SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
ของไหล  (Fluids) ความหนาแน่น  (Density) ในระบบ  SI  มีหน่วยเป็น  kg/m 3 น้ำมีความหนาแน่น  ที่มา   : www.phys.sci.ubu.ac.th/Gen%20Phy%20I/fluids.ppt ความหนาแน่นของสาร  (kg/m 3 ) มวล  (kg)   ปริมาตร  (m 3 )
[object Object],ความถ่วงจำเพาะของสารใด  คือ ความดัน มีหน่วย  SI  เป็น  N/m 2   หรือ พาสคัล  (pascal, Pa)  ความดัน  1 Pa  = 1 N/m 2   ความดัน  (Pressure) นิยาม :   แรงที่กระทำต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่ โดยที่แรงนั้นต้องเป็นแรงที่ ตั้งฉากกับพื้นที่ที่รองรับ ความหนาแน่นของน้ำ   ความหนาแน่นของสารนั้น ความถ่วงจำเพาะของสารใด หรือ ความหนาแน่นสัมพัทธ์
แรงเนื่องจากของไหลในปริมาตรสี่เหลี่ยมคือ ความดัน มีค่า ความดันของของไหลจึงแปรผันกับความลึกและความหนาแน่นของของไหล ความดันเนื่องจากของไหล ความดันที่ก้นภาชนะ
h ความดันของของไหล มีค่า พิจารณาภาชนะถังทรงกระบอก ณ ตำแหน่งความลึก   h  ใต้ผิวของไหล ความดันเกจ  (Gauge Pressure) h ความดันที่รวมความดันเนื่องจากบรรยากาศด้วย   ความดันสัมบูรณ์  (Absolute Pressure) คือ ความดันบรรยากาศ
ความดัน  1  บรรยากาศ  (atmosphere, atm)
ระดับน้ำทั้งสองด้านสูงต่างกันเท่าไร ? หลักการคือ  ที่ระดับความสูงเดียวกัน ความดันต้องมีค่าเท่ากันเสมอ  !!!
[object Object],สุญญากาศ A B แบบปรอท h
เครื่องมือความดันเกจ เรียกว่า  มาโนมิเตอร์  (manometer)  ความดัน  P i   ที่วัดได้ คือ ความดันเกจ B
h P 1 P 2 P 2 P บน P ล่าง เนื่องจากน้ำจะออกแรงกระทำทุกทิศทาง โดยตั้งฉากกับผิวสัมผัสเสมอ และความดันของน้ำมีค่าขึ้นอยู่กับความสูง ดังนั้น ที่ตำแหน่งลึกๆ ความดันน้ำจะมีค่ามากด้วย P บน P ล่าง
10 cm 10 cm 1 2 ตัวอย่าง   กระบอกบรรจุของเหลว  2   ชนิด ดังรูป ของเหลวทั้งสองชนิดมีความหนาแน่น  1000  และ  800 kg/m 3   จงหาความดันที่ของเหลวแต่ละชนิดกระทำกับผนังด้านข้าง P 1 P 2
ถ้าวัตถุลอยอยู่ในน้ำ น้ำจะออกแรงกระทำกับวัตถุทุกทิศทางในลักษณะที่ตั้งฉากกับผิววัตถุเสมอ
หลักของปาสคาล  (Pascal) “ ถ้าให้ความดันแก่ส่วนหนึ่งส่วนใดของของไหลที่อยู่ในภาชนะ ปิด ใด ๆ ความดันจะถูกส่งผ่านไปยังทุกๆ ส่วนของของไหล และที่ผนังของภาชนะซึ่งบรรจุของไหลด้วยขนาด เท่ากัน เสมอ ” P in P out A จาก
 
ตัวอย่าง   เมื่อเติมน้ำลงไปใน หลอดรูปตัว  U  ซึ่งหลอดด้านซ้ายมีรัศมี  7x 10 -2   m  และหลอดด้านขวามีพื้นที่หน้าตัด  5   m 2   ถ้าต้องการให้ระดับน้ำทางซ้ายสูงขึ้น  5  cm  จะต้องออกแรงเท่าใดกดทางด้านขวามือ
แรงลอยตัว  (Buoyant Force) ‘ เมื่อวัตถุทั้งก้อนหรือเพียงบางส่วนจมในของไหลของไหลจะออกแรงต่อวัตถุในทิศขึ้น ซึ่งแรงนี้จะมีขนาดเท่ากับ น้ำหนักของของไหลที่ถูกแทนที่ แรงนี้เรียกว่า   แรงลอยตัว  ( buoyant force ) ’ ความหนาแน่นของของไหล ปริมาตรของของเหลวที่ถูกแทนที่  =   ปริมาตรของวัตถุที่จมในของไหล มวลของของไหลที่ถูกแทนที่
V obj วัตถุลอยในของไหล ปริมาตรส่วนที่จม เท่ากับ ปริมาตรของวัตถุ ดังนั้น
วัตถุลอยในของไหล V obj ปริมาตรส่วนที่จม น้อยกว่า ปริมาตรของวัตถุ ดังนั้น
V obj วัตถุจมในของไหล ปริมาตรส่วนที่จม เท่ากับ ปริมาตรของวัตถุ ดังนั้น
ตัวอย่าง  พิจารณาวัตถุลอยในแม่น้ำ ( น้ำจืด )  และน้ำทะเล ( น้ำเค็ม ) V obj V obj แม่น้ำ ( น้ำจืด )  มีความหนาแน่น น้อยกว่า  น้ำทะเล ( น้ำเค็ม ) วัตถุจมในแม่น้ำ ( น้ำจืด )  มากกว่า  น้ำทะเล ( น้ำเค็ม )
แรงเชื่อมแน่นและแรงยึดติด
แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุล  แบ่งออกได้เป็น  2  ชนิด แรงเชื่อมแน่น  แรงยึดติด  คือ แรงดึงดูดของโมเลกุลของ สารชนิดเดียวกัน   แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลของ สารต่างชนิดกัน   เช่น โมเลกุลของน้ำ กับโมเลกุลของน้ำ   เช่น โมเลกุลของน้ำ กับโมเลกุลของแก้ว
[object Object],[object Object],(b)   ระดับของของเหลวในหลอดแก้วรูเล็กจะต่ำกว่าระดับของของเหลวในอ่าง เช่น ปรอท กับหลอดแก้ว   สภาพคะปิลลา  (capillarity)
ความตึงผิว ทำไมลวดเสียบกระดาษ จึงลอยบนผิวน้ำได้ ทำไมแมลงบางชนิด สามารถเดินบนน้ำได้
ความตึงผิว ความตึงผิว  หมายถึง อัตราส่วนของแรงที่กระทำไปตามผิวของของเหลวต่อความยาวของผิวที่ถูกแรงกระทำ โดยความยาวนี้ต้องตั้งฉากกับแรงที่กระทำ   ความตึงผิว  (surface tension)  ซึ่งแทนด้วย
ตัวอย่าง   ถ้าต้องออกแรง   นิวตัน   ในการเคลื่อนลวด ซึ่งยาว  l = 6  เซนติเมตร   ดังรูป   จงหาความตึงผิวของของเหลว
กฎของสโตก  (Stoke’s Law) แรงต้านเนื่องจากความหนืด  ( F )   กระทำต่อวัตถุทรงกลมนั้นเป็นปฏิภาคโดยตรงกับอัตราเร็ว  ( v )  ของทรงกลมนั้น ความหนืดของของเหลว  (N.s/m 2 )
พลศาสตร์ของของไหล Streamline or laminar flow ลักษณะของการไหล Turbulent folw
ของไหลแบบที่เป็นของไหลอุดมคติ  (ideal fluid)  มีสมบัติดังต่อไปนี้ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],หลอดแห่งการไหล การไหลอย่างมีระเบียบจะไม่มีการผสมกันระหว่างของไหลในหลอด
อัตราการไหล  (Flow rate) A 1  x 2 มวลของของไหลที่ท่อ  A 1   เมื่อเวลาผ่านไป  มวลของไหลที่เคลื่อนที่ท่อ  A 2   เมื่อเวลาผ่านไป  x 1 A 2
สมการความต่อเนื่อง   (equation of continuity)  สำหรับการไหลคงตัวและเป็นแบบอัดไม่ได้
สมการแบร์นูลลี   (Bernoulli’s Equation) ‘ ตำแหน่งที่ของไหลเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูง ความดันจะต่ำ ตำแหน่งที่ของไหลเคลื่อนที่ด้วยความเร็วต่ำ ความดันจะสูง ’
 
แรงที่ปลายล่าง   แรงที่ปลายบน   เนื่องจากการไหลเป็นแบบที่อัดไม่ได้ แรง  ทำงาน   แรง  ทำงาน   งานสุทธิที่กระทำโดยแรง  และแรง
พลังงานศักย์ที่เปลี่ยนไป พลังงานจลน์ที่เปลี่ยนไป จากทฤษฎีบทงาน  พลังงาน
สมการแบร์นูลลี  (Bernoulli  Equation)  ผลรวมของความดันและความหนาแน่นพลังงาน  ( พลังงานจลน์  +  พลังงานศักย์ ) ของของไหลผ่านท่อ จะมีค่าคงตัวเสมอ ค่าคงตัว
www.phys.sci.ubu.ac.th/Gen%20Phy%20I/fluids.ppt ขอบคุณที่มา

More Related Content

What's hot

1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหลWijitta DevilTeacher
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3Wijitta DevilTeacher
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)Miss.Yupawan Triratwitcha
 
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxแบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxNing Thanyaphon
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2Wijitta DevilTeacher
 
4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลีWijitta DevilTeacher
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2thkitiya
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมFemale'PiAtip BoOn Paeng
 
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงเอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงWijitta DevilTeacher
 
10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สPhysciences Physciences
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันwiriya kosit
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพณัฐะ หิรัญ
 
30 เทคนิคการสอน
30 เทคนิคการสอน30 เทคนิคการสอน
30 เทคนิคการสอนKobwit Piriyawat
 
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมานSomporn Amornwech
 

What's hot (20)

8 2
8 28 2
8 2
 
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
172 130909011745-
172 130909011745-172 130909011745-
172 130909011745-
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxแบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
 
4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี
 
โครงงาน 5 บท
โครงงาน  5 บทโครงงาน  5 บท
โครงงาน 5 บท
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
 
กฎของพาสคัล
กฎของพาสคัลกฎของพาสคัล
กฎของพาสคัล
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยม
 
โมเมนตัมและการชน
โมเมนตัมและการชนโมเมนตัมและการชน
โมเมนตัมและการชน
 
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงเอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
 
10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
 
30 เทคนิคการสอน
30 เทคนิคการสอน30 เทคนิคการสอน
30 เทคนิคการสอน
 
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
 

Similar to Fluids

Physicเรื่องของไหล
Physicเรื่องของไหล Physicเรื่องของไหล
Physicเรื่องของไหล Icxise RevenClaw
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
ของไหล 1
ของไหล 1ของไหล 1
ของไหล 1luanrit
 
เรื่องที่ 9 ของไหล
เรื่องที่ 9   ของไหลเรื่องที่ 9   ของไหล
เรื่องที่ 9 ของไหลthanakit553
 
ฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหล
ฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหลฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหล
ฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหลChirawat Samrit
 
เรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหลเรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหลApinya Phuadsing
 
เจษฎา
เจษฎาเจษฎา
เจษฎาsupphawan
 
น้ำกลิ้งบนใบบัว
น้ำกลิ้งบนใบบัวน้ำกลิ้งบนใบบัว
น้ำกลิ้งบนใบบัวadriamycin
 
09 น้ำกลิ้งบนใบบัว
09 น้ำกลิ้งบนใบบัว09 น้ำกลิ้งบนใบบัว
09 น้ำกลิ้งบนใบบัวadriamycin
 

Similar to Fluids (20)

Physicเรื่องของไหล
Physicเรื่องของไหล Physicเรื่องของไหล
Physicเรื่องของไหล
 
fluid
fluidfluid
fluid
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
ของไหล 1
ของไหล 1ของไหล 1
ของไหล 1
 
P09
P09P09
P09
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
เรื่องที่ 9 ของไหล
เรื่องที่ 9   ของไหลเรื่องที่ 9   ของไหล
เรื่องที่ 9 ของไหล
 
Problem1363
Problem1363Problem1363
Problem1363
 
ฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหล
ฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหลฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหล
ฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหล
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
ใบความรู้ 3
ใบความรู้ 3ใบความรู้ 3
ใบความรู้ 3
 
00ของไหล01
00ของไหล0100ของไหล01
00ของไหล01
 
Ppt newton's law
Ppt newton's lawPpt newton's law
Ppt newton's law
 
เรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหลเรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหล
 
เจษฎา
เจษฎาเจษฎา
เจษฎา
 
น้ำกลิ้งบนใบบัว
น้ำกลิ้งบนใบบัวน้ำกลิ้งบนใบบัว
น้ำกลิ้งบนใบบัว
 
09 น้ำกลิ้งบนใบบัว
09 น้ำกลิ้งบนใบบัว09 น้ำกลิ้งบนใบบัว
09 น้ำกลิ้งบนใบบัว
 
Ppt newton's law
Ppt newton's lawPpt newton's law
Ppt newton's law
 

Fluids