONAL DISTILLATION)
การกลั่นลาดับส่วนเป็นวิธีการแยกของเหลวที่สามารถ
ระเหยได้ตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไป มี หลักการเช่นเดียวกันกับการกลั่น
แบบธรรมดา คือเพื่อต้องการแยกองค์ประกอบในสารละลายให้ออก
จากกัน แต่ก็จะมีส่วนที่แตกต่างจากการกลั่นแบบธรรมดา คือ การ
กลั่นแบบกลั่นลาดับส่วนเหมาะสาหรับใช้กลั่นของเหลวที่เป็น
องค์ประกอบของสารละลาย ที่จุดเดือดต่างกันน้อย ๆ ในขั้นตอน
ของกระบวนการกลั่นลาดับส่วน จะเป็นการ นาไอของแต่ละส่วนไป
ควบแน่น แล้วนาไปกลั่นซ้าและควบแน่นไอเรื่อย ๆ ซึ่งเทียบได้กับ
เป็นการกลั่นแบบธรรมดาหลาย ๆ ครั้งนั่นเอง ความแตกต่างของ
การกลั่นลาดับส่วนกับการกลั่นแบบธรรมดา จะอยู่ที่คอลัมน์ โดย
คอลัมน์ของการกลั่นลาดับส่วนจะมีลักษณะเป็นชั้นซับซ้อน เป็น
ชั้นๆ ในขณะที่คอลัมน์แบบธรรมดาจะเป็นคอลัมน์ธรรมดา ไม่มี
ความซับซ้อนของคอลัมน์
การแยกสารโดยอาศัยหลักการพลังงานกับการเปลี่ยนแปลงของสาร
การกลั่นลาดับส่วน
(fractional distillation)
•
การสกัดโดยการกลั่นด้วยไอน้า เป็นวิธีการสกัด
สารออกจากของผสมโดยใช้ไอน้าเป็นตัวทาละลาย
เพราะการกลั่นโดยวิธีนี้
ความดันไอเป็นความดันไอของไอน้าบวกความดันไอของ
ของเหลวที่ต้องการแยก จึงทาให้ความดันไอเท่ากับความ
ดันของบรรยากาศก่อนที่อุณหภูมิจะถึงจุดเดือดของ
ของเหลวที่ต้องการแยก ของ ผสมจึงกลั่นออกมาที่
อุณหภูมิต่ากว่าจุดเดือดของของเหลวที่ต้องการแยก
การแยกสารโดยอาศัยหลักการพลังงานกับการเปลี่ยนแปลงของสาร
4.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแก๊สกับพลังงานเปลี่ยน
4.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแก๊สกับพลังงานเปลี่ยน
4.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแก๊สกับพลังงานเปลี่ยน
4.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแก๊สกับพลังงานเปลี่ยน
4.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแก๊สกับพลังงานเปลี่ยน
4.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแก๊สกับพลังงานเปลี่ยน
4.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแก๊สกับพลังงานเปลี่ยน

More Related Content

What's hot

ของไหล ฟิสิกส์เพิ่มเติม3 ม.5
ของไหล ฟิสิกส์เพิ่มเติม3 ม.5ของไหล ฟิสิกส์เพิ่มเติม3 ม.5
ของไหล ฟิสิกส์เพิ่มเติม3 ม.5อะลิ้ตเติ้ล นก
 
3ความตึงผิว และความหนืด
3ความตึงผิว  และความหนืด3ความตึงผิว  และความหนืด
3ความตึงผิว และความหนืดWijitta DevilTeacher
 
พลังงานใต้พื้นภิภพ
พลังงานใต้พื้นภิภพพลังงานใต้พื้นภิภพ
พลังงานใต้พื้นภิภพuntika
 
แรงดันในของเหลว1
แรงดันในของเหลว1แรงดันในของเหลว1
แรงดันในของเหลว1tewin2553
 
Interfacial phenomena 2555
Interfacial phenomena 2555Interfacial phenomena 2555
Interfacial phenomena 2555adriamycin
 
ฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหล
ฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหลฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหล
ฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหลChirawat Samrit
 
การทดสอบเพื่อหาค่าแรงอัดแกนเดียว
การทดสอบเพื่อหาค่าแรงอัดแกนเดียวการทดสอบเพื่อหาค่าแรงอัดแกนเดียว
การทดสอบเพื่อหาค่าแรงอัดแกนเดียวKasetsart University
 
การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกKankamol Kunrat
 
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหลWijitta DevilTeacher
 
การทดลองที่ 1 เรื่องมอดูลัสความยืดหยุ่น
การทดลองที่ 1 เรื่องมอดูลัสความยืดหยุ่นการทดลองที่ 1 เรื่องมอดูลัสความยืดหยุ่น
การทดลองที่ 1 เรื่องมอดูลัสความยืดหยุ่นkanokpan krueaprasertkun
 

What's hot (20)

fluid
fluidfluid
fluid
 
ของไหล ฟิสิกส์เพิ่มเติม3 ม.5
ของไหล ฟิสิกส์เพิ่มเติม3 ม.5ของไหล ฟิสิกส์เพิ่มเติม3 ม.5
ของไหล ฟิสิกส์เพิ่มเติม3 ม.5
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
3ความตึงผิว และความหนืด
3ความตึงผิว  และความหนืด3ความตึงผิว  และความหนืด
3ความตึงผิว และความหนืด
 
พลังงานใต้พื้นภิภพ
พลังงานใต้พื้นภิภพพลังงานใต้พื้นภิภพ
พลังงานใต้พื้นภิภพ
 
นำเสนอสาร
นำเสนอสารนำเสนอสาร
นำเสนอสาร
 
แรงดันในของเหลว1
แรงดันในของเหลว1แรงดันในของเหลว1
แรงดันในของเหลว1
 
00ของไหล01
00ของไหล0100ของไหล01
00ของไหล01
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
Interfacial phenomena 2555
Interfacial phenomena 2555Interfacial phenomena 2555
Interfacial phenomena 2555
 
Fluid
FluidFluid
Fluid
 
ฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหล
ฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหลฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหล
ฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหล
 
การทดสอบเพื่อหาค่าแรงอัดแกนเดียว
การทดสอบเพื่อหาค่าแรงอัดแกนเดียวการทดสอบเพื่อหาค่าแรงอัดแกนเดียว
การทดสอบเพื่อหาค่าแรงอัดแกนเดียว
 
การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
 
Solid
SolidSolid
Solid
 
ความตึงผิว
ความตึงผิวความตึงผิว
ความตึงผิว
 
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
 
Change e2009 1
Change e2009 1Change e2009 1
Change e2009 1
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
การทดลองที่ 1 เรื่องมอดูลัสความยืดหยุ่น
การทดลองที่ 1 เรื่องมอดูลัสความยืดหยุ่นการทดลองที่ 1 เรื่องมอดูลัสความยืดหยุ่น
การทดลองที่ 1 เรื่องมอดูลัสความยืดหยุ่น
 

Viewers also liked

9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมี
9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมี9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมี
9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมีWichai Likitponrak
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพWichai Likitponrak
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1Mayuree Paitoon
 
3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลว
3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลว3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลว
3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลวWichai Likitponrak
 
1ติวสอบวิชาวิทยาศาสตร์ป6
1ติวสอบวิชาวิทยาศาสตร์ป61ติวสอบวิชาวิทยาศาสตร์ป6
1ติวสอบวิชาวิทยาศาสตร์ป6Wichai Likitponrak
 
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวันบทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวันThepsatri Rajabhat University
 
เคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมี
เคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมีเคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมี
เคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมีWichai Likitponrak
 
ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdna
ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdnaติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdna
ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdnaWichai Likitponrak
 
บท5พฤติกรรมสัตว์
บท5พฤติกรรมสัตว์บท5พฤติกรรมสัตว์
บท5พฤติกรรมสัตว์Wichai Likitponrak
 
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุลเคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุลWichai Likitponrak
 
บท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืชบท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืชWichai Likitponrak
 
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อมติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อมWichai Likitponrak
 
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารสมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารnetzad
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสWuttipong Tubkrathok
 
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่ายThepsatri Rajabhat University
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงพัน พัน
 
เคมีพื้นบท4ปิโตรเลียม
เคมีพื้นบท4ปิโตรเลียมเคมีพื้นบท4ปิโตรเลียม
เคมีพื้นบท4ปิโตรเลียมWichai Likitponrak
 
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตบท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตWichai Likitponrak
 

Viewers also liked (20)

9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมี
9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมี9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมี
9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมี
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
 
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
 
3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลว
3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลว3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลว
3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลว
 
1ติวสอบวิชาวิทยาศาสตร์ป6
1ติวสอบวิชาวิทยาศาสตร์ป61ติวสอบวิชาวิทยาศาสตร์ป6
1ติวสอบวิชาวิทยาศาสตร์ป6
 
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวันบทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
 
เคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมี
เคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมีเคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมี
เคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมี
 
ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdna
ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdnaติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdna
ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdna
 
บท5พฤติกรรมสัตว์
บท5พฤติกรรมสัตว์บท5พฤติกรรมสัตว์
บท5พฤติกรรมสัตว์
 
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุลเคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
 
บท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืชบท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืช
 
7.พฤติกรรม
7.พฤติกรรม7.พฤติกรรม
7.พฤติกรรม
 
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อมติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
 
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารสมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบส
 
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลง
 
เคมีพื้นบท4ปิโตรเลียม
เคมีพื้นบท4ปิโตรเลียมเคมีพื้นบท4ปิโตรเลียม
เคมีพื้นบท4ปิโตรเลียม
 
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตบท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

4.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแก๊สกับพลังงานเปลี่ยน