SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
ใบความรูที่ 3.1 เรื่องความดันในของเหลว

จุดประสงคของการเรียนรู เพื่อให
       นักเรียนสามารถอธิบายเกี่ยวกับความหนาแนนของวัตถุและความดันในของเหลว และนําไปใชใน
ชีวตประจําวันได
   ิ

1. ความหนาแนนของสารและความถวงจําเพาะ
   1.1 ความหนาแนนของสารใด ๆ หมายถึง อัตราสวนระหวางมวล ตอ ปริมาตรของสารนั้น
   1.2 ความหนาแนนสัมพัทธ หมายถึงอัตราสวนของความหนาแนนของสารใดๆ เทียบกับความหนาแนนของ
       สารอางอิง
   1.3 ความถวงจําเพาะ หมายถึงอัตราสวนของความหนาแนนของสารใดๆ เทียบกับความหนาแนนของน้า
                                                                                       ํ

2. ความดันในของเหลว
   2.1 ความดันในของเหลวอาจแยกพิจารณาเปนความดันเกจกับความดันสัมบูรณ
   2.2 ความดันเกจ เปนความดันเนื่องจากน้ําหนักของของเหลวที่กดบนพื้นที่ที่รองรับในแนวตั้งฉาก
   2.3 ความดันสัมบูรณ เปนความดันเนื่องจากน้าหนักของของเหลวและอากาศกดลงบนพืนที่รองรับใน
                                              ํ                                   ้
       แนวตั้งฉาก
   2.4 หลักการทั่วไปเกี่ยวกับความดันในของเหลว
       2.4.1 ความดันในของเหลวของเหลวชนิดเดียวกัน
               1.) ที่ความลึกเทากันจะมีความดันเทากัน
               2.) ที่ความลึกตางกันจะมีความดันตางกัน
       2.4.2 ณ จุดใดๆ ในของเหลวยอมมีแรงกระทําเสมอในทุกทิศทุกทาง
       2.4.3 แรงที่ของเหลวกระทําตอภาชนะจะมีทิศตังฉากกับผนังของภาชนะ ถาวัตถุอยูในของเหลวจะมีแรง
                                                       ้
               กระทํากับวัตถุในทิศตั้งฉากกับผิวของของเหลวนั้น
       2.4.4 ความดันเกจ ณ ตําแหนงใดๆ ในของเหลวที่อยูนิ่งและอุณหภูมคงตัวจะแปรผันกับความลึกและ
                                                                      ิ
               ความหนาแนนของของเหลว
       2.4.5 ความดันในของเหลวไมขึ้นอยูกับปริมาตรและรูปรางของภาชนะที่บรรจุของเหลว

3. ความดันในของเหลวที่กนภาชนะหรือที่ระดับความลึกใดๆ
       สูตรที่ใชในการคํานวณหาความดันในของเหลวสามารถหาไดจากน้ําหนักของของเหลวที่บรรจุในภาชนะ
   รูปทรงกระบอกหรือภาชนะรูปทรงปริซึมที่มีฐานวางอยูบนพืน
                                                       ้
                                         ขนาดแรงดัน            น้ําหนักของของเหลว
       จากนิยาม ความดันในของเหลว =                         =
                                     พื้นที่ในแนวตั้งฉาก        พื้นที่ในแนวตั้งฉาก
จากความหนาแนนของสาร ρ = m จะไดวา m = ρV
                                                             V
                               ความดันเกจพิจารณาจากน้ําหนักของของเหลวที่กดบนพืนที่ A
                                                                              ้
                                                        mg ρVg ρ(Ah)g
                                                 Pw =     =   =       = ρgh
                                                        A   A    A




4. ความดันเกจที่ดานขางของภาชนะ
                 
                                              เปนความดันเฉลี่ยของความดันที่ผิวกับความดันที่พื้น
                                                                      0 + ρgh ρgh
                                                                 P=          =
                                                                         2     2




หมายเหตุ
1.) ความดันเปนปริมาณสเกลาร มีหนวยเปน นิวตันตอตารางเมตร (N/m2)หรือพาสคัล(Pa)
2.) จากสมการ Pw = ρgh อาจเขียนกราฟความสัมพันธไดดังนี้




3.) ความดันในของเหลวไมขึ้นกับปริมาตรและรูปรางของภาชนะที่บรรจุของเหลว
                                                  จากรูป
                                                            ความดันทีกนภาชนะของรูป ก. ข. และค . จะมี
                                                                     ่
                                                  คาเทากัน


5. เครื่องมือวัดความดันในของเหลว(แมนอมิเตอรแบบหลอดแกวรูปตัวยู)
                                                เมื่อจุมหลอดแกววัดความดันลงในของเหลว ของเหลวจะ
                                                ไลอากาศไปกดของเหลวในหลอดแมนอมิเตอร ทําให
                                                ระดับน้ําในขาหลอดแมนอมิเตอรสูงไมเทากัน คาความ
                                                     ดันของของเหลวที่เกิดความแตกตางของระดับน้ํานี้คือ
                                                ความดันเกจ
                                                                        Pw = ρgh
ถาของเหลวในแมนอมิเตอรมีความหนาแนน ρ1 และของเหลวในภาชนะมีความหนาแนน ρ2 ความดันเนื่องจาก
                                                 ความแตกตางของความดันในแมนอมิเตอรกับความ
                                                 ดันเนื่องจากความลึกในภาชนะจะมีคาเทากัน
                                                                    ρ1gh 1 = ρ 2 gh 2
                                                    หรือ
                                                                     ρ1 h 1 = ρ 2 h 2




                    6. ความดันสัมบูรณในของเหลว(absolute pressure)
                       ความดันสัมบูรณ เปนความดันในของเหลวรวมกับความดันของอากาศ
                          ความดันสัมบูรณ = ความดันเกจ + ความดันอากาศ
                          P = ρgh + Pa

                         จากรูป เปนหลอดแกวรูปตัวยูปลายเปด 2 ดาน ขนาดเทากัน บรรจุของเหลว 2 ชนิด
                         เมื่อมีความดันบรรยากาศกดลง Pa ทั้ง 2 ดาน ดังรูป
                         เนื่องจาก “ที่ระดับเดียวกันจะมีความดันเทากัน” จะไดวา
                                                 ความดันที่ A = ความดันที่ B
                                                     ρ1gh1 + Pa = ρ2gh2 + Pa
                                                          ρ1gh1 = ρ2 gh2


                                                      ในการวัดความดันของแกสที่มีความดันมากกวา
                                                      ความดันบรรยากาศ
                                                            ความดันที่ A = ความดันที่ B
                                                                      ρgh + Pa = P



                                                   ในการวัดความดันของแกสที่มีความดันนอยกวาความ
                                                   ดันบรรยากาศ
                                                          ความดันที่ A = ความดันที่ B
                                                                    Pa = ρgh + P
7. เครื่องมือวัดความดันในของไหล
   7.1 แมนอมิเตอรรปตัวยู
                    ู




   ความดันที่ A เทากับ ความดันที่ B
                                     P = ρgh + Pa หรือ P - Pa = ρgh
          นั่นคือ ผลตางของความดันของอากาศที่เปาเขาไปกับความดันอากาศมีคาเทากับความดันเกจ

                                                              แมนอมิเตอรหลอดแกวรูปตัวยูทใชในชิวต
                                                                                           ี่     ิ
                                                              ประจําวัน เชนการวัดความดันโลหิต




   7.2 แบรอมิเตอรวดความดันบรรยากาศ แบงเปน 2 แบบ
                   ั
       7.2.1 แบรอมิเตอรแบบปรอทหรือแบรอมิเตอรแบบทอริเซลลี
       7.2.2 แบรอมิเตอรแบบแอนิรอยด

More Related Content

What's hot

บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงานPinutchaya Nakchumroon
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลาย
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลายความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลาย
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลายFaris Singhasena
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณAui Ounjai
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4Ngamsiri Prasertkul
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558dnavaroj
 
วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57Kongkrit Pimpa
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงานdnavaroj
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2dnavaroj
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันPreeyapat Lengrabam
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงานPhanuwat Somvongs
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้าdnavaroj
 
ใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาJariya Jaiyot
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่นKruNistha Akkho
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนThepsatri Rajabhat University
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชThanyamon Chat.
 

What's hot (20)

บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลาย
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลายความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลาย
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลาย
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณ
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
 
วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
กฎของพาสคัล
กฎของพาสคัลกฎของพาสคัล
กฎของพาสคัล
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
Pre onet วิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2554
Pre onet วิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2554Pre onet วิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2554
Pre onet วิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2554
 
ใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 

Similar to แรงดันในของเหลว1

Similar to แรงดันในของเหลว1 (12)

ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
00ของไหล01
00ของไหล0100ของไหล01
00ของไหล01
 
แรงดันในของเหลว
แรงดันในของเหลวแรงดันในของเหลว
แรงดันในของเหลว
 
แรงดันในของเหลว
แรงดันในของเหลวแรงดันในของเหลว
แรงดันในของเหลว
 
Week5[1]
Week5[1]Week5[1]
Week5[1]
 
ฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหล
ฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหลฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหล
ฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหล
 
พลศาสตร์ของไหล
พลศาสตร์ของไหลพลศาสตร์ของไหล
พลศาสตร์ของไหล
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
Sci30203-Pressure
Sci30203-PressureSci30203-Pressure
Sci30203-Pressure
 
ของไหล.ppt
ของไหล.pptของไหล.ppt
ของไหล.ppt
 
Physicเรื่องของไหล
Physicเรื่องของไหล Physicเรื่องของไหล
Physicเรื่องของไหล
 
ของไหล 1
ของไหล 1ของไหล 1
ของไหล 1
 

แรงดันในของเหลว1

  • 1. ใบความรูที่ 3.1 เรื่องความดันในของเหลว จุดประสงคของการเรียนรู เพื่อให นักเรียนสามารถอธิบายเกี่ยวกับความหนาแนนของวัตถุและความดันในของเหลว และนําไปใชใน ชีวตประจําวันได ิ 1. ความหนาแนนของสารและความถวงจําเพาะ 1.1 ความหนาแนนของสารใด ๆ หมายถึง อัตราสวนระหวางมวล ตอ ปริมาตรของสารนั้น 1.2 ความหนาแนนสัมพัทธ หมายถึงอัตราสวนของความหนาแนนของสารใดๆ เทียบกับความหนาแนนของ สารอางอิง 1.3 ความถวงจําเพาะ หมายถึงอัตราสวนของความหนาแนนของสารใดๆ เทียบกับความหนาแนนของน้า ํ 2. ความดันในของเหลว 2.1 ความดันในของเหลวอาจแยกพิจารณาเปนความดันเกจกับความดันสัมบูรณ 2.2 ความดันเกจ เปนความดันเนื่องจากน้ําหนักของของเหลวที่กดบนพื้นที่ที่รองรับในแนวตั้งฉาก 2.3 ความดันสัมบูรณ เปนความดันเนื่องจากน้าหนักของของเหลวและอากาศกดลงบนพืนที่รองรับใน ํ ้ แนวตั้งฉาก 2.4 หลักการทั่วไปเกี่ยวกับความดันในของเหลว 2.4.1 ความดันในของเหลวของเหลวชนิดเดียวกัน 1.) ที่ความลึกเทากันจะมีความดันเทากัน 2.) ที่ความลึกตางกันจะมีความดันตางกัน 2.4.2 ณ จุดใดๆ ในของเหลวยอมมีแรงกระทําเสมอในทุกทิศทุกทาง 2.4.3 แรงที่ของเหลวกระทําตอภาชนะจะมีทิศตังฉากกับผนังของภาชนะ ถาวัตถุอยูในของเหลวจะมีแรง ้ กระทํากับวัตถุในทิศตั้งฉากกับผิวของของเหลวนั้น 2.4.4 ความดันเกจ ณ ตําแหนงใดๆ ในของเหลวที่อยูนิ่งและอุณหภูมคงตัวจะแปรผันกับความลึกและ ิ ความหนาแนนของของเหลว 2.4.5 ความดันในของเหลวไมขึ้นอยูกับปริมาตรและรูปรางของภาชนะที่บรรจุของเหลว 3. ความดันในของเหลวที่กนภาชนะหรือที่ระดับความลึกใดๆ สูตรที่ใชในการคํานวณหาความดันในของเหลวสามารถหาไดจากน้ําหนักของของเหลวที่บรรจุในภาชนะ รูปทรงกระบอกหรือภาชนะรูปทรงปริซึมที่มีฐานวางอยูบนพืน ้ ขนาดแรงดัน น้ําหนักของของเหลว จากนิยาม ความดันในของเหลว = = พื้นที่ในแนวตั้งฉาก พื้นที่ในแนวตั้งฉาก
  • 2. จากความหนาแนนของสาร ρ = m จะไดวา m = ρV V ความดันเกจพิจารณาจากน้ําหนักของของเหลวที่กดบนพืนที่ A ้ mg ρVg ρ(Ah)g Pw = = = = ρgh A A A 4. ความดันเกจที่ดานขางของภาชนะ  เปนความดันเฉลี่ยของความดันที่ผิวกับความดันที่พื้น 0 + ρgh ρgh P= = 2 2 หมายเหตุ 1.) ความดันเปนปริมาณสเกลาร มีหนวยเปน นิวตันตอตารางเมตร (N/m2)หรือพาสคัล(Pa) 2.) จากสมการ Pw = ρgh อาจเขียนกราฟความสัมพันธไดดังนี้ 3.) ความดันในของเหลวไมขึ้นกับปริมาตรและรูปรางของภาชนะที่บรรจุของเหลว จากรูป ความดันทีกนภาชนะของรูป ก. ข. และค . จะมี ่ คาเทากัน 5. เครื่องมือวัดความดันในของเหลว(แมนอมิเตอรแบบหลอดแกวรูปตัวยู) เมื่อจุมหลอดแกววัดความดันลงในของเหลว ของเหลวจะ ไลอากาศไปกดของเหลวในหลอดแมนอมิเตอร ทําให ระดับน้ําในขาหลอดแมนอมิเตอรสูงไมเทากัน คาความ ดันของของเหลวที่เกิดความแตกตางของระดับน้ํานี้คือ ความดันเกจ Pw = ρgh
  • 3. ถาของเหลวในแมนอมิเตอรมีความหนาแนน ρ1 และของเหลวในภาชนะมีความหนาแนน ρ2 ความดันเนื่องจาก ความแตกตางของความดันในแมนอมิเตอรกับความ ดันเนื่องจากความลึกในภาชนะจะมีคาเทากัน ρ1gh 1 = ρ 2 gh 2 หรือ ρ1 h 1 = ρ 2 h 2 6. ความดันสัมบูรณในของเหลว(absolute pressure) ความดันสัมบูรณ เปนความดันในของเหลวรวมกับความดันของอากาศ ความดันสัมบูรณ = ความดันเกจ + ความดันอากาศ P = ρgh + Pa จากรูป เปนหลอดแกวรูปตัวยูปลายเปด 2 ดาน ขนาดเทากัน บรรจุของเหลว 2 ชนิด เมื่อมีความดันบรรยากาศกดลง Pa ทั้ง 2 ดาน ดังรูป เนื่องจาก “ที่ระดับเดียวกันจะมีความดันเทากัน” จะไดวา ความดันที่ A = ความดันที่ B ρ1gh1 + Pa = ρ2gh2 + Pa ρ1gh1 = ρ2 gh2 ในการวัดความดันของแกสที่มีความดันมากกวา ความดันบรรยากาศ ความดันที่ A = ความดันที่ B ρgh + Pa = P ในการวัดความดันของแกสที่มีความดันนอยกวาความ ดันบรรยากาศ ความดันที่ A = ความดันที่ B Pa = ρgh + P
  • 4. 7. เครื่องมือวัดความดันในของไหล 7.1 แมนอมิเตอรรปตัวยู ู ความดันที่ A เทากับ ความดันที่ B P = ρgh + Pa หรือ P - Pa = ρgh นั่นคือ ผลตางของความดันของอากาศที่เปาเขาไปกับความดันอากาศมีคาเทากับความดันเกจ แมนอมิเตอรหลอดแกวรูปตัวยูทใชในชิวต ี่ ิ ประจําวัน เชนการวัดความดันโลหิต 7.2 แบรอมิเตอรวดความดันบรรยากาศ แบงเปน 2 แบบ ั 7.2.1 แบรอมิเตอรแบบปรอทหรือแบรอมิเตอรแบบทอริเซลลี 7.2.2 แบรอมิเตอรแบบแอนิรอยด