SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
เอกสารประกอบการสอน
                                                  เคมีฟิลิกัลป์สําหรับเภสัชศาสตร์ (702064)
  เรื่อง : Interfacial phenomena                                                                                         อ. นิชธิมา แพ่งนคร
                    ผิวประจัน (Interfacial) คือ รอยต่อระหว่างพืนผิวของสสารต่างชนิด ทังในสภาวะที่มีเฟสเหมือนหรือแตกต่างกัน จะ
                                                                ้                     ้
  เกิดแรงกระทําต่อพื้นผิวของสสารนั้น เรียกว่า แรงตึงผิว (Interfacial tension) ลักษณะของแรงตึงผิวระหว่างเฟสที่แตกต่างกัน จะทําให้
  ปรากฏการณ์ทผิวประจันที่เกิดขึ้น แตกต่างกันไปตามประเภทของรอยต่อระหว่างสสารนั้นๆ หากผิวของสสารเชื่อมต่อกับอากาศ พื้นผิว
                ี่
  ประจันนั้นจะถูกเรียกว่า พื้นผิว (surface) ประเภทของผิวประจัน สามารถแบ่งได้ดงนี้ั

                                                           Interfacial
                           Phase                                                                 Type of Inetrface
                                                            Tension
                        Gas – gas                               -
                       Gas – liquid                            γLV               Liquid surface
                       Gas – liquid                            γSV               Solid surface
                      Liquid - liquid                          γLL               Liquid – liquid Interface (emulsion)
                      Liquid - Solid                           γLS               Liquid – solid Interface (suspension)
                       Solid - Solid                           γSS               Solid- solid Interface (powder particles)

   แรงตึงผิว (Surface tension )
              ในของเหลวทุกชนิดจะมีคุณสมบัติของแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล 2 ชนิด คือ
                                                1. แรงยึดติด (cohesion force) คือแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของของเหลวชนิด
                                      เดียวกันแรงนี้สามารถรับความเค้นดึง (tensile stress) ได้เล็กน้อย
                                                2. แรงเกาะติด (adhesion force) คือแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของของเหลวกับสาร
                                      ชนิดอื่น เช่น น้ํากับแก้ว ปรอทกับแก้ว เป็นต้น
                                                แรงตึงผิว คือแรงที่เกิดขึ้นบริเวณที่ผิวของของเหลวสัมผัสกับของเหลวอื่นหรือกับผิวของแข็งโดย
                                      มีพลังงานเพียงพอต่อการยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล ซึ่งมีขนาดสัมพัทธ์กับแรงยึดติดและแรงเกาะติดทํา
                                      ให้เกิดเป็นลักษณะคล้ายๆ กับแผ่นบางๆ ที่สามารถต้านแรงดึงได้เล็กน้อย แรงตึงผิวเป็นสมบัติอย่างหนึ่ง
                                      ของของเหลว ความตึงผิวทําให้ผิวหน้าของน้ําเป็นเสมือนผิวหนังบาง คลุมน้ําข้างใต้ไว้ แรงตึงผิวจะเป็น
รูปที่1. แสดงแรงดึงดูดระหวาง
                                      แรงทีกระทําต่อโมเลกุลของของเหลวในแนวขนานไปกับพื้นผิวของของเหลว
                                            ่
โมเลกุลของน้ําทําใหเกิดแรงตึงผิว                   γLV = F
                                                               L
              เมื่อ γLV         คือหน่วยแรงตึงผิว มีหน่วยเป็นแรง/ความยาว (dyne / cm)

             ทําการวัดได้โดยใช้เส้นลวดขึงเป็นรูปเฟรมสี่เหลี่ยมจัตรัสที่สามารถเลื่อนส่วนฐานได้โดยมีตุ้มน้ําหนักแขวนไว้
                                                                  ุ
  เมื่อจุ่มลงไปในของเหลวจะเกิดฟิล์มของของเหลวที่เกิดขึ้นระหว่างเส้นลวด ฟิล์มที่เกิดขึ้นมีผวประจัน กับอากาศทั้ง
                                                                                            ิ
  ด้านหน้าและหลัง แรงตึงผิวจะดึงฐานของลวดเข้าหาตัวดังนันเมื่อให้แรงหรือน้ําหนักในทางตรงข้าม แรงทีทาทีทําให้
                                                                ้                                           ่ ํ ่
  ฟิล์มขาดออกจากกัน (fb) จึงนํามาคํานวนค่าแรงตึงผิวได้ ตามสมการ ดังนี้
                                               γLV = fb                                                           รูปที่2. แสดงฟลมที่เกิดขึ้นระหวาง
                                                         2L                                                       กรอบลวด ในการวัดแรงตึงผิว




                                                                       ‐ 1 ‐
แรงตึงผิวมีค่าเฉพาะที่เปลี่ยนแปลงได้ตามชนิดของของเหลว เช่น ที่อุณหภูมิ 20 0C มีหน่วยแรงตึงผิวของของเหลวชนิด
ต่างๆ (ดังแสดงในตาราง) นอกจากนี้แรงตึงผิวยังเปลี่ยนแปลงได้ตามอุณหภูมิ เมื่ออุณหภูมสูงขึ้น แรงยึดเหนี่ยวในโมเลกุลของ
                                                                                   ิ
ของเหลวน้อยลง ทําให้แรงตึงผิวมีคาน้อยลง
                                      ่
                     ตารางแสดงค่าแรงตึงผิว และ แรงระหว่างผิวประจันของของเหลวกับน้ํา ที่อุณหภูมิ 20 0C




          การเกิดหยดของเหลว ( droplet ) เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นกับของเหลวที่มีขนาดเล็กและอยู่อย่างอิสระ เช่น เม็ดของ
ของเหลวในบรรยากาศ หรือเม็ดของของเหลวที่เกิดจากหัวฉีดที่ฉีดของเหลวออกมาเป็นฝอยหรือละอองเล็กๆ หรือเม็ดของของเหลวที่
เกาะตามใบไม้ ซึ่งอิทธิพลของแรงตึงผิวจะพยายามปรับรูปร่างให้เม็ดของของเหลวมีลกษณะเป็นรูปทรงกลม ทําให้แรงดันในหยด
                                                                           ั
ของเหลวมากขึน เพื่อให้เกิดแรงต้านแรงตึงผิว เป็นผลให้หยดของเหลวคงสภาพอยู่ได้อย่างสมดุลถ้าพิจารณาหยดของเหลวทรงกลมที่มี
              ้
รัศมี r และความดันภายในหยดของเหลว P โดย
แรงดันภายในหยดของเหลว                                   = Pπr 2
แรงตึงผิว                                               = 2πrγLV
จากสมดุลของแรง จะได้ แรงดันภายในหยดของเหลว เท่ากับ แรงตึงผิว
                                 Pπr2 =           2πrγLV
ความดันภายในหยดของเหลว                P =         2γLV / r

         ปรากฏการณ์ของเหลวในท่อขนาดเล็ก ( capillarity ) คือปรากฏการณ์ที่ของเหลวซึ่งสัมผัสกับวัตถุแล้วมีลักษณะสูงขึ้นหรือ
ต่ําลง เนื่องมาจากอิทธิพลของแรงยึดติดและแรงเกาะติด เช่น บริเวณที่น้ําสัมผัสกับผิวแก้ว จะมีระดับน้ําสูงขึ้นเล็กน้อย เพราะแรง
เกาะติดระหว่างโมเลกุลของน้ํากับโมเลกุลของแก้วมีมากกว่าแรงยึดติดระหว่างโมเลกุลของน้ํา แต่ถ้าเป็นบริเวณที่ปรอทสัมผัสกับผิวแก้ว
ระดับปรอทจะต่ําลงเล็กน้อย เนื่องจากยึดติดระหว่างโมเลกุลของปรอทมีมากกว่าแรงเกาะติดระหว่างโมเลกุลของปรอทกับโมเลกุลของ
แก้ว
         เมื่อนําหลอดแก้วขนาดเล็กที่มรศมี r จุ่มลงในของเหลวที่มีแรงเกาะติดมากกว่าแรงยึดติด จะเห็นของเหลวสูงขึ้นเป็นระยะ h
                                     ีั
โดยของเหลวมีหน่วยแรงตึงผิว γLV ทํามุม θ กับแนวดิง     ่
                                                                                ของเหลวสวนมาก θ ~ 0 
         น้ําหนักของของเหลว                 W        = πr2ρhg
         แรงกระทําระหว่างผิว                Fy       = γLV 2π cos θ
         สมดุลของแรง                        ΣFy = 0
                                            πr2hρg = γLV 2πr cos θ
                                            h        = 2γLV cos θ
                                                            ρrg




                                                            ‐ 2 ‐
การวัดค่าแรงตึงผิว

     • DuNoüy ring
DuNoüy tensiometer มีลักษณะเป็น วงแหวนโลหะจุ่มลงในภาชนะที่มีสารตัวอย่าง แล้วให้แรงใน
การยกวงแหวนให้เกิดเป็นฟิล์มขึ้น บันทึกค่าแรงทีใช้ในการยกวงแหวนจนหลุดจากผิวน้ํา
                                              ่
Wtotal = Wring + 2 (2πr) γ                                            wtotal = Total weight

วิธีนี้มีค่าความคลาดเคลื่อน ถึง 25% เนื่องจาก รัศมีของลวดที่           wring = Ring weight
นํามาใช้ในการทําวงแหวนหรือปริมาตรของของเหลวที่ถกดึงขึนจึงใช้
                                                     ู ้
การวัดแรงที่อ่านได้จากอุปกรณ์ คูณด้วยค่า Corection factor             R = Ring radius
(คํานวณโดยวิธการของ Harkins and Jordan ) เพื่อให้ได้คํานวณได้
                 ี
                                                                      γ = surface tension
ค่าที่ถกต้อง
         ู
                                                                       fr = Dial reading (dyne)
γ = fr . β
                                                                      β = Corection factor          รูปที่3. แสดงการวัดแรงตึงผิว
       2πr
                                                                                                    ดวย DuNoüy ring

     • Wilhelmy Plate
Wilhelmy Plate ลักษณะเป็นแผ่นโลหะ platinum             wtotal = Total weight
หรือ แก้วบางมีผวขรุขระ จุ่มลงในภาชนะที่มีสาร
                 ิ
ตัวอย่าง เลื่อนแผ่นโหะลงจนแตะผิวของเหลว แล้ว           wplate = Plate weight
บันทึกค่าแรงที่เกิดขึ้นในการการจุ่มแผ่นโลหะจนถึงจุด
                                                       γ = surface tension
สมดุล
                                                       b = buoyancy force
γ=             w total– (w plate – b)                                                             รูปที่4. แสดง การวัดแรงตึงผิว
                                                       l = length of plate                        ดวย Wilhelmy Plate
                 2 l cos θ




ค่าสัมประสิทธิการแผ่ขยาย (Spreading coefficient)
              ์
          เมื่อของเหลวหยดลงบนพื้นผิวของสสารชนิดอืน จะสามารถเกิดการแผ่กระจายตัวออก เกิดเป็นฟิลมแผ่คลุมพื้นผิวนั้นเมื่อแรง
                                                      ่                                              ์
ยึดติดของโมเลกุลของเหลวนั้นๆน้อยกว่าแรงเกาะติดของโมเลกุลของของเหลวกับพื้นผิวอื่น เช่น เมื่อน้ําหยดลงบนพื้นโต๊ะ หรือ น้ํามัน
หยดลงบนน้ํา ฟิล์มที่เกิดขึ้น เป็น ฟิล์มที่ประกอบไปด้วยโมเลกุลของของเหลวนั้นหลายชั้น (duplex film) ซึ่งจะมีความหนาตั้งแต่ 100
A0 ขึ้นไป




                                                             ‐ 3 ‐
รูปที่ 5. แสดงงานที่เกิดขึ้นในกระบวนแยกสวนของเฟสที่ตางกันออกจากกัน           รูปที่ 6. แสดงงานที่เกิดขึ้นในกระบวนแยกสวนของเฟสเดียวกันออกจากกัน

 เช่น น้ํามันที่ลอยอยู่บนผิวน้ํา สมมติว่าชั้นระหว่างผิวสัมผัสของเหลวทังสองเป็นดังรูป งานทีใช้ในการแยกผิวสัมผัสทั้งสองออกจากกันเกิด
                                                                      ้                   ่
 เป็นพื้นผิวของของแข็งและของเหลว (รูป 5) จะเท่ากับ แรงตึงผิว คูณ พื้นที่ผวที่เกิดขึ้น หรือเท่ากับ แรงตึงผิวของของเหลวและแรงตึงผิว
                                                                            ิ
 ของของแข็งที่เกิดขึ้นมาใหม่ หักล้างกับแรงระหว่างผิวสัมผัสของแข็งและของเหลวเดิม ดังนี้
 Wa = γL + γS - γLS
 ในขณะที่ งานทีต้องการแยกของโมเลกุลของของเหลวชนิดหนึงๆออกจากกัน และทําให้เกิดผิวพื้นผิวของของเหลวใหม่2พื้นผิว( รูป 6)
               ่                                    ่
 คือ
 Wc = 2γL
 จะได้ ค่าสัมประสิทธิ์การแผ่ขยาย , S คือ Wa – Wc
 จะได้ S = γS - γLS - γL             หรือ          S = γS – ( γLS + γL )                       รูปที่ 6. แสดงหยดของเหลวรูปเลนสบนผิวน้ํา
 เมื่อ S มีคาเป็น บวกเมื่อแรงตึงผิวของชั้นของเหลวชั้นล่างมีค่ามากกว่า
             ่
 ผลรวมของแรงตึงผิวของของเหลวชั้นบนกับแรงระหว่างผิวสัมผัส ในทาง
 กลับกันหากแรงตึงผิวของของเหลวชั้นบนกับแรงระหว่างผิวสัมผัส มีค่า
 มากกว่าแรงตึงผิวของชั้นของเหลวชั้นล่าง ของเหลวชั้นบนจะคงอยู่ในรูป
 ของหยดของเหลวทรงกลมหรือหยดรูปรูปเลนส์นูนเหนือชั้นของของเหลว
 ชั้นล่าง และไม่สามารถแผ่กระจายไปทั่วของเหลวชั้นล่างได้ แต่เมื่อทิงไว้เมื่อระบบเข้าสู่สมดุลของเหลวทังสองจะอิ่มตัวซึ่งกันและกันจะ
                                                                   ้                                ้
                              ‘          ‘
 เกิดค่าแรงตึงผิวใหม่ เป็น γS และ γL ซึ่งโดยปกติมกจะลดลงจากเดิม ทําให้ค่า S ลดลงหรือกลายเป็นค่าติดลบ นั่นคือ หยดของเหลว
                                                     ั
 ที่ลอยอยูด้านบนจะเกิดการรวมตัวกันเป็นหยดขนาดใหญ่ โดยเฉพาะอย่างยิงเมื่อเพิ่มปริมาณของเหลวชั้นบนให้มากขึ้น
           ่                                                              ่
 มุมสัมผัส (contact angle)
          ค่ามุมสัมผัส คือ มุมระหว่างเส้นสัมผัสของหยดของเหลวที่ไม่เคลื่อนที่บนพื้นผิวโดยจุดเริ่มต้นอยู่ ณ ตําแหน่งทีเ่ ป็นจุดสัมผัสของ
 ทั้งอากาศ ของเหลวและของแข็ง และการวัดค่ามุมสัมผัส (contact angle, θ C ) ของของเหลวบนพื้นผิวของแข็ง




                                                                       ‐ 4 ‐
จากความสมดุลของ 3 interfacial force จึงทําให้ได้คามุมสัมผัส (contact angle) ซึ่งสามารถอธิบายได้จาก Young’s equation ดัง
                                                 ่
สมการ
γSV = γSL + γLV cosθ
γSV คือ แรงตึงผิวของของแข็งกับไอน้ําทีจุดสมดุล
                                      ่
γLV คือ แรงตึงผิวของของเหลวกับไอน้ําที่จุดสมดุล
γSL คือ แรงตึงผิวระหว่างของแข็งและของเหลว

การเปียกผิวที่สมบูรณ์ (เช่น น้ําบนแก้วที่สะอาด) จะเกิดขึ้นก็ตอเมื่อค่ามุมสัมผัส (contact angle, θc ) เท่ากับ 0 0 หรือค่าสัมประสิทธิ์
                                                             ่
การแผ่ขยาย (spreading coefficient, S ) มีค่ามากกว่า หรือเท่ากับศูนย์ ดังสมการ
 S = γSV - γLS - γLV        ≥0

           ค่ามุมสัมผัสจะขึ้นกับพลังงานพื้นผิวและแรงตึงผิวของของเหลว ถ้าพื้นผิวมีการเปียก ที่สมบูรณ์กับของเหลว หยดของเหลวจะ
แผ่ออกไปทั่วพืนผิว ทําให้มุมสัมผัสมีค่าเข้าใกล้ศูนย์ ขณะเดียวกันถ้าพื้นผิวสามารถเปียกโดยของเหลวได้ไม่ดนัก มุมสัมผัสระหว่างหยด
                 ้                                                                                      ี
ของเหลวกับ พืนผิวก็จะมีค่าอยู่ระหว่าง 0-180 องศา โดยที่คามุมสัมผัสของน้ําสูงแสดงว่าผิวสัมผัสมีสมบัติสะท้อนน้ําที่ดี แต่ถ้ามุมสัมผัส
                   ้                                        ่
ของน้ําต่ําแสดงว่าพื้นผิวถูกทําให้เปียกง่าย




                                    รูปที่ 7 แสดงมุมสัมผัสระหวางหยดของเหลวกับพื้นผิวของแข็ง
การวัดค่ามุมสัมผัส
         การทดสอบมุมสัมผัสจะใช้วิธีทเี่ รียกว่า sessile drop หยดของเหลวจะถูกหยดออกจาก หลอดฉีดยาขนาดเล็ก ลงบนพื้นผิววัสดุ
ที่ตองการทดสอบ โดยการนําเอาพื้นผิวขึ้นไปสัมผัสกับ หยดที่แขวนอยู่ที่ปลายเข็มฉีดยา เพือให้ได้ของเหลวเพียงหยดเดียวที่สัมผัสกับผิว
    ้                                                                               ่
วัสดุ จากนั้นแสง จะถูกส่องผ่านด้านหน้าของเหลวและภาพของหยดของเหลวจะตกลงบนฉากรับภาพซึงอยูด้านหลัง หยดของเหลว มุม
                                                                                               ่ ่
สัมผัสจะถูกวัดโดยใช้ฉากวัดมุม (protractor) ที่ตดอยู่กับฉากรับภาพ
                                                 ิ

การดูดซับ (Adsorption)

         การดูดซับ คือ ลักษณะของโมเลกุลจากสภาวะปกติไปสู่สภาวะที่ยึดติดบนพื้นผิวของสารอีกชนิดหนึ่ง การดูดซับเป็น
กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการสะสมตัวของสาร หรือความเข้มข้นของสารทีบริเวณพื้นผิวหรือระหว่างผิวหน้า (interface) กระบวนการ
                                                                     ่
นี้สามารถเกิดทีบริเวณผิวสัมผัสระหว่าง 2 สภาวะใด ๆ เช่น ของเหลวกับของเหลว ก๊าซกับของเหลว ก๊าซกับของแข็ง หรือของเหลวกับ
               ่
ของแข็ง โดยโมเลกุลหรือคอลลอยด์ทถูกดูดจับเรียกว่า สารถูกดูดซับ(adsorbate) ส่วนสารที่ทําหน้าที่ดูดซับเรียกว่า สารดูดซับ
                                   ี่
(adsorbent) นอกจากนี้ในระบบที่มีส่วนประกอบหลายชนิด ที่ชั้นพื้นผิวก็จะมีส่วนประกอบแตกต่างกันด้วย เนื่องจากความสามารถใน
การดูดซับแตกต่างกันขึ้นกับความเลือกสรร (selectivity) ทีผิวหน้าของวัสดุ
                                                       ่




                                                                ‐ 5 ‐
กลไกของกระบวนการดูดซับ

                 การดูดซับเป็นกระบวนการกักพวกสารละลายหรือสารแขวนลอยขนาดเล็กซึ่งละลายอยู่ในตัวกลาง ให้อยู่บนผิวของ
สารอีกชนิดหนึง โดยที่สารละลายหรือสารแขวนลอย ขนาดเล็กนี้เรียกว่า Adsorbate ส่วนของแข็งที่มีผิวเป็นที่เกาะจับของสารที่ถกดูด
              ่                                                                                                      ู
ติดเรียกว่า Adsorbent การดูดติดผิวนี้จะเป็นการดูดติดแบบระหว่างสถานะ (Phase) ต่างๆทั้งสามสถานะ คือ ของเหลว (Liquid) ก๊าซ
(Gas) และ ของแข็ง (Solid) ซึ่งมีได้ทั้งแบบ ของเหลว- ของเหลว ก๊าซ-ของเหลว ก๊าซ-ของแข็ง และ ของเหลว-ของแข็ง

        ประเภทของการดูดซับ

         ปัจจัยสําคัญในการบอกชนิดของกระบวนการดูดซับจะพิจารณาจากแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลที่ถกดูดซับกับผิวของสารดูด
                                                                                                     ู
ซับ ถ้าแรงยึดเหนี่ยวเป็นแรงแวนเดอร์วาลส์ (Van der Waals Forces) จะเป็นการดูดซับทางกายภาพ (physical adsorption) แต่ถ้า
แรงยึดเหนี่ยวทําให้เกิดพันธะเคมีระหว่างโมเลกุลที่ถกดูดซับกับผิวของสารดูดซับ จะเรียกว่า การดูดซับทางเคมี (chemical
                                                  ู
adsorption)

    1. การดูดซับทางกายภาพ (Physical adsorption)

        เป็นการดูดซับที่เกิดจากแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลอย่างอ่อน คือ แรงแวนเดอร์วาลส์ (Vander Waals Forces) ซึ่งเกิดจากการ
    รวมแรง 2 ชนิด คือ แรงกระจาย (London dispersion force) และแรงไฟฟ้าสถิตย์(electrostatic force) การดึงดูดด้วยแรงที่
    อ่อนทําให้การดูดซับประเภทนีมีพลังงานการคายความร้อนค่อนข้างน้อย คือ ต่ํากว่า 20 กิโลจูลต่อโมลและสามารถเกิดการผันกลับ
                                 ้
    ของกระบวนการได้ง่าย ซึ่งเป็นข้อดี เพราะสามารถฟื้นฟูสภาพของตัวดูดซับได้ง่ายด้วย สารที่ถกดูดซับสามารถเกาะอยูรอบ ๆ ผิว
                                                                                          ู                      ่
    ของสารดูดซับได้หลายชั้น(multilayer) หรือในแต่ละชั้นของโมเลกุลสารถูกดูดซับจะติดอยูกับชั้นของโมเลกุลของสารถูกดูดซับในชั้น
                                                                                      ่
    ก่อนหน้านี้ โดยจํานวนชั้นจะเป็นสัดส่วนกับความเข้มข้นของสารถูกดูดซับ และจะเพิ่มมากขึ้นตามความเข้มข้นที่สูงขึ้นของตัวถูก
    ละลายในสารละลาย

    2. การดูดซับทางเคมี (Chemical adsorption)

          การดูดซับประเภทนี้เกิดขึ้นเมื่อตัวถูกดูดซับกับตัวดูดซับทําปฏิกิริยาเคมีกัน ซึงส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมีของตัวถูก
                                                                                       ่
    ดูดซับเดิม เกี่ยวข้องกับการถ่ายทอดอิเล็กตรอน ซึ่งเท่ากับการสร้างพันธะเคมีระหว่างสารทีไปดูดซับกับสารพื้นผิวของของแข็ง คือมี
                                                                                                ่
    การทําลายแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมหรือกลุ่มอะตอมเดิมแล้วมีการจัดเรียงอะตอมไปเป็นสารประกอบใหม่ข้น โดยมีพันธะเคมี
                                                                                                                  ึ
    ซึ่งเป็นพันธะทีแข็งแรง มีพลังงานกระตุ้นเข้ามาเกี่ยวข้องทําให้ความร้อนของการดูดซับมีค่าสูงประมาณ 50-400 กิโลจูลต่อโมล
                    ่
    หมายความว่าการกําจัดตัวถูกดูดซับออกจากผิวตัวดูดซับจะทําได้ยาก คือไม่สามารถเกิดปฏิกริยาผันกลับได้ (irreversible) และการ
                                                                                                  ิ
    ดูดซับประเภทนี้จะเป็นการดูดซับแบบชั้นเดียว(monolayer) เท่านั้น ซึ่งการดูดซับทางกายภาพและทางเคมีมีข้อแตกต่างกันหลาย
    อย่าง           นั่นคือ chemisorption จะแข็งแรงกว่า physical adsorption แต่ก็จะถูกจํากัด เฉพาะสารที่ไปดูดซับที่ monolayer
    ของพื้นผิวของของแข็งเท่านั้น

การเปรียบเทียบลักษณะจําเพาะของการดูดซับทางกายภาพและการดูดซับทางเคมี
              ลักษณะจําเพาะ                     การดูดซับทางกายภาพ                               การดูดซับทางเคมี
พันธะระหว่าง absorbent -adsorbate        Vander Waals Forces                         Covalent หรือ ionic bond
Energy of adsorption                     20-40 KJ / mole                             40-400 KJ / mole
ความจําเพาะเจาะจงระหว่าง absorbent -     ไม่จําเพาะ                                  มีความจําเพาะ
adsorbate
ผลของอุณหภูมิ                            เมื่ออุณหภูมิเพิมการดูดซับน้อยลง
                                                         ่                           เมื่ออุณหภูมิเพิมอัตราเร็วการดูดซับเพิ่มขึ้น
                                                                                                     ่
การผันกลับของกระบวนการดูดซับ             ผันกลับได้                                  ไม่ผันกลับ
อัตราเร็วของการดูดซับ                    คงที่                                       เพิ่มตามอุณหภูมิ
จํานวนชั้นของการดูดซับ                   เกิด monolayer ที่ความดันต่า ํ              เกิด monolayer เท่านั้น
                                         เมื่อความดันเพิมเกิด multilayerได้
                                                           ่

                                                              ‐ 6 ‐
การดูดซับบนผิวของแข็ง และก๊าซ
          การดูดซับบนผิวของแข็ง และก๊าซ เกิดขึ้นเนืองจากการไม่สมดุลของพันธะยึดเหนี่ยว ระหว่างอะตอมหรือโมเลกุลที่เป็น
                                                   ่
องค์ประกอบของสาร ที่บริเวณพื้นผิวอนุภาคของของแข็งจะยึดกับโมเลกุลทีอยู่ในเนือสารเท่านั้นแต่ผิวหน้าที่สัมผัสกับอากาศไม่มพันธะ
                                                                       ่       ้                                           ี
จึงทําให้เกิดแรงดึงดูดเข้ามาภายในเนื้อของสาร ในทิศทางที่ตงฉากกับพื้นผิว ดึงเอาโมเลกุลของสารอื่นๆที่อยู่ใกล้เข้ามายึดติดกับพื้นผิว
                                                         ั้
ของอนุภาคของแข็งได้ การดูดซับก๊าซบนผิวของของแข็งถือเป็นต้นแบบของการดูดซับทางกายภาพ

สมมติฐานของการดูดซับ
ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณก๊าซที่ดดซับไว้บนพื้นผิวของแข็งที่กับความดันสมดุลที่อุณหภูมิคงที่ เรียกว่า Adsoption Isotherm ซึ่งมีผู้
                                  ู
อธิบายชนิดของ isotherm ต่างๆไว้ดังนี้
     • Freundlich Isotherm
         Freundlich ได้เขียนสมการอธิบายการดูดซับได้ดังนี้ Y          =         x       =          Kp1/n
                                                                      M
หรือ                                log Y = log K + 1/n log p
Y = ปริมาณก๊าซที่ถกดูดซับไว้บนพื้นที่ผิวของแข็งหนึงต่อหน่วยน้ําหนักของ adsorbent
                     ู                            ่
x = ปริมาณก๊าซที่ถกดูดซับไว้ (mg , mole )
                   ู
M = น้ําหนักของของแข็ง หรือ adsorbent
p = ความดันสมดุลของก๊าซ
K, n = ค่าคงทีข้นกับอุณหภูมิ ชนิดของก๊าซและ adsorbent
              ่ึ

เมื่อนํามา plot กราฟจะได้ดงรูปที่ 8
                          ั
                                                                                    รูปที่ 8 กราฟแสดง Freundlich และ Langmuir Isotherm
      • Langmuir Isotherm
            Langmiur ได้อธิบายการดูดซับจากพื้นฐานทฤษฎีทว่าการอะตอมหรือโมเลกุลของก๊าซจะถูกดูดซับไว้ที่ผิวของแข็งเพียงชั้น
                                                                 ี่
เดียวและมีความสม่ําเสมอของการดูดซับ และอัตราเร็วในการดูดซับ (r1) จะแปรผันตรงกับพื้นที่ผิวทียังไม่มีการดูดซับก๊าซ และความดัน
                                                                                                          ่
ของก๊าซขณะนั้น (p) ในขณะทีอัตราเร็วการระเหยของก๊าซออกจากพื้นผิวของของแข็ง (r2) จะแปรผันตรงกับ พื้นที่ผิวทีดูดซับก๊าซเอาไว้
                                 ่                                                                                ่
เมื่อพื้นที่ผวทั้งหมดเท่ากับ 1 พื้นที่ผิวดูดซับก๊าซไว้แล้ว เป็น θ ดังนั้นพื้นผิวที่ไม่มีการดูดซับก๊าซ คือ 1- θ
             ิ
จึงได้สมการ                    r1 = k1 (1 - θ )p
และ                             r2 = k2 θ
ที่จุดสมดุล                     r1 = r2
จะได้
                              θ =             k1 p           =           ( k1/ k2 ) p
                                         k2 + k1 p                  1 + ( k1/ k2 ) p
แทนค่า k1/ k2 ด้วย b และ θ ด้วย Y / Ym
เมื่อ Ymคือ ปริมาณก๊าซทีถูกดูดซับไว้บนพื้นทีผิวแบบชั้นเดียวจนเต็มพื้นที่ผิวของของแข็งต่อหนึ่งหน่วยน้ําหนักของ adsorbent
                            ่                    ่

ได้                       Y / Ym =            bp
                                           1+ bp
หรือ
                          Y       =    Ym b p         เรียกว่า Langmuir Isoterm
                                    1 + bp
เมื่อเปลี่ยนสมการให้อยู่ในรูป p =       1 + p
                              Y      b Ym         Ym
จะเขียนกราฟความสัมพันธ์ระหว่าง Y และ p จะได้ p/y และ p จะได้กราฟตามรูป A และ ตามลําดับ


                                                               ‐ 7 ‐
รูปที่ 9 กราฟแสดง Langmuir Isoterm
      • BET isotherm
           มาจาก Brunauer, Emmett และ Teller ซึ่งใช้ในการอธิบายการดูดซับแบบ multilayer โดย การดูดซับด้วยพันธะระหว่าง
พื้นผิวของแข็งกับก๊าซเกิดกับชันแรกของการดูดซับเท่านั้น ในชั้นถัดไปจะเกิดพันธะระหว่างโมเลกุลก๊าซด้วยกันเอง
                              ้
เมื่อเปลี่ยนสมการให้อยู่ในรูป        p          =            1      +       h -1 . p
                                Y (p0-p )                Ym h                Ym h      p0
P0 = ความดันไออิ่มตัวของก๊าซที่ถกดูดซับไว้
                                 ู
h = ค่าคงที่ ซึ่งเป็นสัดส่วนกับความแตกต่างระหว่าง ความร้อนในการดูดซับของ ก๊าซทีถูกดูดซับในชั้นแรก กับ พลังงานแฝงของการ
                                                                                  ่
ควบแน่นของก๊าซที่ถกดูดซับในชั้นถัดๆไป
                     ู




                                    รูปที่ 10 แสดง BET Isotherm ของการดูดซับ แบบต่างๆ


การดูดซับในระบบของแข็ง ของเหลว

          ในระบบ ของเหลว-ของแข็ง (Liqid –Solid Interface) ในสภาวะของเหลวการดูดซับโมเลกุลของสารละลายหรือสารแขวนลอย
ก็จะถูกกําจัดออกจากน้ําและไปเกาะติดอยู่บนตัวดูดซับ โมเลกุลของสารส่วนใหญ่จะเกาะจับอยู่กับผิวภายในโพรงของตัวดูดซับและมี
เพียงส่วนน้อยเท่านั้นที่เกาะอยูท่ผิวภายนอก การถ่ายเทโมเลกุลจากน้ําไปหาตัวดูดซับเกิดขึ้นได้จนถึงสมดุลจึงหยุด ณ จุดสมดุล ความ
                                ่ ี
เข้มข้นของโมเลกุลในน้ําจะเหลือน้อยเพราะโมเลกุลส่วนใหญ่เคลื่อนที่ไปเกาะจับอยู่กับตัวดูดซับ กระบวนการที่เกิดขึ้นจะซับซ้อนกว่าการ
ดูดซับที่พื้นผิวของแข็ง เนื่องจากทังโมเลกุลของตัวทําละลายและตัวถูกละลาย สามารถถูกดูดซับได้ทั้งคู่ จึงเกิดการแย่งทีของการดูดซับ
                                    ้                                                                             ่
กัน




                                                            ‐ 8 ‐
การใช้ประโยชน์ทางเภสัชกรรม
  สารออกฤทธิ์ต่อพื้นผิว
            สารออกฤทธิ์ตอพื้นผิว หรือ สารลดแรงตึงผิว (surfactant, surface active agent) อาจเป็นโมเลกุลหรืออิออนที่มการดูดซับ
                         ่                                                                                                   ี
  อยู่บริเวณผิวประจันส่งผล ต่อลักษณะพื้นผิว ทําให้เกิดความต่อเนื่องของพื้นผิวของสารทังสองสถานะ โดย ตัวอย่างเช่น สบู่และสารซัก
                                                                                        ้
  ล้าง ซึ่งโมกุลสารนี้จะมีลักษณะ Amphiphile คือ โมเลกุลหรือไอออนซึ่งประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนที่มีขั้วหรือส่วนที่ชอบน้ํา
  (hydrophilic) และส่วนที่ไม่มขั้วหรือส่วนที่ไม่ชอบน้ํา (hydrophobic) ซึ่งทัง 2 ส่วนนี้ต้องสมดุลกันทําให้ถูกดูดซับที่พื้นผิวหรือระหว่าง
                               ี                                            ้
  พื้นผิวของของเหลว ทําให้ความเข้มข้นที่พื้นผิวสูงกว่าความเข้มข้นภายในเนือของของเหลว
                                                                          ้                                    รูป11. แสดงการจัดเรียงตัว
                                                                                                                ของสารลดแรงตึงผิวที่ผิวน้ํา -
                การเรียงตัวของสารลดแรงตึงผิว หากความเข้มข้นของสารลดแรงตึงผิวต่ํา โมเลกุลของสารลด
                                                                                                                อากาศและผิวน้ํา-น้ํามัน
  แรงตึงผิวจะเรียงตัวบนพื้นผิวน้าโดยหันส่วนทีมข้วเข้าหาน้ําและส่วนที่ไม่มีขั้วทอดขนานกับผิวน้ํา เมื่อเพิ่ม
                                      ํ              ่ีั
  จํานวนของสารลดแรงตึงผิวได้ความเข้มข้นสูงขึ้น โมเลกุลจะเรียงตั้งตรงโดยหันส่วนที่มขั้วเข้าหาน้ํา และ
                                                                                          ี
  ส่วนที่ไม่มีขั้วเข้าหาอากาศ (รูป a) ทําให้เปลี่ยนจากระหว่างพื้นผิวน้ํา-อากาศ เป็นระหว่างพื้นผิว
  ไฮโดรคาร์บอน-อากาศ ทําให้แรงตึงผิวของน้าลดลงเนื่องจากแรงตึงผิวของไฮโดรคาร์บอนจะต่ํากว่าแรงตึง
                                                     ํ
  ผิวของน้ํา ส่วนพื้นผิวของน้ําและน้ํามันโมเลกุลของสารลดแรงตึงผิวจะเรียงตัวโดยหันส่วนที่มีขั้วเข้าหาน้ํา
  และส่วนที่ไม่มีขั้วเข้าหาน้ํามัน เมื่อความเข้มข้นของสารลดแรงตึงผิวสูงถึงความเข้มข้นหนึ่ง โมเลกุลภายใน
  เนื้อของของเหลวจะรวมกันเป็นกลุ่ม เรียกว่า ไมเซลล์ (micelle) (รูป b) ความเข้มข้นของสารลดแรงตึงผิว
  ที่ต่ําสุดทีเ่ ริ่มเกิดไมเซลล์ เรียกว่า ความเข้มข้นไมเซลล์วิกฤต (critical micelle concentration, CMC)



                                                    HLB System (Hydrophile-Lipophile Balance)
                                                              Griffin ได้ศึกษา ระดับของความชอบและไม่
                                                    ชอบน้ําของสารลดแรงตึงผิวต่างๆไว้โดยแสดงระดับไว้ดังรูป12 สารมีส่วนที่ไม่ชอบน้ํา
                                                    มากหรือชอบไขมันจะมีค่า HLB ต่ํา (1.8-8.6) ในขณะที่สารทีมีส่วนชอบน้ํามากจะมี
                                                                                                             ่
                                                    ค่า HLB สูง(9.6-16.7) ในการผลิตยาอิมัลชัน ส่วนผสมของ oil phase ในตํารับ จะ
                                                    มีคา ค่า HLB ที่ตองการ ( required HLB ; RHLB) การคํานวณหาค่า RHLB ของ
                                                        ่              ้
                                                    ทั้งตํารับทําได้โดยการ นําค่า RHLB ของ oil phase แต่ละตัวในตํารับคูณด้วย
                                                    สัดส่วนน้ําหนักในตํารับของ oil นั้นๆ ดังนันสารก่ออิมัลชันในตํารับอิมัลชัน o/w
                                                                                              ้
                                                    หรือ w/o จะแตกต่างกัน ดังต่อไปนี้
                                                    O/W emulsion ต้องใช้ emulsifier ซึ่งมีค่า HLB = 8-18
รูป12. ระดับของ คา HLB และการใชประโยชน              W/O emulsion ต้องใช้ emulsifier ซึ่งมีค่า HLB = 3-6
ของสารลดแรงตึงผิว




                                                                  ‐ 9 ‐
Hydrophilic-lipophilic balance (HLB) value of                     Required Hydrophilic-lipophilic balance (RHLB)
                    Amphiphilic agent                                   value of some Oil for (o/w) and (w/o)emulsion




             ตัวอย่างการนําสารลดแรงตึงผิวมาในทางเภสัชกรรม ได้แก่ เพื่อให้น้ําและน้ํามันเข้ากันได้ในการผลิตยาอิมลชัน ทําให้ผงยาที่
                                                                                                               ั
เปียกน้ําได้ยากเข้ากับน้ําได้มากขึ้น เพิ่มอัตราเร็วการละลายของยาที่ละลายน้ําได้ยาก ทําให้ยาสามารถซึมผ่านชั้นเยื่อบุต่างๆของร่างกาย
ได้ดียิ่งขึ้นและสารลดแรงตึงผิวเช่น Cationic surfactant ยังใช้เป็นสารต้านจุลนทรียในตํารับยาน้ําสําหรับใช้ภายนอกอีกด้วย
                                                                             ิ     ์
Activeted charcoal

          ผงถ่านกัมมันต์ ใช้ประโยชน์จากลักษณะที่เป็นผงๆ มีพื้นที่ผิวมากเนื่องจากมีรูเล็กๆ(cavernous pores)จํานวนมาก ทําให้มี
    พื้นที่ผิวมากกว่าสารชนิดอื่นทีมีน้ําหนักเท่ากัน โดยมีพื้นที่ผวจําเพาะถึง 600-1,000 m2/g ในทางเภสัชกรรมใช้ในการดูดซับ
                                  ่                              ิ
    สารพิษหรือยา หากแต่ยาที่แตกตัวเป็นประจุ หรือสารโมเลกุลเล็กเช่น alcohol จะถูกดูดซับได้ไม่ดี ไม่ควรให้พร้อม antidote อื่นๆ
    เนื่องจากขัดขวางการดูดซึมยาต้านพิษชนิดอื่น เช่น N-acetylcysteine และ ฤทธิในการดูดซึมของผงถ่านจะลดลง เมื่อให้รวมกับ
                                                                                     ์                                 ่
    อาหารประเภทนม หรือไอศกรีม

เอกสารอ้างอิง

    • Martin, A., Bustamante, P and Chun, A.H.C., Physical pharmacy, 4th Ed., Lea & Febiger, Philadelphia USA
      (1993) pp.363-388.
    • Amili, M.M. and Sandmann,J.B., Applied Physical Pharmacy.,The McGraw-Hill Companies,Inc. USA (2003)
      pp.327-363.




                                                              ‐ 10 ‐

More Related Content

What's hot

Interfacial phenomena &Surface tension
Interfacial phenomena &Surface tensionInterfacial phenomena &Surface tension
Interfacial phenomena &Surface tensionjnu jaipur
 
Surface tension--Wetting Phenomena--Capillarity
Surface tension--Wetting Phenomena--CapillaritySurface tension--Wetting Phenomena--Capillarity
Surface tension--Wetting Phenomena--CapillarityKhanSaif2
 
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometryปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - StoichiometryDr.Woravith Chansuvarn
 
Crystallinity in polymers
Crystallinity in polymers Crystallinity in polymers
Crystallinity in polymers Manjinder Singh
 
2 a.f.g.f. surface tension
2 a.f.g.f. surface tension2 a.f.g.f. surface tension
2 a.f.g.f. surface tensionTesfaye Kebede
 
micronization by pankaj
 micronization by pankaj micronization by pankaj
micronization by pankajPankaj Wagh
 
เรื่องที่ 9 ของไหล
เรื่องที่ 9   ของไหลเรื่องที่ 9   ของไหล
เรื่องที่ 9 ของไหลthanakit553
 
ความหนาแน่นและความดันของของไหล
ความหนาแน่นและความดันของของไหลความหนาแน่นและความดันของของไหล
ความหนาแน่นและความดันของของไหลChanthawan Suwanhitathorn
 
Mechanism of adhesion
Mechanism of adhesionMechanism of adhesion
Mechanism of adhesionIzzah Noah
 
Physicเรื่องของไหล
Physicเรื่องของไหล Physicเรื่องของไหล
Physicเรื่องของไหล Icxise RevenClaw
 
เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมีPreeyapat Lengrabam
 
Pdf final surface tension
Pdf final surface tensionPdf final surface tension
Pdf final surface tensionJyotiJawale1
 
แรงดันในของเหลว1
แรงดันในของเหลว1แรงดันในของเหลว1
แรงดันในของเหลว1tewin2553
 
จลนศาสตร์ของปฏิกิริยา และความคงตัวของเภสัชภัณฑ์
จลนศาสตร์ของปฏิกิริยา และความคงตัวของเภสัชภัณฑ์จลนศาสตร์ของปฏิกิริยา และความคงตัวของเภสัชภัณฑ์
จลนศาสตร์ของปฏิกิริยา และความคงตัวของเภสัชภัณฑ์adriamycin
 

What's hot (20)

Interfacial phenomena &Surface tension
Interfacial phenomena &Surface tensionInterfacial phenomena &Surface tension
Interfacial phenomena &Surface tension
 
AnalChem : Overview
AnalChem : OverviewAnalChem : Overview
AnalChem : Overview
 
Surface tension--Wetting Phenomena--Capillarity
Surface tension--Wetting Phenomena--CapillaritySurface tension--Wetting Phenomena--Capillarity
Surface tension--Wetting Phenomena--Capillarity
 
Filtration
FiltrationFiltration
Filtration
 
Hydrolytic degradation
Hydrolytic degradationHydrolytic degradation
Hydrolytic degradation
 
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometryปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
 
Crystallinity in polymers
Crystallinity in polymers Crystallinity in polymers
Crystallinity in polymers
 
2 a.f.g.f. surface tension
2 a.f.g.f. surface tension2 a.f.g.f. surface tension
2 a.f.g.f. surface tension
 
Gas genchem
Gas genchemGas genchem
Gas genchem
 
micronization by pankaj
 micronization by pankaj micronization by pankaj
micronization by pankaj
 
เรื่องที่ 9 ของไหล
เรื่องที่ 9   ของไหลเรื่องที่ 9   ของไหล
เรื่องที่ 9 ของไหล
 
ความหนาแน่นและความดันของของไหล
ความหนาแน่นและความดันของของไหลความหนาแน่นและความดันของของไหล
ความหนาแน่นและความดันของของไหล
 
Mechanism of adhesion
Mechanism of adhesionMechanism of adhesion
Mechanism of adhesion
 
Physicเรื่องของไหล
Physicเรื่องของไหล Physicเรื่องของไหล
Physicเรื่องของไหล
 
เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
Bond
BondBond
Bond
 
Pdf final surface tension
Pdf final surface tensionPdf final surface tension
Pdf final surface tension
 
แรงดันในของเหลว1
แรงดันในของเหลว1แรงดันในของเหลว1
แรงดันในของเหลว1
 
จลนศาสตร์ของปฏิกิริยา และความคงตัวของเภสัชภัณฑ์
จลนศาสตร์ของปฏิกิริยา และความคงตัวของเภสัชภัณฑ์จลนศาสตร์ของปฏิกิริยา และความคงตัวของเภสัชภัณฑ์
จลนศาสตร์ของปฏิกิริยา และความคงตัวของเภสัชภัณฑ์
 
ของไหล ม.5
ของไหล ม.5ของไหล ม.5
ของไหล ม.5
 

Viewers also liked

Mass transport
Mass transportMass transport
Mass transportadriamycin
 
Intro to dosage_form_handout
Intro to dosage_form_handoutIntro to dosage_form_handout
Intro to dosage_form_handoutadriamycin
 
Intro to dosage form
Intro to dosage formIntro to dosage form
Intro to dosage formadriamycin
 
4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลีWijitta DevilTeacher
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีสWijitta DevilTeacher
 
3ความตึงผิว และความหนืด
3ความตึงผิว  และความหนืด3ความตึงผิว  และความหนืด
3ความตึงผิว และความหนืดWijitta DevilTeacher
 

Viewers also liked (7)

Mass transport
Mass transportMass transport
Mass transport
 
Stability
StabilityStability
Stability
 
Intro to dosage_form_handout
Intro to dosage_form_handoutIntro to dosage_form_handout
Intro to dosage_form_handout
 
Intro to dosage form
Intro to dosage formIntro to dosage form
Intro to dosage form
 
4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
 
3ความตึงผิว และความหนืด
3ความตึงผิว  และความหนืด3ความตึงผิว  และความหนืด
3ความตึงผิว และความหนืด
 

Similar to Interfacial phenomena 2555

น้ำกลิ้งบนใบบัว
น้ำกลิ้งบนใบบัวน้ำกลิ้งบนใบบัว
น้ำกลิ้งบนใบบัวadriamycin
 
09 น้ำกลิ้งบนใบบัว
09 น้ำกลิ้งบนใบบัว09 น้ำกลิ้งบนใบบัว
09 น้ำกลิ้งบนใบบัวadriamycin
 
ฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหล
ฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหลฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหล
ฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหลChirawat Samrit
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1lOOPIPER
 
น้ำกลิ้งบนใบบอน
น้ำกลิ้งบนใบบอนน้ำกลิ้งบนใบบอน
น้ำกลิ้งบนใบบอนadriamycin
 

Similar to Interfacial phenomena 2555 (8)

ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
fluid
fluidfluid
fluid
 
Sc1362
Sc1362Sc1362
Sc1362
 
น้ำกลิ้งบนใบบัว
น้ำกลิ้งบนใบบัวน้ำกลิ้งบนใบบัว
น้ำกลิ้งบนใบบัว
 
09 น้ำกลิ้งบนใบบัว
09 น้ำกลิ้งบนใบบัว09 น้ำกลิ้งบนใบบัว
09 น้ำกลิ้งบนใบบัว
 
ฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหล
ฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหลฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหล
ฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหล
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
น้ำกลิ้งบนใบบอน
น้ำกลิ้งบนใบบอนน้ำกลิ้งบนใบบอน
น้ำกลิ้งบนใบบอน
 

More from adriamycin

Complexation2555
Complexation2555Complexation2555
Complexation2555adriamycin
 
Solu partition2555
Solu partition2555Solu partition2555
Solu partition2555adriamycin
 
State of matter
State of matterState of matter
State of matteradriamycin
 
Hw 1 state_of_matter
Hw 1 state_of_matterHw 1 state_of_matter
Hw 1 state_of_matteradriamycin
 
Hw 1 state_of_matter
Hw 1 state_of_matterHw 1 state_of_matter
Hw 1 state_of_matteradriamycin
 
State of matter
State of matterState of matter
State of matteradriamycin
 
Intro to dosage form
Intro to dosage formIntro to dosage form
Intro to dosage formadriamycin
 
Mass transport
Mass transportMass transport
Mass transportadriamycin
 
ปรากฏการณ์ฝนตก
ปรากฏการณ์ฝนตกปรากฏการณ์ฝนตก
ปรากฏการณ์ฝนตกadriamycin
 
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้า
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้ากระติกน้ำร้อนไฟฟ้า
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้าadriamycin
 
สารลดแรงตึงผิวในผงซักฟอก
สารลดแรงตึงผิวในผงซักฟอกสารลดแรงตึงผิวในผงซักฟอก
สารลดแรงตึงผิวในผงซักฟอกadriamycin
 
สเปรย์ระงับกลิ่นกาย
สเปรย์ระงับกลิ่นกายสเปรย์ระงับกลิ่นกาย
สเปรย์ระงับกลิ่นกายadriamycin
 
การระเหิดของลูกเหม็น
การระเหิดของลูกเหม็นการระเหิดของลูกเหม็น
การระเหิดของลูกเหม็นadriamycin
 
จิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิว
จิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิวจิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิว
จิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิวadriamycin
 
การทำอาหารแห้งโดยใช้หลักพื้นฐานวัฏภาคน้ำ
การทำอาหารแห้งโดยใช้หลักพื้นฐานวัฏภาคน้ำการทำอาหารแห้งโดยใช้หลักพื้นฐานวัฏภาคน้ำ
การทำอาหารแห้งโดยใช้หลักพื้นฐานวัฏภาคน้ำadriamycin
 
คะแนน รุ่น11
คะแนน รุ่น11คะแนน รุ่น11
คะแนน รุ่น11adriamycin
 

More from adriamycin (20)

Complexation2555
Complexation2555Complexation2555
Complexation2555
 
Solu partition2555
Solu partition2555Solu partition2555
Solu partition2555
 
State of matter
State of matterState of matter
State of matter
 
Hw 1 state_of_matter
Hw 1 state_of_matterHw 1 state_of_matter
Hw 1 state_of_matter
 
Hw 1 state_of_matter
Hw 1 state_of_matterHw 1 state_of_matter
Hw 1 state_of_matter
 
State of matter
State of matterState of matter
State of matter
 
Intro to sci
Intro to sciIntro to sci
Intro to sci
 
Intro to dosage form
Intro to dosage formIntro to dosage form
Intro to dosage form
 
Pharm care
Pharm carePharm care
Pharm care
 
Pharm care
Pharm carePharm care
Pharm care
 
Pharm care
Pharm carePharm care
Pharm care
 
Mass transport
Mass transportMass transport
Mass transport
 
ปรากฏการณ์ฝนตก
ปรากฏการณ์ฝนตกปรากฏการณ์ฝนตก
ปรากฏการณ์ฝนตก
 
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้า
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้ากระติกน้ำร้อนไฟฟ้า
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้า
 
สารลดแรงตึงผิวในผงซักฟอก
สารลดแรงตึงผิวในผงซักฟอกสารลดแรงตึงผิวในผงซักฟอก
สารลดแรงตึงผิวในผงซักฟอก
 
สเปรย์ระงับกลิ่นกาย
สเปรย์ระงับกลิ่นกายสเปรย์ระงับกลิ่นกาย
สเปรย์ระงับกลิ่นกาย
 
การระเหิดของลูกเหม็น
การระเหิดของลูกเหม็นการระเหิดของลูกเหม็น
การระเหิดของลูกเหม็น
 
จิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิว
จิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิวจิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิว
จิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิว
 
การทำอาหารแห้งโดยใช้หลักพื้นฐานวัฏภาคน้ำ
การทำอาหารแห้งโดยใช้หลักพื้นฐานวัฏภาคน้ำการทำอาหารแห้งโดยใช้หลักพื้นฐานวัฏภาคน้ำ
การทำอาหารแห้งโดยใช้หลักพื้นฐานวัฏภาคน้ำ
 
คะแนน รุ่น11
คะแนน รุ่น11คะแนน รุ่น11
คะแนน รุ่น11
 

Interfacial phenomena 2555

  • 1. เอกสารประกอบการสอน เคมีฟิลิกัลป์สําหรับเภสัชศาสตร์ (702064) เรื่อง : Interfacial phenomena อ. นิชธิมา แพ่งนคร ผิวประจัน (Interfacial) คือ รอยต่อระหว่างพืนผิวของสสารต่างชนิด ทังในสภาวะที่มีเฟสเหมือนหรือแตกต่างกัน จะ ้ ้ เกิดแรงกระทําต่อพื้นผิวของสสารนั้น เรียกว่า แรงตึงผิว (Interfacial tension) ลักษณะของแรงตึงผิวระหว่างเฟสที่แตกต่างกัน จะทําให้ ปรากฏการณ์ทผิวประจันที่เกิดขึ้น แตกต่างกันไปตามประเภทของรอยต่อระหว่างสสารนั้นๆ หากผิวของสสารเชื่อมต่อกับอากาศ พื้นผิว ี่ ประจันนั้นจะถูกเรียกว่า พื้นผิว (surface) ประเภทของผิวประจัน สามารถแบ่งได้ดงนี้ั Interfacial Phase Type of Inetrface Tension Gas – gas - Gas – liquid γLV Liquid surface Gas – liquid γSV Solid surface Liquid - liquid γLL Liquid – liquid Interface (emulsion) Liquid - Solid γLS Liquid – solid Interface (suspension) Solid - Solid γSS Solid- solid Interface (powder particles) แรงตึงผิว (Surface tension ) ในของเหลวทุกชนิดจะมีคุณสมบัติของแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล 2 ชนิด คือ 1. แรงยึดติด (cohesion force) คือแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของของเหลวชนิด เดียวกันแรงนี้สามารถรับความเค้นดึง (tensile stress) ได้เล็กน้อย 2. แรงเกาะติด (adhesion force) คือแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของของเหลวกับสาร ชนิดอื่น เช่น น้ํากับแก้ว ปรอทกับแก้ว เป็นต้น แรงตึงผิว คือแรงที่เกิดขึ้นบริเวณที่ผิวของของเหลวสัมผัสกับของเหลวอื่นหรือกับผิวของแข็งโดย มีพลังงานเพียงพอต่อการยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล ซึ่งมีขนาดสัมพัทธ์กับแรงยึดติดและแรงเกาะติดทํา ให้เกิดเป็นลักษณะคล้ายๆ กับแผ่นบางๆ ที่สามารถต้านแรงดึงได้เล็กน้อย แรงตึงผิวเป็นสมบัติอย่างหนึ่ง ของของเหลว ความตึงผิวทําให้ผิวหน้าของน้ําเป็นเสมือนผิวหนังบาง คลุมน้ําข้างใต้ไว้ แรงตึงผิวจะเป็น รูปที่1. แสดงแรงดึงดูดระหวาง แรงทีกระทําต่อโมเลกุลของของเหลวในแนวขนานไปกับพื้นผิวของของเหลว ่ โมเลกุลของน้ําทําใหเกิดแรงตึงผิว γLV = F L เมื่อ γLV คือหน่วยแรงตึงผิว มีหน่วยเป็นแรง/ความยาว (dyne / cm) ทําการวัดได้โดยใช้เส้นลวดขึงเป็นรูปเฟรมสี่เหลี่ยมจัตรัสที่สามารถเลื่อนส่วนฐานได้โดยมีตุ้มน้ําหนักแขวนไว้ ุ เมื่อจุ่มลงไปในของเหลวจะเกิดฟิล์มของของเหลวที่เกิดขึ้นระหว่างเส้นลวด ฟิล์มที่เกิดขึ้นมีผวประจัน กับอากาศทั้ง ิ ด้านหน้าและหลัง แรงตึงผิวจะดึงฐานของลวดเข้าหาตัวดังนันเมื่อให้แรงหรือน้ําหนักในทางตรงข้าม แรงทีทาทีทําให้ ้ ่ ํ ่ ฟิล์มขาดออกจากกัน (fb) จึงนํามาคํานวนค่าแรงตึงผิวได้ ตามสมการ ดังนี้ γLV = fb รูปที่2. แสดงฟลมที่เกิดขึ้นระหวาง 2L กรอบลวด ในการวัดแรงตึงผิว   ‐ 1 ‐
  • 2. แรงตึงผิวมีค่าเฉพาะที่เปลี่ยนแปลงได้ตามชนิดของของเหลว เช่น ที่อุณหภูมิ 20 0C มีหน่วยแรงตึงผิวของของเหลวชนิด ต่างๆ (ดังแสดงในตาราง) นอกจากนี้แรงตึงผิวยังเปลี่ยนแปลงได้ตามอุณหภูมิ เมื่ออุณหภูมสูงขึ้น แรงยึดเหนี่ยวในโมเลกุลของ ิ ของเหลวน้อยลง ทําให้แรงตึงผิวมีคาน้อยลง ่ ตารางแสดงค่าแรงตึงผิว และ แรงระหว่างผิวประจันของของเหลวกับน้ํา ที่อุณหภูมิ 20 0C การเกิดหยดของเหลว ( droplet ) เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นกับของเหลวที่มีขนาดเล็กและอยู่อย่างอิสระ เช่น เม็ดของ ของเหลวในบรรยากาศ หรือเม็ดของของเหลวที่เกิดจากหัวฉีดที่ฉีดของเหลวออกมาเป็นฝอยหรือละอองเล็กๆ หรือเม็ดของของเหลวที่ เกาะตามใบไม้ ซึ่งอิทธิพลของแรงตึงผิวจะพยายามปรับรูปร่างให้เม็ดของของเหลวมีลกษณะเป็นรูปทรงกลม ทําให้แรงดันในหยด ั ของเหลวมากขึน เพื่อให้เกิดแรงต้านแรงตึงผิว เป็นผลให้หยดของเหลวคงสภาพอยู่ได้อย่างสมดุลถ้าพิจารณาหยดของเหลวทรงกลมที่มี ้ รัศมี r และความดันภายในหยดของเหลว P โดย แรงดันภายในหยดของเหลว = Pπr 2 แรงตึงผิว = 2πrγLV จากสมดุลของแรง จะได้ แรงดันภายในหยดของเหลว เท่ากับ แรงตึงผิว Pπr2 = 2πrγLV ความดันภายในหยดของเหลว P = 2γLV / r ปรากฏการณ์ของเหลวในท่อขนาดเล็ก ( capillarity ) คือปรากฏการณ์ที่ของเหลวซึ่งสัมผัสกับวัตถุแล้วมีลักษณะสูงขึ้นหรือ ต่ําลง เนื่องมาจากอิทธิพลของแรงยึดติดและแรงเกาะติด เช่น บริเวณที่น้ําสัมผัสกับผิวแก้ว จะมีระดับน้ําสูงขึ้นเล็กน้อย เพราะแรง เกาะติดระหว่างโมเลกุลของน้ํากับโมเลกุลของแก้วมีมากกว่าแรงยึดติดระหว่างโมเลกุลของน้ํา แต่ถ้าเป็นบริเวณที่ปรอทสัมผัสกับผิวแก้ว ระดับปรอทจะต่ําลงเล็กน้อย เนื่องจากยึดติดระหว่างโมเลกุลของปรอทมีมากกว่าแรงเกาะติดระหว่างโมเลกุลของปรอทกับโมเลกุลของ แก้ว เมื่อนําหลอดแก้วขนาดเล็กที่มรศมี r จุ่มลงในของเหลวที่มีแรงเกาะติดมากกว่าแรงยึดติด จะเห็นของเหลวสูงขึ้นเป็นระยะ h ีั โดยของเหลวมีหน่วยแรงตึงผิว γLV ทํามุม θ กับแนวดิง ่ ของเหลวสวนมาก θ ~ 0  น้ําหนักของของเหลว W = πr2ρhg แรงกระทําระหว่างผิว Fy = γLV 2π cos θ สมดุลของแรง ΣFy = 0 πr2hρg = γLV 2πr cos θ h = 2γLV cos θ ρrg   ‐ 2 ‐
  • 3. การวัดค่าแรงตึงผิว • DuNoüy ring DuNoüy tensiometer มีลักษณะเป็น วงแหวนโลหะจุ่มลงในภาชนะที่มีสารตัวอย่าง แล้วให้แรงใน การยกวงแหวนให้เกิดเป็นฟิล์มขึ้น บันทึกค่าแรงทีใช้ในการยกวงแหวนจนหลุดจากผิวน้ํา ่ Wtotal = Wring + 2 (2πr) γ wtotal = Total weight วิธีนี้มีค่าความคลาดเคลื่อน ถึง 25% เนื่องจาก รัศมีของลวดที่ wring = Ring weight นํามาใช้ในการทําวงแหวนหรือปริมาตรของของเหลวที่ถกดึงขึนจึงใช้ ู ้ การวัดแรงที่อ่านได้จากอุปกรณ์ คูณด้วยค่า Corection factor R = Ring radius (คํานวณโดยวิธการของ Harkins and Jordan ) เพื่อให้ได้คํานวณได้ ี γ = surface tension ค่าที่ถกต้อง ู fr = Dial reading (dyne) γ = fr . β β = Corection factor รูปที่3. แสดงการวัดแรงตึงผิว 2πr ดวย DuNoüy ring • Wilhelmy Plate Wilhelmy Plate ลักษณะเป็นแผ่นโลหะ platinum wtotal = Total weight หรือ แก้วบางมีผวขรุขระ จุ่มลงในภาชนะที่มีสาร ิ ตัวอย่าง เลื่อนแผ่นโหะลงจนแตะผิวของเหลว แล้ว wplate = Plate weight บันทึกค่าแรงที่เกิดขึ้นในการการจุ่มแผ่นโลหะจนถึงจุด γ = surface tension สมดุล b = buoyancy force γ= w total– (w plate – b) รูปที่4. แสดง การวัดแรงตึงผิว l = length of plate ดวย Wilhelmy Plate 2 l cos θ ค่าสัมประสิทธิการแผ่ขยาย (Spreading coefficient) ์ เมื่อของเหลวหยดลงบนพื้นผิวของสสารชนิดอืน จะสามารถเกิดการแผ่กระจายตัวออก เกิดเป็นฟิลมแผ่คลุมพื้นผิวนั้นเมื่อแรง ่ ์ ยึดติดของโมเลกุลของเหลวนั้นๆน้อยกว่าแรงเกาะติดของโมเลกุลของของเหลวกับพื้นผิวอื่น เช่น เมื่อน้ําหยดลงบนพื้นโต๊ะ หรือ น้ํามัน หยดลงบนน้ํา ฟิล์มที่เกิดขึ้น เป็น ฟิล์มที่ประกอบไปด้วยโมเลกุลของของเหลวนั้นหลายชั้น (duplex film) ซึ่งจะมีความหนาตั้งแต่ 100 A0 ขึ้นไป   ‐ 3 ‐
  • 4. รูปที่ 5. แสดงงานที่เกิดขึ้นในกระบวนแยกสวนของเฟสที่ตางกันออกจากกัน รูปที่ 6. แสดงงานที่เกิดขึ้นในกระบวนแยกสวนของเฟสเดียวกันออกจากกัน เช่น น้ํามันที่ลอยอยู่บนผิวน้ํา สมมติว่าชั้นระหว่างผิวสัมผัสของเหลวทังสองเป็นดังรูป งานทีใช้ในการแยกผิวสัมผัสทั้งสองออกจากกันเกิด ้ ่ เป็นพื้นผิวของของแข็งและของเหลว (รูป 5) จะเท่ากับ แรงตึงผิว คูณ พื้นที่ผวที่เกิดขึ้น หรือเท่ากับ แรงตึงผิวของของเหลวและแรงตึงผิว ิ ของของแข็งที่เกิดขึ้นมาใหม่ หักล้างกับแรงระหว่างผิวสัมผัสของแข็งและของเหลวเดิม ดังนี้ Wa = γL + γS - γLS ในขณะที่ งานทีต้องการแยกของโมเลกุลของของเหลวชนิดหนึงๆออกจากกัน และทําให้เกิดผิวพื้นผิวของของเหลวใหม่2พื้นผิว( รูป 6) ่ ่ คือ Wc = 2γL จะได้ ค่าสัมประสิทธิ์การแผ่ขยาย , S คือ Wa – Wc จะได้ S = γS - γLS - γL หรือ S = γS – ( γLS + γL ) รูปที่ 6. แสดงหยดของเหลวรูปเลนสบนผิวน้ํา เมื่อ S มีคาเป็น บวกเมื่อแรงตึงผิวของชั้นของเหลวชั้นล่างมีค่ามากกว่า ่ ผลรวมของแรงตึงผิวของของเหลวชั้นบนกับแรงระหว่างผิวสัมผัส ในทาง กลับกันหากแรงตึงผิวของของเหลวชั้นบนกับแรงระหว่างผิวสัมผัส มีค่า มากกว่าแรงตึงผิวของชั้นของเหลวชั้นล่าง ของเหลวชั้นบนจะคงอยู่ในรูป ของหยดของเหลวทรงกลมหรือหยดรูปรูปเลนส์นูนเหนือชั้นของของเหลว ชั้นล่าง และไม่สามารถแผ่กระจายไปทั่วของเหลวชั้นล่างได้ แต่เมื่อทิงไว้เมื่อระบบเข้าสู่สมดุลของเหลวทังสองจะอิ่มตัวซึ่งกันและกันจะ ้ ้ ‘ ‘ เกิดค่าแรงตึงผิวใหม่ เป็น γS และ γL ซึ่งโดยปกติมกจะลดลงจากเดิม ทําให้ค่า S ลดลงหรือกลายเป็นค่าติดลบ นั่นคือ หยดของเหลว ั ที่ลอยอยูด้านบนจะเกิดการรวมตัวกันเป็นหยดขนาดใหญ่ โดยเฉพาะอย่างยิงเมื่อเพิ่มปริมาณของเหลวชั้นบนให้มากขึ้น ่ ่ มุมสัมผัส (contact angle) ค่ามุมสัมผัส คือ มุมระหว่างเส้นสัมผัสของหยดของเหลวที่ไม่เคลื่อนที่บนพื้นผิวโดยจุดเริ่มต้นอยู่ ณ ตําแหน่งทีเ่ ป็นจุดสัมผัสของ ทั้งอากาศ ของเหลวและของแข็ง และการวัดค่ามุมสัมผัส (contact angle, θ C ) ของของเหลวบนพื้นผิวของแข็ง   ‐ 4 ‐
  • 5. จากความสมดุลของ 3 interfacial force จึงทําให้ได้คามุมสัมผัส (contact angle) ซึ่งสามารถอธิบายได้จาก Young’s equation ดัง ่ สมการ γSV = γSL + γLV cosθ γSV คือ แรงตึงผิวของของแข็งกับไอน้ําทีจุดสมดุล ่ γLV คือ แรงตึงผิวของของเหลวกับไอน้ําที่จุดสมดุล γSL คือ แรงตึงผิวระหว่างของแข็งและของเหลว การเปียกผิวที่สมบูรณ์ (เช่น น้ําบนแก้วที่สะอาด) จะเกิดขึ้นก็ตอเมื่อค่ามุมสัมผัส (contact angle, θc ) เท่ากับ 0 0 หรือค่าสัมประสิทธิ์ ่ การแผ่ขยาย (spreading coefficient, S ) มีค่ามากกว่า หรือเท่ากับศูนย์ ดังสมการ S = γSV - γLS - γLV ≥0 ค่ามุมสัมผัสจะขึ้นกับพลังงานพื้นผิวและแรงตึงผิวของของเหลว ถ้าพื้นผิวมีการเปียก ที่สมบูรณ์กับของเหลว หยดของเหลวจะ แผ่ออกไปทั่วพืนผิว ทําให้มุมสัมผัสมีค่าเข้าใกล้ศูนย์ ขณะเดียวกันถ้าพื้นผิวสามารถเปียกโดยของเหลวได้ไม่ดนัก มุมสัมผัสระหว่างหยด ้ ี ของเหลวกับ พืนผิวก็จะมีค่าอยู่ระหว่าง 0-180 องศา โดยที่คามุมสัมผัสของน้ําสูงแสดงว่าผิวสัมผัสมีสมบัติสะท้อนน้ําที่ดี แต่ถ้ามุมสัมผัส ้ ่ ของน้ําต่ําแสดงว่าพื้นผิวถูกทําให้เปียกง่าย รูปที่ 7 แสดงมุมสัมผัสระหวางหยดของเหลวกับพื้นผิวของแข็ง การวัดค่ามุมสัมผัส การทดสอบมุมสัมผัสจะใช้วิธีทเี่ รียกว่า sessile drop หยดของเหลวจะถูกหยดออกจาก หลอดฉีดยาขนาดเล็ก ลงบนพื้นผิววัสดุ ที่ตองการทดสอบ โดยการนําเอาพื้นผิวขึ้นไปสัมผัสกับ หยดที่แขวนอยู่ที่ปลายเข็มฉีดยา เพือให้ได้ของเหลวเพียงหยดเดียวที่สัมผัสกับผิว ้ ่ วัสดุ จากนั้นแสง จะถูกส่องผ่านด้านหน้าของเหลวและภาพของหยดของเหลวจะตกลงบนฉากรับภาพซึงอยูด้านหลัง หยดของเหลว มุม ่ ่ สัมผัสจะถูกวัดโดยใช้ฉากวัดมุม (protractor) ที่ตดอยู่กับฉากรับภาพ ิ การดูดซับ (Adsorption) การดูดซับ คือ ลักษณะของโมเลกุลจากสภาวะปกติไปสู่สภาวะที่ยึดติดบนพื้นผิวของสารอีกชนิดหนึ่ง การดูดซับเป็น กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการสะสมตัวของสาร หรือความเข้มข้นของสารทีบริเวณพื้นผิวหรือระหว่างผิวหน้า (interface) กระบวนการ ่ นี้สามารถเกิดทีบริเวณผิวสัมผัสระหว่าง 2 สภาวะใด ๆ เช่น ของเหลวกับของเหลว ก๊าซกับของเหลว ก๊าซกับของแข็ง หรือของเหลวกับ ่ ของแข็ง โดยโมเลกุลหรือคอลลอยด์ทถูกดูดจับเรียกว่า สารถูกดูดซับ(adsorbate) ส่วนสารที่ทําหน้าที่ดูดซับเรียกว่า สารดูดซับ ี่ (adsorbent) นอกจากนี้ในระบบที่มีส่วนประกอบหลายชนิด ที่ชั้นพื้นผิวก็จะมีส่วนประกอบแตกต่างกันด้วย เนื่องจากความสามารถใน การดูดซับแตกต่างกันขึ้นกับความเลือกสรร (selectivity) ทีผิวหน้าของวัสดุ ่   ‐ 5 ‐
  • 6. กลไกของกระบวนการดูดซับ การดูดซับเป็นกระบวนการกักพวกสารละลายหรือสารแขวนลอยขนาดเล็กซึ่งละลายอยู่ในตัวกลาง ให้อยู่บนผิวของ สารอีกชนิดหนึง โดยที่สารละลายหรือสารแขวนลอย ขนาดเล็กนี้เรียกว่า Adsorbate ส่วนของแข็งที่มีผิวเป็นที่เกาะจับของสารที่ถกดูด ่ ู ติดเรียกว่า Adsorbent การดูดติดผิวนี้จะเป็นการดูดติดแบบระหว่างสถานะ (Phase) ต่างๆทั้งสามสถานะ คือ ของเหลว (Liquid) ก๊าซ (Gas) และ ของแข็ง (Solid) ซึ่งมีได้ทั้งแบบ ของเหลว- ของเหลว ก๊าซ-ของเหลว ก๊าซ-ของแข็ง และ ของเหลว-ของแข็ง ประเภทของการดูดซับ ปัจจัยสําคัญในการบอกชนิดของกระบวนการดูดซับจะพิจารณาจากแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลที่ถกดูดซับกับผิวของสารดูด ู ซับ ถ้าแรงยึดเหนี่ยวเป็นแรงแวนเดอร์วาลส์ (Van der Waals Forces) จะเป็นการดูดซับทางกายภาพ (physical adsorption) แต่ถ้า แรงยึดเหนี่ยวทําให้เกิดพันธะเคมีระหว่างโมเลกุลที่ถกดูดซับกับผิวของสารดูดซับ จะเรียกว่า การดูดซับทางเคมี (chemical ู adsorption) 1. การดูดซับทางกายภาพ (Physical adsorption) เป็นการดูดซับที่เกิดจากแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลอย่างอ่อน คือ แรงแวนเดอร์วาลส์ (Vander Waals Forces) ซึ่งเกิดจากการ รวมแรง 2 ชนิด คือ แรงกระจาย (London dispersion force) และแรงไฟฟ้าสถิตย์(electrostatic force) การดึงดูดด้วยแรงที่ อ่อนทําให้การดูดซับประเภทนีมีพลังงานการคายความร้อนค่อนข้างน้อย คือ ต่ํากว่า 20 กิโลจูลต่อโมลและสามารถเกิดการผันกลับ ้ ของกระบวนการได้ง่าย ซึ่งเป็นข้อดี เพราะสามารถฟื้นฟูสภาพของตัวดูดซับได้ง่ายด้วย สารที่ถกดูดซับสามารถเกาะอยูรอบ ๆ ผิว ู ่ ของสารดูดซับได้หลายชั้น(multilayer) หรือในแต่ละชั้นของโมเลกุลสารถูกดูดซับจะติดอยูกับชั้นของโมเลกุลของสารถูกดูดซับในชั้น ่ ก่อนหน้านี้ โดยจํานวนชั้นจะเป็นสัดส่วนกับความเข้มข้นของสารถูกดูดซับ และจะเพิ่มมากขึ้นตามความเข้มข้นที่สูงขึ้นของตัวถูก ละลายในสารละลาย 2. การดูดซับทางเคมี (Chemical adsorption) การดูดซับประเภทนี้เกิดขึ้นเมื่อตัวถูกดูดซับกับตัวดูดซับทําปฏิกิริยาเคมีกัน ซึงส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมีของตัวถูก ่ ดูดซับเดิม เกี่ยวข้องกับการถ่ายทอดอิเล็กตรอน ซึ่งเท่ากับการสร้างพันธะเคมีระหว่างสารทีไปดูดซับกับสารพื้นผิวของของแข็ง คือมี ่ การทําลายแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมหรือกลุ่มอะตอมเดิมแล้วมีการจัดเรียงอะตอมไปเป็นสารประกอบใหม่ข้น โดยมีพันธะเคมี ึ ซึ่งเป็นพันธะทีแข็งแรง มีพลังงานกระตุ้นเข้ามาเกี่ยวข้องทําให้ความร้อนของการดูดซับมีค่าสูงประมาณ 50-400 กิโลจูลต่อโมล ่ หมายความว่าการกําจัดตัวถูกดูดซับออกจากผิวตัวดูดซับจะทําได้ยาก คือไม่สามารถเกิดปฏิกริยาผันกลับได้ (irreversible) และการ ิ ดูดซับประเภทนี้จะเป็นการดูดซับแบบชั้นเดียว(monolayer) เท่านั้น ซึ่งการดูดซับทางกายภาพและทางเคมีมีข้อแตกต่างกันหลาย อย่าง นั่นคือ chemisorption จะแข็งแรงกว่า physical adsorption แต่ก็จะถูกจํากัด เฉพาะสารที่ไปดูดซับที่ monolayer ของพื้นผิวของของแข็งเท่านั้น การเปรียบเทียบลักษณะจําเพาะของการดูดซับทางกายภาพและการดูดซับทางเคมี ลักษณะจําเพาะ การดูดซับทางกายภาพ การดูดซับทางเคมี พันธะระหว่าง absorbent -adsorbate Vander Waals Forces Covalent หรือ ionic bond Energy of adsorption 20-40 KJ / mole 40-400 KJ / mole ความจําเพาะเจาะจงระหว่าง absorbent - ไม่จําเพาะ มีความจําเพาะ adsorbate ผลของอุณหภูมิ เมื่ออุณหภูมิเพิมการดูดซับน้อยลง ่ เมื่ออุณหภูมิเพิมอัตราเร็วการดูดซับเพิ่มขึ้น ่ การผันกลับของกระบวนการดูดซับ ผันกลับได้ ไม่ผันกลับ อัตราเร็วของการดูดซับ คงที่ เพิ่มตามอุณหภูมิ จํานวนชั้นของการดูดซับ เกิด monolayer ที่ความดันต่า ํ เกิด monolayer เท่านั้น เมื่อความดันเพิมเกิด multilayerได้ ่   ‐ 6 ‐
  • 7. การดูดซับบนผิวของแข็ง และก๊าซ การดูดซับบนผิวของแข็ง และก๊าซ เกิดขึ้นเนืองจากการไม่สมดุลของพันธะยึดเหนี่ยว ระหว่างอะตอมหรือโมเลกุลที่เป็น ่ องค์ประกอบของสาร ที่บริเวณพื้นผิวอนุภาคของของแข็งจะยึดกับโมเลกุลทีอยู่ในเนือสารเท่านั้นแต่ผิวหน้าที่สัมผัสกับอากาศไม่มพันธะ ่ ้ ี จึงทําให้เกิดแรงดึงดูดเข้ามาภายในเนื้อของสาร ในทิศทางที่ตงฉากกับพื้นผิว ดึงเอาโมเลกุลของสารอื่นๆที่อยู่ใกล้เข้ามายึดติดกับพื้นผิว ั้ ของอนุภาคของแข็งได้ การดูดซับก๊าซบนผิวของของแข็งถือเป็นต้นแบบของการดูดซับทางกายภาพ สมมติฐานของการดูดซับ ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณก๊าซที่ดดซับไว้บนพื้นผิวของแข็งที่กับความดันสมดุลที่อุณหภูมิคงที่ เรียกว่า Adsoption Isotherm ซึ่งมีผู้ ู อธิบายชนิดของ isotherm ต่างๆไว้ดังนี้ • Freundlich Isotherm Freundlich ได้เขียนสมการอธิบายการดูดซับได้ดังนี้ Y = x = Kp1/n M หรือ log Y = log K + 1/n log p Y = ปริมาณก๊าซที่ถกดูดซับไว้บนพื้นที่ผิวของแข็งหนึงต่อหน่วยน้ําหนักของ adsorbent ู ่ x = ปริมาณก๊าซที่ถกดูดซับไว้ (mg , mole ) ู M = น้ําหนักของของแข็ง หรือ adsorbent p = ความดันสมดุลของก๊าซ K, n = ค่าคงทีข้นกับอุณหภูมิ ชนิดของก๊าซและ adsorbent ่ึ เมื่อนํามา plot กราฟจะได้ดงรูปที่ 8 ั รูปที่ 8 กราฟแสดง Freundlich และ Langmuir Isotherm • Langmuir Isotherm Langmiur ได้อธิบายการดูดซับจากพื้นฐานทฤษฎีทว่าการอะตอมหรือโมเลกุลของก๊าซจะถูกดูดซับไว้ที่ผิวของแข็งเพียงชั้น ี่ เดียวและมีความสม่ําเสมอของการดูดซับ และอัตราเร็วในการดูดซับ (r1) จะแปรผันตรงกับพื้นที่ผิวทียังไม่มีการดูดซับก๊าซ และความดัน ่ ของก๊าซขณะนั้น (p) ในขณะทีอัตราเร็วการระเหยของก๊าซออกจากพื้นผิวของของแข็ง (r2) จะแปรผันตรงกับ พื้นที่ผิวทีดูดซับก๊าซเอาไว้ ่ ่ เมื่อพื้นที่ผวทั้งหมดเท่ากับ 1 พื้นที่ผิวดูดซับก๊าซไว้แล้ว เป็น θ ดังนั้นพื้นผิวที่ไม่มีการดูดซับก๊าซ คือ 1- θ ิ จึงได้สมการ r1 = k1 (1 - θ )p และ r2 = k2 θ ที่จุดสมดุล r1 = r2 จะได้ θ = k1 p = ( k1/ k2 ) p k2 + k1 p 1 + ( k1/ k2 ) p แทนค่า k1/ k2 ด้วย b และ θ ด้วย Y / Ym เมื่อ Ymคือ ปริมาณก๊าซทีถูกดูดซับไว้บนพื้นทีผิวแบบชั้นเดียวจนเต็มพื้นที่ผิวของของแข็งต่อหนึ่งหน่วยน้ําหนักของ adsorbent ่ ่ ได้ Y / Ym = bp 1+ bp หรือ Y = Ym b p เรียกว่า Langmuir Isoterm 1 + bp เมื่อเปลี่ยนสมการให้อยู่ในรูป p = 1 + p Y b Ym Ym จะเขียนกราฟความสัมพันธ์ระหว่าง Y และ p จะได้ p/y และ p จะได้กราฟตามรูป A และ ตามลําดับ   ‐ 7 ‐
  • 8. รูปที่ 9 กราฟแสดง Langmuir Isoterm • BET isotherm มาจาก Brunauer, Emmett และ Teller ซึ่งใช้ในการอธิบายการดูดซับแบบ multilayer โดย การดูดซับด้วยพันธะระหว่าง พื้นผิวของแข็งกับก๊าซเกิดกับชันแรกของการดูดซับเท่านั้น ในชั้นถัดไปจะเกิดพันธะระหว่างโมเลกุลก๊าซด้วยกันเอง ้ เมื่อเปลี่ยนสมการให้อยู่ในรูป p = 1 + h -1 . p Y (p0-p ) Ym h Ym h p0 P0 = ความดันไออิ่มตัวของก๊าซที่ถกดูดซับไว้ ู h = ค่าคงที่ ซึ่งเป็นสัดส่วนกับความแตกต่างระหว่าง ความร้อนในการดูดซับของ ก๊าซทีถูกดูดซับในชั้นแรก กับ พลังงานแฝงของการ ่ ควบแน่นของก๊าซที่ถกดูดซับในชั้นถัดๆไป ู รูปที่ 10 แสดง BET Isotherm ของการดูดซับ แบบต่างๆ การดูดซับในระบบของแข็ง ของเหลว ในระบบ ของเหลว-ของแข็ง (Liqid –Solid Interface) ในสภาวะของเหลวการดูดซับโมเลกุลของสารละลายหรือสารแขวนลอย ก็จะถูกกําจัดออกจากน้ําและไปเกาะติดอยู่บนตัวดูดซับ โมเลกุลของสารส่วนใหญ่จะเกาะจับอยู่กับผิวภายในโพรงของตัวดูดซับและมี เพียงส่วนน้อยเท่านั้นที่เกาะอยูท่ผิวภายนอก การถ่ายเทโมเลกุลจากน้ําไปหาตัวดูดซับเกิดขึ้นได้จนถึงสมดุลจึงหยุด ณ จุดสมดุล ความ ่ ี เข้มข้นของโมเลกุลในน้ําจะเหลือน้อยเพราะโมเลกุลส่วนใหญ่เคลื่อนที่ไปเกาะจับอยู่กับตัวดูดซับ กระบวนการที่เกิดขึ้นจะซับซ้อนกว่าการ ดูดซับที่พื้นผิวของแข็ง เนื่องจากทังโมเลกุลของตัวทําละลายและตัวถูกละลาย สามารถถูกดูดซับได้ทั้งคู่ จึงเกิดการแย่งทีของการดูดซับ ้ ่ กัน   ‐ 8 ‐
  • 9. การใช้ประโยชน์ทางเภสัชกรรม สารออกฤทธิ์ต่อพื้นผิว สารออกฤทธิ์ตอพื้นผิว หรือ สารลดแรงตึงผิว (surfactant, surface active agent) อาจเป็นโมเลกุลหรืออิออนที่มการดูดซับ ่ ี อยู่บริเวณผิวประจันส่งผล ต่อลักษณะพื้นผิว ทําให้เกิดความต่อเนื่องของพื้นผิวของสารทังสองสถานะ โดย ตัวอย่างเช่น สบู่และสารซัก ้ ล้าง ซึ่งโมกุลสารนี้จะมีลักษณะ Amphiphile คือ โมเลกุลหรือไอออนซึ่งประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนที่มีขั้วหรือส่วนที่ชอบน้ํา (hydrophilic) และส่วนที่ไม่มขั้วหรือส่วนที่ไม่ชอบน้ํา (hydrophobic) ซึ่งทัง 2 ส่วนนี้ต้องสมดุลกันทําให้ถูกดูดซับที่พื้นผิวหรือระหว่าง ี ้ พื้นผิวของของเหลว ทําให้ความเข้มข้นที่พื้นผิวสูงกว่าความเข้มข้นภายในเนือของของเหลว ้ รูป11. แสดงการจัดเรียงตัว ของสารลดแรงตึงผิวที่ผิวน้ํา - การเรียงตัวของสารลดแรงตึงผิว หากความเข้มข้นของสารลดแรงตึงผิวต่ํา โมเลกุลของสารลด อากาศและผิวน้ํา-น้ํามัน แรงตึงผิวจะเรียงตัวบนพื้นผิวน้าโดยหันส่วนทีมข้วเข้าหาน้ําและส่วนที่ไม่มีขั้วทอดขนานกับผิวน้ํา เมื่อเพิ่ม ํ ่ีั จํานวนของสารลดแรงตึงผิวได้ความเข้มข้นสูงขึ้น โมเลกุลจะเรียงตั้งตรงโดยหันส่วนที่มขั้วเข้าหาน้ํา และ ี ส่วนที่ไม่มีขั้วเข้าหาอากาศ (รูป a) ทําให้เปลี่ยนจากระหว่างพื้นผิวน้ํา-อากาศ เป็นระหว่างพื้นผิว ไฮโดรคาร์บอน-อากาศ ทําให้แรงตึงผิวของน้าลดลงเนื่องจากแรงตึงผิวของไฮโดรคาร์บอนจะต่ํากว่าแรงตึง ํ ผิวของน้ํา ส่วนพื้นผิวของน้ําและน้ํามันโมเลกุลของสารลดแรงตึงผิวจะเรียงตัวโดยหันส่วนที่มีขั้วเข้าหาน้ํา และส่วนที่ไม่มีขั้วเข้าหาน้ํามัน เมื่อความเข้มข้นของสารลดแรงตึงผิวสูงถึงความเข้มข้นหนึ่ง โมเลกุลภายใน เนื้อของของเหลวจะรวมกันเป็นกลุ่ม เรียกว่า ไมเซลล์ (micelle) (รูป b) ความเข้มข้นของสารลดแรงตึงผิว ที่ต่ําสุดทีเ่ ริ่มเกิดไมเซลล์ เรียกว่า ความเข้มข้นไมเซลล์วิกฤต (critical micelle concentration, CMC) HLB System (Hydrophile-Lipophile Balance) Griffin ได้ศึกษา ระดับของความชอบและไม่ ชอบน้ําของสารลดแรงตึงผิวต่างๆไว้โดยแสดงระดับไว้ดังรูป12 สารมีส่วนที่ไม่ชอบน้ํา มากหรือชอบไขมันจะมีค่า HLB ต่ํา (1.8-8.6) ในขณะที่สารทีมีส่วนชอบน้ํามากจะมี ่ ค่า HLB สูง(9.6-16.7) ในการผลิตยาอิมัลชัน ส่วนผสมของ oil phase ในตํารับ จะ มีคา ค่า HLB ที่ตองการ ( required HLB ; RHLB) การคํานวณหาค่า RHLB ของ ่ ้ ทั้งตํารับทําได้โดยการ นําค่า RHLB ของ oil phase แต่ละตัวในตํารับคูณด้วย สัดส่วนน้ําหนักในตํารับของ oil นั้นๆ ดังนันสารก่ออิมัลชันในตํารับอิมัลชัน o/w ้ หรือ w/o จะแตกต่างกัน ดังต่อไปนี้ O/W emulsion ต้องใช้ emulsifier ซึ่งมีค่า HLB = 8-18 รูป12. ระดับของ คา HLB และการใชประโยชน W/O emulsion ต้องใช้ emulsifier ซึ่งมีค่า HLB = 3-6 ของสารลดแรงตึงผิว   ‐ 9 ‐
  • 10. Hydrophilic-lipophilic balance (HLB) value of Required Hydrophilic-lipophilic balance (RHLB) Amphiphilic agent value of some Oil for (o/w) and (w/o)emulsion ตัวอย่างการนําสารลดแรงตึงผิวมาในทางเภสัชกรรม ได้แก่ เพื่อให้น้ําและน้ํามันเข้ากันได้ในการผลิตยาอิมลชัน ทําให้ผงยาที่ ั เปียกน้ําได้ยากเข้ากับน้ําได้มากขึ้น เพิ่มอัตราเร็วการละลายของยาที่ละลายน้ําได้ยาก ทําให้ยาสามารถซึมผ่านชั้นเยื่อบุต่างๆของร่างกาย ได้ดียิ่งขึ้นและสารลดแรงตึงผิวเช่น Cationic surfactant ยังใช้เป็นสารต้านจุลนทรียในตํารับยาน้ําสําหรับใช้ภายนอกอีกด้วย ิ ์ Activeted charcoal ผงถ่านกัมมันต์ ใช้ประโยชน์จากลักษณะที่เป็นผงๆ มีพื้นที่ผิวมากเนื่องจากมีรูเล็กๆ(cavernous pores)จํานวนมาก ทําให้มี พื้นที่ผิวมากกว่าสารชนิดอื่นทีมีน้ําหนักเท่ากัน โดยมีพื้นที่ผวจําเพาะถึง 600-1,000 m2/g ในทางเภสัชกรรมใช้ในการดูดซับ ่ ิ สารพิษหรือยา หากแต่ยาที่แตกตัวเป็นประจุ หรือสารโมเลกุลเล็กเช่น alcohol จะถูกดูดซับได้ไม่ดี ไม่ควรให้พร้อม antidote อื่นๆ เนื่องจากขัดขวางการดูดซึมยาต้านพิษชนิดอื่น เช่น N-acetylcysteine และ ฤทธิในการดูดซึมของผงถ่านจะลดลง เมื่อให้รวมกับ ์ ่ อาหารประเภทนม หรือไอศกรีม เอกสารอ้างอิง • Martin, A., Bustamante, P and Chun, A.H.C., Physical pharmacy, 4th Ed., Lea & Febiger, Philadelphia USA (1993) pp.363-388. • Amili, M.M. and Sandmann,J.B., Applied Physical Pharmacy.,The McGraw-Hill Companies,Inc. USA (2003) pp.327-363.   ‐ 10 ‐