SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
Download to read offline
ความหนาแน่นมวล( mass density )(ใช้สัญลักษณ์ อ่านว่า "โรห์
(rho)" ) ซึ่งหาได้จากอัตราส่วนระหว่างค่ามวล(m)ต่อหน่วยปริมาตร
(V)
สูตรความสัมพันธ์ความหนาแน่น
มีหน่วย กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร (kg/m³) ความหนาแน่นสัมพัทธ์(ความ
ถ่วงจาเพาะ) คือ อัตราส่วนระหว่างความหนาแน่นของสารนั้นกับความหนาแน่น
ของน้าที่อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส ซึ่งมีค่าเป็น 1000 kg/m³
ความดันของของไหล คือ อัตราส่วนของแรงที่กระทาต่อวัตถุต่อหน่วยพื้นที่ที่สัมผัสกับ
ของไหล
สูตรความสัมพันธ์
เมื่อ P คือ ความดัน มีหน่วยเป็น N/m2 หรือพาสคัล
(pascal:Pa)
F คือ แรงที่ของเหลวกระทาต่อวัตถุ (นิวตัน)
A คือ พื้นที่(ตารางเมตร) และเป็นพื้นที่ราบ (Flat area)
ความดันในของเหลวจะแปรผันตรงกับความลึกและความหนาแน่นของของเหลว
หากพิจารณาของเหลวที่มีความหนาแน่น อยู่นิ่งในภาชนะเปิดสู่บรรยากาศ
W เป็นน้าหนักของของเหลวบนพื้นที่ A (หน้าตัดของทรงกระบอก) ดังนั้น
ให้ความดันบรรยากาศ คือ เนื่องจากของเหลวอยู่ในสมดุล หรือ
ดังนั้นที่ก้นแก้ว
สูตรความดันสัมบูรณ์
เมื่อ P คือ ผลรวมของความดันบรรยากาศกับความดันเกจ
เรียกว่า "ความดันสัมบูรณ์" (Absolute pressure)
คือ ความดันที่ผิวของเหลวเท่ากับความดันบรรยากาศ
gh เป็นความดันเนื่องจากน้าหนักของของเหลวที่ระดับความลึก h เรียกว่า " ความดัน
เกจ “
จากสูตร สรุปได้ว่า ความดันในของเหลวชนิดเดียวกันที่ระดับความลึกเดียวกันมีค่าเท่ากัน
โดยรูปทรงของภาชนะไม่มีผลต่อความดัน
แรงดันน้าเหนือเขื่อน
จากรูป แรงดันของน้าเหนือเขื่อน
คานวณได้จาก
เมื่อ F คือ แรงดันเฉลี่ยของน้าที่กระทากับเขื่อน
คือ ความหนาแน่นของน้า
l คือ ความยาวของตัวเขื่อน
h คือ ความสูงของระดับน้า
หลอดแก้วรูปตัวยู
ของเหลวสองชนิดมีความหนาแน่น และ ไม่ผสมกันและไม่ทาปฏิกิริยากัน ใส่เข้าไปใน
หลอดแก้วรูปตัวยู ดังรูปขาทั้งสองข้างจะเท่ากันหรือไม่ก็ตาม แต่ปลายทั้งสองต้องเปิดสู่อากาศ
เดียวกัน
จะได้
เครื่องมือวัดความดันของของไหล
-แมนอมิเตอร์
แมนอมิเตอร์ เป็นเครื่องมือวัดความดันของของไหลที่มีลักษณะดังรูป ส่วน
สาคัญคือ หลอดรูปตัวยูมีของเหลวซึ่งมีความหนาแน่น บรรจุอยู่ คานวณความดัน
ได้จาก
เมื่อ P คือ ความดันแก๊สในถัง
Pa คือ ความดันบรรยากาศ
gd คือ ความดันเกจของของเหลวสูง d
-บารอมิเตอร์
บารอมิเตอร์ เป็นเครื่องมือวัดความดันประเภทหนึ่งที่ใช้หลอดยาวปลายข้าง
หนึ่งปิด และปลายข้างที่เปิดคว่าลงในอ่างปรอท ความดัน 1 บรรยากาศ เป็นความ
ดันเนื่องจากน้าหนักของลาปรอทที่สูง 760 มิลลิเมตร
คานวณความดันบรรยากาศได้จาก
พาสคัล ได้ค้นพบว่า การเปลี่ยนแปลงความดันที่กระทาต่อของไหลในภาชนะ
ปิดจะมีการส่งผ่านแรงทั้งหมดไปยังทุกจุดของของไหลและผนังของภาชนะ ด้วย
หลักการนี้ทาให้เกิดการประยุกต์ใช้เครื่องผ่อนแรงที่เรียกว่า "เครื่องอัดไฮดรอลิก" ซึ่ง
ประกอบด้วยกระบอกสูบและลูกสูบสองชุดที่มีขนาดต่างกัน ดังรูป
หลักเกี่ยวกับแรงลอยตัวของวัตถุซึ่งอยู่ในของเหลวกล่าวว่า “แรงลอยตัวจะมี
ค่าเท่ากับน้าหนักของของเหลวซึ่งมีปริมาตรเท่าวัตถุส่วนที่จม”
มีค่าดัง สมการ FB = gV
เมื่อ FB คือ แรงลอยตัว (บางครั้งใช้สัญลักษณ์ B)
คือ ความหนาแน่นของของเหลว
g คือ ค่าความเร่งโน้มถ่วงของโลก
V คือ ปริมาตรวัตถุส่วนที่จมในของเหลว
แรงระหว่างโมเลกุลของของเหลวที่ดึงกันไว้ทาให้ผิวของเหลวราบเรียบและตึงเรียกว่า "แรงดึงผิว"
แรงดึงผิวนี้จะมีทิศขนานกับผิวของเหลวและตั้งฉากกับขอบที่ของเหลวสัมผัส ดังรูป
ความตึงผิว ( surface tension: อ่านว่า แกมมา ) เป็นสมบัติเฉพาะตัวของของเหลว คานวณได้จาก
เมื่อ F คือ ขนาดของแรงดึงผิว (นิวตัน)
L คือ ความยาวของผิวสัมผัส (เมตร)
ความตึงผิวของของเหลวมีหน่วย นิวตันต่อเมตร (N/m)
เมื่อพิจารณาแรง F ที่ดึงให้เกิดระยะเคลื่อนที่ทาให้ผิวของเหลวมีพื้นที่มาก
ขึ้น งานที่ใช้ในการเพิ่มพื้นที่ผิวหาได้ดังนี้
นั่นคือ
เมื่อ คือ พื้นที่ผิวที่เพิ่มขึ้น
ความตึงผิวนี้มีหน่วยจูลต่อตารางเมตร ( J/ m³ )
ความตึงผิวของของเหลวแต่ละชนิดที่อุณหภูมิเดียวกันมีค่าไม่เท่ากัน สาหรับของเหลวชนิดหนึ่งความ
ตึงผิวจะเปลี่ยนไปเมื่อของเหลวมีสารเจือ เช่น น้าเกลือหรือน้าสบู่จะมีความตึงผิวน้อยกว่าน้า และความตึง
ผิวจะลดลงเมื่ออุณหภูมิของของเหลวเพิ่มขึ้น
ความโค้งของผิวของเหลว ของเหลวในภาชนะจะมีผิวลักษณะโค้งนูนหรือโค้งเว้า ขึ้นกับแรงระหว่าง
แรงเชื่อมแน่น(cohesive force)ที่เกิดขึ้นระหว่างโมลุกุลชนิดเดียวกัน กับแรงยึดติด(adhesive)ที่เกิดขึ้น
ระหว่างโมเลกุลต่างชนิดกัน ดังรูป
ของไหลที่มีความหนืดมากจะมีแรงต้านการเคลื่อนที่อันเนื่องมาจากความหนืดของของไหล
เรียกว่า "แรงหนืด"แรงหนืดที่กระทาต่อวัตถุขึ้นอยู่กับขนาดความเร็วของวัตถุและแรงนี้มีทิศตรงกันข้ามกับ
การเคลื่อนที่ของวัตถุ
จอร์จ กาเบรียล สโตกส์ ได้ทดลองหาแรงหนืดและพบว่า แรงหนืดแปรผันตรงกับความเร็วของวัตถุ
ทรงกลมตัน ตามสมการ
เมื่อ F คือ แรงหนืดของของไหล (นิวตัน)
r คือ รัศมีของวัตถุทรงกลม (เมตร)
v คือ ความเร็วของวัตถุทรงกลม ( N/m2 )
(อ่านว่า ETA) คือ ความหนืดของของไหล (นิวตันวินาที/ตารางเมตร หรือ พาสคัลวินาที)
ของไหลในอุดมคติ มีสมบัติดังนี้
- มีการไหลอย่างสม่าเสมอ หมายถึงความเร็วของทุกอนุภาค ณ ตาแหน่งต่างๆของ
ของไหลมีค่าคงตัว
- มีการไหลโดยไม่หมุน คืออนุภาคจะไม่เคลื่อนที่ด้วยความเร็วเชิงมุม
- มีการไหลโดยไม่มีแรงต้านเนื่องจากความหนืด หมายถึงไม่มีแรงต้านใดๆในเนื้อ
ของของไหล
- ไม่สามารถอัดได้ หมายความว่าของไหลมีปริมาตรคงตัวมีความหนาแน่นเท่าเดิม
ตลอด
สมการความต่อเนื่อง
ให้ คือ พื้นที่หน้าตัดของท่อที่ของไหลไหลเข้า
คือ พื้นที่หน้าตัดของท่อที่ของไหลไหลออก
จากรูป เมื่อของไหลอุดมคติไหลอย่างสม่าเสมอผ่านหลอดที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางไม่
เท่ากัน ปริมาตรที่ไหลผ่านพื้นที่ตัดขวาง ในเวลา จะเท่ากับปริมาตรของของไหลที่ผ่าน
พื้นที่หน้าตัด ในเวลา ที่เท่ากัน
มวลของไหลที่ผ่านพื้นที่ คือ
มวลของไหลที่ผ่านพื้นที่ คือ
มวลที่ไหลผ่านแต่ละส่วนมีค่าเท่ากัน
จะพบว่า Av = ค่าคง
ตัวเราเรียกสมการนี้ว่า " สมการความต่อเนื่อง " ซึ่งสรุปได้ว่า"ผลคูณระหว่างพื้นที่หน้าตัดกับอัตราเร็ว
ของของไหลอุดมคติ ไม่ว่าจะอยู่ที่ตาแหน่งใดในหลอดจะมีค่าคงตัวเสมอ"
สมการของแบร์นูลลี
พิจารณาที่ท่อส่วนล่าง
งานที่กระทาโดยแรง
พลังงานศักย์
พลังงานจลน์
พิจารณาที่ท่อส่วนบน
งานที่กระทาโดยแรง (ทิศตรงข้าม)
พลังงานศักย์
พลังงานจลน์
งานจากแรงดัน = การเปลี่ยนพลังงานกล
จาก แทนค่าได้
นั่นคือ = ค่าคงตัว
สมการนี้เรียกว่า "สมการของแบร์นูลลี" ซึ่งกล่าวว่า "ผลรวมของ
ความดันพลังงานจลน์ต่อหนึ่งหน่วยปริมาตร และพลังงานศักย์โน้มถ่วงต่อ
หนึ่งหน่วยปริมาตร ณ ตาแหน่งใดๆ ภายในท่อที่ของไหลผ่าน มีค่าคง
ตัว" ด้วยหลักการนี้จึงเกิดการประยุกต์ใช้ในการทางานของเครื่องพ่นสี
และการออกแบบปีกเครื่องบิน เป็นต้น
ของไหล ฟิสิกส์เพิ่มเติม3 ม.5

More Related Content

What's hot

เรื่องที่5งานและพลังงาน
เรื่องที่5งานและพลังงานเรื่องที่5งานและพลังงาน
เรื่องที่5งานและพลังงานApinya Phuadsing
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีสWijitta DevilTeacher
 
เรื่องที่ 8 สภาพสมดุลยืดหยุ่น
เรื่องที่ 8   สภาพสมดุลยืดหยุ่นเรื่องที่ 8   สภาพสมดุลยืดหยุ่น
เรื่องที่ 8 สภาพสมดุลยืดหยุ่นthanakit553
 
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊สPreeyapat Lengrabam
 
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าWorrachet Boonyong
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณAui Ounjai
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...Prachoom Rangkasikorn
 
โมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงโมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงrutchaneechoomking
 
แผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานแผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานWeerachat Martluplao
 
แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์Chakkrawut Mueangkhon
 
การเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmการเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmAey Usanee
 

What's hot (20)

ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
เรื่องที่5งานและพลังงาน
เรื่องที่5งานและพลังงานเรื่องที่5งานและพลังงาน
เรื่องที่5งานและพลังงาน
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
 
เรื่องที่ 8 สภาพสมดุลยืดหยุ่น
เรื่องที่ 8   สภาพสมดุลยืดหยุ่นเรื่องที่ 8   สภาพสมดุลยืดหยุ่น
เรื่องที่ 8 สภาพสมดุลยืดหยุ่น
 
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
 
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
 
โมเมนตัมและการชน
โมเมนตัมและการชนโมเมนตัมและการชน
โมเมนตัมและการชน
 
เฉลย07สมดลกล
เฉลย07สมดลกลเฉลย07สมดลกล
เฉลย07สมดลกล
 
Momentum
MomentumMomentum
Momentum
 
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณ
 
ธรณีประวัติ
ธรณีประวัติธรณีประวัติ
ธรณีประวัติ
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
 
พลังงาน (Energy)
พลังงาน (Energy)พลังงาน (Energy)
พลังงาน (Energy)
 
โมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงโมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรง
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
แผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานแผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงาน
 
แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์
 
การเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmการเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shm
 

ของไหล ฟิสิกส์เพิ่มเติม3 ม.5