SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
Download to read offline
สมบัติเชิงกลของสาร
           (ของแข็ง)
•   กฎของ Hook
•   ความเค้น
•   ความเครียด
•   โมดูลัสยัง

             จัดทาโดย
    นางสาวสุกาญจนา อ้นบางใบ
     โรงเรียนโพธิสารพิทยากร
สมบัติเชิงกลของของแข็ง
• สะพานพระรามแปด ข้ามแม่น้าเจ้าพระยา
  –วิศวกรใช้ความรู้เกี่ยวกับสมบัติเชิงกลของวัสดุ
     • เลือกวัตถุที่มีสมบัติสภาพยืดหยุ่นเหมาะสมกับงาน
     • ทนต่อแรงภายนอกได้มาก (ท้าให้รูปร่างเปลี่ยนได้ยาก)
สมบัติเชิงกลของของแข็ง
• สภาพยืดหยุ่นของของแข็ง
   –วัสดุที่มีการเปลี่ยนรูปร่างเมื่อมีแรงกระท้าสามารถ
    คืนกลับตัวสู่รูปร่างเดิมเมื่อหยุดออกแรงกระท้า
    เรียกว่า สภาพยืดหยุ่น (elasticity)
   –วัสดุเปลี่ยนรูปร่างไปอย่างถาวร โดยผิววัสดุไม่มี
    การฉีกขาดหรือแตกหัก เรียกสมบัตินี้ว่า สภาพ
    พลาสติก ( plasticity )
สมบัติเชิงกลของของแข็ง
• สภาพยืดหยุ่นของของแข็ง
   –เมื่อ ดึงวัสดุชนิดต่าง เช่น สปริง
      • ก่อนสปริงถูกดึง


      • สปริงถูกยืดจนใกล้ขีดจ้ากัดสภาพยืดหยุ่น


      • สปริงถูกยืดจนเกินขีดจ้ากัดสภาพยืดหยุ่น
สมบัติเชิงกลของของแข็ง
• สภาพยืดหยุ่นของ            * จุด a คือ ขีดจ้ากัดการแปร
                             ผันตรง (Proportional limit) ซึ่ง
  ของแข็ง                    เป็นต้าแหน่งสุดท้ายที่ความยาวสปริง
   –เมื่อ ดึงวัสดุชนิดต่าง   ยืดออก แปรผันตรงกับขนาดของแรง
    เช่น สปริง               ดึง
                             *จุด b คือขีดจ้ากัดสภาพยืดหยุ่น
                             (Elastic limit) ซึ่งเป็นต้าแหน่งสุดท้ายที่
                             สปริงยืดออกแล้วกลับสู่สภาพเดิม แต่แรง
                             ดึงไม่แปรผันตรงกับระยะยืด

                             *จุด C คือ จุดแตกหัก
                             (Breaking point) หมายถึงตั้งแต่
                             จุด b เป็นต้นไป ถ้าดึงต่อไปก็ถึงจุด
                             c ซึ่งเป็นจุดที่เส้นวัสดุขาด
สมบัติเชิงกลของของแข็ง
• กฎของฮุก ( Hooke’ s law)
   – เมื่อออกแรงดึงหรือกดสปริง พบว่าแรงที่กระท้าต่อสปริง F
     มีความสัมพันธ์กับความยาวที่เปลี่ยน
   – กราฟช่วง oa เป็นไปตามกฎของฮุก
สมบัติเชิงกลของของแข็ง

• ช่วง ob เรียกว่า การผิดรูปแบบ
  ยืดหยุ่น (elastic
  deformation)
• ช่วง bc เรียกว่า การผิดรูปแบบ
  พลาสติก (plastic
  deformation)
สมบัติเชิงกลของของแข็ง

• แรงที่ท้าให้วัตถุผิดรูป
    –แรงดึง (tensile force)
    –แรงอัด (forces of compression)
    –แรงเฉือน (shear force)
ความเค้นและความเครียด
• ความเค้น ( Stress )
   –แรงต้านภายในเนื้อวัสดุที่มีต่อแรงภายนอกที่มา
    กระท้าต่อหน่วยพื้นที่ (ผลหารของแรงภายในต่อ
    พื้นที่)
       • เพื่อความง่าย พูดถึงความเค้นในรูปของแรงภายนอก
         ที่มากระท้าต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่
   –พิจารณาพื้นที่หน้าตัดดังรูป




                                    แรงเค้นปกติและแรงเค้นเฉือน
ความเค้น
ความเค้น
• ความเค้นปกติ (Normal Stress), ความเค้นตามยาว
   –วัตถุที่มีรูปร่างสม่้าเสมอ คงที่ตลอด
   –เกิดความเค้นปกติ คงที่กระจายอย่างสม่้าเสมอตลอด
    พื้นที่หน้าตัด
ความเค้น
• ความเค้นตามยาว (longitudinal stress )
   –ความเค้นแบบดึง (tensile stress )
   –ความเค้นแบบอัด ( compressive stress )
ความเค้น
• ความเค้นเฉือน (Shear
  Stress)
   – การเคลื่อนที่ผ่านกันของ
     วัตถุเมื่อได้รับความเค้น
     เฉือน
ความเครียด (Strain)
• ความเครียดมี 2 ลักษณะคือ
   – ความเครียดตามยาว หรือ ความเครียดเชิงเส้น (linear
     Strain)




   – ความเครียดเฉือน (Shear Strain)
ความเครียด (Strain)

• คือ การเปลี่ยนแปลงรูปร่างของวัสดุ
  (Deformation) เมื่อมีแรงภายนอกมากระท้า
  (เกิดความเค้น)
   –การเปลี่ยนรูปแบบอิลาสติกหรือความเครียดแบบคืน
    รูป
      • ยางยืด, สปริง
   –การเปลี่ยนรูปแบบพลาสติกหรือความเครียดแบบคง
    รูป
ความเครียด (Strain)
• ความเครียดตามยาว หรือ ความเครียดเชิงเส้น
  (linear Strain)
   – ความเครียด ณ ต้าแหน่ง ใด ๆ
ความเครียด (Strain)

• วัสดุมีพื้นที่หน้าตัดคงที่ตลอดความยาว
    – ความเครียดตามยาวที่เกิดขึ้นจะมีค่าคงที่
ความเครียด (Strain)
• ความเครียดเฉือน (Shear Strain)
   – ใช้กับกรณีที่แรงกระท้ามีลักษณะเป็นแรงเฉือน
ความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นและความเครียด
• มอดูลัสของยัง (Young’s modulus) หรือ มอดูลัสสภาพยืดหยุ่น
  (modulus of elasticity)
                              S
   Young ' sModulus ( E ) 
                              




      Unit : N/m2
ความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นและความเครียด
• Thomas Young ( ค.ศ. 1773 –
  1829) นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษ ส้าเร็จ
  การศึกษาทางแพทย์ แต่สนใจในวิชา
  ฟิสิกส์โดยเฉพาะเรื่องแสง ได้ด้ารง
  ต้าแหน่งศาสตราจารย์ทางฟิสิกส์ ของ
  The Royal Institution และมี
  ผลงานในวิชาฟิสิกส์มากมาย เช่นการ
  ค้นพบการแทรกสอดของแสง เป็นคน
  แรกที่ทดลองวัดความยาวคลื่นของแสง
  สีต่าง ๆ และ เป็นผู้พบว่า ภายใน
   ขีดจ้ากัดสภาพยืดหยุ่น อัตราส่วน
   ระหว่างความเค้นและความเครียดของ
   วัสดุหนึ่ง ๆ จะมีค่าคงตัวเสมอ
ความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นและความเครียด
                                         มอดุลัสของยัง , E
                                 วัสดุ          ( x 1011
• มอดูลัสของยังของวัสดุ                         N/m2 )
  บางชนิด
                           ตะกั่ว              0.16
   – บ่งบอกถึงความแข็งแรง
                          แก้ว                 0.55
     ทนต่อแรงภายนอกได้มาก
                           อลูมิเนียม          0.70
                           ทองเหลือง           0.91
                           ทองแดง              1.1
                           เหล็ก               1.9
                           เหล็กกล้า           2.0
                           ทังสเตน             3.6
สมบัติเชิงกลของสาร
           (ของแข็ง)
•   กฎของ Hook
•   ความเค้น
•   ความเครียด
•   โมดูลัสยัง

             จัดทาโดย
    นางสาวสุกาญจนา อ้นบางใบ
     โรงเรียนโพธิสารพิทยากร

More Related Content

What's hot

ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Supaluk Juntap
 
การแยกสาร
การแยกสารการแยกสาร
การแยกสารtaew paichibi
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจ
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจPinutchaya Nakchumroon
 
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหลWijitta DevilTeacher
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกSupaluk Juntap
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202พัน พัน
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์orasa1971
 
การค้นพบสารพันธุกรรม
การค้นพบสารพันธุกรรมการค้นพบสารพันธุกรรม
การค้นพบสารพันธุกรรมSawaluk Teasakul
 
เสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินเสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินkrubenjamat
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพWijitta DevilTeacher
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงsmEduSlide
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกSupaluk Juntap
 

What's hot (20)

การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
การแยกสาร
การแยกสารการแยกสาร
การแยกสาร
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจ
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
 
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนก
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
 
การค้นพบสารพันธุกรรม
การค้นพบสารพันธุกรรมการค้นพบสารพันธุกรรม
การค้นพบสารพันธุกรรม
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
เสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินเสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยิน
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuels
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuelsเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuels
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuels
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนก
 

Viewers also liked

การทดลองที่ 1 เรื่องมอดูลัสความยืดหยุ่น
การทดลองที่ 1 เรื่องมอดูลัสความยืดหยุ่นการทดลองที่ 1 เรื่องมอดูลัสความยืดหยุ่น
การทดลองที่ 1 เรื่องมอดูลัสความยืดหยุ่นkanokpan krueaprasertkun
 
Physical Properties
Physical PropertiesPhysical Properties
Physical Propertieskhonohamaru
 
สมดุล 2
สมดุล 2สมดุล 2
สมดุล 2krusarawut
 
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6Mu PPu
 
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนบทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนThepsatri Rajabhat University
 

Viewers also liked (8)

การทดลองที่ 1 เรื่องมอดูลัสความยืดหยุ่น
การทดลองที่ 1 เรื่องมอดูลัสความยืดหยุ่นการทดลองที่ 1 เรื่องมอดูลัสความยืดหยุ่น
การทดลองที่ 1 เรื่องมอดูลัสความยืดหยุ่น
 
2 6
2 62 6
2 6
 
เฉลย14สมบัติเชิงกลของสาร
เฉลย14สมบัติเชิงกลของสารเฉลย14สมบัติเชิงกลของสาร
เฉลย14สมบัติเชิงกลของสาร
 
Physical Properties
Physical PropertiesPhysical Properties
Physical Properties
 
สมดุล 2
สมดุล 2สมดุล 2
สมดุล 2
 
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
 
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนบทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
 
การแก้ระบบสมการ
การแก้ระบบสมการการแก้ระบบสมการ
การแก้ระบบสมการ
 

Similar to Solid

โครงสร้างสาระวิทย์ม.3
โครงสร้างสาระวิทย์ม.3โครงสร้างสาระวิทย์ม.3
โครงสร้างสาระวิทย์ม.3supphawan
 
เจษฎา
เจษฎาเจษฎา
เจษฎาsupphawan
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันwiriya kosit
 
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันThepsatri Rajabhat University
 

Similar to Solid (6)

โครงสร้างสาระวิทย์ม.3
โครงสร้างสาระวิทย์ม.3โครงสร้างสาระวิทย์ม.3
โครงสร้างสาระวิทย์ม.3
 
Ppt newton's law
Ppt newton's lawPpt newton's law
Ppt newton's law
 
เจษฎา
เจษฎาเจษฎา
เจษฎา
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
ใบความรู้ 3
ใบความรู้ 3ใบความรู้ 3
ใบความรู้ 3
 

Solid