SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
1
การบาเพ็ญบารมีของพระผู้มีพระภาคเจ้า ตอนที่ ๓๓ สุตโสมจริยา
พลตรี มารวย ส่งทานินทร์
๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๖
เกริ่นนา
เราถูกพระยาโปริสาทจับไปได้ ระลึกถึงคาผัดเพี้ยนไว้กะพราหมณ์. พระยาโปริสาทเอาเชือกร้อย
ฝ่ามือกษัตริย์ ๑๐๑ ไว้แล้ว ทากษัตริย์เหล่านั้นให้ได้รับความลาบาก. นาเราไปด้วย เพื่อต้องการทาพลี
กรรม. ในการกลับมายังสานักของพระยาโปริสาทนั้น เราไม่มีความสงสัยว่าจักถูกฆ่าหรือไม่ เราตามรักษา
สัจจวาจา ยอมสละชีวิตเข้าไปหาพระยาโปริสาท บุคคลมีสัจจะเสมอเราไม่มี นี้ เป็นสัจจบารมีของเรา ฉะนี้ แล
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๓ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๕ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๒ -พุทธวังสะ-จริยาปิฎก
๑๒. สุตโสมจริยา
ว่าด้วยจริยาของพระเจ้าสุตโสม
[๑๐๕] อีกเรื่องหนึ่ง ในกาลที่เราเป็นพระเจ้าแผ่นดินนามว่าสุตโสม ถูกพระยาโปริสาทจับตัวไป
ได้ ระลึกถึงคาผัดเพี้ยนไว้กะพราหมณ์(โปริสาท)
[๑๐๖] พระยาโปริสาทใช้เชือกร้อยฝ่ามือกษัตริย์ ๑๐๑ พระองค์ไว้แล้ว ทากษัตริย์เหล่านั้นให้
เมื่อยล้าแล้ว เมื่อต้องการจะทาพลีกรรมให้สาเร็จจึงนาเราเข้าไป
[๑๐๗] พระยาโปริสาทได้ถามเราว่า ท่านปรารถนาจะให้ปล่อยหรือ ถ้าท่านจะกลับมาหาเรา
เราจักทาตามใจชอบของท่าน
[๑๐๘] เรารับคาพระยาโปริสาทนั้นว่า การกลับมาของเรามีปัญญาหรือ แล้วเข้าไปยังนครที่น่า
รื่นรมย์ มอบราชสมบัติแล้ว ในกาลนั้น
[๑๐๙] เพราะเราระลึกถึงธรรมของสัตบุรุษ เป็นของเก่า อันพระชินเจ้าเป็นต้นเสพแล้ว ให้ทรัพย์
แก่พราหมณ์แล้ว จึงเข้าไปหาพระยาโปริสาท
[๑๑๐] ในการกลับมายังสานักของพระยาโปริสาทนั้น เราไม่มีความสงสัยว่าจักถูกฆ่าหรือไม่ เรา
ตามรักษาสัจจวาจา ยอมสละชีวิตเข้าไปหาพระยาโปริสาท บุคคลมีสัจจะเสมอเราไม่มี นี้ เป็นสัจจบารมีของ
เรา ฉะนี้ แล
สุตโสมจริยาที่ ๑๒ จบ
คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา
ขุททกนิกาย จริยาปิฎก การบาเพ็ญเนกขัมมบารมีเป็นต้น
2
๑๒. สุตโสมจริยา
อรรถกถามหาสุตโสมจริยาที่ ๑๒
ในกาลนั้น พระมหาสัตว์ทรงอุบัติในพระครรภ์ของพระอัครมเหสีของพระเจ้าโกรัพยะ ในกรุง
อินทปัตถะแคว้นกุรุ. พระมารดาพระบิดาทรงขนานพระนามพระกุมารว่า สุตโสมะ เพราะปลื้มใจด้วยการฟัง
และเพราะมีพระฉวีเปล่งปลั่งเสมอดุจพระจันทร์.
ครั้นพระกุมารสุตโสมทรงเจริญวัยสาเร็จศิลปะทุกแขนง พระมารดาพระบิดาทรงอภิเษกไว้ใน
ราชสมบัติ.
พระเจ้าสุตโสมถูกพระราชากรุงพาราณสีพระนามว่าโปริสาท (เพราะเคี้ยวกินพวกมนุษย์) จับ
ไปเพื่อทาพลีกรรมเทวดา.
กาลก่อนหน้านั้น พระเจ้าพาราณสีเว้นเนื้ อแล้วก็ไม่เสวย คนทาอาหารเมื่อไม่ได้เนื้ ออื่น ก็ทา
เนื้ อมนุษย์ให้เสวย ทรงติดในรส รับสั่งให้ฆ่ามนุษย์ แล้วเสวยเนื้ อมนุษย์ จึงมีพระนามว่าโปริสาท.
พวกชาวพระนคร ชาวนิคม ชาวชนบทมีอามาตย์ราชบริษัทเป็นหัวหน้า และกาฬหัตถีเสนาบดี
ของพระองค์ พากันไปทูลว่า ข้าแต่เทวะ หากพระองค์ยังทรงต้องการราชสมบัติอยู่ ขอได้ทรงเว้นจากการ
เสวยเนื้ อมนุษย์เสียเถิด.
ตรัสว่า แม้เราสละราชสมบัติก็จะไม่เว้นการกินเนื้ อมนุษย์ จึงถูกชนเหล่านั้นขับไล่ออกจากแว่น
แคว้น เข้าป่าอาศัยอยู่ ณ โคนต้นไทรต้นหนึ่ง เพื่อรักษาแผลที่เท้าเพราะถูกตอตา จึงทาการบวงสรวงเทวดา
ว่า ข้าพเจ้าจะเอาโลหิตที่ลาคอของกษัตริย์ ๑๐๑ ในชมพูทวีปทั้งสิ้น กระทาพลีกรรม.
เมื่อแผลหายเป็นปกติ เพราะอดอาหารมา ๗ วัน สาคัญว่า เพราะอานุภาพของเทวดา เราจึงได้
ความสวัสดี คิดว่าเราจักนาพระราชามาเพื่อพลีกรรมเทวดา จึงไปสมคบกับยักษ์ซึ่งเคยเป็นสหายกันในอดีต
ภพ ด้วยกาลังมนต์ที่ยักษ์นั้นให้ไว้ จึงมีกาลังเรี่ยวแรงว่องไวยิ่งนัก นาพระราชา ๑๐๐ มาได้ภายใน ๗ วัน
เท่านั้น แขวนไว้ที่ต้นไทรอันเป็นที่อยู่ของตน เตรียมทาพลีกรรม.
ลาดับนั้น เทวดาที่สิงสถิตอยู่ ณ ต้นไม้นั้น ใช่ปรารถนาพลีกรรมนั้น คิดว่า เราจะหาอุบายห้าม
พระยาโปริสาทนั้น จึงมาในรูปของนักบวช แสดงตนให้เห็น พระยาโปริสาทติดตามไป สิ้นทาง ๓ โยชน์ แล้ว
จึงแสดงรูปทิพย์ของตนให้ปรากฏ กล่าวว่า ท่านพูดเท็จ ท่านบนไว้ว่าจักนาพระราชาในสกลชมพูทวีปมาทา
พลีกรรม. บัดนี้ ท่านนาพระราชากระจอกๆ มา. หากท่านไม่นาพระเจ้าสุตโสมผู้ยิ่งใหญ่ในชมพูทวีปมา. เรา
ไม่ต้องการพลีกรรมของท่าน.
พระยาโปริสาทดีใจว่า เราได้เห็นเทวดาของตนแล้ว จึงกล่าวว่า ข้าแต่เทพเจ้า อย่าวิตกเลย
ข้าพเจ้าจักนาสุตโสมมาในวันนี้ แหละ. จึงรีบไปยังสวนสัตว์ซึ่งมีเนื้ อและเสือเหลือง เมื่อยังไม่จัดการอารักขา
จึงหยั่งลงสระโบกขรณียืนเอาใบบัวคลุมศีรษะ.
เมื่อพระยาโปริสาทไปภายในพระราชอุทยานนั้นแล ตอนใกล้รุ่งพวกราชบุรุษจัดการอารักขาสิ้น
๓ โยชน์โดยรอบ. พระมหาสัตว์เสด็จประทับบนคอคชสารที่ตกแต่งแล้ว เสด็จออกจากพระนครพร้อมด้วย
เสนา ๔ เหล่า แต่เช้าตรู่.
3
ในกาลนั้น นันทพราหมณ์จากเมืองตักกศิลา ถือเอาสตารหคาถา ๔ บท เดินทางไปประมาณ
๑๒๐ โยชน์ถึงพระนครนั้น เห็นพระราชาเสด็จออกทางประตูด้านตะวันออก จึงยกมือทูลว่า ขอพระมหาราช
จงทรงพระเจริญ แล้วถวายพระพร.
พระราชาทรงไสช้างเข้าไปหาพราหมณ์นั้น ตรัสว่า ดูก่อนพราหมณ์ ท่านมาแต่ไหน? ปรารถนา
อะไร? ควรให้อะไรแก่ท่าน.
พราหมณ์ได้ยินว่าพระองค์เป็นผู้ปลื้มใจในการฟัง จึงทูลว่า ข้าพระองค์รับสตารหคาถา ๔ บทมา
เพื่อแสดงถวายแด่พระองค์.
พระมหาสัตว์ทรงดีพระทัย ตรัสว่า เราไปอุทยานอาบน้าแล้วจะมาฟัง ท่านอย่าเบื่อเลย. แล้วมี
รับสั่งว่า พวกท่านจงไปจัดที่อยู่ ณ เรือนหลังโน้น และอาหารเครื่องนุ่งห่มให้แก่พราหมณ์ แล้วเสด็จไปพระ
ราชอุทยาน จัดอารักขาอย่างใหญ่โต ทรงเปลื้องเครื่องอาภรณ์อันโอฬาร ทรงแต่งพระมัสสุ ทรงฟอกพระ
วรกาย ทรงสรงสนาน ณ สระโบกขรณี แล้วเสด็จขึ้น ทรงประทับยืนนุ่งผ้าสาฎกชุ่มด้วยน้า.
ลาดับนั้น พวกเครื่องต้นนาของหอมดอกไม้และเครื่องประดับ เข้าไปถวายพระราชา.
พระยาโปริสาทคิดว่า ในเวลาแต่งพระองค์ พระราชาจักหนักเกินไป. เราจักจับพระราชาในตอน
ที่ยังเบา จึงแผดเสียงแกว่งพระขรรค์ ประกาศชื่อว่า เราโปริสาท แล้วโผล่ขึ้นจากน้า.
ควาญช้างเป็นต้นได้ยินเสียงของพระยาโปริสาทนั้น ก็ตกจากช้างเป็นต้น. หมู่ทหารที่ยืนอยู่ไกล
ก็หนีไปจากนั้น. ที่อยู่ใกล้ก็ทิ้งอาวุธของตนนอนหมอบ.
พระยาโปริสาทอุ้มพระราชาประทับนั่งที่คอ กระโดดข้ามกาแพงสูง ๑๘ ศอกไปต่อหน้า เหยียบ
กระพองช้างตกมันซึ่งแล่นไปข้างหน้า ให้ล้มลงดุจยอดเขาล้ม เหยียบหลังม้าแก้วซึ่งวิ่งเร็วให้ล้ม เหยียบงอน
รถให้ล้มลง ดุจหมุนลูกข่าง ดุจขยี้ใบต้นไทรสีเขียว ไปสิ้นทาง ๓ โยชน์ด้วยความเร็วแพล็บเดียวเท่านั้น ไม่
เห็นใครติดตาม จึงค่อยๆ ไป หยาดน้าบนพระเกศาของพระเจ้าสุตโสมหล่นลงบนตน สาคัญว่า หยาดน้าตา
จึงกล่าวว่า นี่อะไรกัน แม้สุตโสมยังทรงกันแสงเศร้าโศกถึงความตายเลย.
พระมหาสัตว์ตรัสว่า เราไม่ได้เศร้าโศกถึงความตายดอก. ร้องไห้ที่ไหนกัน. แต่ธรรมดาการถือ
ความสัตย์ เพราะทาการผัดเพี้ยนเป็นข้อปฏิบัติของบัณฑิตทั้งหลาย. เราเศร้าโศกถึงว่า นั่นยังไม่สาเร็จ
ต่างหาก. เราทาอาคันตุกวัตรแก่พราหมณ์ผู้รับสตารหคาถา ๔ บทมาจากตักกสิลา ที่พระทศพลพระนาม
ว่ากัสสปะ ทรงแสดงไว้ แล้วผัดว่า เราอาบน้าแล้วจักมาฟัง. ท่านรอจนกว่าเราจะมา แล้วไปพระราชอุทยาน
และท่านไม่ให้ฟังคาถาเหล่านั้น จับเรามา.
ดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า
เราถูกพระยาโปริสาทจับไปได้ ระลึกถึงคาผัดเพี้ยนไว้กะพราหมณ์. พระยาโปริสาทเอาเชือกร้อย
ฝ่ามือกษัตริย์ ๑๐๑ ไว้แล้ว ทากษัตริย์เหล่านั้นให้ได้รับความลาบาก. นาเราไปด้วย เพื่อต้องการทาพลี
กรรม.
พระยาโปริสาทจับเป็นกษัตริย์ ๑๐๑ เหล่านั้นเอาพระบาทขึ้น พระเศียรลง ประหารพระเศียร
ด้วยส้นเท้า เอาเชือกร้อยที่ฝ่ามือด้วยการหมุน ให้ได้รับความลาบาก ให้ซูบซีด ให้เดือดร้อนด้วยประการทั้ง
ปวง ด้วยการแขวนไว้ที่ต้นไม้ และด้วยการตัดอาหารทุกชนิด. เพื่อต้องการทาพลีกรรม ได้แก่ให้เกิด
4
ผลสาเร็จ.
พระยาโปริสาทนาพระมหาสัตว์ไปอย่างนั้น จึงถามว่า ท่านกลัวความตายหรือ.
พระมหาสัตว์ตรัสว่า เราไม่กลัวตาย. แต่เราเศร้าโศกถึงว่า เราได้ผัดเพี้ยนพราหมณ์นั้นไว้ ยัง
ไม่ได้ปลดเปลื้องเลย. หากท่านปล่อยเรา เราฟังธรรมนั้นและทาสักการะสัมมานะแก่พราหมณ์นั้น แล้วจัก
กลับมาอีก.
พระยาโปริสาทกล่าวว่า เราไม่เชื่อว่าเราปล่อยท่านไป แล้วท่านจักมาสู่เงื้อมมือเราอีก.
พระมหาสัตว์ตรัสว่า ดูก่อนสหายโปริสาท ท่านกับเราเป็นสหายศึกษาในสานักอาจารย์เดียวกัน
ไม่เชื่อหรือว่า เราไม่พูดปด แม้เพราะเหตุของชีวิต.
เมื่อพระมหาสัตว์ตรัสคาถานี้ ว่า
เราลูบคลาดาบและหอก โดยเพียงคาพูดนี้ ของเราโดยแท้. ดูก่อนสหาย เราขอสาบานกับท่านว่า
เมื่อเราพ้นไปจากท่าน หมดหนี้ แล้ว รักษาความสัตย์ จักกลับมาอีก.
โปริสาทคิดว่า สุตโสมนี้ กล่าวว่าเราขอสาบาน ซึ่งกษัตริย์ไม่ควรทา. แม้สุตโสมไปแล้วไม่กลับ ก็
จักไม่พ้นจากมือเราไปได้ จึงปล่อยไป ด้วยกล่าวว่า
ความผัดเพี้ยนใด อันท่านผู้ตั้งอยู่ในความเป็นอิสระในแคว้นของตน ได้ทาไว้กับพราหมณ์ ดูก่อน
พราหมณ์ ท่านปฏิบัติความผัดเพี้ยนนั้นแล้วเป็นผู้รักษาความสัตย์ จงกลับมาอีก.
พระมหาสัตว์มีกาลังดุจช้างสาร สมบูรณ์ด้วยเรี่ยวแรง เสด็จถึงพระนครนั้นเร็วพลันดุจพระจันทร์
พ้นจากปากราหู ฉะนั้น. แม้เสนาของพระองค์ก็คิดว่า พระเจ้าสุตโสมเป็นบัณฑิตจักทรมานพระยาโปริสาท
แล้วรีบกลับมาดุจช้างตกมัน จึงพักอยู่นอกพระนคร เพราะเกรงครหาว่า ให้พระราชาแก่โปริสาท แล้วพากัน
กลับ ครั้นเห็นพระมหาสัตว์เสด็จมาแต่ไกล จึงลุกขึ้นต้อนรับถวายบังคม กระทาปฏิสันถารว่า ข้าแต่มหาราช
โปริสาททาพระองค์ให้ลาบากบ้างหรือ. ตรัสว่า กรรมที่แม้พระมารดาพระบิดาของเราทาได้ยาก โปริสาทก็
ได้ทาแล้ว. พระจันทร์ว่องไวถึงปานนั้นยังเชื่อเรา แล้วปล่อยเรา จึงตกแต่งพระราชาให้ประทับบนคอคชสาร
แวดล้อมเข้าพระนคร.
ชาวพระนครทั้งหมดเห็นพระมหาสัตว์ แล้วต่างพากันยินดี.
แม้พระมหาสัตว์ เพราะพระองค์สนพระทัยในธรรม จึงไม่เข้าเฝ้าพระมารดาพระบิดา เสด็จไปยัง
พระตาหนัก ตรัสเรียกหาพราหมณ์ ทรงกระทาสักการะสัมมานะใหญ่โตแก่พราหมณ์นั้น เพราะพระองค์ทรง
หนักในธรรม พระองค์เองประทับนั่งบนอาสนะที่ต่า แล้วตรัสว่า ท่านอาจารย์ ข้าพเจ้าจะฟังสตารหคาถา ที่
ท่านนามาเพื่อเรา.
พราหมณ์ในเวลาที่พระมหาสัตว์ทรงขอร้อง จึงเอาน้าหอมพอกมือ แล้วนาคัมภีร์เป็นที่พอใจ
ออกจากถุง จับด้วยมือทั้งสอง ทูลว่า ข้าแต่มหาราช ขอได้โปรดฟังเถิด พระเจ้าข้า.
เมื่อจะอ่านคัมภีร์ จึงได้กล่าวคาถาทั้งหลายว่า
ข้าแต่พระเจ้าสุตโสม การสมาคมกับสัตบุรุษแม้คราวเดียวเท่านั้น การสมาคมนั้นย่อมรักษาผู้
นั้น การสมาคมมากกับอสัตบุรุษ ย่อมรักษาไม่ได้ ควรสมาคมกับสัตบุรุษเท่านั้น ไม่ควรทาความคุ้นเคย
กับอสัตบุรุษ รู้สัทธรรมของสัตบุรุษประเสริฐกว่า ไม่ลามกเลย.
5
ราชรถวิจิตรงดงามยังคร่าคร่าได้ อนึ่ง แม้ร่างกายก็เข้าถึงความคร่าคร่า แต่ธรรมของสัตบุรุษ
ไม่ถึงความคร่าคร่า สัตบุรุษแล ย่อมประกาศด้วยสัตบุรุษ
ข้าแต่ราชา ฟ้าและแผ่นดินไกลกัน ฝั่งข้างโน้นของมหาสมุทร เขาก็ว่าไกลกัน ธรรมของ
สัตบุรุษและธรรมของอสัตบุรุษ บัณฑิตทั้งหลายกล่าวว่าไกลกว่านั้น.
พระมหาสัตว์ทรงสดับดังนั้นแล้ว มีพระทัยยินดีว่า การมาของเรามีผล ทรงดาริว่า คาถาเหล่านี้
ไม่ใช่สาวกกล่าว ไม่ใช่ฤๅษีกล่าว ไม่ใช่กวีกล่าว ไม่ใช่เทวดากล่าว แต่พระสัพพัญญูนั่นแลกล่าวไว้. จะมีค่า
อย่างไรหนอ? ทรงดาริต่อไปว่า แม้เราจะทาจักรวาลทั้งสิ้นนี้ จนถึงพรหมโลก ให้เต็มด้วยรตนะ ๗ ประการ
แล้วให้ยังเป็นการทาอันไม่สมควร. แต่เราพอที่จะให้ราชสมบัติ ในแคว้นกุรุประมาณ ๓๐๐ โยชน์ ใน
อินทปัตถนครประมาณ ๗ โยชน์แก่พราหมณ์นั้นได้. แต่พราหมณ์นั้นไม่มีส่วนที่จะครองราชสมบัติได้.
เป็นความจริง ความเป็นผู้มีอานุภาพน้อยปรากฏแก่พราหมณ์นั้น โดยมองดูลักษณะของอวัยวะ.
เพราะฉะนั้น แม้ให้ราชสมบัติไป ก็ไม่ดารงอยู่ได้ในพราหมณ์นี้ จึงตรัสถามว่า ท่านอาจารย์ ท่านแสดงคาถา
เหล่านี้ แก่กษัตริย์ทั้งหลายเหล่าอื่น แล้วได้อะไร? ทูลว่า ข้าแต่มหาราช ได้คาถาละร้อยๆ. ด้วยเหตุนั้น จึง
เรียกว่า สตารหคาถา.
ลาดับนั้น พระมหาสัตว์ตรัสแก่พราหมณ์นั้นว่า ท่านอาจารย์ ท่านรับด้วยตนเองยังไม่รู้ค่าของ
สินค้าที่เที่ยวไป.
ท่านพราหมณ์ คาถาเหล่านี้ มีค่า ๑,๐๐๐ มิใช่มีค่า ๑๐๐. ท่านจงรีบรับทรัพย์ ๔,๐๐๐ ไปเถิด.
พระมหาสัตว์ทรงให้ทรัพย์ ๔,๐๐๐ และยานน้อยเป็นสุข ๑ คัน ส่งพราหมณ์นั้นไปด้วยสักการะ
และสัมมานะอันยิ่งใหญ่ ถวายบังคมพระมารดาพระบิดา แล้วทูลว่า หม่อมฉันได้ให้ปฏิญญาไว้แก่โปริสาทว่า
เราบูชาพระสัทธรรมรัตนะที่พราหมณ์นามาแล้ว และทาสักการะและสัมมานะแก่พราหมณ์นั้นแล้วจะ
กลับมา จึงมาได้. สิ่งที่ควรทาควรปฏิบัติแก่พราหมณ์ในข้อนั้น ได้ทาเสร็จแล้ว บัดนี้ หม่อมฉันจักไปหาโปริ
สาท.
พระมารดาพระบิดาทรงขอร้องว่า พ่อสุตโสม ลูกพูดอะไรอย่างนั้น. เราจะจับโจรด้วยทหาร ๔
เหล่า. อย่าไปหาโจรเลยลูก. หญิงฟ้อน ๑๖,๐๐๐ แม้บริวารชนที่เหลือต่างก็พากันร่าไห้ว่า ข้าแต่เทวะ
พระองค์ทาให้พวกหม่อมฉันไร้ที่พึ่ง แล้วจะเสด็จไปไหน.
ได้เกิดโกลาหลขึ้นอีกครั้งว่า ได้ยินว่า พระราชาจะเสด็จไปหาโจรอีก.
พระมหาสัตว์ตรัสว่า ธรรมดาการทาตามคาสัตย์ปฏิญญาเป็นหลักปฏิบัติของสาธุสัตบุรุษ
ทั้งหลาย. แม้โปริสาทนั้นก็ยังเชื่อเรา แล้วปล่อยออกมา เพราะฉะนั้น เราจักไปละ. ถวายบังคมพระมารดา
พระบิดา แล้วทรงสั่งสอนชนที่เหลือ นางสนมกานัลในเป็นต้นมีน้าตานองหน้า ร่าไห้มีประการต่างๆ ตามส่ง
เสด็จออกจากพระนคร ทรงเอาไม้ขีดขวางทาง เพื่อให้ชนพากันกลับ ตรัสว่า ชนทั้งหลายอย่าล่วงเลยเส้นขีด
ของเรานี้ แล้ว ได้เสด็จไป.
มหาชนไม่อาจละเมิดพระดารัสของพระมหาสัตว์ผู้ทรงเดชได้ จึงคร่าครวญกันแสงไห้ด้วยเสียง
ดัง แล้วพากันกลับ.
ในกาลนั้น เราประสงค์จะไปหาโปริสาท จึงมอบราชสมบัติ ประมาณ ๓๐๐ โยชน์แก่พระมารดา
6
พระบิดาว่า ขอพระองค์ทรงปกครองราชสมบัติของพระองค์เถิด.
เพราะเหตุไร เราจึงมอบราชสมบัติ? เพราะระลึกถึงธรรมสัตบุรุษ.
เพราะธรรมดาการทาตามคาสัตย์ปฏิญญา เป็นประเพณี เป็นวงศ์ตระกูลของพระมหาโพธิสัตว์ผู้
เป็นสัตบุรุษ คือเป็นคนดี. ฉะนั้น เราจึงระลึกถึงธรรมคือสัจจบารมีนั้น อันเป็นของเก่ามีมาก่อน อันพระชินะ
ทั้งหลายมีพระพุทธเจ้าเป็นต้นทรงเสพแล้ว เมื่อจะตามรักษาความสัตย์ จึงให้ทรัพย์แก่พราหมณ์นั้น สละ
ชีวิตของตนเข้าไปหาโปริสาท.
ในกาลไปหาโปริสาทนั้น เราไม่มีความสงสัยว่า โปริสาทนี้ จักฆ่าเรา หรือไม่หนอ? เรารู้อยู่ว่า โป
ริสาทนั้นดุร้ายป่าเถื่อน เตรียมฆ่ากษัตริย์ ๑๐๐ กับเรา ทาพลีกรรมแก่เทวดา จักฆ่าท่าเดียว จึงตามรักษา
สัจวาจาอย่างเดียว สละชีวิตของตนเข้าไปหาโปริสาทนั้น เพราะเรื่องเป็นอย่างนี้ แหละ ฉะนั้น ผู้เสมอด้วย
สัจจะของเราจึงไม่มี. นี้ เป็นสัจบารมี ถึงความเป็นปรมัตถบารมีของเรา ด้วยประการฉะนี้ .
อนึ่ง เมื่อพระมหาสัตว์เข้าไปหาโปริสาท แล้วเห็นพระพักตร์ของพระมหาสัตว์นั้นมีสง่าดุจกลีบ
บัวแย้ม จึงคิดว่า พระเจ้าสุตโสมนี้ ไม่กลัวตาย จึงมา. นี้ เป็นอานุภาพของอะไรหนอ? จึงสันนิษฐานว่า พระ
เจ้าสุตโสมนี้ เป็นผู้มีเดชและไม่กลัวตายอย่างนี้ เห็นจะเป็นเพราะฟังธรรมนั้นกระมัง. แม้เราฟังธรรมนั้นแล้ว
ก็จักเป็นผู้มีเดชและไม่กลัวตายเหมือนกัน จึงกล่าวกะพระมหาสัตว์ว่า ข้าพเจ้าขอฟังสตารหคาถาที่ท่านไป
พระนคร ของตนเพื่อจะฟัง.
พระโพธิสัตว์ทรงสดับดังนั้นทรงดาริว่า โปริสาทนี้ มีธรรมลามก เราจักข่มให้ละอายเสียหน่อย
หนึ่ง แล้วจึงจักกล่าว จึงตรัสว่า
สัจจะย่อมไม่มีแก่ผู้ไม่มีธรรม ผู้หยาบคาย ผู้มีฝ่ามือเต็มไปด้วยเลือดเป็นนิจ ธรรมจะมีได้แต่
ไหน. ท่านจักฟังไปทาไม.
เมื่อโปริสาทเกิดความตั้งใจจะฟังด้วยดี จึงตรัสว่า
ชนทั้งหลายฟังธรรมแล้ว ย่อมรู้ดีและชั่ว อนึ่ง ใจของเรายินดีในธรรม ก็เพราะฟังคาถาทั้งหลาย
ดังนี้ .
พระมหาสัตว์ทรงดาริว่า โปริสาทนี้ เกิดความสนใจใคร่จะฟังอย่างยิ่ง เอาเถิด เราจักกล่าวคาถา
แก่เขา. จึงตรัสว่า สหาย ถ้าเช่นนั้น ท่านจงฟังให้ดี จงใส่ไว้ในใจ แล้วทรงสดุดีคาถาทั้งหลาย ทานองเดียวกับ
ที่นันทพราหมณ์กล่าวโดยเคารพ เกิดโกลาหลเป็นอันเดียวกันในสวรรค์ชั้นกามาวจร ๖ ชั้น.
เมื่อทวยเทพซ้องสาธุการ พระมหาสัตว์จึงทรงแสดงธรรมแก่โปริสาทว่า
มหาราช การสมาคมกับสัตบุรุษคราวเดียวเท่านั้น การสมาคมนั้นย่อมรักษาผู้นั้น การสมาคม
กับอสัตบุรุษมาก ย่อมไม่รักษา ฯลฯ ธรรมของสัตบุรุษและธรรมของอสัตบุรุษ บัณฑิตทั้งหลายกล่าวว่า ไกล
กว่านั้น.
เมื่อโปริสาทนั้นฟังคาถาทั้งหลาย เพราะพระมหาสัตว์ตรัสดีแล้ว และเพราะบุญญานุภาพของตน
สกลกายจึงเต็มไปด้วยปีติมีองค์ ๕.
โปริสาทมีจิตอ่อนโยนในพระโพธิสัตว์กล่าวว่า สุตโสม ผู้สหายเราไม่เห็นเงินเป็นต้นที่เป็นของ
ควรให้. เราจักให้พรอย่างหนึ่งๆ ในคาถาหนึ่งๆ มีสี่คาถา พรสี่ข้อ.
7
ลาดับนั้น พระมหาสัตว์รุกรานโปริสาทว่า ท่านไม่รู้ประโยชน์แม้ของตน จักให้พรแก่ผู้อื่นได้
อย่างไร?
ครั้นโปริสาทขอร้องอีกว่า ท่านจงรับพรเถิด.
พระมหาสัตว์จึงขอพรข้อแรกว่า เราพึงเห็นโปริสาทไม่มีโรคตลอดกาลนาน.
โปริสาทดีใจว่า พระเจ้าสุตโสมนี้ เมื่อเราประสงค์จะฆ่ากินเนื้ อในบัดนี้ ยังปรารถนาชีวิตของเรา
ผู้ทาความมหาพินาศอีก ไม่รู้ว่า ถูกลวงรับพร จึงได้ให้ไป.
จริงอยู่ พระมหาสัตว์ เพราะพระองค์เป็นผู้ฉลาดในอุบาย ทรงขอชีวิตของพระองค์ โดยอ้างใคร่
ขอให้โปริสาทมีชีวิตอยู่ตลอดกาลนาน.
ต่อไป จึงตรัสขอพรข้อที่ ๒ ว่า ขอท่านจงให้ชีวิตแก่กษัตริย์ทั้งหลายมากกว่า ๑๐๐.
ขอให้ปล่อยกษัตริย์เหล่านั้นกลับแว่นแคว้นของตน เป็นพรข้อที่ ๓.
ขอให้โปริสาทเว้นจากการกินเนื้ อมนุษย์ เป็นพรข้อที่ ๔.
โปริสาทให้พร ๓ ข้อ ประสงค์จะไม่ให้พรข้อที่ ๔ แม้กล่าวว่า ท่านจงขอพรข้ออื่นเถิด ก็ถูกพระ
มหาสัตว์ทรงแค่นได้ จึงได้ให้พรข้อที่ ๔ นั้นจนได้.
ลาดับนั้น พระโพธิสัตว์ทรงทาให้โปริสาทหมดพยศ จึงให้โปริสาทปล่อยพระราชาทั้งหลาย แล้ว
ให้นอนลงบนพื้นดินค่อยๆ ดึงเชือกออก ดุจดึงเส้นด้ายออกจากหูของพวกเด็กๆ ให้โปริสาทนาหนังมาแผ่น
หนึ่งถูกับหิน แล้วทรงทาสัจกิริยา ทาที่ฝ่าพระหัตถ์ของกษัตริย์เหล่านั้น. ความผาสุกก็ได้มีในขณะนั้นเอง.
พระโพธิสัตว์ประทับอยู่ ณ ที่นั้น ๒-๓ วัน ทรงให้โปริสาทเยียวยากษัตริย์เหล่านั้นให้หายโรค
แล้วให้ทาความสนิทสนมฉันมิตร มีความไม่ทาลายกันกับกษัตริย์เหล่านั้น แล้วทรงนาโปริสาทนั้นไปกรุง
พาราณสี พร้อมด้วยกษัตริย์เหล่านั้น ให้ดารงอยู่ในราชสมบัติ ทรงประทานโอวาทว่า ขอท่านทั้งหลายจง
เป็นผู้ไม่ประมาทเถิด แล้วทรงส่งพระราชาเหล่านั้นไปยังนครของตนๆ ทรงแวดล้อมด้วยหมู่จาตุรงคเสนา
ของพระองค์ ซึ่งมาจากอินทปัตถนคร เสด็จกลับพระนครของพระองค์.
ชนชาวพระนครต่างยินดีเบิกบานห้อมล้อม เสด็จเข้าภายในพระนคร ถวายบังคมพระมารดา
พระบิดา แล้วเสด็จขึ้นสู่พื้นใหญ่.
ลาดับนั้น พระมหาสัตว์ทรงให้สร้างศาลาทาน ๖ แห่ง ทรงบริจาคมหาทานทุกวัน ทรงบาเพ็ญ
ศีลรักษาอุโบสถ เพิ่มพูนบารมีทั้งหลาย. แม้พระราชาเหล่านั้น ก็ทรงตั้งอยู่ในโอวาทของพระมหาสัตว์ ทรง
ทาบุญมีทานเป็นต้น เมื่อสวรรคตก็เสด็จสู่สวรรค์.
พระยาโปริสาทในครั้งนั้น ได้เป็นพระองคุลิมาลเถระในครั้งนี้ .
กาฬหัตถิอามาตย์ คือพระสารีบุตรเถระ.
นันทพราหมณ์ คือพระอานนทเถระ.
รุกขเทวดา คือพระมหากัสสปเถระ.
พระราชาทั้งหลาย คือพุทธบริษัท.
พระมารดาพระบิดา คือตระกูลมหาราช.
8
พระเจ้าสุตโสมมหาราช คือพระโลกนาถ.
จบอรรถกถาสุตโสมจริยาที่ ๑๒
จบสัจบารมี
-----------------------------------------------------

More Related Content

Similar to 33 สุตโสมจริยา มจร.pdf

สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
Chutima Tongnork
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
Nid Noy Kaowkong
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
Chutima Tongnork
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
Nid Noy Kaowkong
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
Jariya Huangjing
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
A'waken P'Kong
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
Sirisak Promtip
 

Similar to 33 สุตโสมจริยา มจร.pdf (9)

สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
03 สังขพราหมณจริยา มจร.pdf
03 สังขพราหมณจริยา มจร.pdf03 สังขพราหมณจริยา มจร.pdf
03 สังขพราหมณจริยา มจร.pdf
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 

More from maruay songtanin

300 วกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
300 วกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx300 วกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
300 วกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
299 โกมาริยปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
299 โกมาริยปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...299 โกมาริยปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
299 โกมาริยปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
maruay songtanin
 
298 อุทุมพรชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
298 อุทุมพรชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx298 อุทุมพรชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
298 อุทุมพรชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
294 ชัมพุขาทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
294 ชัมพุขาทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...294 ชัมพุขาทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
294 ชัมพุขาทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
293 กายนิพพินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
293 กายนิพพินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...293 กายนิพพินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
293 กายนิพพินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
292 สุปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
292 สุปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx292 สุปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
292 สุปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
291 ภัทรฆฏเภทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
291 ภัทรฆฏเภทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...291 ภัทรฆฏเภทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
291 ภัทรฆฏเภทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
287 ลาภครหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
287 ลาภครหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx287 ลาภครหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
287 ลาภครหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
286 สาลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
286 สาลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx286 สาลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
286 สาลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
284 สิริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
284 สิริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx284 สิริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
284 สิริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
283 วัฑฒกีสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
283 วัฑฒกีสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...283 วัฑฒกีสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
283 วัฑฒกีสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
282 เสยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
282 เสยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx282 เสยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
282 เสยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
281 อัพภันตรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
281 อัพภันตรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...281 อัพภันตรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
281 อัพภันตรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

300 วกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
300 วกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx300 วกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
300 วกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
299 โกมาริยปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
299 โกมาริยปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...299 โกมาริยปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
299 โกมาริยปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
 
298 อุทุมพรชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
298 อุทุมพรชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx298 อุทุมพรชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
298 อุทุมพรชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
297 กามวิลาปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
297 กามวิลาปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...297 กามวิลาปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
297 กามวิลาปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
295 อันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
295 อันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx295 อันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
295 อันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
294 ชัมพุขาทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
294 ชัมพุขาทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...294 ชัมพุขาทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
294 ชัมพุขาทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
293 กายนิพพินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
293 กายนิพพินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...293 กายนิพพินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
293 กายนิพพินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
292 สุปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
292 สุปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx292 สุปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
292 สุปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
291 ภัทรฆฏเภทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
291 ภัทรฆฏเภทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...291 ภัทรฆฏเภทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
291 ภัทรฆฏเภทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
290 สีลวีมังสกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
290 สีลวีมังสกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...290 สีลวีมังสกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
290 สีลวีมังสกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
289 นานาฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
289 นานาฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...289 นานาฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
289 นานาฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
288 มัจฉุททานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
288 มัจฉุททานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...288 มัจฉุททานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
288 มัจฉุททานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
287 ลาภครหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
287 ลาภครหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx287 ลาภครหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
287 ลาภครหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
286 สาลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
286 สาลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx286 สาลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
286 สาลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
284 สิริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
284 สิริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx284 สิริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
284 สิริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
283 วัฑฒกีสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
283 วัฑฒกีสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...283 วัฑฒกีสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
283 วัฑฒกีสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
282 เสยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
282 เสยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx282 เสยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
282 เสยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
281 อัพภันตรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
281 อัพภันตรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...281 อัพภันตรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
281 อัพภันตรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 

33 สุตโสมจริยา มจร.pdf

  • 1. 1 การบาเพ็ญบารมีของพระผู้มีพระภาคเจ้า ตอนที่ ๓๓ สุตโสมจริยา พลตรี มารวย ส่งทานินทร์ ๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ เกริ่นนา เราถูกพระยาโปริสาทจับไปได้ ระลึกถึงคาผัดเพี้ยนไว้กะพราหมณ์. พระยาโปริสาทเอาเชือกร้อย ฝ่ามือกษัตริย์ ๑๐๑ ไว้แล้ว ทากษัตริย์เหล่านั้นให้ได้รับความลาบาก. นาเราไปด้วย เพื่อต้องการทาพลี กรรม. ในการกลับมายังสานักของพระยาโปริสาทนั้น เราไม่มีความสงสัยว่าจักถูกฆ่าหรือไม่ เราตามรักษา สัจจวาจา ยอมสละชีวิตเข้าไปหาพระยาโปริสาท บุคคลมีสัจจะเสมอเราไม่มี นี้ เป็นสัจจบารมีของเรา ฉะนี้ แล พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๓ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๕ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๒ -พุทธวังสะ-จริยาปิฎก ๑๒. สุตโสมจริยา ว่าด้วยจริยาของพระเจ้าสุตโสม [๑๐๕] อีกเรื่องหนึ่ง ในกาลที่เราเป็นพระเจ้าแผ่นดินนามว่าสุตโสม ถูกพระยาโปริสาทจับตัวไป ได้ ระลึกถึงคาผัดเพี้ยนไว้กะพราหมณ์(โปริสาท) [๑๐๖] พระยาโปริสาทใช้เชือกร้อยฝ่ามือกษัตริย์ ๑๐๑ พระองค์ไว้แล้ว ทากษัตริย์เหล่านั้นให้ เมื่อยล้าแล้ว เมื่อต้องการจะทาพลีกรรมให้สาเร็จจึงนาเราเข้าไป [๑๐๗] พระยาโปริสาทได้ถามเราว่า ท่านปรารถนาจะให้ปล่อยหรือ ถ้าท่านจะกลับมาหาเรา เราจักทาตามใจชอบของท่าน [๑๐๘] เรารับคาพระยาโปริสาทนั้นว่า การกลับมาของเรามีปัญญาหรือ แล้วเข้าไปยังนครที่น่า รื่นรมย์ มอบราชสมบัติแล้ว ในกาลนั้น [๑๐๙] เพราะเราระลึกถึงธรรมของสัตบุรุษ เป็นของเก่า อันพระชินเจ้าเป็นต้นเสพแล้ว ให้ทรัพย์ แก่พราหมณ์แล้ว จึงเข้าไปหาพระยาโปริสาท [๑๑๐] ในการกลับมายังสานักของพระยาโปริสาทนั้น เราไม่มีความสงสัยว่าจักถูกฆ่าหรือไม่ เรา ตามรักษาสัจจวาจา ยอมสละชีวิตเข้าไปหาพระยาโปริสาท บุคคลมีสัจจะเสมอเราไม่มี นี้ เป็นสัจจบารมีของ เรา ฉะนี้ แล สุตโสมจริยาที่ ๑๒ จบ คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา ขุททกนิกาย จริยาปิฎก การบาเพ็ญเนกขัมมบารมีเป็นต้น
  • 2. 2 ๑๒. สุตโสมจริยา อรรถกถามหาสุตโสมจริยาที่ ๑๒ ในกาลนั้น พระมหาสัตว์ทรงอุบัติในพระครรภ์ของพระอัครมเหสีของพระเจ้าโกรัพยะ ในกรุง อินทปัตถะแคว้นกุรุ. พระมารดาพระบิดาทรงขนานพระนามพระกุมารว่า สุตโสมะ เพราะปลื้มใจด้วยการฟัง และเพราะมีพระฉวีเปล่งปลั่งเสมอดุจพระจันทร์. ครั้นพระกุมารสุตโสมทรงเจริญวัยสาเร็จศิลปะทุกแขนง พระมารดาพระบิดาทรงอภิเษกไว้ใน ราชสมบัติ. พระเจ้าสุตโสมถูกพระราชากรุงพาราณสีพระนามว่าโปริสาท (เพราะเคี้ยวกินพวกมนุษย์) จับ ไปเพื่อทาพลีกรรมเทวดา. กาลก่อนหน้านั้น พระเจ้าพาราณสีเว้นเนื้ อแล้วก็ไม่เสวย คนทาอาหารเมื่อไม่ได้เนื้ ออื่น ก็ทา เนื้ อมนุษย์ให้เสวย ทรงติดในรส รับสั่งให้ฆ่ามนุษย์ แล้วเสวยเนื้ อมนุษย์ จึงมีพระนามว่าโปริสาท. พวกชาวพระนคร ชาวนิคม ชาวชนบทมีอามาตย์ราชบริษัทเป็นหัวหน้า และกาฬหัตถีเสนาบดี ของพระองค์ พากันไปทูลว่า ข้าแต่เทวะ หากพระองค์ยังทรงต้องการราชสมบัติอยู่ ขอได้ทรงเว้นจากการ เสวยเนื้ อมนุษย์เสียเถิด. ตรัสว่า แม้เราสละราชสมบัติก็จะไม่เว้นการกินเนื้ อมนุษย์ จึงถูกชนเหล่านั้นขับไล่ออกจากแว่น แคว้น เข้าป่าอาศัยอยู่ ณ โคนต้นไทรต้นหนึ่ง เพื่อรักษาแผลที่เท้าเพราะถูกตอตา จึงทาการบวงสรวงเทวดา ว่า ข้าพเจ้าจะเอาโลหิตที่ลาคอของกษัตริย์ ๑๐๑ ในชมพูทวีปทั้งสิ้น กระทาพลีกรรม. เมื่อแผลหายเป็นปกติ เพราะอดอาหารมา ๗ วัน สาคัญว่า เพราะอานุภาพของเทวดา เราจึงได้ ความสวัสดี คิดว่าเราจักนาพระราชามาเพื่อพลีกรรมเทวดา จึงไปสมคบกับยักษ์ซึ่งเคยเป็นสหายกันในอดีต ภพ ด้วยกาลังมนต์ที่ยักษ์นั้นให้ไว้ จึงมีกาลังเรี่ยวแรงว่องไวยิ่งนัก นาพระราชา ๑๐๐ มาได้ภายใน ๗ วัน เท่านั้น แขวนไว้ที่ต้นไทรอันเป็นที่อยู่ของตน เตรียมทาพลีกรรม. ลาดับนั้น เทวดาที่สิงสถิตอยู่ ณ ต้นไม้นั้น ใช่ปรารถนาพลีกรรมนั้น คิดว่า เราจะหาอุบายห้าม พระยาโปริสาทนั้น จึงมาในรูปของนักบวช แสดงตนให้เห็น พระยาโปริสาทติดตามไป สิ้นทาง ๓ โยชน์ แล้ว จึงแสดงรูปทิพย์ของตนให้ปรากฏ กล่าวว่า ท่านพูดเท็จ ท่านบนไว้ว่าจักนาพระราชาในสกลชมพูทวีปมาทา พลีกรรม. บัดนี้ ท่านนาพระราชากระจอกๆ มา. หากท่านไม่นาพระเจ้าสุตโสมผู้ยิ่งใหญ่ในชมพูทวีปมา. เรา ไม่ต้องการพลีกรรมของท่าน. พระยาโปริสาทดีใจว่า เราได้เห็นเทวดาของตนแล้ว จึงกล่าวว่า ข้าแต่เทพเจ้า อย่าวิตกเลย ข้าพเจ้าจักนาสุตโสมมาในวันนี้ แหละ. จึงรีบไปยังสวนสัตว์ซึ่งมีเนื้ อและเสือเหลือง เมื่อยังไม่จัดการอารักขา จึงหยั่งลงสระโบกขรณียืนเอาใบบัวคลุมศีรษะ. เมื่อพระยาโปริสาทไปภายในพระราชอุทยานนั้นแล ตอนใกล้รุ่งพวกราชบุรุษจัดการอารักขาสิ้น ๓ โยชน์โดยรอบ. พระมหาสัตว์เสด็จประทับบนคอคชสารที่ตกแต่งแล้ว เสด็จออกจากพระนครพร้อมด้วย เสนา ๔ เหล่า แต่เช้าตรู่.
  • 3. 3 ในกาลนั้น นันทพราหมณ์จากเมืองตักกศิลา ถือเอาสตารหคาถา ๔ บท เดินทางไปประมาณ ๑๒๐ โยชน์ถึงพระนครนั้น เห็นพระราชาเสด็จออกทางประตูด้านตะวันออก จึงยกมือทูลว่า ขอพระมหาราช จงทรงพระเจริญ แล้วถวายพระพร. พระราชาทรงไสช้างเข้าไปหาพราหมณ์นั้น ตรัสว่า ดูก่อนพราหมณ์ ท่านมาแต่ไหน? ปรารถนา อะไร? ควรให้อะไรแก่ท่าน. พราหมณ์ได้ยินว่าพระองค์เป็นผู้ปลื้มใจในการฟัง จึงทูลว่า ข้าพระองค์รับสตารหคาถา ๔ บทมา เพื่อแสดงถวายแด่พระองค์. พระมหาสัตว์ทรงดีพระทัย ตรัสว่า เราไปอุทยานอาบน้าแล้วจะมาฟัง ท่านอย่าเบื่อเลย. แล้วมี รับสั่งว่า พวกท่านจงไปจัดที่อยู่ ณ เรือนหลังโน้น และอาหารเครื่องนุ่งห่มให้แก่พราหมณ์ แล้วเสด็จไปพระ ราชอุทยาน จัดอารักขาอย่างใหญ่โต ทรงเปลื้องเครื่องอาภรณ์อันโอฬาร ทรงแต่งพระมัสสุ ทรงฟอกพระ วรกาย ทรงสรงสนาน ณ สระโบกขรณี แล้วเสด็จขึ้น ทรงประทับยืนนุ่งผ้าสาฎกชุ่มด้วยน้า. ลาดับนั้น พวกเครื่องต้นนาของหอมดอกไม้และเครื่องประดับ เข้าไปถวายพระราชา. พระยาโปริสาทคิดว่า ในเวลาแต่งพระองค์ พระราชาจักหนักเกินไป. เราจักจับพระราชาในตอน ที่ยังเบา จึงแผดเสียงแกว่งพระขรรค์ ประกาศชื่อว่า เราโปริสาท แล้วโผล่ขึ้นจากน้า. ควาญช้างเป็นต้นได้ยินเสียงของพระยาโปริสาทนั้น ก็ตกจากช้างเป็นต้น. หมู่ทหารที่ยืนอยู่ไกล ก็หนีไปจากนั้น. ที่อยู่ใกล้ก็ทิ้งอาวุธของตนนอนหมอบ. พระยาโปริสาทอุ้มพระราชาประทับนั่งที่คอ กระโดดข้ามกาแพงสูง ๑๘ ศอกไปต่อหน้า เหยียบ กระพองช้างตกมันซึ่งแล่นไปข้างหน้า ให้ล้มลงดุจยอดเขาล้ม เหยียบหลังม้าแก้วซึ่งวิ่งเร็วให้ล้ม เหยียบงอน รถให้ล้มลง ดุจหมุนลูกข่าง ดุจขยี้ใบต้นไทรสีเขียว ไปสิ้นทาง ๓ โยชน์ด้วยความเร็วแพล็บเดียวเท่านั้น ไม่ เห็นใครติดตาม จึงค่อยๆ ไป หยาดน้าบนพระเกศาของพระเจ้าสุตโสมหล่นลงบนตน สาคัญว่า หยาดน้าตา จึงกล่าวว่า นี่อะไรกัน แม้สุตโสมยังทรงกันแสงเศร้าโศกถึงความตายเลย. พระมหาสัตว์ตรัสว่า เราไม่ได้เศร้าโศกถึงความตายดอก. ร้องไห้ที่ไหนกัน. แต่ธรรมดาการถือ ความสัตย์ เพราะทาการผัดเพี้ยนเป็นข้อปฏิบัติของบัณฑิตทั้งหลาย. เราเศร้าโศกถึงว่า นั่นยังไม่สาเร็จ ต่างหาก. เราทาอาคันตุกวัตรแก่พราหมณ์ผู้รับสตารหคาถา ๔ บทมาจากตักกสิลา ที่พระทศพลพระนาม ว่ากัสสปะ ทรงแสดงไว้ แล้วผัดว่า เราอาบน้าแล้วจักมาฟัง. ท่านรอจนกว่าเราจะมา แล้วไปพระราชอุทยาน และท่านไม่ให้ฟังคาถาเหล่านั้น จับเรามา. ดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า เราถูกพระยาโปริสาทจับไปได้ ระลึกถึงคาผัดเพี้ยนไว้กะพราหมณ์. พระยาโปริสาทเอาเชือกร้อย ฝ่ามือกษัตริย์ ๑๐๑ ไว้แล้ว ทากษัตริย์เหล่านั้นให้ได้รับความลาบาก. นาเราไปด้วย เพื่อต้องการทาพลี กรรม. พระยาโปริสาทจับเป็นกษัตริย์ ๑๐๑ เหล่านั้นเอาพระบาทขึ้น พระเศียรลง ประหารพระเศียร ด้วยส้นเท้า เอาเชือกร้อยที่ฝ่ามือด้วยการหมุน ให้ได้รับความลาบาก ให้ซูบซีด ให้เดือดร้อนด้วยประการทั้ง ปวง ด้วยการแขวนไว้ที่ต้นไม้ และด้วยการตัดอาหารทุกชนิด. เพื่อต้องการทาพลีกรรม ได้แก่ให้เกิด
  • 4. 4 ผลสาเร็จ. พระยาโปริสาทนาพระมหาสัตว์ไปอย่างนั้น จึงถามว่า ท่านกลัวความตายหรือ. พระมหาสัตว์ตรัสว่า เราไม่กลัวตาย. แต่เราเศร้าโศกถึงว่า เราได้ผัดเพี้ยนพราหมณ์นั้นไว้ ยัง ไม่ได้ปลดเปลื้องเลย. หากท่านปล่อยเรา เราฟังธรรมนั้นและทาสักการะสัมมานะแก่พราหมณ์นั้น แล้วจัก กลับมาอีก. พระยาโปริสาทกล่าวว่า เราไม่เชื่อว่าเราปล่อยท่านไป แล้วท่านจักมาสู่เงื้อมมือเราอีก. พระมหาสัตว์ตรัสว่า ดูก่อนสหายโปริสาท ท่านกับเราเป็นสหายศึกษาในสานักอาจารย์เดียวกัน ไม่เชื่อหรือว่า เราไม่พูดปด แม้เพราะเหตุของชีวิต. เมื่อพระมหาสัตว์ตรัสคาถานี้ ว่า เราลูบคลาดาบและหอก โดยเพียงคาพูดนี้ ของเราโดยแท้. ดูก่อนสหาย เราขอสาบานกับท่านว่า เมื่อเราพ้นไปจากท่าน หมดหนี้ แล้ว รักษาความสัตย์ จักกลับมาอีก. โปริสาทคิดว่า สุตโสมนี้ กล่าวว่าเราขอสาบาน ซึ่งกษัตริย์ไม่ควรทา. แม้สุตโสมไปแล้วไม่กลับ ก็ จักไม่พ้นจากมือเราไปได้ จึงปล่อยไป ด้วยกล่าวว่า ความผัดเพี้ยนใด อันท่านผู้ตั้งอยู่ในความเป็นอิสระในแคว้นของตน ได้ทาไว้กับพราหมณ์ ดูก่อน พราหมณ์ ท่านปฏิบัติความผัดเพี้ยนนั้นแล้วเป็นผู้รักษาความสัตย์ จงกลับมาอีก. พระมหาสัตว์มีกาลังดุจช้างสาร สมบูรณ์ด้วยเรี่ยวแรง เสด็จถึงพระนครนั้นเร็วพลันดุจพระจันทร์ พ้นจากปากราหู ฉะนั้น. แม้เสนาของพระองค์ก็คิดว่า พระเจ้าสุตโสมเป็นบัณฑิตจักทรมานพระยาโปริสาท แล้วรีบกลับมาดุจช้างตกมัน จึงพักอยู่นอกพระนคร เพราะเกรงครหาว่า ให้พระราชาแก่โปริสาท แล้วพากัน กลับ ครั้นเห็นพระมหาสัตว์เสด็จมาแต่ไกล จึงลุกขึ้นต้อนรับถวายบังคม กระทาปฏิสันถารว่า ข้าแต่มหาราช โปริสาททาพระองค์ให้ลาบากบ้างหรือ. ตรัสว่า กรรมที่แม้พระมารดาพระบิดาของเราทาได้ยาก โปริสาทก็ ได้ทาแล้ว. พระจันทร์ว่องไวถึงปานนั้นยังเชื่อเรา แล้วปล่อยเรา จึงตกแต่งพระราชาให้ประทับบนคอคชสาร แวดล้อมเข้าพระนคร. ชาวพระนครทั้งหมดเห็นพระมหาสัตว์ แล้วต่างพากันยินดี. แม้พระมหาสัตว์ เพราะพระองค์สนพระทัยในธรรม จึงไม่เข้าเฝ้าพระมารดาพระบิดา เสด็จไปยัง พระตาหนัก ตรัสเรียกหาพราหมณ์ ทรงกระทาสักการะสัมมานะใหญ่โตแก่พราหมณ์นั้น เพราะพระองค์ทรง หนักในธรรม พระองค์เองประทับนั่งบนอาสนะที่ต่า แล้วตรัสว่า ท่านอาจารย์ ข้าพเจ้าจะฟังสตารหคาถา ที่ ท่านนามาเพื่อเรา. พราหมณ์ในเวลาที่พระมหาสัตว์ทรงขอร้อง จึงเอาน้าหอมพอกมือ แล้วนาคัมภีร์เป็นที่พอใจ ออกจากถุง จับด้วยมือทั้งสอง ทูลว่า ข้าแต่มหาราช ขอได้โปรดฟังเถิด พระเจ้าข้า. เมื่อจะอ่านคัมภีร์ จึงได้กล่าวคาถาทั้งหลายว่า ข้าแต่พระเจ้าสุตโสม การสมาคมกับสัตบุรุษแม้คราวเดียวเท่านั้น การสมาคมนั้นย่อมรักษาผู้ นั้น การสมาคมมากกับอสัตบุรุษ ย่อมรักษาไม่ได้ ควรสมาคมกับสัตบุรุษเท่านั้น ไม่ควรทาความคุ้นเคย กับอสัตบุรุษ รู้สัทธรรมของสัตบุรุษประเสริฐกว่า ไม่ลามกเลย.
  • 5. 5 ราชรถวิจิตรงดงามยังคร่าคร่าได้ อนึ่ง แม้ร่างกายก็เข้าถึงความคร่าคร่า แต่ธรรมของสัตบุรุษ ไม่ถึงความคร่าคร่า สัตบุรุษแล ย่อมประกาศด้วยสัตบุรุษ ข้าแต่ราชา ฟ้าและแผ่นดินไกลกัน ฝั่งข้างโน้นของมหาสมุทร เขาก็ว่าไกลกัน ธรรมของ สัตบุรุษและธรรมของอสัตบุรุษ บัณฑิตทั้งหลายกล่าวว่าไกลกว่านั้น. พระมหาสัตว์ทรงสดับดังนั้นแล้ว มีพระทัยยินดีว่า การมาของเรามีผล ทรงดาริว่า คาถาเหล่านี้ ไม่ใช่สาวกกล่าว ไม่ใช่ฤๅษีกล่าว ไม่ใช่กวีกล่าว ไม่ใช่เทวดากล่าว แต่พระสัพพัญญูนั่นแลกล่าวไว้. จะมีค่า อย่างไรหนอ? ทรงดาริต่อไปว่า แม้เราจะทาจักรวาลทั้งสิ้นนี้ จนถึงพรหมโลก ให้เต็มด้วยรตนะ ๗ ประการ แล้วให้ยังเป็นการทาอันไม่สมควร. แต่เราพอที่จะให้ราชสมบัติ ในแคว้นกุรุประมาณ ๓๐๐ โยชน์ ใน อินทปัตถนครประมาณ ๗ โยชน์แก่พราหมณ์นั้นได้. แต่พราหมณ์นั้นไม่มีส่วนที่จะครองราชสมบัติได้. เป็นความจริง ความเป็นผู้มีอานุภาพน้อยปรากฏแก่พราหมณ์นั้น โดยมองดูลักษณะของอวัยวะ. เพราะฉะนั้น แม้ให้ราชสมบัติไป ก็ไม่ดารงอยู่ได้ในพราหมณ์นี้ จึงตรัสถามว่า ท่านอาจารย์ ท่านแสดงคาถา เหล่านี้ แก่กษัตริย์ทั้งหลายเหล่าอื่น แล้วได้อะไร? ทูลว่า ข้าแต่มหาราช ได้คาถาละร้อยๆ. ด้วยเหตุนั้น จึง เรียกว่า สตารหคาถา. ลาดับนั้น พระมหาสัตว์ตรัสแก่พราหมณ์นั้นว่า ท่านอาจารย์ ท่านรับด้วยตนเองยังไม่รู้ค่าของ สินค้าที่เที่ยวไป. ท่านพราหมณ์ คาถาเหล่านี้ มีค่า ๑,๐๐๐ มิใช่มีค่า ๑๐๐. ท่านจงรีบรับทรัพย์ ๔,๐๐๐ ไปเถิด. พระมหาสัตว์ทรงให้ทรัพย์ ๔,๐๐๐ และยานน้อยเป็นสุข ๑ คัน ส่งพราหมณ์นั้นไปด้วยสักการะ และสัมมานะอันยิ่งใหญ่ ถวายบังคมพระมารดาพระบิดา แล้วทูลว่า หม่อมฉันได้ให้ปฏิญญาไว้แก่โปริสาทว่า เราบูชาพระสัทธรรมรัตนะที่พราหมณ์นามาแล้ว และทาสักการะและสัมมานะแก่พราหมณ์นั้นแล้วจะ กลับมา จึงมาได้. สิ่งที่ควรทาควรปฏิบัติแก่พราหมณ์ในข้อนั้น ได้ทาเสร็จแล้ว บัดนี้ หม่อมฉันจักไปหาโปริ สาท. พระมารดาพระบิดาทรงขอร้องว่า พ่อสุตโสม ลูกพูดอะไรอย่างนั้น. เราจะจับโจรด้วยทหาร ๔ เหล่า. อย่าไปหาโจรเลยลูก. หญิงฟ้อน ๑๖,๐๐๐ แม้บริวารชนที่เหลือต่างก็พากันร่าไห้ว่า ข้าแต่เทวะ พระองค์ทาให้พวกหม่อมฉันไร้ที่พึ่ง แล้วจะเสด็จไปไหน. ได้เกิดโกลาหลขึ้นอีกครั้งว่า ได้ยินว่า พระราชาจะเสด็จไปหาโจรอีก. พระมหาสัตว์ตรัสว่า ธรรมดาการทาตามคาสัตย์ปฏิญญาเป็นหลักปฏิบัติของสาธุสัตบุรุษ ทั้งหลาย. แม้โปริสาทนั้นก็ยังเชื่อเรา แล้วปล่อยออกมา เพราะฉะนั้น เราจักไปละ. ถวายบังคมพระมารดา พระบิดา แล้วทรงสั่งสอนชนที่เหลือ นางสนมกานัลในเป็นต้นมีน้าตานองหน้า ร่าไห้มีประการต่างๆ ตามส่ง เสด็จออกจากพระนคร ทรงเอาไม้ขีดขวางทาง เพื่อให้ชนพากันกลับ ตรัสว่า ชนทั้งหลายอย่าล่วงเลยเส้นขีด ของเรานี้ แล้ว ได้เสด็จไป. มหาชนไม่อาจละเมิดพระดารัสของพระมหาสัตว์ผู้ทรงเดชได้ จึงคร่าครวญกันแสงไห้ด้วยเสียง ดัง แล้วพากันกลับ. ในกาลนั้น เราประสงค์จะไปหาโปริสาท จึงมอบราชสมบัติ ประมาณ ๓๐๐ โยชน์แก่พระมารดา
  • 6. 6 พระบิดาว่า ขอพระองค์ทรงปกครองราชสมบัติของพระองค์เถิด. เพราะเหตุไร เราจึงมอบราชสมบัติ? เพราะระลึกถึงธรรมสัตบุรุษ. เพราะธรรมดาการทาตามคาสัตย์ปฏิญญา เป็นประเพณี เป็นวงศ์ตระกูลของพระมหาโพธิสัตว์ผู้ เป็นสัตบุรุษ คือเป็นคนดี. ฉะนั้น เราจึงระลึกถึงธรรมคือสัจจบารมีนั้น อันเป็นของเก่ามีมาก่อน อันพระชินะ ทั้งหลายมีพระพุทธเจ้าเป็นต้นทรงเสพแล้ว เมื่อจะตามรักษาความสัตย์ จึงให้ทรัพย์แก่พราหมณ์นั้น สละ ชีวิตของตนเข้าไปหาโปริสาท. ในกาลไปหาโปริสาทนั้น เราไม่มีความสงสัยว่า โปริสาทนี้ จักฆ่าเรา หรือไม่หนอ? เรารู้อยู่ว่า โป ริสาทนั้นดุร้ายป่าเถื่อน เตรียมฆ่ากษัตริย์ ๑๐๐ กับเรา ทาพลีกรรมแก่เทวดา จักฆ่าท่าเดียว จึงตามรักษา สัจวาจาอย่างเดียว สละชีวิตของตนเข้าไปหาโปริสาทนั้น เพราะเรื่องเป็นอย่างนี้ แหละ ฉะนั้น ผู้เสมอด้วย สัจจะของเราจึงไม่มี. นี้ เป็นสัจบารมี ถึงความเป็นปรมัตถบารมีของเรา ด้วยประการฉะนี้ . อนึ่ง เมื่อพระมหาสัตว์เข้าไปหาโปริสาท แล้วเห็นพระพักตร์ของพระมหาสัตว์นั้นมีสง่าดุจกลีบ บัวแย้ม จึงคิดว่า พระเจ้าสุตโสมนี้ ไม่กลัวตาย จึงมา. นี้ เป็นอานุภาพของอะไรหนอ? จึงสันนิษฐานว่า พระ เจ้าสุตโสมนี้ เป็นผู้มีเดชและไม่กลัวตายอย่างนี้ เห็นจะเป็นเพราะฟังธรรมนั้นกระมัง. แม้เราฟังธรรมนั้นแล้ว ก็จักเป็นผู้มีเดชและไม่กลัวตายเหมือนกัน จึงกล่าวกะพระมหาสัตว์ว่า ข้าพเจ้าขอฟังสตารหคาถาที่ท่านไป พระนคร ของตนเพื่อจะฟัง. พระโพธิสัตว์ทรงสดับดังนั้นทรงดาริว่า โปริสาทนี้ มีธรรมลามก เราจักข่มให้ละอายเสียหน่อย หนึ่ง แล้วจึงจักกล่าว จึงตรัสว่า สัจจะย่อมไม่มีแก่ผู้ไม่มีธรรม ผู้หยาบคาย ผู้มีฝ่ามือเต็มไปด้วยเลือดเป็นนิจ ธรรมจะมีได้แต่ ไหน. ท่านจักฟังไปทาไม. เมื่อโปริสาทเกิดความตั้งใจจะฟังด้วยดี จึงตรัสว่า ชนทั้งหลายฟังธรรมแล้ว ย่อมรู้ดีและชั่ว อนึ่ง ใจของเรายินดีในธรรม ก็เพราะฟังคาถาทั้งหลาย ดังนี้ . พระมหาสัตว์ทรงดาริว่า โปริสาทนี้ เกิดความสนใจใคร่จะฟังอย่างยิ่ง เอาเถิด เราจักกล่าวคาถา แก่เขา. จึงตรัสว่า สหาย ถ้าเช่นนั้น ท่านจงฟังให้ดี จงใส่ไว้ในใจ แล้วทรงสดุดีคาถาทั้งหลาย ทานองเดียวกับ ที่นันทพราหมณ์กล่าวโดยเคารพ เกิดโกลาหลเป็นอันเดียวกันในสวรรค์ชั้นกามาวจร ๖ ชั้น. เมื่อทวยเทพซ้องสาธุการ พระมหาสัตว์จึงทรงแสดงธรรมแก่โปริสาทว่า มหาราช การสมาคมกับสัตบุรุษคราวเดียวเท่านั้น การสมาคมนั้นย่อมรักษาผู้นั้น การสมาคม กับอสัตบุรุษมาก ย่อมไม่รักษา ฯลฯ ธรรมของสัตบุรุษและธรรมของอสัตบุรุษ บัณฑิตทั้งหลายกล่าวว่า ไกล กว่านั้น. เมื่อโปริสาทนั้นฟังคาถาทั้งหลาย เพราะพระมหาสัตว์ตรัสดีแล้ว และเพราะบุญญานุภาพของตน สกลกายจึงเต็มไปด้วยปีติมีองค์ ๕. โปริสาทมีจิตอ่อนโยนในพระโพธิสัตว์กล่าวว่า สุตโสม ผู้สหายเราไม่เห็นเงินเป็นต้นที่เป็นของ ควรให้. เราจักให้พรอย่างหนึ่งๆ ในคาถาหนึ่งๆ มีสี่คาถา พรสี่ข้อ.
  • 7. 7 ลาดับนั้น พระมหาสัตว์รุกรานโปริสาทว่า ท่านไม่รู้ประโยชน์แม้ของตน จักให้พรแก่ผู้อื่นได้ อย่างไร? ครั้นโปริสาทขอร้องอีกว่า ท่านจงรับพรเถิด. พระมหาสัตว์จึงขอพรข้อแรกว่า เราพึงเห็นโปริสาทไม่มีโรคตลอดกาลนาน. โปริสาทดีใจว่า พระเจ้าสุตโสมนี้ เมื่อเราประสงค์จะฆ่ากินเนื้ อในบัดนี้ ยังปรารถนาชีวิตของเรา ผู้ทาความมหาพินาศอีก ไม่รู้ว่า ถูกลวงรับพร จึงได้ให้ไป. จริงอยู่ พระมหาสัตว์ เพราะพระองค์เป็นผู้ฉลาดในอุบาย ทรงขอชีวิตของพระองค์ โดยอ้างใคร่ ขอให้โปริสาทมีชีวิตอยู่ตลอดกาลนาน. ต่อไป จึงตรัสขอพรข้อที่ ๒ ว่า ขอท่านจงให้ชีวิตแก่กษัตริย์ทั้งหลายมากกว่า ๑๐๐. ขอให้ปล่อยกษัตริย์เหล่านั้นกลับแว่นแคว้นของตน เป็นพรข้อที่ ๓. ขอให้โปริสาทเว้นจากการกินเนื้ อมนุษย์ เป็นพรข้อที่ ๔. โปริสาทให้พร ๓ ข้อ ประสงค์จะไม่ให้พรข้อที่ ๔ แม้กล่าวว่า ท่านจงขอพรข้ออื่นเถิด ก็ถูกพระ มหาสัตว์ทรงแค่นได้ จึงได้ให้พรข้อที่ ๔ นั้นจนได้. ลาดับนั้น พระโพธิสัตว์ทรงทาให้โปริสาทหมดพยศ จึงให้โปริสาทปล่อยพระราชาทั้งหลาย แล้ว ให้นอนลงบนพื้นดินค่อยๆ ดึงเชือกออก ดุจดึงเส้นด้ายออกจากหูของพวกเด็กๆ ให้โปริสาทนาหนังมาแผ่น หนึ่งถูกับหิน แล้วทรงทาสัจกิริยา ทาที่ฝ่าพระหัตถ์ของกษัตริย์เหล่านั้น. ความผาสุกก็ได้มีในขณะนั้นเอง. พระโพธิสัตว์ประทับอยู่ ณ ที่นั้น ๒-๓ วัน ทรงให้โปริสาทเยียวยากษัตริย์เหล่านั้นให้หายโรค แล้วให้ทาความสนิทสนมฉันมิตร มีความไม่ทาลายกันกับกษัตริย์เหล่านั้น แล้วทรงนาโปริสาทนั้นไปกรุง พาราณสี พร้อมด้วยกษัตริย์เหล่านั้น ให้ดารงอยู่ในราชสมบัติ ทรงประทานโอวาทว่า ขอท่านทั้งหลายจง เป็นผู้ไม่ประมาทเถิด แล้วทรงส่งพระราชาเหล่านั้นไปยังนครของตนๆ ทรงแวดล้อมด้วยหมู่จาตุรงคเสนา ของพระองค์ ซึ่งมาจากอินทปัตถนคร เสด็จกลับพระนครของพระองค์. ชนชาวพระนครต่างยินดีเบิกบานห้อมล้อม เสด็จเข้าภายในพระนคร ถวายบังคมพระมารดา พระบิดา แล้วเสด็จขึ้นสู่พื้นใหญ่. ลาดับนั้น พระมหาสัตว์ทรงให้สร้างศาลาทาน ๖ แห่ง ทรงบริจาคมหาทานทุกวัน ทรงบาเพ็ญ ศีลรักษาอุโบสถ เพิ่มพูนบารมีทั้งหลาย. แม้พระราชาเหล่านั้น ก็ทรงตั้งอยู่ในโอวาทของพระมหาสัตว์ ทรง ทาบุญมีทานเป็นต้น เมื่อสวรรคตก็เสด็จสู่สวรรค์. พระยาโปริสาทในครั้งนั้น ได้เป็นพระองคุลิมาลเถระในครั้งนี้ . กาฬหัตถิอามาตย์ คือพระสารีบุตรเถระ. นันทพราหมณ์ คือพระอานนทเถระ. รุกขเทวดา คือพระมหากัสสปเถระ. พระราชาทั้งหลาย คือพุทธบริษัท. พระมารดาพระบิดา คือตระกูลมหาราช.