SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
Download to read offline
พลตรี มารวย ส่งทานินทร์ maruays@hotmail.com
20 ตุลาคม 2561
by Patrick Lencioni
Publisher: Jossey-Bass
Publication Date: April 25, 2016
The right people are the ones who have three virtues in common – humility,
hunger and people smarts.
เกี่ยวกับผู้ประพันธ์
 Patrick Lencioni เป็นนักประพันธ์ชาวอเมริกัน ผู้ให้
คาปรึกษา และผู้บรรยายหลัก เขาเป็นผู้ก่อตั้งและ
ประธานบริษัท The Table Group ซึ่งเป็นบริษัทที่
ปรึกษาด้านการจัดการ
 Wall Street Journal กล่าวว่า เขาเป็น "หนึ่งในนักพูด
ที่ธุรกิจต้องการมากที่สุด" เขามีชื่อเสียงในฐานะ
ผู้ประพันธ์หนังสือขายดีสองเรื่องคือ "The
Advantage" และ "The Five Dysfunctions of a team"
ซึ่งเล่มหลังเป็นภาคแรกของหนังสือเล่มนี้
 Lencioni อาศัยอยู่บริเวณ San Francisco Bay กับ
ภรรยาและลูกชายสี่คน
เกี่ยวกับหนังสือ
 "ทีมในอุดมคติ (The Ideal Team Player)" คือหนังสือที่คุณควร
อ่าน หากคุณต้องการสร้างทีมระดับดาวเด่นในบริษัทของคุณ
 ถ้าคุณอยู่ฝ่าย HR หรือคุณเป็นเจ้าของ/ผู้นาของบริษัท และคุณ
คิดว่าคุณสามารถใช้คาแนะนาสักสองสามข้อเกี่ยวกับทีมที่ดีแล้ว
ไม่ควรลังเลที่จะใช้คาแนะนาของ Patrick Lencioni
 หนังสือนวนิยายเล่มนี้ ของ Lencioni สามารถช่วยคุณได้ แม้ว่าคุณ
จะเป็นนายจ้าง แต่ก็ยังอยากจะเป็นสมาชิกของทีมที่ดี
นวนิยายที่แต่งขึ้นมา
 เป็นเรื่องเกี่ยวกับบริษัทที่มีปัญหาเนื่องจาก Bob Shanley ซีอีโอผู้
ก่อตั้งบริษัทรับเหมาก่อสร้าง Valley Builders (VB) ต้อง
เกษียณอายุจากปัญหาคือ ต้องผ่าตัดหัวใจ
 เขาได้เสนองานให้กับหลานชายคือ Jeff ซึ่ง Jeff รู้ทันทีว่าเขาเป็น
ซีอีโอในเวลาที่แย่ที่สุด เพราะบริษัทเพิ่งได้รับสัมปทานขนาด
ใหญ่สองสัญญา ทาให้เขาต้องจ้างพนักงานใหม่อย่างน้อย 60 คน
ภายในสองเดือนข้างหน้า
วัฒนธรรมองค์กร
 การจ้างงานต้องเพิ่มเป็น 80 เพราะจะมีอีก 20 คน ที่ผู้บริหารอาวุโส
บอกเขาว่ากาลังจะลาออก
 ทาไม? เพราะพวกเขาไม่เหมาะกับวัฒนธรรมของ VB ที่ลุงของเขา
สร้างขึ้นมา คือ "ความสามารถในการทางานอย่างมีประสิทธิภาพกับ
คนอื่น ๆ ...มีความสาคัญมากขึ้นในโลกปัจจุบันมากกว่าที่เคยเป็นมา"
 ในไม่ช้า Jeff ก็รู้ว่าวัฒนธรรมการทางานของ VB ขึ้นอยู่กับความคิด
ที่ว่า ทีมต้องสร้างขึ้นจากคนในทีมที่เหมาะสม และจะต้องมีลักษณะ
สามประการ คือ ความอ่อนน้อมถ่อมตน (humility) ความหิวโหย
(hunger) และ ความฉลาดในคน (people smarts)
ผลตรงข้าม
 อย่างไรก็ตาม สิ่งที่ต้องมีทั้งหมดเหล่านี้ หากขาดหนึ่งหรือสอง
อย่าง อาจจะทาให้เกิด ผลตรงข้าม (counter-effect)
 เพราะคนที่มีเพียงแค่ถ่อมตนเป็นได้เพียง เบี้ย (pawns) คนที่
กาลังหิวกระหายเท่านั้นคือ รถไถดิน (bulldozers) และคนที่
เก่งกาจอย่างเดียวอาจเป็นคนที่ มีเสน่ห์ (charmers) เท่านั้น
 คุณคงไม่ชอบสิ่งเหล่านั้น
1. ความอ่อนน้อมถ่อมตน (Humility)
 จากคาพูดของ Lencioni ความอ่อนน้อมถ่อมตน น่าจะเป็น
คุณภาพที่สาคัญที่สุด
 ผู้ที่อยู่ในทีมที่ยอดเยี่ยม ไม่มีอัตตาหรือความกังวลเกี่ยวกับ
สถานะตนเอง พวกเขาชี้ให้เห็นถึงการมีส่วนร่วมของผู้อื่น ไม่
แสวงหาความสนใจให้ตนเอง พวกเขาเน้นทีมมากกว่าตัวเอง
และกาหนดความสาเร็จร่วมกันแทนที่จะเป็นรายบุคคล ไม่น่า
แปลกใจเลยว่า ความอ่อนน้อมถ่อมตน เป็นสิ่งที่ยิ่งใหญ่และ
สาคัญที่สุดประการหนึ่งในการเป็นทีม
2. ความหิวโหย (Hunger)
 ผู้ที่หิวโหยไม่เคยพอใจ และพวกเขามักต้องการมากกว่าสิ่งที่พวก
เขามี พวกเขามีแรงผลักดันและความใฝ่ฝันมาก
 Lencioni มีความเห็นว่า "เรื่องของความหิวโหยนี้ เป็นข่าวดีเพราะ
มีความอ่อนไหวและละเอียดอ่อนน้อยที่สุดของสามข้อ แต่ข่าว
ร้ายคือ มันยากที่จะเปลี่ยนแปลง"
3. ฉลาดคน (People Smarts)
 โปรดทราบว่า "ฉลาดคน" ไม่จาเป็นต้องหมายความว่า "เฉลียว
ฉลาด (brilliant)" แต่หมายความว่าฉลาดทางอารมณ์ และมี
ความสามารถในการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
 แน่นอนว่า คุณไม่สามารถมีทีมได้ ถ้าไม่มีการเข้ากันได้ และ
พนักงานที่เป็นคนฉลาด นาไปสู่การเข้ากันได้นี้
มีลักษณะสองในสามอย่างยังไม่เพียงพอ
 พนักงานที่หิวโหยและฉลาดแต่ไม่ถ่อมตน เป็นนักการเมืองเก่ง
(skillful politicians) ที่จะหาผลประโยชน์ส่วนตัว จนสายเกินไปที่
จะทาอะไรบางอย่างเพื่อส่วนรวม
 พนักงานที่อ่อนน้อมถ่อมตนและฉลาดแต่ไม่หิว เป็นคนขี้เกียจที่
น่ารัก (lovable slackers) ที่จะไม่ทางานอะไรที่ยากลาบาก
 สุดท้าย พนักงานที่อ่อนน้อมถ่อมตนและหิวโหยแต่ไม่ฉลาด เป็น
ผู้ทาผิดโดยไม่ตั้งใจ (accidental mess-makers) สร้างปัญหา
มากกว่าที่ทีมจะสามารถแก้ได้
ผู้สร้างปัญหาโดยไม่ตั้งใจ (The Accidental Mess maker)
 แท้จริงแล้ว พวกเขาต้องการที่จะให้บริการกับทีม และไม่สนใจที่
จะได้รับการชมเชย
 อย่างไรก็ตาม การพูดของพวกเขาที่มีต่อการกระทาของผู้อื่นใน
ทีม จะนาไปสู่ปัญหาความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
 ในขณะที่เพื่อนร่วมงานเคารพการทางานและความปรารถนา
อย่างจริงใจของเขา แต่อาจรู้สึกเบื่อที่จะต้องแก้ปัญหาด้าน
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ซึ่งคนกลุ่มนี้ มักทิ้งไว้เบื้องหลัง
 สามารถแก้ไขพวกเขาเหล่านี้ โดยใช้ข้อเสนอแนะแบบอารมณ์ขัน
คนขี้ เกียจที่น่ารัก (The Lovable Slacker)
 พวกเขาไม่ต้องการเรียกร้องความสนใจ แต่มีความเชี่ยวชาญใน
การทางานกับเพื่อนร่วมงาน
 น่าเสียดาย ที่พวกเขามีแนวโน้มที่จะทาเท่าที่พวกเขาถูกขอร้อง
ให้ทา และไม่พยายามที่จะทางานมากขึ้น หรืออาสาสมัครในงาน
ที่มอบหมายเป็นพิเศษ
 พวกเขามีความตั้งใจในการทางานกับทีมที่จากัด
 คนขี้เกียจแต่น่ารัก ต้องการแรงจูงใจและการกากับดูแล มิฉะนั้น
ประสิทธิภาพของทีมจะต่าลง
นักการเมืองที่เก่ง (The Skillful Politician)
 คนเหล่านี้ มีความทะเยอทะยาน ฉลาด และเต็มใจที่จะทางาน
หนัก แต่เป็นเพียงเพื่อประโยชน์กับตนเอง
 เนื่องจากพวกเขาเป็นนักการเมืองที่เก่ง และเชี่ยวชาญในการ
พรรณนาตัวเองว่าเป็นคนถ่อมตัว ทาให้เป็นเรื่องยากสาหรับผู้นา
ในการระบุตัวตน และระบุพฤติกรรมที่เป็นอันตรายของพวกเขา
 กว่าที่ผู้นาเห็นว่าเกิดอะไรขึ้นจริง นักการเมืองเหล่านี้ อาจทาลาย
ล้างเพื่อนร่วมงานที่อ่อนน้อมถ่อมตนไปแล้วอย่างมากมาย
ทีมในอุดมคติ
 ผู้ที่เหมาะสมในทีมคือ มีความพอดีของความอ่อนน้อมถ่อมตน ความ
หิวโหย และความฉลาดในคน
 พวกเขามีอัตตาเล็กน้อยเมื่อได้รับความสนใจหรือการยกย่อง พวกเขา
แบ่งปันความดีความชอบให้กับผู้อื่นในทีม ในการได้รับรางวัลของเขา
 เป็นผู้ที่เหมาะสมในการทางานอย่างมีพลังงาน มีความหลงใหล และ
มีความรับผิดชอบส่วนบุคคล โดยคานึงถึงประโยชน์ของทีม
 พวกเขาทาและพูดสิ่งที่ถูกต้อง เพื่อช่วยให้เพื่อนร่วมทีมรู้สึกชื่นชม
เข้าใจ และรวมถึงในสถานการณ์ที่ยากลาบากที่เกิดขึ้น ซึ่งต้องการ
ความรักและความสามัคคี
การนาแนวคิดไปใช้ประโยชน์
 มีสี่รูปแบบหลัก ในการนาแนวคิดของทีมที่เหมาะสาหรับองค์กร
ไปใช้ประโยชน์ได้ คือ 1. การจ้างงาน 2. การประเมินพนักงาน
ปัจจุบัน 3. การพัฒนาพนักงาน และ 4. การทาให้เป็นวัฒนธรรม
ขององค์กร
สามบทเรียนสาคัญจาก "ทีมในอุดมคติ"
 1. คุณธรรมสามประการที่สาคัญของทีมในอุดมคติ (The Three
Essential Virtues of the Ideal Team Player)
 2. การสัมภาษณ์พนักงานใหม่ (How to Interview New Hires for
Your Team)
 3. การพัฒนาคุณภาพที่สาคัญสามประการ (How to Develop the
Three Essential Qualities)
1. คุณธรรมสามประการของทีมในอุดมคติ
 สาหรับองค์กรที่มุ่งมั่นอย่างจริงจัง ในการมุ่งเน้นการทางานเป็น
ทีม ให้เป็นวัฒนธรรมขององค์กร Patrick Lencioni กล่าวว่า สิ่ง
สาคัญคือ "คนที่ใช่ (the right people)" เป็นคนที่มีคุณธรรมสาม
ข้อคือ ความอ่อนน้อมถ่อมตน ความหิว และความฉลาดในคน
 หากไม่ครบทั้งสามข้อ ก็อาจเป็นอันตรายอย่างร้ายแรงต่อทีมงาน
ของคุณ
2. การสัมภาษณ์พนักงานใหม่
 "บทสัมภาษณ์ส่วนใหญ่ยังคงเป็นบทสนทนาที่เหมือนเดิมเมื่อ
40 ปีก่อน" และสมควรเปลี่ยนแปลงได้แล้ว
 เพราะตอนนี้ คุณทราบถึงหลักคุณธรรมสามข้อของทีมที่
เหมาะสมแล้ว คุณควรออกแบบกระบวนการสัมภาษณ์ของคุณ
เพื่อดูว่าพนักงานใหม่จะมีศักยภาพตามนั้นหรือไม่
 ดังนั้นลองพยายามหาเรื่องแปลก ๆ (พูดคุยกับผู้สัมภาษณ์ด้วย
การเดินไปช็อปปิ้ ง) และมุ่งเน้นไปที่การตรวจสอบความบังเอิญ
ซึ่งอาจบอกคุณได้ว่า เขาคือคนที่อ่อนน้อมถ่อมตน หิวโหย และ
ฉลาดคน
กฎเกณฑ์การสัมภาษณ์
 1. สาหรับคนอ่อนน้อมถ่อมตน: ถามผู้สมัครเกี่ยวกับความสาเร็จ
ที่สาคัญที่สุดในอาชีพของเขา และดูว่าเขาจะใช้ "ฉัน" หรือ "เรา"
มากกว่ากัน อย่างหลังบ่งชี้ถึงความอ่อนน้อมถ่อมตน
 2. สาหรับผู้ที่หิวโหย: ถามผู้สมัครว่า อะไรคือความยากลาบาก
ที่สุดที่เขาเคยพบพาน ถ้าดูเหมือนว่าเขาดูมีความสุข (ไม่ใช่เพียง
อดทน) จากประสบการณ์นี้ เขาคือผู้หิวโหยแน่นอน
 3. สาหรับคนฉลาด: ถามผู้สมัครว่า เขาจะอธิบายถึงบุคลิกภาพ
ของตนเองอย่างไร ถ้าเขารู้จุดอ่อนและจุดแข็งของตัวเองดี แสดง
ว่าเขามีไหวพริบและฉลาด
3. การพัฒนาคุณภาพที่สาคัญสามประการ
 ถ้าคุณต้องการที่จะกลายเป็นผู้เล่นในทีมที่เหมาะแล้ว คุณต้องฝึก
เกี่ยวกับสามคุณสมบัติที่สาคัญคือ
 1. อ่อนน้อมถ่อมตน สุภาพและเรียนรู้วิธีการชมเชย ถามเพื่อน
ร่วมงานว่ารู้สึกอย่างไร แล้วฟัง
 2. หิวโหย นี่คือคุณธรรมที่ยากที่สุดในการพัฒนา ให้เรียนรู้
วิธีการทางานเพิ่มมากขึ้น
 3. ฉลาดคน มีหนังสือหลายเล่มที่สามารถช่วยพัฒนาความฉลาด
ทางอารมณ์ ให้ใช้เป็นแนวทางต่อไปของคุณ
สรุป
 ผู้นาส่วนใหญ่ไม่ต้องการสร้างทีมโดยเริ่มตั้งแต่ต้นใหม่ นั่นเป็น
เหตุผลที่ Lencioni กล่าวถึงการประเมินพนักงานปัจจุบัน การ
พัฒนาพนักงานที่ขาดคุณสมบัติในสามประการ และการทาให้
เป็นวัฒนธรรมขององค์กร
 วิธีที่ดีที่สุดในการสร้างวัฒนธรรมแห่งความอ่อนน้อมถ่อมตน
ความหิวโหย และความเฉลียวฉลาด คือ การคอยสังเกตผู้ที่
แสดงคุณธรรมเหล่านี้ อย่างเปิดเผย ให้ทาการยกย่องชมเชย
และให้ถือว่าเป็นแบบอย่างที่ดีขององค์กร
- C S Lewis

More Related Content

What's hot

High-performance Team Development
High-performance Team DevelopmentHigh-performance Team Development
High-performance Team Development
Peter Pfeiffer
 
True colors s12 part 2
True colors s12 part 2True colors s12 part 2
True colors s12 part 2
Helice Agria
 
The 6 Patterns of High Performing Teams
The 6 Patterns of High Performing TeamsThe 6 Patterns of High Performing Teams
The 6 Patterns of High Performing Teams
Deidre Paknad
 
LEADERSHIP 1.01
LEADERSHIP 1.01LEADERSHIP 1.01
LEADERSHIP 1.01
Rhyz Buac
 

What's hot (20)

People Management 101
People Management 101People Management 101
People Management 101
 
Team Lead presentation
Team Lead presentationTeam Lead presentation
Team Lead presentation
 
Team building by pramod kumar singh
Team building by pramod kumar singhTeam building by pramod kumar singh
Team building by pramod kumar singh
 
Business - Team work
Business - Team workBusiness - Team work
Business - Team work
 
High-performance Team Development
High-performance Team DevelopmentHigh-performance Team Development
High-performance Team Development
 
Influence without Authority: Establishing and Transforming Power
Influence without Authority: Establishing and Transforming PowerInfluence without Authority: Establishing and Transforming Power
Influence without Authority: Establishing and Transforming Power
 
16 Simple Ways to Help First-Time Managers Succeed
16 Simple Ways to Help First-Time Managers Succeed16 Simple Ways to Help First-Time Managers Succeed
16 Simple Ways to Help First-Time Managers Succeed
 
Leadership Powerpoint ( Jeff)
Leadership Powerpoint ( Jeff)Leadership Powerpoint ( Jeff)
Leadership Powerpoint ( Jeff)
 
10 commandments for first time managers!!
10 commandments for first time managers!!10 commandments for first time managers!!
10 commandments for first time managers!!
 
Manager Tools introduction
Manager Tools introductionManager Tools introduction
Manager Tools introduction
 
Lindando com as 5 disfunções das equipes com práticas de coaching
Lindando com as 5 disfunções das equipes com práticas de coachingLindando com as 5 disfunções das equipes com práticas de coaching
Lindando com as 5 disfunções das equipes com práticas de coaching
 
High Performance Teams: The 4 KPIs of Success
High Performance Teams: The 4 KPIs of SuccessHigh Performance Teams: The 4 KPIs of Success
High Performance Teams: The 4 KPIs of Success
 
True colors s12 part 2
True colors s12 part 2True colors s12 part 2
True colors s12 part 2
 
Taking Your Leadership from "I" to "WE"
Taking Your Leadership from "I" to "WE"Taking Your Leadership from "I" to "WE"
Taking Your Leadership from "I" to "WE"
 
The 6 Patterns of High Performing Teams
The 6 Patterns of High Performing TeamsThe 6 Patterns of High Performing Teams
The 6 Patterns of High Performing Teams
 
Presentation Team Work
Presentation Team WorkPresentation Team Work
Presentation Team Work
 
Team building and teamwork
Team building and teamworkTeam building and teamwork
Team building and teamwork
 
Building and managing high performance teams
Building and managing high performance teamsBuilding and managing high performance teams
Building and managing high performance teams
 
LEADERSHIP 1.01
LEADERSHIP 1.01LEADERSHIP 1.01
LEADERSHIP 1.01
 
Team Building Presentation
Team Building PresentationTeam Building Presentation
Team Building Presentation
 

More from maruay songtanin

200 สาธุสีลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
200 สาธุสีลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....200 สาธุสีลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
200 สาธุสีลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
198 ราธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
198 ราธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx198 ราธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
198 ราธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
197 มิตตามิตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
197 มิตตามิตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...197 มิตตามิตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
197 มิตตามิตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
195 ปัพพตูปัตถรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
195 ปัพพตูปัตถรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...195 ปัพพตูปัตถรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
195 ปัพพตูปัตถรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
maruay songtanin
 
193 จูฬปทุมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
193 จูฬปทุมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....193 จูฬปทุมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
193 จูฬปทุมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
192 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
192 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...192 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
192 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
191 รุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
191 รุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx191 รุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
191 รุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
190 สีลานิสังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
190 สีลานิสังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...190 สีลานิสังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
190 สีลานิสังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
188 สีหโกตถุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
188 สีหโกตถุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...188 สีหโกตถุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
188 สีหโกตถุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
187 จตุมัฏฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
187 จตุมัฏฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....187 จตุมัฏฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
187 จตุมัฏฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
186 ทธิวาหนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
186 ทธิวาหนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....186 ทธิวาหนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
186 ทธิวาหนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
185 อนภิรติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
185 อนภิรติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....185 อนภิรติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
185 อนภิรติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
183 วาโลทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
183 วาโลทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx183 วาโลทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
183 วาโลทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
182 สังคามาวจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
182 สังคามาวจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...182 สังคามาวจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
182 สังคามาวจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
181 อสทิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
181 อสทิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx181 อสทิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
181 อสทิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
180 ทุทททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
180 ทุทททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx180 ทุทททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
180 ทุทททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
179 สตธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
179 สตธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx179 สตธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
179 สตธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

200 สาธุสีลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
200 สาธุสีลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....200 สาธุสีลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
200 สาธุสีลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
198 ราธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
198 ราธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx198 ราธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
198 ราธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
197 มิตตามิตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
197 มิตตามิตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...197 มิตตามิตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
197 มิตตามิตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
195 ปัพพตูปัตถรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
195 ปัพพตูปัตถรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...195 ปัพพตูปัตถรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
195 ปัพพตูปัตถรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
 
194 มณิโจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
194 มณิโจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx194 มณิโจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
194 มณิโจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
193 จูฬปทุมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
193 จูฬปทุมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....193 จูฬปทุมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
193 จูฬปทุมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
192 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
192 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...192 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
192 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
 
191 รุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
191 รุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx191 รุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
191 รุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
190 สีลานิสังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
190 สีลานิสังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...190 สีลานิสังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
190 สีลานิสังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
189 สีหจัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
189 สีหจัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....189 สีหจัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
189 สีหจัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
188 สีหโกตถุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
188 สีหโกตถุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...188 สีหโกตถุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
188 สีหโกตถุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
187 จตุมัฏฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
187 จตุมัฏฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....187 จตุมัฏฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
187 จตุมัฏฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
186 ทธิวาหนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
186 ทธิวาหนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....186 ทธิวาหนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
186 ทธิวาหนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
185 อนภิรติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
185 อนภิรติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....185 อนภิรติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
185 อนภิรติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
184 คิริทัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
184 คิริทัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...184 คิริทัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
184 คิริทัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
183 วาโลทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
183 วาโลทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx183 วาโลทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
183 วาโลทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
182 สังคามาวจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
182 สังคามาวจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...182 สังคามาวจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
182 สังคามาวจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
181 อสทิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
181 อสทิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx181 อสทิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
181 อสทิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
180 ทุทททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
180 ทุทททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx180 ทุทททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
180 ทุทททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
179 สตธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
179 สตธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx179 สตธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
179 สตธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 

ทีมในอุดมคติ The ideal team player

  • 1. พลตรี มารวย ส่งทานินทร์ maruays@hotmail.com 20 ตุลาคม 2561
  • 2. by Patrick Lencioni Publisher: Jossey-Bass Publication Date: April 25, 2016 The right people are the ones who have three virtues in common – humility, hunger and people smarts.
  • 3. เกี่ยวกับผู้ประพันธ์  Patrick Lencioni เป็นนักประพันธ์ชาวอเมริกัน ผู้ให้ คาปรึกษา และผู้บรรยายหลัก เขาเป็นผู้ก่อตั้งและ ประธานบริษัท The Table Group ซึ่งเป็นบริษัทที่ ปรึกษาด้านการจัดการ  Wall Street Journal กล่าวว่า เขาเป็น "หนึ่งในนักพูด ที่ธุรกิจต้องการมากที่สุด" เขามีชื่อเสียงในฐานะ ผู้ประพันธ์หนังสือขายดีสองเรื่องคือ "The Advantage" และ "The Five Dysfunctions of a team" ซึ่งเล่มหลังเป็นภาคแรกของหนังสือเล่มนี้  Lencioni อาศัยอยู่บริเวณ San Francisco Bay กับ ภรรยาและลูกชายสี่คน
  • 4. เกี่ยวกับหนังสือ  "ทีมในอุดมคติ (The Ideal Team Player)" คือหนังสือที่คุณควร อ่าน หากคุณต้องการสร้างทีมระดับดาวเด่นในบริษัทของคุณ  ถ้าคุณอยู่ฝ่าย HR หรือคุณเป็นเจ้าของ/ผู้นาของบริษัท และคุณ คิดว่าคุณสามารถใช้คาแนะนาสักสองสามข้อเกี่ยวกับทีมที่ดีแล้ว ไม่ควรลังเลที่จะใช้คาแนะนาของ Patrick Lencioni  หนังสือนวนิยายเล่มนี้ ของ Lencioni สามารถช่วยคุณได้ แม้ว่าคุณ จะเป็นนายจ้าง แต่ก็ยังอยากจะเป็นสมาชิกของทีมที่ดี
  • 5. นวนิยายที่แต่งขึ้นมา  เป็นเรื่องเกี่ยวกับบริษัทที่มีปัญหาเนื่องจาก Bob Shanley ซีอีโอผู้ ก่อตั้งบริษัทรับเหมาก่อสร้าง Valley Builders (VB) ต้อง เกษียณอายุจากปัญหาคือ ต้องผ่าตัดหัวใจ  เขาได้เสนองานให้กับหลานชายคือ Jeff ซึ่ง Jeff รู้ทันทีว่าเขาเป็น ซีอีโอในเวลาที่แย่ที่สุด เพราะบริษัทเพิ่งได้รับสัมปทานขนาด ใหญ่สองสัญญา ทาให้เขาต้องจ้างพนักงานใหม่อย่างน้อย 60 คน ภายในสองเดือนข้างหน้า
  • 6. วัฒนธรรมองค์กร  การจ้างงานต้องเพิ่มเป็น 80 เพราะจะมีอีก 20 คน ที่ผู้บริหารอาวุโส บอกเขาว่ากาลังจะลาออก  ทาไม? เพราะพวกเขาไม่เหมาะกับวัฒนธรรมของ VB ที่ลุงของเขา สร้างขึ้นมา คือ "ความสามารถในการทางานอย่างมีประสิทธิภาพกับ คนอื่น ๆ ...มีความสาคัญมากขึ้นในโลกปัจจุบันมากกว่าที่เคยเป็นมา"  ในไม่ช้า Jeff ก็รู้ว่าวัฒนธรรมการทางานของ VB ขึ้นอยู่กับความคิด ที่ว่า ทีมต้องสร้างขึ้นจากคนในทีมที่เหมาะสม และจะต้องมีลักษณะ สามประการ คือ ความอ่อนน้อมถ่อมตน (humility) ความหิวโหย (hunger) และ ความฉลาดในคน (people smarts)
  • 7.
  • 8. ผลตรงข้าม  อย่างไรก็ตาม สิ่งที่ต้องมีทั้งหมดเหล่านี้ หากขาดหนึ่งหรือสอง อย่าง อาจจะทาให้เกิด ผลตรงข้าม (counter-effect)  เพราะคนที่มีเพียงแค่ถ่อมตนเป็นได้เพียง เบี้ย (pawns) คนที่ กาลังหิวกระหายเท่านั้นคือ รถไถดิน (bulldozers) และคนที่ เก่งกาจอย่างเดียวอาจเป็นคนที่ มีเสน่ห์ (charmers) เท่านั้น  คุณคงไม่ชอบสิ่งเหล่านั้น
  • 9. 1. ความอ่อนน้อมถ่อมตน (Humility)  จากคาพูดของ Lencioni ความอ่อนน้อมถ่อมตน น่าจะเป็น คุณภาพที่สาคัญที่สุด  ผู้ที่อยู่ในทีมที่ยอดเยี่ยม ไม่มีอัตตาหรือความกังวลเกี่ยวกับ สถานะตนเอง พวกเขาชี้ให้เห็นถึงการมีส่วนร่วมของผู้อื่น ไม่ แสวงหาความสนใจให้ตนเอง พวกเขาเน้นทีมมากกว่าตัวเอง และกาหนดความสาเร็จร่วมกันแทนที่จะเป็นรายบุคคล ไม่น่า แปลกใจเลยว่า ความอ่อนน้อมถ่อมตน เป็นสิ่งที่ยิ่งใหญ่และ สาคัญที่สุดประการหนึ่งในการเป็นทีม
  • 10.
  • 11.
  • 12. 2. ความหิวโหย (Hunger)  ผู้ที่หิวโหยไม่เคยพอใจ และพวกเขามักต้องการมากกว่าสิ่งที่พวก เขามี พวกเขามีแรงผลักดันและความใฝ่ฝันมาก  Lencioni มีความเห็นว่า "เรื่องของความหิวโหยนี้ เป็นข่าวดีเพราะ มีความอ่อนไหวและละเอียดอ่อนน้อยที่สุดของสามข้อ แต่ข่าว ร้ายคือ มันยากที่จะเปลี่ยนแปลง"
  • 13.
  • 14.
  • 15. 3. ฉลาดคน (People Smarts)  โปรดทราบว่า "ฉลาดคน" ไม่จาเป็นต้องหมายความว่า "เฉลียว ฉลาด (brilliant)" แต่หมายความว่าฉลาดทางอารมณ์ และมี ความสามารถในการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล  แน่นอนว่า คุณไม่สามารถมีทีมได้ ถ้าไม่มีการเข้ากันได้ และ พนักงานที่เป็นคนฉลาด นาไปสู่การเข้ากันได้นี้
  • 16.
  • 17.
  • 18.
  • 19. มีลักษณะสองในสามอย่างยังไม่เพียงพอ  พนักงานที่หิวโหยและฉลาดแต่ไม่ถ่อมตน เป็นนักการเมืองเก่ง (skillful politicians) ที่จะหาผลประโยชน์ส่วนตัว จนสายเกินไปที่ จะทาอะไรบางอย่างเพื่อส่วนรวม  พนักงานที่อ่อนน้อมถ่อมตนและฉลาดแต่ไม่หิว เป็นคนขี้เกียจที่ น่ารัก (lovable slackers) ที่จะไม่ทางานอะไรที่ยากลาบาก  สุดท้าย พนักงานที่อ่อนน้อมถ่อมตนและหิวโหยแต่ไม่ฉลาด เป็น ผู้ทาผิดโดยไม่ตั้งใจ (accidental mess-makers) สร้างปัญหา มากกว่าที่ทีมจะสามารถแก้ได้
  • 20. ผู้สร้างปัญหาโดยไม่ตั้งใจ (The Accidental Mess maker)  แท้จริงแล้ว พวกเขาต้องการที่จะให้บริการกับทีม และไม่สนใจที่ จะได้รับการชมเชย  อย่างไรก็ตาม การพูดของพวกเขาที่มีต่อการกระทาของผู้อื่นใน ทีม จะนาไปสู่ปัญหาความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล  ในขณะที่เพื่อนร่วมงานเคารพการทางานและความปรารถนา อย่างจริงใจของเขา แต่อาจรู้สึกเบื่อที่จะต้องแก้ปัญหาด้าน ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ซึ่งคนกลุ่มนี้ มักทิ้งไว้เบื้องหลัง  สามารถแก้ไขพวกเขาเหล่านี้ โดยใช้ข้อเสนอแนะแบบอารมณ์ขัน
  • 21.
  • 22. คนขี้ เกียจที่น่ารัก (The Lovable Slacker)  พวกเขาไม่ต้องการเรียกร้องความสนใจ แต่มีความเชี่ยวชาญใน การทางานกับเพื่อนร่วมงาน  น่าเสียดาย ที่พวกเขามีแนวโน้มที่จะทาเท่าที่พวกเขาถูกขอร้อง ให้ทา และไม่พยายามที่จะทางานมากขึ้น หรืออาสาสมัครในงาน ที่มอบหมายเป็นพิเศษ  พวกเขามีความตั้งใจในการทางานกับทีมที่จากัด  คนขี้เกียจแต่น่ารัก ต้องการแรงจูงใจและการกากับดูแล มิฉะนั้น ประสิทธิภาพของทีมจะต่าลง
  • 23.
  • 24. นักการเมืองที่เก่ง (The Skillful Politician)  คนเหล่านี้ มีความทะเยอทะยาน ฉลาด และเต็มใจที่จะทางาน หนัก แต่เป็นเพียงเพื่อประโยชน์กับตนเอง  เนื่องจากพวกเขาเป็นนักการเมืองที่เก่ง และเชี่ยวชาญในการ พรรณนาตัวเองว่าเป็นคนถ่อมตัว ทาให้เป็นเรื่องยากสาหรับผู้นา ในการระบุตัวตน และระบุพฤติกรรมที่เป็นอันตรายของพวกเขา  กว่าที่ผู้นาเห็นว่าเกิดอะไรขึ้นจริง นักการเมืองเหล่านี้ อาจทาลาย ล้างเพื่อนร่วมงานที่อ่อนน้อมถ่อมตนไปแล้วอย่างมากมาย
  • 25.
  • 26. ทีมในอุดมคติ  ผู้ที่เหมาะสมในทีมคือ มีความพอดีของความอ่อนน้อมถ่อมตน ความ หิวโหย และความฉลาดในคน  พวกเขามีอัตตาเล็กน้อยเมื่อได้รับความสนใจหรือการยกย่อง พวกเขา แบ่งปันความดีความชอบให้กับผู้อื่นในทีม ในการได้รับรางวัลของเขา  เป็นผู้ที่เหมาะสมในการทางานอย่างมีพลังงาน มีความหลงใหล และ มีความรับผิดชอบส่วนบุคคล โดยคานึงถึงประโยชน์ของทีม  พวกเขาทาและพูดสิ่งที่ถูกต้อง เพื่อช่วยให้เพื่อนร่วมทีมรู้สึกชื่นชม เข้าใจ และรวมถึงในสถานการณ์ที่ยากลาบากที่เกิดขึ้น ซึ่งต้องการ ความรักและความสามัคคี
  • 27.
  • 28. การนาแนวคิดไปใช้ประโยชน์  มีสี่รูปแบบหลัก ในการนาแนวคิดของทีมที่เหมาะสาหรับองค์กร ไปใช้ประโยชน์ได้ คือ 1. การจ้างงาน 2. การประเมินพนักงาน ปัจจุบัน 3. การพัฒนาพนักงาน และ 4. การทาให้เป็นวัฒนธรรม ขององค์กร
  • 29.
  • 30. สามบทเรียนสาคัญจาก "ทีมในอุดมคติ"  1. คุณธรรมสามประการที่สาคัญของทีมในอุดมคติ (The Three Essential Virtues of the Ideal Team Player)  2. การสัมภาษณ์พนักงานใหม่ (How to Interview New Hires for Your Team)  3. การพัฒนาคุณภาพที่สาคัญสามประการ (How to Develop the Three Essential Qualities)
  • 31. 1. คุณธรรมสามประการของทีมในอุดมคติ  สาหรับองค์กรที่มุ่งมั่นอย่างจริงจัง ในการมุ่งเน้นการทางานเป็น ทีม ให้เป็นวัฒนธรรมขององค์กร Patrick Lencioni กล่าวว่า สิ่ง สาคัญคือ "คนที่ใช่ (the right people)" เป็นคนที่มีคุณธรรมสาม ข้อคือ ความอ่อนน้อมถ่อมตน ความหิว และความฉลาดในคน  หากไม่ครบทั้งสามข้อ ก็อาจเป็นอันตรายอย่างร้ายแรงต่อทีมงาน ของคุณ
  • 32. 2. การสัมภาษณ์พนักงานใหม่  "บทสัมภาษณ์ส่วนใหญ่ยังคงเป็นบทสนทนาที่เหมือนเดิมเมื่อ 40 ปีก่อน" และสมควรเปลี่ยนแปลงได้แล้ว  เพราะตอนนี้ คุณทราบถึงหลักคุณธรรมสามข้อของทีมที่ เหมาะสมแล้ว คุณควรออกแบบกระบวนการสัมภาษณ์ของคุณ เพื่อดูว่าพนักงานใหม่จะมีศักยภาพตามนั้นหรือไม่  ดังนั้นลองพยายามหาเรื่องแปลก ๆ (พูดคุยกับผู้สัมภาษณ์ด้วย การเดินไปช็อปปิ้ ง) และมุ่งเน้นไปที่การตรวจสอบความบังเอิญ ซึ่งอาจบอกคุณได้ว่า เขาคือคนที่อ่อนน้อมถ่อมตน หิวโหย และ ฉลาดคน
  • 33. กฎเกณฑ์การสัมภาษณ์  1. สาหรับคนอ่อนน้อมถ่อมตน: ถามผู้สมัครเกี่ยวกับความสาเร็จ ที่สาคัญที่สุดในอาชีพของเขา และดูว่าเขาจะใช้ "ฉัน" หรือ "เรา" มากกว่ากัน อย่างหลังบ่งชี้ถึงความอ่อนน้อมถ่อมตน  2. สาหรับผู้ที่หิวโหย: ถามผู้สมัครว่า อะไรคือความยากลาบาก ที่สุดที่เขาเคยพบพาน ถ้าดูเหมือนว่าเขาดูมีความสุข (ไม่ใช่เพียง อดทน) จากประสบการณ์นี้ เขาคือผู้หิวโหยแน่นอน  3. สาหรับคนฉลาด: ถามผู้สมัครว่า เขาจะอธิบายถึงบุคลิกภาพ ของตนเองอย่างไร ถ้าเขารู้จุดอ่อนและจุดแข็งของตัวเองดี แสดง ว่าเขามีไหวพริบและฉลาด
  • 34. 3. การพัฒนาคุณภาพที่สาคัญสามประการ  ถ้าคุณต้องการที่จะกลายเป็นผู้เล่นในทีมที่เหมาะแล้ว คุณต้องฝึก เกี่ยวกับสามคุณสมบัติที่สาคัญคือ  1. อ่อนน้อมถ่อมตน สุภาพและเรียนรู้วิธีการชมเชย ถามเพื่อน ร่วมงานว่ารู้สึกอย่างไร แล้วฟัง  2. หิวโหย นี่คือคุณธรรมที่ยากที่สุดในการพัฒนา ให้เรียนรู้ วิธีการทางานเพิ่มมากขึ้น  3. ฉลาดคน มีหนังสือหลายเล่มที่สามารถช่วยพัฒนาความฉลาด ทางอารมณ์ ให้ใช้เป็นแนวทางต่อไปของคุณ
  • 35. สรุป  ผู้นาส่วนใหญ่ไม่ต้องการสร้างทีมโดยเริ่มตั้งแต่ต้นใหม่ นั่นเป็น เหตุผลที่ Lencioni กล่าวถึงการประเมินพนักงานปัจจุบัน การ พัฒนาพนักงานที่ขาดคุณสมบัติในสามประการ และการทาให้ เป็นวัฒนธรรมขององค์กร  วิธีที่ดีที่สุดในการสร้างวัฒนธรรมแห่งความอ่อนน้อมถ่อมตน ความหิวโหย และความเฉลียวฉลาด คือ การคอยสังเกตผู้ที่ แสดงคุณธรรมเหล่านี้ อย่างเปิดเผย ให้ทาการยกย่องชมเชย และให้ถือว่าเป็นแบบอย่างที่ดีขององค์กร
  • 36. - C S Lewis