SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
Download to read offline
โครงงานคอมพิวเตอร์
เรื่อง สตรอเบอร์รี่ไฮโดรโปนิกส์ ไม่มีดินก็กินได้
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1 นางสาวสุภัทธิรา โฆษิตสุริยะพันธุ์ เลขที่ 37 ชั้น 6 ห้อง 7
2 นางสาวภัทรศยา บุญมาลา เลขที่ 38 ชั้น 6 ห้อง 7
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
โครงงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
เรื่อง สตรอเบอร์รี่ไฮโดรโปนิกส์ ไม่มีดินก็กินได้
(Strawberry hydroponics, No soil is edible)
ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวสุภัทธิรา โฆษิตสุริยะพันธุ์
นางสาวภัทรศยา บุญมาลา
ชื่อที่ปรึกษา นางเขื่อนทอง มูลวรรณ์
รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ปีการศีกษา 2/2560
บทคัดย่อ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสตรอเบอร์รี่ไฮโดรโปนิกส์ ไม่มีดินก็กินได้(Strawberry
hydroponics, No soil is edible) จัดทาขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ 1)เพื่อศึกษาการปลูกพืชแบบไร้ดิน
2)เพื่อศึกษาวิธีการปลูกสตรอเบอร์รี่แบบไฮโดรโปนิกส์ 3)เพื่อศึกษาและส่งเสริมการปลูกสตรอเบอร์รี่
แบบไฮโดรโปนิกส์ 4)เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการปลูกสตรอเบอร์รี่แบบไฮโดรโปนิกส์แก่ผู้ที่สนใจ
โดยมีเครื่องมือและอุปกรณ์คือ เว็บไซต์สาหรับเผยแพร่ข้อมูลที่ได้ศึกษา Powerpoint ในการ
นาเสนอโครงงานและรูปเล่มโครงงาน ส่วนแนวทางการดาเนินงานจะเริ่มตั้งแต่ กาหนดหัวข้อที่
ต้องการศึกษา รวบรวมข้อมูลที่ต้องการศึกษา ทาโครงร่างโครงงาน เริ่มทาการศึกษาตามหัวข้อที่
กาหนด รวบรวมข้อมูลต่างๆ แล้วสุดท้ายเรียบเรียงเป็นโครงงานให้สมบูรณ์ที่สุด หลังจากการศึกษา
ได้สรุปผลการดาเนินงานดังนี้ ทาให้ผู้จัดทาและผู้ที่สนใจได้รับความรู้ในเรื่อง การปลูกพืชแบบไร้ดิน
และการปลูกสตรอเบอร์รี่แบบไฮโดรโปนิกส์ และสามารถนามาปรับใช้ในชีวิตประจาวันหรือทาเป็น
อาชีพเสริมได้
ก
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสตรอเบอร์รี่ไฮโดรโปนิกส์ ไม่มีดินก็กินได้(Strawberry
hydroponics, No soil is edible) สาเร็จลุล่วงได้ด้วยความกรุณาจากอาจารย์เขื่อนทอง มูลวรรณ์
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานที่ได้ให้คาเสนอแนะ คาแนะนาตลอดจนแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆโดยตลอด
จนโครงงานเล่มนี้เสร็จสมบูรณ์ ผู้ศึกษาจึงขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูง
ขอขอบคุณผู้ปกครองที่ให้คาปรึกษา และการสนับสนุนในเรื่องต่างๆ รวมทั้งเป็นกาลังใจที่ดี
เสมอ
สุดท้ายขอบคุณเพื่อนๆที่ช่วยให้คาแนะนาดีๆเกี่ยวกับการทา
สุภัทธิรา โฆษิตสุริยะพันธุ์
ภัทรศยา บุญมาลา
ข
สารบัญ
หน้า
บทคัดย่อ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
สารบัญ
บทที่ 1 บทนา 1
ที่มาและความสาคัญ
วัตถุประสงค์
ขอบเขตการศึกษา
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 3
การปลูกพืชไร้ดิน
การปลูกสตรอเบอร์รี่
การปลูกสตรอเบอร์รี่แบบไฮโดรโปนิกส์
บทที่3 วิธีการดาเนินงาน 22
แนวทางการดาเนินงาน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
งบประมาณ
สถานที่ดาเนินการ
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
บทที่4 ผลการดาเนินงาน 24
การนาไปใช้
บทที่5 สรุป อภิปรายและข้อเสนอแนะ 25
ผลการดาเนินโครงงาน
อุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
แหล่งอ้างอิง 26
บทที่ 1
บทนา
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) สตรอเบอร์รี่ไฮโดรโปนิกส์ ไม่มีดินก็กินได้
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) strawberry hydroponics, No soil is edible
ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวสุภัทธิรา โฆษิตสุริยะพันธุ์
นางสาวภัทรศยา บุญมาลา
ชื่อที่ปรึกษา นางเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ในปัจจุบันการปลูกพืชไร้ดิน (Hydroponics) เป็นที่นิยมกัน อย่างกว้างขวาง มีการปลูกใน
ระดับอุตสาหกรรมขนาดใหญ่และทารายได้ให้แก่ ผู้ประกอบการเป็นอย่างดี ทั้งนี้เนื่องมาจากว่า
ผู้บริโภคในยุคปัจจุบันได้หันมาให้ความสนใจเกี่ยวกับสุขภาพกันมากขึ้น จึงเลือกที่จะบริโภคผักที่ปลูก
ในระบบ Hydroponics ซึ่งมีการปลูกในโรงเรือนที่ควบคุมแมลงศัตรูพืชได้ ทาให้มีการใช้ สารเคมี
น้อยลง ผักที่ได้จึงเป็นผักอนามัย มีการปนเปื้อน
สารเคมีน้อยมากและเป็นทางเลือกหนึ่งที่ผู้บริโภคหันมาให้ความสนใจมากขึ้น อีกทั้งการปลูกและ
การจัดการต่างๆ ไม่ยุ่งยากอย่างที่คิด ทุกคนสามารถปลูกเองได้ทุกครัวเรือน เพื่อบริโภคภายใน
ครอบครัว ทาให้ได้บริโภคผักที่สด สะอาด ปลอดภัย และช่วยเสริมสร้าง สุขภาพร่างกายให้แข็งแรง
และยังเป็นการทากิจกรรมร่วมกันภายในครอบครัว สร้างความผูกพันและความอบอุ่นให้เกิดขึ้นกับ
ครอบครัวได้อีกทางหนึ่งด้วย สาหรับสตรอเบอร์รี่ เป็นผลไม้ที่ได้รับความนิยมอย่างมาก ซึ่งการปลูก
สตรอเบอร์รี่นั้น ในการปลูกสตรอเบอร์รี่แบบทั่วไปจะต้องใช้ยาฆ่าแมลง หรือยากาจัดศัตรูพืชซึ่งเป็น
สารเคมีที่อันตรายต่อร่างกายหากได้รับในปริมาณมากก็จะทาให้เกิดโรคต่างๆตามมา การปลูกแบบ
ไฮโดรโปนิกส์เป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่จะทาให้ปลอดภัยจากสารเคมี และยังทาให้สุขภาพดี ไม่ป่วยง่าย
1
วัตถุประสงค์
1)เพื่อศึกษาการปลูกพืชแบบไร้ดิน
2)เพื่อศึกษาวิธีการปลูกสตรอเบอร์รี่แบบไฮโดรโปนิกส์
3)เพื่อศึกษาและส่งเสริมการปลูกสตรอเบอร์รี่แบบไฮโดรโปนิกส์
4)เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการปลูกสตรอเบอร์รี่แบบไฮโดรโปนิกส์แก่ผู้ที่สนใจ
5)เพื่อเป็นการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
ขอบเขตโครงงาน
การปลูกสตรอเบอร์รี่แบบไฮโดรโปนิกส์ และผู้ที่สนใจศึกษาการปลูกสตรอเบอร์รี่แบบไฮโดรโป
นิกส์
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. ได้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกพืชแบบไร้ดิน
2. ได้ความรู้เกี่ยวกับวิธีการปลูกสตรอเบอร์รี่แบบไฮโดรโปนิกส์
3. ได้ส่งเสริมการปลูกสตรอเบอร์รี่แบบไฮโดรโปนิกส์
4. ได้เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการปลูกสตรอเบอร์รี่แบบไฮโดรโปนิกส์แก่ผู้ที่สนใจ
5. เป็นการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
2
บทที่ 2
หลักการและทฤษฎี
ในการจัดทาโครงงานเรื่องสตรอเบอร์รี่ไฮโดรโปนิกส์ ไม่มีดินก็กินได้(Strawberry
hydroponics, No soil is edible)จาเป็นต้องศึกษาทฤษฎีที่เกี่ยวข้องดังนี้
1.การปลูกพืชไร้ดิน
ในปัจจุบันการปลูกพืชไร้ดิน (Hydroponics) เป็นที่นิยมกัน อย่างกว้างขวาง มีการปลูกใน
ระดับอุตสาหกรรมขนาดใหญ่และทารายได้ให้แก่ ผู้ประกอบการเป็นอย่างดี ทั้งนี้เนื่องมาจากว่า
ผู้บริโภคในยุคปัจจุบันได้หันมาให้ความสนใจเกี่ยวกับสุขภาพกันมากขึ้น จึงเลือกที่จะบริโภคผักที่
ปลูกในระบบ Hydroponics ซึ่งมีการปลูกในโรงเรือนที่ควบคุมแมลงศัตรูพืชได้ ทาให้มีการใช้
สารเคมีน้อยลง ผักที่ได้จึงเป็นผักอนามัย มีการปนเปื้อนสารเคมีน้อยมากและเป็นทางเลือกหนึ่งที่
ผู้บริโภคหันมาให้ความสนใจมากขึ้น อีกทั้งการปลูกและ การจัดการต่างๆ ไม่ยุ่งยากอย่างที่คิด ทุก
คนสามารถปลูกเองได้ทุกครัวเรือน เพื่อบริโภคภายในครอบครัว ทาให้ได้บริโภคผักที่สด สะอาด
ปลอดภัย และช่วยเสริมสร้าง สุขภาพร่างกายให้แข็งแรงและยังเป็นการทากิจกรรมร่วมกันภายใน
ครอบครัว สร้างความผูกพันและความอบอุ่นให้เกิดขึ้นกับครอบครัวได้อีกทางหนึ่งด้วย
3
ความหมายของคาว่า "การปลูกพืชไร้ดิน"
การปลูกพืชไร้ดินเป็นคาที่แปลมาจากภาษาอังกฤษ 2 คาคือคาว่า Soilless Culture และ
Hydroponics ซึ่งสามารถอธิบายได้ 2 ลักษณะ คือ
1. คาว่า "Soilless culture" เป็นวิธีการปลูกพืชเลียนแบบการปลูกพืชบนดินแต่ไม่ใช้ดิน
เป็นวัสดุปลูก แต่เป็นการปลูกพืชลงบนวัสดุชนิดต่างๆ เช่น แผ่นฟองน้า ทราย กรวด ขี้เลื่อย แกลบ
ขุยมะพร้าว ฯลฯ แทนดิน โดยพืชสามารถเจริญเติบโตบนวัสดุปลูกที่ใช้เป็นที่ยึดเกาะและจากการ
ได้รับสารละลายธาตุอาหารพืช ที่มีน้าที่ผสมกับแร่ธาตุต่างๆ (หรือปุ๋ย) ที่พืชต้องการจากทางรากพืช
2. คาว่า "Hydroponics" เป็นการปลูกพืชที่ไม่ใช้วัสดุปลูก กล่าวคือ จะทาการปลูกพืชลง
ในสารละลายธาตุอาหารพืช โดยให้รากพืชสัมผัสกับสารอาหารโดยตรง (bare roots)
hydroponics มาจากการรวมคาในภาษากรีกสองคา คือ คาว่า "hydro" หมายถึง "น้า" และ
"ponos" หมายถึง "งาน" ซึ่งเมื่อรวมคาสองคาเข้าด้วยกันความหมายก็คือ "water-working" หรือ
หมายถึง "การทางานของน้า (สารละลายธาตุอาหาร)" ผ่านทางรากพืช ดังนั้น การปลูกพืชโดยไม่ใช้
ดิน จึงหมายถึงวิธีการปลูกพืชเลียนแบบการปลูกพืชบนดิน โดยปลูกพืชลงบนวัสดุปลูกหรือ
สารอาหาร โดยไม่ต้องมีวัสดุปลูกก็ได้ เพื่อให้พืชได้รับสารอาหาร หรือสารละลายธาตุอาหารพืชที่มี
การปลูกผักโดยไม่ใช้ดิน หรือ การปลูกผักไร้ดิน นี้เป็นเทคโนโลยีที่เคยมีมาก่อนแล้ว เพราะ
ปัจจุบันกระแสการหันมาใสใจในสุขภาพของคนไทยมีมากขึ้นเป็นลาดับ ผักปลอดสารพิษ ผักกางมุ้ง
และผักไฮโดรโปนิกส์ จึงเป็นทางเลือกใหม่ของผู้บริโภคที่กาลังได้รับความนิยมขึ้นเป็นลาดับ ซึ่ง
นอกจากจะปลอดภัยจากสารพิษตกค้างแล้ว สีสันยังดูน่ารับประทาน และรสชาติดีอีกด้วย ณ วันนี้
ผักไฮโดรโปนิกส์ นอกจากจะเป็นอีกหนึ่งทางเลือกของสุขภาพคนไทยแล้ว การปลูกผักโดยไม่ใช้ดิน
ยังจะเป็นหนึ่งในโครงการอาหารกลางวันสาหรับนักเรียนในชุมชนใกล้เคียงของมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีสุรนารี (มทส) ที่อาจารย์อารักษ์ ธีระอาพน อาจารย์ประจาสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิต
พืช สานักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร ได้วิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีนี้ลงไปสู่โรงเรียน ซึ่งถือเป็น
ศูนย์กลางการศึกษาของชุมชน ที่สาคัญไปกว่านั้นคือ เทคโนโลยีการปลูกผักไร้ดินและการจัดการที่ใช้
ปลูกยังจะช่วยบ่มเพาะให้เยาวชนเกิดการเรียนรู้ รวมถึงกระตุ้นความสนใจในวิทยาศาสตร์อีกด้วย
(Hydroponics ของคุณธวัชชัย) ทั้งนี้สามารถทาเองได้นี้โดยไม่เสียเวลาในการปลูกมากนัก
4
การปลูกผักไร้ดิน Hydroponics คือการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน
โดยหลักการแล้ว มี 2 แบบ คือ
 การปลูกในน้า ซึ่งบริเวณรอบๆ รากของพืชเป็นของเหลว รากจะแตกออกมาที่ของเหลว
นั่นเอง
 การปลูกในวัสดุแข็ง เช่น แกลบ ทราย ขุยมะพร้าว หินภูเขาไฟ ซึ่งเป็นวัสดุปลูกที่ไม่ได้ให้
ธาตุอาหารกับพืชแต่อย่างใด ในขณะเดียวกันก็ทาหน้าที่เป็นวัสดุที่ช่วยค้าและพยุงราก
นั่นเอง
ในอดีตกระแสความนิยมของการปลูกพืชแบบนี้เป็นไปเนื่องเพราะความพยายามของบริษัท
นาเข้าอุปกรณ์การปลูกมากกว่าจะเป็นกระแสบริโภคนิยมอย่างแท้จริง ทาให้ผักไร้ดิน
Hydroponics ซบเซาไปพักหนึ่ง ก่อนที่จะกลับมาได้รับความนิยมขึ้นอีกครั้งตั้งแต่ปี 2540 เป็นต้น
มา ด้วยคนไทยหันมาสนใจสุขภาพมากขึ้น กระแสการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์จึงกลับมาได้รับความ
นิยมอีกครั้งจากผู้บริโภค เกิดตลาดรองรับ และแม้แต่สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน
(BOI) ก็เล็งเห็นความสาคัญของการขยายตัว จึงให้การสนับสนุนและส่งเสริมให้มีการลงทุนด้านนี้
ทาให้มีผู้สนใจเข้ามาทามากขึ้น ก่อให้เกิดรูปแบบ เทคนิค และเทคโนโลยีในการผลิตที่หลากหลาย
ขึ้น กลายเป็นทางเลือกสาหรับผู้บริโภคตามมา พืชที่นิยมปลูกแบบ Hydroponics กว่า 90 %
เป็นประเภทพืชผักที่ใช้รับประทานในชีวิตประจาวัน อาทิ ผักสลัดหรือผักกาดหอมต่างประเทศ ใน
อดีตที่ต้องนาเข้ากิโลกรัมละหลายร้อยบาท แต่ปัจจุบันสามารถลดการนาเข้าได้เกือบ 100 %
นอกจากนี้ยังเป็นพืชผักประเภทกลุ่มผักตะวันออก เช่น คะน้า กว้างตุ้ง คะน้าฮ่องกง ผักกาดขาว
เป็นต้น ซึ่งปรากฏว่ามีคนสนใจเริ่มมาทาตรงนี้มากขึ้น และมีผลตอบรับค่อนข้างดี พืชผักกลุ่มนี้ก็
ตอบสนองต่อระบบนี้ได้ดี ตลาดกว้างขึ้น ไม่ได้จากัดอยู่ที่ผักต่างประเทศกลุ่มเดียวเท่านั้น การปลูก
ผักโดยไม่ใช้ดิน พืชผักที่มีมูลค่าทางการตลาดสูง เช่น แตงเทศหรือแตงแคนตาลูป ที่ฟาร์ม
มหาวิทยาลัยกาลังผลิตอยู่ ซึ่งหากการปลูกผักไร้ดินในสภาพแวดล้อมปกติจะต้องใช้สารเคมีจานวน
มาก มีสารพิษตกค้าง ไม่ปลอดภัยต่อผู้บริโภค แต่หากปลูกแบบไฮโดรโปนิกส์ หรือการปลูกพืชโดย
ไม่ใช้ดินจะสามารถแก้ปัญหานี้ได้ รวมทั้งสามารถควบคุมคุณภาพได้ด้วย และแม้แต่พืชผักและพืช
สมุนไพร เช่น สะระแหน่ วอเตอร์เครส หญ้าปักกิ่งหรือหญ้าเทวดา ก็สามารถตอบสนองต่อระบบ
ไฮโดรโปนิกส์ได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะหญ้าเทวดา พบว่าให้ผลผลิตสูงมากเมื่อเทียบต่อตาราง
พื้นที่
5
2.การปลูกสตรอเบอร์รี่
สตรอเบอร์รี่ จัดเป็นไม้ผลเศรษฐกิจชนิดหนึ่งที่มีการปลูกกระจายกันมากที่สุดในโลก สามารถ
พบได้แทบทุกประเทศตั้งแต่ แถบขั้วโลกลงมาถึงพื้นที่ในเขตร้อน ซึ่งมีความแตกต่างกันทั้งสภาพ
ภูมิอากาศและชนิดดินที่ใช้ปลูก บางพันธุ์จะพบว่าสามารถปลูก ในทางเหนือของโลก เช่น รัฐ
Alaska ได้ดีเท่ากับปลูกในทางใต้ลงมาเช่นแถบ Equator
สตรอเบอร์รี่ เป็นผลไม้ที่มีรสชาติอร่อยและเป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไปมาหลายร้อยปีมาแล้ว ในช่วงสิบปี
ที่ผ่านมานี้พบว่าผลผลิต ที่ใช้สาหรับบริโภคเป็นผลสด และใช้ในเชิงอุตสาหกรรมแปรรูปได้เพิ่ม
ปริมาณมากขึ้นอย่างรวดเร็วตามประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก ทั้งนี้ เป็นสาเหตุมาจากการผสมพันธุ์ใหม่ที่
ให้ผลผลิตยาวนานขึ้น การนาระบบปลูกแบบดูแลอย่างใกล้ชิดมาใช้ ตลอดจนการเลือกพื้นที่ปลูก ที่
มีความเหมาะสมมากกว่าแต่ก่อน ในปัจจุบันนี้ก็ยังมีการทดลองวิจัยที่จะหาวิธีการต่าง ๆ เพื่อที่จะทา
ให้การปลูก สตรอเบอร์รี่นั้นง่ายขึ้น โดยเน้นการให้ผลผลิตสูงและสามารถทารายได้ตอบแทนเป็นที่
พอใจแก่เกษตรกรผู้ปลูก
ในประเทศไทยแม้ว่าจะมีพื้นที่ปลูกสตรอเบอร์รี่ส่วนใหญ่อยู่ทางภาคเหนือ เช่น บางอาเภอใน
จังหวัดเชียงใหม่และเชียงราย และในพื้นที่ บางจังหวัดของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เช่น จังหวัด
เลยและจังหวัดเพชรบูรณ์ เป็นต้น แต่ยังมีแนวโน้มที่สามารถปลูกได้ผลพอสมควร ในพื้นที่สูงของ
ภาคกลาง เช่น แถบบนภูเขาของจังหวัดกาญจนบุรี เนื่องมาจากความต้องการของตลาดทั้งในและ
ต่างประเทศ ขณะนี้ สตรอเบอร์รี่จึงถูกพิจารณาจัดเป็นพืชเศรษฐกิจชนิดใหม่ ซึ่งสามารถช่วยยก
ฐานะความเป็นอยู่ของเกษตรกรผู้ปลูกนับเป็นพันครอบครัว ให้ดีขึ้นทั้งพื้นที่ราบและบนที่สูง
นอกจากนี้ยังพบว่ามีศักยภาพสูงมาก สาหรับการผลิตสตรอเบอร์รี่เพื่อจุดประสงค์ในการขยายช่วง
ของ การเก็บเกี่ยวหรือผลิตให้ผลออกนอกฤดูกาลบนพื้นที่สูงของประเทศไทยซึ่งมีสภาพอากาศหนาว
เย็นพอเหมาะตลอดทั้งปีและมีอนาคต สาหรับการส่งออกไปจาหน่ายยังต่างประเทศ ซึ่งสามารถผลิต
ได้ในช่วงดังกล่าวอีกด้วย
6
ประวัติ
ทางภาคเหนือของประเทศไทยได้มีการปลูกสตรอเบอร์รี่มานานหลายปีแล้ว แต่ที่นับว่าเริ่มมี
ความสาคัญเป็นพืชเศรษฐกิจก็ตั้งแต่ พ.ศ. 2522 เป็นต้นมา ชาวอังกฤษที่มาทางานเกี่ยวกับป่าไม้ใน
จังหวัดเชียงใหม่เป็นผู้นาต้นสตรอเบอร์รี่เข้ามาเมื่อประมาณ พ.ศ. 2477 ซึ่ง ต่อมาสตรอเบอร์รี่พันธุ์
นี้ถูกเรียกว่า พันธุ์พื้นเมือง เพราะไม่ทราบชื่อพันธุ์ที่แน่นอน ผลของพันธุ์นี้จะมีลักษณะนิ่ม มีขนาด
เล็ก สีผลออกเป็นสีปูนแห้ง และให้ผลผลิตต่อพื้นที่ต่า ต่อมาหลังจากที่ได้มีการแนะนาวิธีการปลูกสต
รอเบอร์รี่แล้ว ก็มีการแพร่ขยายการปลูก ในฐานะเป็นผลไม้ชนิดใหม่ภายในส่วนของโรงเรียน และ
สถานีทดลองเกษตรของส่วนราชการต่าง ๆ แต่อย่างไรก็ตามยังไม่ได้มี การปลูกเพื่อการค้าอย่าง
จริงจังก่อนถึงปี พ.ศ. 2522 มีเกษตรกรบางรายพยายามปลูกเป็นการค้าในพื้นที่ใหญ่ ๆ แต่ก็ไม่ได้รับ
ความ สาเร็จเท่าที่ควร
ในปี พ.ศ. 2512 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ ได้ทรงก่อตั้งโครงการหลวง
ซึ่งปัจจุบันใช้ชื่อว่า มูลนิธิ โครงการหลวง โดยมี หม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี เป็นประธานมูลนิธิฯ ซึ่งมี
วัตถุประสงค์ในการอนุรักษ์ต้นน้าลาธารของพื้นที่ทาง ภาคเหนือของประเทศ หยุดยั้งการปลูกฝิ่งของ
ชาวไทยภูเขา โดยหาพืชอื่นทดแทนให้ปลูกและช่วยยกระดับการครองชีพ ตลอดจนความ เป็นอยู่
ของชาวไทยภูเขาให้ดีขึ้น ดังนั้นโครงการวิจัยสตรอเบอร์รี่จึงเป็นอีกโครงการหนึ่งโดยเริ่มดาเนินการ
ในระหว่างปี พ.ศ. 2517- 2522 โดยมีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เป็นผู้รับผิดชอบโครงการและได้รับ
ทุนวิจัยจากทางฝ่ายงานวิจัยกระทรวงเกษตร ประเทศ สหรัฐอเมริกา (Agricultural Research
Service ของ USDA) ระหว่างการวิจัยนี้ได้มีการนาสตรอเบอร์รี่พันธุ์ต่าง ๆ เข้ามามากมาย เพื่อ
ทดลองปลูกตามสถานีทดลองเกษตรที่มีระดับความสูงที่ต่างกัน รวมทั้งศึกษาเรื่องของโรคแมลงการ
จัดการหลังการเก็บเกี่ยว การบรรจุหีบห่อ และตลอดจนทางด้านของการตลาด
ผลของความสาเร็จและข้อมูลที่ได้มาจากโครงการวิจัยสตรอเบอร์รี่นี้ได้นาไปใช้ในงานส่งเสริม ให้แก่
ชาวไทยภูเขา รวมทั้งเกษตรกร พื้นราบในจังหวัดเชียงใหม่และเชียงราย ทาให้มีรายได้จากการ
จาหน่ายผลผลิตสตรอเบอร์รี่และต้นไหลด้วย ปัจจุบันสตรอเบอร์รี่จึงถูกจัด เป็นพืชเศรษฐกิจพืชหนึ่ง
ที่ทารายได้ค่อนข้างดี และให้ผลตอบแทนที่รวดเร็วแก่เกษตรกรผู้ปลูกในทั้งสองจังหวัดนี้
7
พันธุ์
ตั้งแต่ พ.ศ. 2512 จนถึง พ.ศ. 2541 ได้มีการนาสตรอเบอร์รี่พันธุ์ต่าง ๆ จากต่างประเทศเข้า
มาทดลองปลูกมากมาย จากปี พ.ศ. 2515 ปรากฏว่าพันธุ์ Cambridge Favorite, Tioga และ
Sequoia (โดยรู้จักกันในนามพันธุ์พระราชทานเบอร์ 13, 16 และ 20 ตามลาดับ) ได้ถูกพิจารณาว่า
สามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมในจังหวัดเชียงใหม่และเชียงรายมากกว่าพันธุ์อื่น ๆ ต่อมา
พบว่า พันธุ์ Tioga สามารถปรับตัวได้ดีทั้งพื้นที่ปลูกบนภูเขาสูงระดับ 1,200 เมตรและพื้นที่ราบของ
ทั้งสองจังหวัด เกษตรกรขณะนั้นเกือบ ทั้งหมดใช้พันธุ์นี้ปลูกเป็นการค้ากันทั่วไปโดยไม่มีพันธุ์อื่นมา
แทนที่ พ.ศ. 2528 ได้มีการนาพันธุ์ Akio Pajaro และ Douglas จากอเมริกาทดลองปลูกในสถานี
โครงการหลวงที่ดอยอินทนนท์ แต่ก็ไม่ประสบผลสาเร็จ ต่อมาอีกหนึ่งปีได้มีการนาพันธุ์ Nyoho
Toyonoka และ Aiberry จากประเทศญี่ปุ่นเข้ามาทดลองปลูก ผลปรากฏว่าสองพันธุ์แรกสามารถ
ปรับตัวได้ดีบนพื้นที่สูง หลังจากนั้น มาเริ่มมีผู้นาพันธุ์อื่น ๆ เข้ามาปลูกทดสอบมากมาย จนกระทั่งมี
การตั้งพันธุ์ Toyonoka เป็นพันธุ์พระราชทาน 70 (ซึ่งตรงกับปี พ.ศ. 2540 ที่พระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยู่หัวฯ ทรงมีพระชนมพรรษาครบ 70 พรรษา) และพันธุ์ B5 เป็นพันธุ์พระราชทาน 50 ปี (ปี
พ.ศ. 2539 ซึ่งเป็นปีฉลองศิริราชสมบัติครบ 50 ปี) ปัจจุบันพันธุ์สตรอเบอร์รี่ที่นับว่าปลูกเป็นการค้า
ส่วนใหญ่ของประเทศได้แก่ พันธุ์พระราชทาน 16, 20, 50 และ 70 นอกจากนี้ยังมีพันธุ์ Nyoho,
Dover และ Selva บ้าง ในบางพื้นที่
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2535 จนถึงขณะนี้ทางศูนย์ค้นคว้าและพัฒนาระบบเกษตรในเขตที่สูง และ
สถานีวิจัยดอยปุยของสานักงานโครงการ จัดตั้งสถาบันค้นคว้าและพัฒนาระบบเกษตรในเขตวิกฤต
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ก็กาลังดาเนินการวิจัยศึกษาหาข้อมูลของ สตรอเบอรี่เพิ่มเติมมาโดย
ตลอด รวมทั้งเทคนิควิธีการปลูกและการดูแลแบบสมัยใหม่เหมือนในต่างประเทศที่ผลิตเป็น
อุตสาหกรรม การค้า โดยจะนาผลงานที่ได้เหล่านี้ทาการส่งเสริมเผยแพร่หรือจัดฝึกอบรมให้
เกษตรกรผู้ปลูกในพื้นที่ต่าง ๆ ต่อไป
8
3.การปลูกสตรอเบอร์รี่แบบไฮโดรโปนิกส์
สตรอเบอร์รี่ (Strawberry) เป็นพืชในวงศ์กุหลาบ มีผลสุก ที่สามารถรับประทานได้ ในอดีต
มีการปลูกไว้เป็นพืชคลุมดินให้กับต้นไม้ชนิดอื่นๆ สตรอเบอรี่ในโลกนี้มีมากกว่า 20 สปีชีส์ และมี
ลูกผสมมากมาย แต่สตรอว์เบอร์รีที่นิยมปลูกมากในปัจจุบันก็คือสตรอว์เบอร์รีสวน (Fragaria ×
ananassa) ผลของสตรอว์เบอร์รีมีรสชาติหลากหลายขึ้นอยู่กับสายพันธุ์ มีตั้งแต่รสหวานจนถึง
เปรี้ยว
สตรอเบอร์รี่ เป็นพืชล้มลุก แตกกิ่งก้านแผ่ปกคลุมดิน ใบจะรวมกันอยู่ 3 ใบใน 1 ก้าน ขอบ
ใบมีรอยหยัก มีดอกสีขาว สีเหลือง หรือชมพูแล้วแต่สายพันธุ์ ผลมีก้านยาวเชื่อมกับต้น มีกลีบ
เลี้ยงบนขั้วของผล เมื่อผลอ่อนจะมีสีขาว เหลืองนวล เมื่อสุกจะเป็นสีชมพู หรือแดง รสชาดเปรี้ยวถึง
หวาน
สายพันธุ์ที่นิยมปลูกในประเทศไทย
 พันธุ์พระราชทาน 16
 พันธุ์พระราชทาน 20
 พันธุ์พระราชทาน 50 (เป็นพันธุ์ที่มูลนิธิโครงการหลวงส่งเสริมให้ปลูก) เป็นพันธุ์ที่เกิดจาก
การผสมในประเทศสหรัฐอเมริกา และนาเข้ามาคัดเลือกโดยการผสมตัวเองตั้งแต่ปี พ.ศ. 2536
เจริญเติบโตและให้ผลผลิตได้ดีในสภาพอากาศเย็นปานกลาง ทรงพุ่มปานกลางถึงค่อนข้างแน่น
ผลผลิตมีคุณภาพดีโดยเฉพาะใกล้สุกเต็มที่ น้าหนักต่อผล 12 -18 กรัม รูปร่างเป็นลิ่มสีแดงถึงสีแดง
เข้มค่อนข้างแข็ง ไม่ต้านทานต่อไร แต่ต้านทานราแป้งได้ดี
 พันธุ์พระราชทาน 70 (เป็นพันธุ์ที่มูลนิธิโครงการหลวงส่งเสริมให้ปลูก) เป็นสายพันธุ์จาก
ประเทศญี่ปุ่น ใบมีลักษณะกลมใหญ่ และสีเขียวเข้มไม่ทนต่อราแป้ง แต่ทนต่อโรคเหี่ยว ให้ผลผลิต
ค่อนข้างสูง น้าหนักต่อผล 11.5 - 13.0 กรัม ผลมีลักษณะทรงกลมหรือทรงกรวย สีแดงสดใสแต่ไม่
สม่าเสมอ เนื้อและผลค่อนข้างแข็ง มีกลิ่นหอม มีความฉ่าและรสชาติหวาน เปอร์เซ็นต์ความหวาน
9.6° Brix
 พันธุ์พระราชทาน 72 (เป็นพันธุ์ที่มูลนิธิโครงการหลวงส่งเสริมให้ปลูก) เป็นสายพันธุ์นาเข้า
มาจากประเทศญี่ปุ่น ชื่อพันธุ์ TOCHIOTOME ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542 น้าหนักต่อผล 14 กรัม เนื้อผล
แข็งกว่าพันธุ์พระราชทาน 70 แต่มีความหวานน้อยกว่าคือ 9.3° Brix มีกลิ่นหอมเมื่อเริ่มสุก เนื้อ
ภายในผลมีสีขาว ผิวผลเมื่อสุกเต็มที่จะมีสีแดงถึงแดงจัด เงาเป็นมันที่ผิวผล ทนต่อการขนส่ง
มากกว่าพันธุ์อื่น
 พันธุ์พระราชทาน 80 (เป็นพันธุ์ที่มูลนิธิโครงการหลวงส่งเสริมให้ปลูก ตั้งแต่ปีพ พ.ศ. 2552
เป็นต้นมา) เป็นสายพันธุ์ที่มาจากประเทศญี่ปุ่น ชื่อพันธุ์ Royal Queen ซึ่งมีลักษณะเด่นคือก้านใบ
9
และลาต้นจะมีสีแดงสด ผมมีลักษณะเป็นรูปทรงกรวยสวยงาม ผลมีขนาดปานกลางน้าหนักเฉลี่ย 15
กรัม ผลมีกลิ่นหอม รสหวานฉ่า อีกทั้งยังมีความต้านทานต่อโรคและแมลงได้เป็นอย่่างดี
 พันธุ์ 329 (Yale) เป็นพันธุ์ที่กรมส่งเสริมการเกษตรส่งเสริมให้กับเกษตรกรปลูก เป็นพันธุ์ที่
นาเข้ามาจากประเทศอิสราเอล ผลมีขนาดใหญ่กว่าพันธุ์ 80 รูปร่างแบน เนื้อแข็งรสหวานอมเปรี้ยว
ทนต่อการขนส่งได้ดี
สตรอเบอรี่ พันธุ์ 80 (Royal Queen)
การขยายพันธุ์สตรอเบอร์รี่ ทาได้หลายวิธี เช่น
1. การใช้ไหล ขยายต้นไหลจากต้นแม่พันธุ์
2. การแยกต้น หรือแยกกอจากต้นหลัก
3. การใช้เมล็ด ใช้ในกรณีที่มีการผสมพันธุ์เพื่อให้ได้พันธุ์ใหม่เกิดขึ้น
4. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ เป็นการผลิตเพื่อให้ได้ต้นพันธุ์ที่ปลอดโรคและมีความสมบูรณ์ที่สุด
ช่วงที่เหมาะสมต่อการปลูก
การปลูกสตรอเบอร์รี่สามารถปลูกได้ตลอดทั้งปลูก แต่การปลูกเพื่อเก็บเกี่ยวผลนั้นผู้ปลูกต้องเลือก
เวลาในการปลูกเพื่อให้ทันต่อปัจจัยในการสร้างตาดอกของสตรอเบอร์รี่ คือช่วงฤดูหนาว ที่มีช่วงแสง
ต่อวันสั้น และมีอุณหภูมิต่า โดยระยะเวลาที่เหมาะสมในการปลูกคือ
ช่วงเดือนกรกฎาคม - สิงหาคม สาหรับการใช้เมล็ด
ช่วงเดือนกันยายน - เดือนตุลาคม สาหรับการใช้ ต้นไหลมาปลูก
10
*สาหรับการปลูกในช่วงเวลาอื่นเป็นการปลูกพืชสร้างต้นแม่พันธุ์เพื่อผลิตไหลในการปลูกรุ่นต่อไป
ระยะห่างในการปลูกและระยะห่างระหว่างต้น 25 - 30 เซนติเมตร และ ระยะปลูกระหว่างแถว 30 -
40 เซนติเมตร
วิธีการปลูกแบบไร้ดิน (ปลูกในวัสดุปลูก)
1. วัสดุปลูกที่นิยมใช้
แบบที่ 1. ทรายหยาบ 1 ส่วน + แกลบดิบ 2 ส่วน (สูตรฟาร์มในประเทศไทย)
แบบที่ 2. เพอร์ไลท์ 3 ส่วน + ขุยมะพร้าวละเอียด 7 ส่วน (สูตรฟาร์มใน USA)
แบบที่ 3. พีทมอส 1 ส่วน + ขุยมะพร้าว 3 ส่วน (สูตรฟาร์มในประเทศมาเลเซีย)
แบบที่ 4. พีทมอส 2 ส่วน + เพอร์ไลท์ 1 ส่วน + เปลือกสน 1 ส่วน (สูตรฟาร์มในประเทศอิสราเอล)
* ไม่ควรกลบวัสดุปลูกต้นสตรอเบอร์รี่ลึกเกินไป เพราะจะทาให้เชื้อโรคเข้าทาลายต้นสตรอเบอร์รี่ได้
ง่าย หรือตื้นเกินไปเพราะทาให้รากแห้งและมีผลต่อการเจริญเติบโตของต้นสตรอเบอร์รี่ได้ ควรกลบ
วัสดุปลูกในระดับเดียวกับภาพที่แสดงไว้ด้านบน
2. หลังย้ายปลูกสัปดาห์แรกไม่ควรให้ปุ๋ยเคมี เนื่องจากจะทาให้รากพืชปรับตัวไม่ทันและตาย
ได้ ควรเริ่มให้เมื่อผ่านไปแล้วประมาณ 7 - 10 วัน
3. การให้น้าควรดูวัสดุปลูกเป็นหลัก โดยให้มีความชื้นสม่าเสมอ อย่าให้แฉะหรือแห้งเกินไป
4. ในช่วงที่ปลูกเพื่อต้องการเก็บผล เมื่อต้นสตรอเบอร์รี่สร้างไหลออกมาให้ตัดไหลทิ้งเพื่อ
บังคับให้ต้นสตรอเบอร์รี่สร้างตาดอกและเป็นการรักษาพลังงานของต้นเพื่อไว้เลี้ยงผลอีกด้วย
11
5. เมื่อต้นสตรอเบอร์รี่ เริ่มสมบูรณ์จะสร้างหน่อขึ้นมาข้างลาต้น ให้ผู้ปลูกไว้หน่อนั้น
ประมาณ 6 - 8 หน่อต่อ 1 ต้น ที่เหลือให้ตัดหรือขุดออกไปปลูกต่อเพื่อไม่ให้กอนั้นแน่นเกินไปจน
กระทบต่อการเจริญเติบโตได้
6. หากเป็นการใช้ระบบน้าหยดให้ตั้งเวลาการให้น้าออกเป็น 4 ช่วง คือ เช้า - สาย - บ่าย -
เย็น
7. ช่วงสัปดาห์แรก ของการนาไหลลงปลูกต้องให้น้าค่อนข้างบ่อยในวันหนึ่งอาจจะต้องให้น้า
อย่างน้อย 3 - 4 ครั้งต่อวันโดยสังเกตุที่ตัววัสดุปลูกอย่าให้แห้งหรือแฉะเกินไป และให้นากระถางไว้
กลางแจ้งที่มีแดด ห้ามนาไปไว้ในที่ร่มไม่โดนแดดเพราะจะทาให้รากเน่าได้ ช่วงสัปดาห์แรกนี้ห้ามใส่
ปุ๋ยเคมีเด็ดขาดเพราะรากสตรอเบอรี่ยังอ่อนและกาลังปรับตัวอยู่ และระวังเรื่องน้าที่นามารดด้วยควร
หลีกเลี่ยง การใช้น้าที่มีครอรีนสูง เช่นน้าประปา ทาการเด็ดกาบใบล่างของต้นไหลสตรอเบอรี่ออก
ให้เลือใบประมาณ 2-3 ใบ วิธีการเด็ดใบล่างออก จะทาให้สตรอเบอรี่แตกยอดใหม่ได้เร็วและ
เจริญเติบโตได้เร็วขึ้น
8. หลัง 1 สัปดาห์หลังย้ายปลูกเมื่อสตรอเบอรี่เริ่มมียอดให้ขึ้นมาให้เราเริ่มให้ปุ๋ย A,B ใน
อัตราส่วน 1 - 2 ซีซี/น้า 1 ลิตร หรือมี ค่า EC อยู่ที่ประมาณ 1.3 - 1.6 ms/cmรดหรือให้กับระบบ
น้าหยด สัปดาห์ละ 2 - 3 ครั้ง ช่วงนี้อยู่ที่ 6.0 - 6.3 พร้อมกับคอยตัดแต่งใบล่างที่แห้งออกด้วย หาก
ช่วงนี้ต้นสร้างไหลออกมาแต่เราต้องการ ปลูกเพื่อเก็บผลให้เราตัดสายไหลดังกล่าวออกไปด้วย
เพื่อให้อาหารไปเลี้ยงต้นหลักได้อย่างเต็มที่
9. หลังครบ 2 สัปดาห์ให้เราเพิ่มปุ๋ย A,B อัตราส่วน 3 - 4 ซีซี/น้า 1 ลิตร และมีการเสริมปุ๋ย
C อัตราส่วน 2 ซีซี/น้า 1 ลิตร สัปดาห์ละ 1 - 2 ครั้ง หรือมีค่า EC อยู่ที่ประมาณ 1.8 - 2.2
ms/cm ค่า pH ช่วงนี้อยู่ที่ 6.3 - 6.5 และทาการเด็บกาบใบล่างที่เหลืองหรือที่ไม่ได้รับการ
สังเคราะห์แสงออก
10. เมื่อปลูกไปได้ประมาณ 40 - 60 วันหากต้นมีความสมบูรณ์ และได้รับอากาศเย็นในช่วง
กลางคืน อุณหภูมิประมาณ 12 - 17 องศา C เป็นช่วงอุณหภูมิที่สตรอเบอรี่จะมีความสมบูรณ์ใน
การสร้างตาดอก และเมื่อดอกได้รับการผสมเกสรก็จะมีการติดผลต่อไป รวมระยะเวลาเฉลี่ยในการ
ปลูกตั้งแต่ จนเก็บเกี่ยวประมาณ 50 - 60 วันหลังย้ายปลูก ในช่วงที่สตรอเบอรี่เริ่มติดดอกให้เราจะ
ใช้ A,B 3 - 4 ซีซีต่อน้า 1 ลิตร ค่า EC อยู่ที่ประมาณ 1.8 - 2.2 ms/cm และเสริมปุ๋ย C ลงไปในน้า
ที่ใช้รด ในอัตราส่วน 1 ซีซี/น้า 1 ลิตร และช่วงที่ ติดผลนี้ให้เสริมด้วยปุ๋ย K ในอัตราส่วน 3 ซีซี/น้า
1 ลิตรให้ไปพร้อมกับน้าที่ใช้รด สัปดาห์ละ 2 - 3 ครั้ง ค่า pH ในช่วงนี้อยู่ที่ 6.5 - 6.8
12
3
หมายเหตุเพิ่มเติม
1. สตรอบเบอรี่เป็นพืชที่ระบบรากตื้น การให้น้าควรให้อย่างสม่าเสมอต่อวัน โดยให้ไม่มาก
แต่ให้บ่อยๆ เพื่อให้รากได้รับความชื้นอย่างเหมาะสม หากมากไปจะทาให้รากเน่า ถ้าน้อยไปจะทาให้
ต้นหยุดการเจริญเติบโต
2. ศัตรูพืชสาหรับสตรอเบอรี่ได้แก่ เพลี้ยอ่อน, ไรแดง, เพลี้ยไฟ, หนอนกระทู้, ทาก ฯลฯ ให้
เลือกใช้สารสกัดจากธรรมดชาติในการป้องกัน
3. โรคที่เกิดกับสตรอเบอรี่ได้แก่โรค แอนแทรคโนส, โรคใบจุด, โรครากเน่า, โรคที่เกิดจาก
เชื้อไวรัส ที่มีพาหะมาจากเพลี้ยไฟ หรือเพลี้ยอ่อน
4. กรณีต้นสตรอเบอรี่แตกกอ ออกมาเพิ่มให้ตัดกออกให้เหลือแค่ 3 - 5 กอต่อต้นพอ
5. อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของสตรอเบอรี่คือ ช่วงกลางวัน 25 องศา C และ
ช่วงกลางคืน 18 องศา C
6. การสร้างตาดอก อุณหภูมิต่ากว่า 24 องศา C อุณหภูมิที่เหมาะสมที่สุดคือ 12 องศา c ใน
ด้านช่วงแสงที่น้อยกว่า 10 ชั่วโมงต่อวัน จะเป็นปัจจัยในการกระตุ้นการพัฒนาตาดอก ช่วงแสงที่
เหมาะสมที่สตรอเบอรี่ควรได้รับคือ 8 ชั่วโมงต่อวัน การปลูกในเขตร้อน เราสามารถสร้างปัจจัย
ดังกล่าวได้โดยช่วงกลางคือ นาต้นสตรอเบอรี่มาวางไว้ในที่มีอุณปภูมิต่ากว่า 18 องศา เป็น
ระยะเวลาติดต่อกัน 2 สัปดาห์ สตรอเบอรี่ก็จะสร้างตาดอกออกมาได้เช่นกัน
โรค แมลง และศัตรูพืชสาหรับสตรอเบอร์รี่
1.โรคที่เกิดจากเชื้อไวรัส
จะแสดงอาการใบหงิก ย่น หรือมีอาการใบด่าง ใบผิดรูปร่าง ใบม้วนขึ้น ต้นเตี้ย แคระแกรน
ข้อสั้น ทรงพุ่มมีใบแน่นขนาดใบเล็กกว่าปกติ ต้นพืชอ่อนแอ ชะงักการเจริญเติบโตและทาให้ผลผลิต
ลดลง พบว่าแมลงพวกปากดูด ได้แก่ เพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟ และไส้เดือนฝอยบางชนิดเป็นพาหะของ
โรค โรคนี้เมื่อเกิดแล้ว ไม่สามารถรักษาให้หายได้ นอกจากการป้องกันโดยคัดเลือกกล้าที่ไม่เป็นโรค
ซึ่งเกิดจากต้นแม่พันธุ์ที่ได้จากวิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อมาปลูก ทาการอบดินเพื่อทาลายไส้เดือนฝอย
ที่เป็นพาหะของโรคไวรัส กาจัดแมลงพวกเพลี้ยไฟ เพลี้ยอ่อน ซึ่งเป็นพาหะของโรค เมื่อพบว่ามีต้น
ที่แสดงอาการผิดปกติดังกล่าวให้ขุดออกไปเผาทาลายทันที และการบารุงพืชให้แข็งแรงอยู่เสมอจะ
ช่วยต้านทานเชื้อโรคได้
การป้องกันกาจัดแมลงพาหะของเชื้อไวรัส
* ใช้สารสกัดสะเดา ฉีดพ่นเพื่อขับไล่และยับยั้งการกินอาหาร การเจริญเติบโตของแมลง ได้แก่ เพลี้ย
อ่อน เพลี้ยไฟ
13
* ใช้กับดักกาวเหนียวสีเหลือง วิธีการนี้สามารถดักจับตัวเต็มวัยของแมลงศัตรูพืช เช่น เพลี้ยไฟ
ผีเสื้อต่างๆที่เป็นตัวแก่ของศัตรูพืช ทาให้ลดปริมาณศัตรูพืชลงได้ การวางกับดักกาวเหนียวสีเหลือง
ควรวางให้อยู่ระดับสูงเหนือยอดต้นสตรอเบอรี่ประมาณ 1 ฟุต ในฤดูหนาวซึ่งมีการระบาดของแมลง
น้อย อาจวางกับดัก 15 - 20 กับดัก/ไร่ แต่ในฤดูร้อนและฤดูฝน ซึ่งจะมีการระบาดของแมลง
ศัตรูพืช ควรวางกับดัก 60 - 80 กับดัก/ไร่
2. โรคแอนแทรคโนส (โรคกอเน่า)
เกิดจากเชื้อราคอลเล็คโตตริคัม จะแสดงอาการเริ่มจากแผลเล็กๆ สีม่วงแดงบนไหล แล้ว
ลุกลามไปตลอดความยาวของสายไหล แผลที่ขยายยาวมากขึ้นจะเปลี่ยนเป็นสีน้าตาล รอบนอกของ
แผลเป็นสีเหลืองอมชมพูซีด แผลที่แห้งเป็นสีน้าตาลทาให้เกิดรอยคอดของไหลบริเวณที่เป็นแผล ต้น
ไหลอาจจะยังไม่ตาย แต่เมื่อย้ายต้นไหลที่มีการติดเชื้อลงมาปลูกบริเวณพื้นราบ หากสภาพอากาศ
เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของเขื้อ(อากาศร้อนชื้น) สตรอเบอรี่จะแสดงอาการใบเฉาและต่อมาจะ
เหี่ยวอย่างรวดเร็ว พบว่าเนื้อเยื่อส่วนกอด้านในมีลักษณะเน่าแห้ง มีสีน้าตาลแดง หรือบางส่วนเป็น
แผลขีดสีน้าตาลแดง และต้นจะตายในที่สุด โรคนี้สามารถเกิดที่ผลสตรอเบอรี่ได้ด้วย พบอาการเป็น
แผลลักษณะวงรี สีน้าตาลเข้ม แผลบุ๋มลึกลงไปในผิวผล เมื่ออากาศชื้นสามารถมองเห็นหยดสีส้ม ซึ่ง
เป็นกลุ่มของสปอร์ขยายพันธุ์ของเชื่อราอยู่ในบริเวณแผล
การป้องกันและกาจัดโรค
ในฤดูกาลผลิตผลสตรอเบอรี่ในช่วงเดือนตุลาคมถึงเดือนเมษายน ควรวางแผนจัดการในการผลิต
ต้นไหลให้ปราศจากเชื้อโรคทั้งที่เป็นอาการแบบต่างๆของโรคแอนแทรคโนสที่ปรากฎให้เห็น ได้แก่
อาการโรคใบจุดดา, ขอบใบไหม้, แผลบนก้านใบ และแผลบนสายไหลตลอดจนต้นไหลที่มีการติดเชื้อ
แบบแฝง โดยที่ต้นไหลยังแสดงอาการปกติ แต่จะตายเมื่อมรการย้ายลงมาปลูกบริเวณพื้นที่ราบ ใน
สภาพอากาศเหมาะสมกับการเจริญของเชื้อ
3.โรคใบจุด
โรคนี้จะปรากฎกับต้นแม่และต้นกล้า พบอาการระบาดรุนแรงในแปลงที่ปลูกกันมานาน การ
ควบคุมโรคไม่ดีพอ แปลงที่มีวัชพืชมาก อาการเริ่มแรกจะเห็นแผลขนาดเล็กสีม่วงแก่บนใบ ต่อมา
แผลขยายขนาด รอบแผลสีม่วงแดง กลางแผลสีน้าตาลอ่อนถึงขาวหรือเทา แผลค่อนข้างกลมคล้าย
ตานก สีอาจเปลี่ยนไปบ้างแล้วแต่ความรุนแรงของโรคและการตอบสนองของพืช อาการอาจปรากฎ
บนก้านใบ หรือบางครั้งพบอาการที่ผลด้วย
14
การป้องกันกาจัดโรค
ถ้าพบอาการของโรคที่ใบให้เด็ดใบที่เป็นโรคออกแล้วนาไปเผาทาลาย อย่าทิ้งไว้บริเวณแปลงปลูก
เพราะจะทาให้เป็นแหล่งสะสมของโรคต่อไป บารุงพืชให้แข็งแรงในระยะปลูกเพื่อผลิตไหล อย่า
ปล่อยให้วัชพืชขึ้นรก
เพราะวัชพืชเป็นแหล่งอาศัยของโรค ควรดูแลความสะอาดของแปลงอยู่เสมอ โดยเฉพาะช่วงฤดูฝน
4. โรคเหี่ยว
เป็นผลมาจากอาการรากเน่าโคนเน่า ซึ่งเกิดจากเชื้อราไฟทอปทอร่า จะพบการตายของราก
โดยเริ่มจากปลายรากแล้วลุกลามต่อไปรากแขนงจะเน่าบริเวณท่อน้าท่ออาหารเป็นสีแดง อาการเน่า
สามารถลามขึ้นไปจนถึงโคนต้น ถ้าหากอาการไม่รุนแรงพืชจะแสดงอาการเพียงแคระแกรน แต่ถ้า
อาการรุนแรงจะเหี่ยวทั้งต้น ใบเป็นสีเหลืองจนถึงสีแดง และทาให้พืชตายได้ภายใน 2 - 3วัน เมื่อ
ถอนต้นดูพบว่าก้านใบจะหลุดออกจากกอได้ง่าย ท่อลาเลียงภายในรากถูกทาลายจนเน่าทั้งหมด
ศัตรูที่สาคัญของ สตรอเบอรี่
1. ไรสองจุด
เป็นศัตรูที่สาคัญของการผลิตผลสตรอเบอรี่ ไรจะดูดน้าเลี้ยงจากใบสตรอเบอรี่โดยเฉพาะ
บริเวณใต้ใบ ทาให้ผิวใบบริเวณที่ไรดูดทาลายมีลักษณะกร้าน ใต้ใบเปลี่ยนเป็นสีน้าตาลแดง ผิวใบ
ด้านบนจะเห็นเป็นจุดด่างขาวเล็กๆ กระจายอยู่ทั่วไป เมื่อการทาลายรุนแรงขึ้น จุดด่างขาวเล็กๆ
เหล่านี้จะค่อยๆแผ่ขยายติดต่อกันไปเป็นบริเวณกว้าง จนทาให้ทั่วทั้งใบมีลักษณะเหลืองซีด ใบร่วง
เป็นผลทาให้สตรอเบอรี่ชงักการเจริญเติบโต ต้นแคระแกรน ให้ผลผลิตน้อยลง พบระบาดมากใน
สภาพอากาศแห้งความชื้นต่า
การป้องกันและกาจัดไรสองจุด
1. การให้น้าแบบใช้สปริงเกอร์จะช่วยลดประชากรไรได้ เพราะจะเป็นการชะล้างไรให้หลุด
จากใบพืช ชะล้างฝุ่นละอองที่ไรชอบหลบอาศัยอยู่
2. หมั่นทาความสะอาดแปลง ไม่ให้มีวัชพืชขึ้นในแปลงปลูก
3. ไม่ควรปลูกพืชผักโดยเฉพาะ เช่น กระเทียม, ขึ้นฉ่าย แซมในแถวปลูกสตรอเบอรี่ เพราะ
เป็นการเพิ่มพืชอาศัยให้ไรสองจุด
15
2. หนอนด้วงขาว
เป็นหนอนของด้วงปีกแข็ง ตัวสีขาว ปากมีลักษณะปากกัด สีน้าตาลอ่อน เจริญเติบโตจากไข่
ที่อยู่ใต้ดิน จะเริ่มกัดกินรากสตรอเบอรี่ในช่วงปลายฤดูฝน ทาให้รากไม่สามารถดูดน้าได้ เมื่อใบคาย
น้าจึงทาให้ใบเหี่ยว รูใบปิด ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ไม่สามารถฟุ้งกระจายเข้าสู่ใบ การสังเคราะห์
แสงจะลดลง ทาให้ต้นสตรอเบอรี่อ่อนแอ ชงักการเจริญเติบโต เมื่อพบอาการดังกล่าวให้ขุดหาหนอน
แล้วทาลาย ในการเตรียมแปลงให้ย่อยดินให้ละเอียด โดยเฉพาะพื้นที่เปิดใหม่ใกล้ป่าหรือใกล้กองปุ๋ย
หมัก ใช้สารเคมีประเภทคลอร์ไพริฟอสราดบริเวณที่พบ สารเคมีดังกล่าวเป็นสารเคมีกาจัดแมลง
ประเภทสัมผัสและกินตาย มีพิษตกค้าง 20 - 25 วันในดิน
3. เพลี้ยอ่อน
เป็นแมลงปากดูด จะดูดน้าเลี้ยงของใบ ก้านใบ ด้านท้ายลาตัวเพลี้ยอ่อนมีท่อยื่นออกมา 2
ท่อใช้ปล่อยสารน้าหวานเป็นอาหารของเชื้อรา ทาให้พืชสกปรกเกิดราดา พืชสังเคราะแสงได้ลดลง
ทาให้ชงักการเจริญเติบโต ใบหงิกย่น เพลี้ยอ่อนจะอยู่รวมกันเป็นกลุ่มตามส่วนยอดช่อดอกและ
ขยายพันธุ์อย่างรวดเร็ว
* นอกจากศัตรูดังกล่าวแล้ว ยังพบว่าทากและหนูเป็นศัตรูสาคัญที่เข้าทาลายผลสตรอเบอรี่ได้
การติดดอก, ออกผล และ การเก็บเกี่ยว
ต้นสตรอเบอรี่จะเริ่มแทงช่อดอกประมาณเดือนพฤศจิกายน เมื่ออุณหภูมิลดต่าลงและช่วง
แสงของวันสั้นเข้า คือ ประมาณหนึ่งเดือนหลังจากปลูก เมื่อดอกบานมีการผสมเกสรแล้วประมาณ
หนึ่งเดือน ผลจะเริ่มทยอยแก่พร้อมที่จะเก็บเกี่ยวได้ โดยผลสุกมากที่สุดในช่วงเดือนมีนาคมและจะ
วายประมาณปลายเดือนเมษายน
สตรอเบอรี่นอกจากเป็นอาหารแล้วยังใช้เป็นสมุนไพรได้ เนื่องจากผลสตรอเบอรี่อุดมด้วย
วิตามินซีและธาตุเหล็ก มีคุณประโยชน์ต่อระบบเลือดและหัวใจ ลูกสีแดงสดอุดมด้วยซูเปอร์ไฟเบอร์
เพคติน ซึ่งสามารถช่วยลดปริมาณโคเลสเตอรอลได้ระดับหนึ่ง นอกจากนั้นยังช่วยให้ระบบทางเดิน
อาหารทางานได้สะดวก มีสรรพคุณเป็นยาระบายอย่างอ่อน ยาขับปัสสาวะและสามารถยับยั้งสารก่อ
มะเร็งกลุ่มไนโตรซามึนได้ (สารกลุ่มนี้กระตุ้นการเกิดมะเร็งในลาไส้) เนื่องจากมีโพลีฟินอลปริมาณสูง
สาหรับการปลูกสตรอเบอร์รี่แบบรากแช่ในสารละลาย
การปลูกสตรอเบอร์รี่แบบรากแช่ในสารละลายนั้นไม่สามารถนาเอาต้นไหลที่ได้จากการปลูก
บนดินหรือวัสดุปลูกอื่นๆมาปลูกได้ เนื่องจากระบบรากของพืชที่ปลูกแบบรากแช่กับการปลูกในวัสดุ
ปลูกต่างกันถ้านาเอาต้นที่ปลูกแบบวัสดุปลูกมาก่อนมาย้ายลงปลูกแบบรากแช่ในสารละลายส่วน
ใหญ่ต้นเกล้านั้นจะตาย ดังนั้นก่อนปลูกสตรอเบอร์รี่แบบรากแช่ในสารละลายนั้นผู้ปลูกต้องมีการ
เตรียมต้นเกล้าสาหรับการปลูกแบบนี้ก่อน โดยสามารถทาได้ 2 วิธีคือ
16
1. การเตรียมต้นเกล้าที่ได้จากไหลต้นพันธุ์
ต้นสตรอเบอร์รี่ที่สมบูรณ์จะมีการสร้างไหลออกมาจากต้นหลักโดยมีสายเป็นตัวเชื่อมเพื่อลาเลียงน้า
และอาหาร ในขณะที่ต้นไหลยังมีระบบรากไม่สมบูรณ์พอที่จะหาน้าและอาหารมาเลี้ยงตัวเองได้ เมื่อ
ผู้ปลูกเพิ่มเห็นต้นหลักสร้างสายและไหลยื่นออกมาจากต้นหลักแล้วให้ผู้ปลูกเตรียมสร้างต้นเกล้าเพื่อ
ใช้ในการปลูกแบบรากแช่ดังนี้
1.1 ให้ใช้ฟองน้า หุ้มบริเวณตุ่มรากของต้นไหลและใช้ภาชนะรองน้าไว้แล้วนาฟองน้านั้นไป
จุ่มลงน้าโดยให้น้าท่วมประมาณ 1/2 ของก้อนฟองน้าก็พอ
1.2 ประมาณ 2 สัปดาห์หลังจากกระตุ้นการเกิดรากที่ไหลแล้วต้นสตรอเบอร์รี่จะมีระบบรากที่
สามารถปลูกแบบรากแช่ในสารละลายได้อย่างสมบูรณ์
1.3 การตัดไหล ก่อนตัดไหลผู้ปลูกต้องสังเกตุที่รากของต้นไหลว่ามีมากพอที่จะสามารถย้าย
ปลูกได้หรือไม่โดยดูที่ความสมบูรณ์ของใบของต้นไหลเป็นหลักก็ได้มีมีมากกว่า 3 ก้านหรือยัง การ
ตัดไหลให้ตัดบริเวณตรงกลางของสาย ห้ามตัดชิดด้านใดด้านหนึ่ง เนื่องจากการตัดชิดด้านในด้าน
หนึ่งจะทาให้ต้นสตรอเบอร์รี่เกิดแผลและเชื้อโรคจะเข้าทาลายได้ง่าย
1.4 ให้นาต้นไหลที่ทาการตัดแล้วย้ายลงปลูกในแปลงปลูกได้ โดยช่วงแรกให้ใช้ EC ประมาณ
1.2 - 1.4
1.5 เมื่อปลูกได้ประมาณ 2 สัปดาห์ให้เปลี่ยนน้าในระบบใหม่ และปรับ EC เป็น 1.5 - 1.7
1.6 เมื่อปลูกได้ประมาณ 2 สัปดาห์ให้เปลี่ยนน้าในระบบใหม่ และปรับ EC เป็น 1.7 - 2.0
และให้เลี้ยงด้วย EC ในระดับนี้ไปตลอด และให้ปุ๋ย C เสริม โดยฉีดพ่น 2 - 3 ครั้งต่อสัปดาห์ ใน
17
ระหว่างนี้ถ้าต้องการปลูกเพื่อเก็บผลก็ให้ตัดไหลที่งอกออกมาทิ้งให้หมด เพื่อให้ต้นสะสมอาหารและมี
ความสมบูรณ์พร้อมที่จะออกดอก
1.7 เมื่อสตรอเบอรี่ เริ่มติดผลได้ประมาณ 1 สัปดาห์ ให้เสริมปุ๋ย K ด้วยการฉีดพ่นสัปดาห์ละ
1 - 2 ครั้ง เพื่อให้ผลสตรอเบอร์รี่สมบูรณ์และเพิ่มน้าตาลให้กับผลมากขึ้น
ตัวอย่าง การทาต้นไหลเพื่อนาไปปลูกต่อ
18
2. การเตรียมต้นเกล้าจากการเพาะเมล็ด
สตรอเบอร์รี่เป็นพืชเมืองหนาวที่ ขยายพันธุ์ด้วยการสร้างไหล และการใช้เมล็ด สาหรับเมล็ด
สตรอเบอร์รี่ที่ใช้ในการปลูกนั้นจะแบ่งการเตรียมเมล็ด ออกเป็น 2 ช่วง ก่อนปลูกคือ
1. ช่วงระยะพักตัว กล่าวคือ ตามธรรมชาติของพืชในเขตหนาวเมล็ดของพืชเหล่านี้เมื่อเข้าสู่ฤดู
หนาวจะมีระยะฟักตัวเพื่อมีการเปลี่ยนแปลงทางเคมีในเมล็ดเพื่อให้พร้อมต่อการงอกเมื่อถึงฤดู และมี
ปัจจัยที่เหมาะสมต่อการงอก
ดังนั้นเราจะสังเกตุได้ว่าเมล็ดพืชในเขตหนาวถ้าเราเก็บมาใหม่ๆ แล้วนามาเพาะทาไมจึงมี
เปอร์เซ็นต์การงอกต่า นั้นเป็นเพราะว่าเมล็ดเหล่านั้นยังไม่เข้าสู่ระยะฟักตัวเพื่อเปลี่ยนเคมีในเมล็ด
ดังกล่าวมาแล้ว แต่เมื่อเรานาเมล็ดไปเก็บในตู้เย็นหรือที่มีอุณหภูมิตาเป็นระยะเวลาหนึ่งแล้วนาเมล็ด
นั้นมาเพราะจะทาให้เปอร์เซ็นต์การงอกของเมล็ดนั้นสูงขึ้นกว่าเมล็ดที่ไม่ได้ผ่านระยะฟักตัว โดยสต
รอเบอร์รี่มีระยะฟักตัวอยู่ที่ประมาณ 2 - 4 สัปดาห์ ในอุณหภูมิต่ากว่า 7 องศาเซลเซียส
2. ช่วงระยะเวลาการงอก โดยปกติของเมล็ดสตรอเบอร์รี่เมื่อผ่านระยะฟักตัวมาแล้วประมาณ 2 -
4 สัปดาห์ เมื่อถูกกระตุ้นด้วยปัจจัยการงอก คือ น้า, อุณหภูมิ และอ๊อกซิเจน เมล็ดจะเริ่มงอกภายใน
7 - 14 วัน
การเพาะเมล็ดเป็นวิธีการปลูกสตรอเบอร์รี่ที่ใช้เวลาและมีวิธียุ่งยากกว่าการปลูกด้วยวิธีอื่น
แต่การเพาะเมล็ดเป็นวิธีที่ผู้ปลูกสามารถเริ่มต้นได้ทุกฤดูและตัดปัญหาการขาดแคลนต้นไหลในบาง
ช่วงฤดูได้ โดยการเพาะเมล็ดสตรอเบอร์รี่ มีวิธีการดังนี้
19
1. นาเมล็ดที่ผ่านการฟักตัวแล้วมาแช่ในน้าสะอาด โดยเทน้าเก่าออกส่วนหนึ่ง และเติมน้า
ใหม่เข้าไปแทนทุกวัน สาเหตุที่ต้องทาอย่างนี้คือ เมื่อเราแช่เมล็ดสตรอเบอร์รี่ เมล็ดจะคายเคมีที่ทา
ให้น้าเปลี่ยนเป็นสีน้าตาลและมีเมือกออกมาคลุมตัวเมล็ดเอาไว้ ถ้าเราไม่เปลี่ยนถ่ายน้าทุกวันจะทา
ให้น้ามีอ๊อกซิเจนต่า และเมล็ดจะเน่าได้
2. หลังจากผ่านไปประมาณ 7 วัน จะมีรากเล็กๆ สีขาวยาวประมาณ 1 - 2 มิลลิเมตร งอก
ออกมาจากเมล็ด ในช่วงนี้เมล็ดจะมีการคายเมือกหุ้มเมล็ดออกมามากทาให้เมล็ดที่แช่เกาะกันเป็น
กลุ่ม ให้เราใช้ตะเกียบ ค่อยๆคนให้เมล็ดแยกออกจากกัน จากนั้นให้แยกเมล็ดที่งอกออกมานาไป
เพาะในฟองน้าเหมือนกับการปลูกสลัดในระบบไฮโดรฯ ต่อไป
3. อนุบาลเกล้าสตรอเบอร์รี่ในถาดอนุบาลด้วยน้าเปล่า (วันที่ 1 - 7) คอยรักษาระดับน้าให้
อยู่ประมาณ 2 ส่วน 3 ของก้อนฟองน้า และให้โดยแสงราไรอย่าให้โดนแดดโดยตรง
4. เมื่ออนุบาลครบ 7 วันก็เริ่มให้ปุ๋ย อ่อนๆ ด้วยใช้ EC ประมาณ 0.8 - 1.1 เมื่อครบ 14 วัน
ก็ย้ายลงแปลงปลูกได้โดยใช้ EC ที่ 1.2 - 1.4 จนครบ 1 เดือน ก็ปรับ EC เป็น 1.5 - 1.7 (ให้เปลี่ยน
น้าทุกๆ 2 สัปดาห์) และให้ปุ๋ย C เสริม โดยฉีดพ่น 2 - 3 ครั้งต่อสัปดาห์ ในระหว่างนี้ถ้าต้องการ
20
ปลูกเพื่อเก็บผลก็ให้ตัดไหลที่งอกออกมาทิ้งให้หมด เพื่อให้ต้นสะสมอาหารและมีความสมบูรณ์พร้อม
ที่จะออกดอก
5. เมื่อสตรอเบอรี่ เริ่มติดผลได้ประมาณ 1 สัปดาห์ ให้เสริมปุ๋ย K ด้วยการฉีดพ่นสัปดาห์ละ
1 - 2 ครั้ง เพื่อให้ผลสตรอเบอร์รี่สมบูรณ์และเพิ่มน้าตาลให้กับผลมากขึ้น
หมายเหตุ
1. ค่า pH ที่เหมาะสมสาหรับสตรอเบอร์รี่ อยู่ที่ 6.0 - 6.8 และ EC สาหรับต้นที่โตแล้วอยู่ที่
1.7 - 2.3
2. ควรเปลี่ยนน้าใหม่ทุกๆ 2 สัปดาห์
3. ควรฉีดพ่นปุ๋ย C และสารกาจัดและป้องกันโรคและแมลง ทุกๆ 7 - 10 วัน
21
บทที่ 3
วิธีการดาเนินงาน
ในการจัดทาโครงงานเรื่องสตรอเบอร์รี่ไฮโดรโปนิกส์ ไม่มีดินก็กินได้(Strawberry
hydroponics, No soil is edible)มีวิธีการกาเนินงานดังนี้
วิธีการดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1.กาหนดหัวข้อที่จะศึกษา
2.ค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องสตรอเบอร์รี่ไฮโดรโปนิกส์
3.ค้นคว้าและรวบรวมข้อมูลจากแหล่งที่น่าเชื่อถือต่างๆ
4.ตรวจเช็คข้อมูลให้ถูกต้อง
5.นาข้อมูลใส่ Slide share
6.นาข้อมูลลงในบล็อกของตน
7.สรุปข้อมูลต่างๆที่น่าสนใจลงใน Microsoft PowerPoint
8.นาเสนอข้อมูลให้คุณครูและเพื่อนๆ
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1.อินเทอร์เน็ต
2.หนังสือจากห้องสมุด
3.คอมพิวเตอร์
4.โปรแกรม Microsoft Word
5.โปรแกรม Microsoft PowerPiont
งบประมาณ
รวมทั้งสิ้น 200 บาท
-ค่าเล่มรานงาน 170 บาท
-ค่าเข้าเล่มรายงาน 30 บาท
22
สถานที่ดาเนินการ
-บ้านเลขที่ 189/177 ม.8 ต.ต้นเปา อ.สันกาแพง จ.เชียงใหม่ 50130
-หอโชคชัยแมนชั่น เลขที่ 26 ถนนเวียงแก้ว ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50200
-โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย 238 ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50140
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดั
บ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
1
2
1
3
1
4
1
5
1
6
1
7
1 กาหนดหัวข้อที่จะศึกษา / /
2 ค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องสต
รอเบอร์รี่ไฮโดรโปนิกส์
/ / / /
3 ค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
จากแหล่งที่น่าเชื่อถือต่างๆ
/ / / / /
4 ตรวจเช็คข้อมูลให้ถูกต้อง / / /
5 นาข้อมูลใส่ Slide share / /
6 นาข้อมูลลงในบล็อกของตน / /
7 สรุปข้อมูลต่างๆที่น่าสนใจ
ลงใน Microsoft
PowerPoint
/ / / /
8 นาเสนอข้อมูลให้คุณครูและ
เพื่อนๆ
/
23
บทที่ 4
ผลการดาเนินงาน
ในการจัดทาโครงงานเรื่องสตรอเบอร์รี่ไฮโดรโปนิกส์ ไม่มีดินก็กินได้(Strawberry hydroponics,
No soil is edible)มีผลการดาเนินงานดังนี้
ผลการดาเนินงาน
1. ผู้ศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องการปลูกพืชแบบไร้ดินและการปลูกสตรอเบอร์รี่
ไฮโดรโปนิกส์
2. ผู้ศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการปลูกสตรอเบอร์รี่ไฮโดรโปนิกส์
3. สามารถเผยแพร่แก่ผู้ที่สนใจได้
การนาไปใช้
1. สามารถนาข้อมูลไปเผยแพร่ให้ผู้ที่สนใจได้
2. นาไปเป็นสื่อการเรียนการสอน
3. นาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้
4. สามารถนาไปเป็นอาชีพเสริมได้
24
โครงงานคอม[1]
โครงงานคอม[1]

More Related Content

What's hot

ใบงานที่5 โครงร่างโครงาน
ใบงานที่5 โครงร่างโครงานใบงานที่5 โครงร่างโครงาน
ใบงานที่5 โครงร่างโครงานPopeye Kotchakorn
 
กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5Manop Amphonyothin
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Sompoii Tnpc
 
โครงร่างโครงงานขนมไทย
โครงร่างโครงงานขนมไทยโครงร่างโครงงานขนมไทย
โครงร่างโครงงานขนมไทยKanokwan Makepothi
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Sk'b Methasith
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Sk'b Methasith
 
ป่าที่ยังเหลือ
ป่าที่ยังเหลือป่าที่ยังเหลือ
ป่าที่ยังเหลือJiranun Phahonthammasan
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง พัฒนา web blog ด้วย wordpress เรื่อง ผักสวนครัว
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง พัฒนา web blog ด้วย wordpress เรื่อง ผักสวนครัวโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง พัฒนา web blog ด้วย wordpress เรื่อง ผักสวนครัว
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง พัฒนา web blog ด้วย wordpress เรื่อง ผักสวนครัวJay Witsanurot's
 
2562 final project 26,31
2562 final project 26,312562 final project 26,31
2562 final project 26,31Sarocha Somboon
 
กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์anmor aunttt
 
โครงร่าง จ๋า
โครงร่าง จ๋าโครงร่าง จ๋า
โครงร่าง จ๋าJah Jadeite
 
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้KuNg Pw
 
เค้าโครงร่างจ๋า
เค้าโครงร่างจ๋าเค้าโครงร่างจ๋า
เค้าโครงร่างจ๋าJah Jadeite
 
น้ำหอมไล่ยุง
น้ำหอมไล่ยุงน้ำหอมไล่ยุง
น้ำหอมไล่ยุงNitikan2539
 

What's hot (18)

ใบงานที่5 โครงร่างโครงาน
ใบงานที่5 โครงร่างโครงานใบงานที่5 โครงร่างโครงาน
ใบงานที่5 โครงร่างโครงาน
 
กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5
 
Banananaaaa
BanananaaaaBanananaaaa
Banananaaaa
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างโครงงานขนมไทย
โครงร่างโครงงานขนมไทยโครงร่างโครงงานขนมไทย
โครงร่างโครงงานขนมไทย
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ป่าที่ยังเหลือ
ป่าที่ยังเหลือป่าที่ยังเหลือ
ป่าที่ยังเหลือ
 
2560 project -1-1
2560 project -1-12560 project -1-1
2560 project -1-1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง พัฒนา web blog ด้วย wordpress เรื่อง ผักสวนครัว
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง พัฒนา web blog ด้วย wordpress เรื่อง ผักสวนครัวโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง พัฒนา web blog ด้วย wordpress เรื่อง ผักสวนครัว
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง พัฒนา web blog ด้วย wordpress เรื่อง ผักสวนครัว
 
Healthy food
Healthy foodHealthy food
Healthy food
 
2562 final project 26,31
2562 final project 26,312562 final project 26,31
2562 final project 26,31
 
กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่าง จ๋า
โครงร่าง จ๋าโครงร่าง จ๋า
โครงร่าง จ๋า
 
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
 
เค้าโครงร่างจ๋า
เค้าโครงร่างจ๋าเค้าโครงร่างจ๋า
เค้าโครงร่างจ๋า
 
น้ำหอมไล่ยุง
น้ำหอมไล่ยุงน้ำหอมไล่ยุง
น้ำหอมไล่ยุง
 
Kiki
KikiKiki
Kiki
 

Similar to โครงงานคอม[1]

phattamon-areeya
phattamon-areeyaphattamon-areeya
phattamon-areeyaBeer Neon
 
บท2สืบพันธุ์พืชดอก
บท2สืบพันธุ์พืชดอกบท2สืบพันธุ์พืชดอก
บท2สืบพันธุ์พืชดอกWichai Likitponrak
 
โครงร่าง โครงงานน้ำผัก
โครงร่าง โครงงานน้ำผักโครงร่าง โครงงานน้ำผัก
โครงร่าง โครงงานน้ำผักJorJames Satawat
 
โครงการช่วยเหลือ เจือปัน
โครงการช่วยเหลือ เจือปันโครงการช่วยเหลือ เจือปัน
โครงการช่วยเหลือ เจือปันพัน พัน
 
โครงงานคอมเทอม2
โครงงานคอมเทอม2โครงงานคอมเทอม2
โครงงานคอมเทอม2nampingtcn
 
การตากแห้ง
การตากแห้งการตากแห้ง
การตากแห้งBaKa BaKa Saiaku
 
การตากแห้ง
การตากแห้งการตากแห้ง
การตากแห้งBaKa BaKa Saiaku
 
การตากแห้ง
การตากแห้งการตากแห้ง
การตากแห้งBaKa BaKa Saiaku
 
2562 final-project-15
2562 final-project-152562 final-project-15
2562 final-project-15KUMBELL
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Bliss_09
 
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพ
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพโครงการความหลากหลายทางชีวภาพ
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพPiboon Yasotorn
 
คู่มือการมีส่วนร่วมของประชาชนในการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม EIA
คู่มือการมีส่วนร่วมของประชาชนในการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม EIAคู่มือการมีส่วนร่วมของประชาชนในการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม EIA
คู่มือการมีส่วนร่วมของประชาชนในการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม EIAOxygenfox Pay
 
2558 project-มิ้น
2558 project-มิ้น2558 project-มิ้น
2558 project-มิ้นKanokwan Rapol
 
งานคอมมม
งานคอมมมงานคอมมม
งานคอมมมSilver Bullet
 
เค้าโครงร่างคู่คอม
เค้าโครงร่างคู่คอมเค้าโครงร่างคู่คอม
เค้าโครงร่างคู่คอมJah Jadeite
 

Similar to โครงงานคอม[1] (20)

phattamon-areeya
phattamon-areeyaphattamon-areeya
phattamon-areeya
 
phattamon-areeya
phattamon-areeyaphattamon-areeya
phattamon-areeya
 
บท2สืบพันธุ์พืชดอก
บท2สืบพันธุ์พืชดอกบท2สืบพันธุ์พืชดอก
บท2สืบพันธุ์พืชดอก
 
โครงร่าง โครงงานน้ำผัก
โครงร่าง โครงงานน้ำผักโครงร่าง โครงงานน้ำผัก
โครงร่าง โครงงานน้ำผัก
 
Pitchayaporn N.
Pitchayaporn N.Pitchayaporn N.
Pitchayaporn N.
 
โครงการช่วยเหลือ เจือปัน
โครงการช่วยเหลือ เจือปันโครงการช่วยเหลือ เจือปัน
โครงการช่วยเหลือ เจือปัน
 
โครงงานคอมเทอม2
โครงงานคอมเทอม2โครงงานคอมเทอม2
โครงงานคอมเทอม2
 
การตากแห้ง
การตากแห้งการตากแห้ง
การตากแห้ง
 
การตากแห้ง
การตากแห้งการตากแห้ง
การตากแห้ง
 
การตากแห้ง
การตากแห้งการตากแห้ง
การตากแห้ง
 
2562 final-project-15
2562 final-project-152562 final-project-15
2562 final-project-15
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพ
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพโครงการความหลากหลายทางชีวภาพ
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพ
 
คู่มือการมีส่วนร่วมของประชาชนในการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม EIA
คู่มือการมีส่วนร่วมของประชาชนในการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม EIAคู่มือการมีส่วนร่วมของประชาชนในการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม EIA
คู่มือการมีส่วนร่วมของประชาชนในการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม EIA
 
2558 project-มิ้น
2558 project-มิ้น2558 project-มิ้น
2558 project-มิ้น
 
งานคอมมม
งานคอมมมงานคอมมม
งานคอมมม
 
Project1
Project1Project1
Project1
 
เค้าโครงร่างคู่คอม
เค้าโครงร่างคู่คอมเค้าโครงร่างคู่คอม
เค้าโครงร่างคู่คอม
 
เค้าโครงร่างคู่คอม
เค้าโครงร่างคู่คอมเค้าโครงร่างคู่คอม
เค้าโครงร่างคู่คอม
 
Work1 608_29
Work1 608_29Work1 608_29
Work1 608_29
 

More from maddemon madden

โครงงานคอมเวิด
โครงงานคอมเวิดโครงงานคอมเวิด
โครงงานคอมเวิดmaddemon madden
 
โครงงานคอมพิวเตอร์2
โครงงานคอมพิวเตอร์2โครงงานคอมพิวเตอร์2
โครงงานคอมพิวเตอร์2maddemon madden
 
โครงงานของปณิต
โครงงานของปณิตโครงงานของปณิต
โครงงานของปณิตmaddemon madden
 
กิจกรรมที่ 2
กิจกรรมที่ 2กิจกรรมที่ 2
กิจกรรมที่ 2maddemon madden
 
กิจกรรมที่ 277
กิจกรรมที่ 277กิจกรรมที่ 277
กิจกรรมที่ 277maddemon madden
 
ผังการสร้างข้อสอบวิชาสามัญ 9 วิชา ประจำปีการศึกษา 2561
ผังการสร้างข้อสอบวิชาสามัญ 9 วิชา ประจำปีการศึกษา 2561ผังการสร้างข้อสอบวิชาสามัญ 9 วิชา ประจำปีการศึกษา 2561
ผังการสร้างข้อสอบวิชาสามัญ 9 วิชา ประจำปีการศึกษา 2561maddemon madden
 
โครงงานคอม 607-27
โครงงานคอม 607-27โครงงานคอม 607-27
โครงงานคอม 607-27maddemon madden
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6.doc4
ใบงานสำรวจตนเอง M6.doc4ใบงานสำรวจตนเอง M6.doc4
ใบงานสำรวจตนเอง M6.doc4maddemon madden
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6maddemon madden
 

More from maddemon madden (16)

โครงงานคอมเวิด
โครงงานคอมเวิดโครงงานคอมเวิด
โครงงานคอมเวิด
 
โครงงานคอมพิวเตอร์2
โครงงานคอมพิวเตอร์2โครงงานคอมพิวเตอร์2
โครงงานคอมพิวเตอร์2
 
โครงงานของปณิต
โครงงานของปณิตโครงงานของปณิต
โครงงานของปณิต
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
กิจกรรมที่ 2
กิจกรรมที่ 2กิจกรรมที่ 2
กิจกรรมที่ 2
 
กิจกรรมที่ 277
กิจกรรมที่ 277กิจกรรมที่ 277
กิจกรรมที่ 277
 
ผังการสร้างข้อสอบวิชาสามัญ 9 วิชา ประจำปีการศึกษา 2561
ผังการสร้างข้อสอบวิชาสามัญ 9 วิชา ประจำปีการศึกษา 2561ผังการสร้างข้อสอบวิชาสามัญ 9 วิชา ประจำปีการศึกษา 2561
ผังการสร้างข้อสอบวิชาสามัญ 9 วิชา ประจำปีการศึกษา 2561
 
Tb ม6 60(1)
Tb ม6 60(1)Tb ม6 60(1)
Tb ม6 60(1)
 
2560 project 3333
2560 project  33332560 project  3333
2560 project 3333
 
โครงงานคอม 607-27
โครงงานคอม 607-27โครงงานคอม 607-27
โครงงานคอม 607-27
 
2560 project (2)
2560 project  (2)2560 project  (2)
2560 project (2)
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
24 (1)
24 (1)24 (1)
24 (1)
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6.doc4
ใบงานสำรวจตนเอง M6.doc4ใบงานสำรวจตนเอง M6.doc4
ใบงานสำรวจตนเอง M6.doc4
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6
 

โครงงานคอม[1]

  • 1. โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง สตรอเบอร์รี่ไฮโดรโปนิกส์ ไม่มีดินก็กินได้ ชื่อผู้ทาโครงงาน 1 นางสาวสุภัทธิรา โฆษิตสุริยะพันธุ์ เลขที่ 37 ชั้น 6 ห้อง 7 2 นางสาวภัทรศยา บุญมาลา เลขที่ 38 ชั้น 6 ห้อง 7 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ โครงงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. เรื่อง สตรอเบอร์รี่ไฮโดรโปนิกส์ ไม่มีดินก็กินได้ (Strawberry hydroponics, No soil is edible) ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวสุภัทธิรา โฆษิตสุริยะพันธุ์ นางสาวภัทรศยา บุญมาลา ชื่อที่ปรึกษา นางเขื่อนทอง มูลวรรณ์ รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ปีการศีกษา 2/2560 บทคัดย่อ โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสตรอเบอร์รี่ไฮโดรโปนิกส์ ไม่มีดินก็กินได้(Strawberry hydroponics, No soil is edible) จัดทาขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ 1)เพื่อศึกษาการปลูกพืชแบบไร้ดิน 2)เพื่อศึกษาวิธีการปลูกสตรอเบอร์รี่แบบไฮโดรโปนิกส์ 3)เพื่อศึกษาและส่งเสริมการปลูกสตรอเบอร์รี่ แบบไฮโดรโปนิกส์ 4)เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการปลูกสตรอเบอร์รี่แบบไฮโดรโปนิกส์แก่ผู้ที่สนใจ โดยมีเครื่องมือและอุปกรณ์คือ เว็บไซต์สาหรับเผยแพร่ข้อมูลที่ได้ศึกษา Powerpoint ในการ นาเสนอโครงงานและรูปเล่มโครงงาน ส่วนแนวทางการดาเนินงานจะเริ่มตั้งแต่ กาหนดหัวข้อที่ ต้องการศึกษา รวบรวมข้อมูลที่ต้องการศึกษา ทาโครงร่างโครงงาน เริ่มทาการศึกษาตามหัวข้อที่ กาหนด รวบรวมข้อมูลต่างๆ แล้วสุดท้ายเรียบเรียงเป็นโครงงานให้สมบูรณ์ที่สุด หลังจากการศึกษา ได้สรุปผลการดาเนินงานดังนี้ ทาให้ผู้จัดทาและผู้ที่สนใจได้รับความรู้ในเรื่อง การปลูกพืชแบบไร้ดิน และการปลูกสตรอเบอร์รี่แบบไฮโดรโปนิกส์ และสามารถนามาปรับใช้ในชีวิตประจาวันหรือทาเป็น อาชีพเสริมได้ ก
  • 3. กิตติกรรมประกาศ โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสตรอเบอร์รี่ไฮโดรโปนิกส์ ไม่มีดินก็กินได้(Strawberry hydroponics, No soil is edible) สาเร็จลุล่วงได้ด้วยความกรุณาจากอาจารย์เขื่อนทอง มูลวรรณ์ อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานที่ได้ให้คาเสนอแนะ คาแนะนาตลอดจนแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆโดยตลอด จนโครงงานเล่มนี้เสร็จสมบูรณ์ ผู้ศึกษาจึงขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูง ขอขอบคุณผู้ปกครองที่ให้คาปรึกษา และการสนับสนุนในเรื่องต่างๆ รวมทั้งเป็นกาลังใจที่ดี เสมอ สุดท้ายขอบคุณเพื่อนๆที่ช่วยให้คาแนะนาดีๆเกี่ยวกับการทา สุภัทธิรา โฆษิตสุริยะพันธุ์ ภัทรศยา บุญมาลา ข
  • 4. สารบัญ หน้า บทคัดย่อ ก กิตติกรรมประกาศ ข สารบัญ บทที่ 1 บทนา 1 ที่มาและความสาคัญ วัตถุประสงค์ ขอบเขตการศึกษา ผลที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 3 การปลูกพืชไร้ดิน การปลูกสตรอเบอร์รี่ การปลูกสตรอเบอร์รี่แบบไฮโดรโปนิกส์ บทที่3 วิธีการดาเนินงาน 22 แนวทางการดาเนินงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ งบประมาณ สถานที่ดาเนินการ ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน บทที่4 ผลการดาเนินงาน 24 การนาไปใช้ บทที่5 สรุป อภิปรายและข้อเสนอแนะ 25 ผลการดาเนินโครงงาน อุปสรรค ข้อเสนอแนะ แหล่งอ้างอิง 26
  • 5. บทที่ 1 บทนา ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) สตรอเบอร์รี่ไฮโดรโปนิกส์ ไม่มีดินก็กินได้ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) strawberry hydroponics, No soil is edible ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวสุภัทธิรา โฆษิตสุริยะพันธุ์ นางสาวภัทรศยา บุญมาลา ชื่อที่ปรึกษา นางเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ในปัจจุบันการปลูกพืชไร้ดิน (Hydroponics) เป็นที่นิยมกัน อย่างกว้างขวาง มีการปลูกใน ระดับอุตสาหกรรมขนาดใหญ่และทารายได้ให้แก่ ผู้ประกอบการเป็นอย่างดี ทั้งนี้เนื่องมาจากว่า ผู้บริโภคในยุคปัจจุบันได้หันมาให้ความสนใจเกี่ยวกับสุขภาพกันมากขึ้น จึงเลือกที่จะบริโภคผักที่ปลูก ในระบบ Hydroponics ซึ่งมีการปลูกในโรงเรือนที่ควบคุมแมลงศัตรูพืชได้ ทาให้มีการใช้ สารเคมี น้อยลง ผักที่ได้จึงเป็นผักอนามัย มีการปนเปื้อน สารเคมีน้อยมากและเป็นทางเลือกหนึ่งที่ผู้บริโภคหันมาให้ความสนใจมากขึ้น อีกทั้งการปลูกและ การจัดการต่างๆ ไม่ยุ่งยากอย่างที่คิด ทุกคนสามารถปลูกเองได้ทุกครัวเรือน เพื่อบริโภคภายใน ครอบครัว ทาให้ได้บริโภคผักที่สด สะอาด ปลอดภัย และช่วยเสริมสร้าง สุขภาพร่างกายให้แข็งแรง และยังเป็นการทากิจกรรมร่วมกันภายในครอบครัว สร้างความผูกพันและความอบอุ่นให้เกิดขึ้นกับ ครอบครัวได้อีกทางหนึ่งด้วย สาหรับสตรอเบอร์รี่ เป็นผลไม้ที่ได้รับความนิยมอย่างมาก ซึ่งการปลูก สตรอเบอร์รี่นั้น ในการปลูกสตรอเบอร์รี่แบบทั่วไปจะต้องใช้ยาฆ่าแมลง หรือยากาจัดศัตรูพืชซึ่งเป็น สารเคมีที่อันตรายต่อร่างกายหากได้รับในปริมาณมากก็จะทาให้เกิดโรคต่างๆตามมา การปลูกแบบ ไฮโดรโปนิกส์เป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่จะทาให้ปลอดภัยจากสารเคมี และยังทาให้สุขภาพดี ไม่ป่วยง่าย 1
  • 6. วัตถุประสงค์ 1)เพื่อศึกษาการปลูกพืชแบบไร้ดิน 2)เพื่อศึกษาวิธีการปลูกสตรอเบอร์รี่แบบไฮโดรโปนิกส์ 3)เพื่อศึกษาและส่งเสริมการปลูกสตรอเบอร์รี่แบบไฮโดรโปนิกส์ 4)เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการปลูกสตรอเบอร์รี่แบบไฮโดรโปนิกส์แก่ผู้ที่สนใจ 5)เพื่อเป็นการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ขอบเขตโครงงาน การปลูกสตรอเบอร์รี่แบบไฮโดรโปนิกส์ และผู้ที่สนใจศึกษาการปลูกสตรอเบอร์รี่แบบไฮโดรโป นิกส์ ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกพืชแบบไร้ดิน 2. ได้ความรู้เกี่ยวกับวิธีการปลูกสตรอเบอร์รี่แบบไฮโดรโปนิกส์ 3. ได้ส่งเสริมการปลูกสตรอเบอร์รี่แบบไฮโดรโปนิกส์ 4. ได้เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการปลูกสตรอเบอร์รี่แบบไฮโดรโปนิกส์แก่ผู้ที่สนใจ 5. เป็นการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ 2
  • 7. บทที่ 2 หลักการและทฤษฎี ในการจัดทาโครงงานเรื่องสตรอเบอร์รี่ไฮโดรโปนิกส์ ไม่มีดินก็กินได้(Strawberry hydroponics, No soil is edible)จาเป็นต้องศึกษาทฤษฎีที่เกี่ยวข้องดังนี้ 1.การปลูกพืชไร้ดิน ในปัจจุบันการปลูกพืชไร้ดิน (Hydroponics) เป็นที่นิยมกัน อย่างกว้างขวาง มีการปลูกใน ระดับอุตสาหกรรมขนาดใหญ่และทารายได้ให้แก่ ผู้ประกอบการเป็นอย่างดี ทั้งนี้เนื่องมาจากว่า ผู้บริโภคในยุคปัจจุบันได้หันมาให้ความสนใจเกี่ยวกับสุขภาพกันมากขึ้น จึงเลือกที่จะบริโภคผักที่ ปลูกในระบบ Hydroponics ซึ่งมีการปลูกในโรงเรือนที่ควบคุมแมลงศัตรูพืชได้ ทาให้มีการใช้ สารเคมีน้อยลง ผักที่ได้จึงเป็นผักอนามัย มีการปนเปื้อนสารเคมีน้อยมากและเป็นทางเลือกหนึ่งที่ ผู้บริโภคหันมาให้ความสนใจมากขึ้น อีกทั้งการปลูกและ การจัดการต่างๆ ไม่ยุ่งยากอย่างที่คิด ทุก คนสามารถปลูกเองได้ทุกครัวเรือน เพื่อบริโภคภายในครอบครัว ทาให้ได้บริโภคผักที่สด สะอาด ปลอดภัย และช่วยเสริมสร้าง สุขภาพร่างกายให้แข็งแรงและยังเป็นการทากิจกรรมร่วมกันภายใน ครอบครัว สร้างความผูกพันและความอบอุ่นให้เกิดขึ้นกับครอบครัวได้อีกทางหนึ่งด้วย 3
  • 8. ความหมายของคาว่า "การปลูกพืชไร้ดิน" การปลูกพืชไร้ดินเป็นคาที่แปลมาจากภาษาอังกฤษ 2 คาคือคาว่า Soilless Culture และ Hydroponics ซึ่งสามารถอธิบายได้ 2 ลักษณะ คือ 1. คาว่า "Soilless culture" เป็นวิธีการปลูกพืชเลียนแบบการปลูกพืชบนดินแต่ไม่ใช้ดิน เป็นวัสดุปลูก แต่เป็นการปลูกพืชลงบนวัสดุชนิดต่างๆ เช่น แผ่นฟองน้า ทราย กรวด ขี้เลื่อย แกลบ ขุยมะพร้าว ฯลฯ แทนดิน โดยพืชสามารถเจริญเติบโตบนวัสดุปลูกที่ใช้เป็นที่ยึดเกาะและจากการ ได้รับสารละลายธาตุอาหารพืช ที่มีน้าที่ผสมกับแร่ธาตุต่างๆ (หรือปุ๋ย) ที่พืชต้องการจากทางรากพืช 2. คาว่า "Hydroponics" เป็นการปลูกพืชที่ไม่ใช้วัสดุปลูก กล่าวคือ จะทาการปลูกพืชลง ในสารละลายธาตุอาหารพืช โดยให้รากพืชสัมผัสกับสารอาหารโดยตรง (bare roots) hydroponics มาจากการรวมคาในภาษากรีกสองคา คือ คาว่า "hydro" หมายถึง "น้า" และ "ponos" หมายถึง "งาน" ซึ่งเมื่อรวมคาสองคาเข้าด้วยกันความหมายก็คือ "water-working" หรือ หมายถึง "การทางานของน้า (สารละลายธาตุอาหาร)" ผ่านทางรากพืช ดังนั้น การปลูกพืชโดยไม่ใช้ ดิน จึงหมายถึงวิธีการปลูกพืชเลียนแบบการปลูกพืชบนดิน โดยปลูกพืชลงบนวัสดุปลูกหรือ สารอาหาร โดยไม่ต้องมีวัสดุปลูกก็ได้ เพื่อให้พืชได้รับสารอาหาร หรือสารละลายธาตุอาหารพืชที่มี การปลูกผักโดยไม่ใช้ดิน หรือ การปลูกผักไร้ดิน นี้เป็นเทคโนโลยีที่เคยมีมาก่อนแล้ว เพราะ ปัจจุบันกระแสการหันมาใสใจในสุขภาพของคนไทยมีมากขึ้นเป็นลาดับ ผักปลอดสารพิษ ผักกางมุ้ง และผักไฮโดรโปนิกส์ จึงเป็นทางเลือกใหม่ของผู้บริโภคที่กาลังได้รับความนิยมขึ้นเป็นลาดับ ซึ่ง นอกจากจะปลอดภัยจากสารพิษตกค้างแล้ว สีสันยังดูน่ารับประทาน และรสชาติดีอีกด้วย ณ วันนี้ ผักไฮโดรโปนิกส์ นอกจากจะเป็นอีกหนึ่งทางเลือกของสุขภาพคนไทยแล้ว การปลูกผักโดยไม่ใช้ดิน ยังจะเป็นหนึ่งในโครงการอาหารกลางวันสาหรับนักเรียนในชุมชนใกล้เคียงของมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีสุรนารี (มทส) ที่อาจารย์อารักษ์ ธีระอาพน อาจารย์ประจาสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิต พืช สานักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร ได้วิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีนี้ลงไปสู่โรงเรียน ซึ่งถือเป็น ศูนย์กลางการศึกษาของชุมชน ที่สาคัญไปกว่านั้นคือ เทคโนโลยีการปลูกผักไร้ดินและการจัดการที่ใช้ ปลูกยังจะช่วยบ่มเพาะให้เยาวชนเกิดการเรียนรู้ รวมถึงกระตุ้นความสนใจในวิทยาศาสตร์อีกด้วย (Hydroponics ของคุณธวัชชัย) ทั้งนี้สามารถทาเองได้นี้โดยไม่เสียเวลาในการปลูกมากนัก 4
  • 9. การปลูกผักไร้ดิน Hydroponics คือการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน โดยหลักการแล้ว มี 2 แบบ คือ  การปลูกในน้า ซึ่งบริเวณรอบๆ รากของพืชเป็นของเหลว รากจะแตกออกมาที่ของเหลว นั่นเอง  การปลูกในวัสดุแข็ง เช่น แกลบ ทราย ขุยมะพร้าว หินภูเขาไฟ ซึ่งเป็นวัสดุปลูกที่ไม่ได้ให้ ธาตุอาหารกับพืชแต่อย่างใด ในขณะเดียวกันก็ทาหน้าที่เป็นวัสดุที่ช่วยค้าและพยุงราก นั่นเอง ในอดีตกระแสความนิยมของการปลูกพืชแบบนี้เป็นไปเนื่องเพราะความพยายามของบริษัท นาเข้าอุปกรณ์การปลูกมากกว่าจะเป็นกระแสบริโภคนิยมอย่างแท้จริง ทาให้ผักไร้ดิน Hydroponics ซบเซาไปพักหนึ่ง ก่อนที่จะกลับมาได้รับความนิยมขึ้นอีกครั้งตั้งแต่ปี 2540 เป็นต้น มา ด้วยคนไทยหันมาสนใจสุขภาพมากขึ้น กระแสการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์จึงกลับมาได้รับความ นิยมอีกครั้งจากผู้บริโภค เกิดตลาดรองรับ และแม้แต่สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI) ก็เล็งเห็นความสาคัญของการขยายตัว จึงให้การสนับสนุนและส่งเสริมให้มีการลงทุนด้านนี้ ทาให้มีผู้สนใจเข้ามาทามากขึ้น ก่อให้เกิดรูปแบบ เทคนิค และเทคโนโลยีในการผลิตที่หลากหลาย ขึ้น กลายเป็นทางเลือกสาหรับผู้บริโภคตามมา พืชที่นิยมปลูกแบบ Hydroponics กว่า 90 % เป็นประเภทพืชผักที่ใช้รับประทานในชีวิตประจาวัน อาทิ ผักสลัดหรือผักกาดหอมต่างประเทศ ใน อดีตที่ต้องนาเข้ากิโลกรัมละหลายร้อยบาท แต่ปัจจุบันสามารถลดการนาเข้าได้เกือบ 100 % นอกจากนี้ยังเป็นพืชผักประเภทกลุ่มผักตะวันออก เช่น คะน้า กว้างตุ้ง คะน้าฮ่องกง ผักกาดขาว เป็นต้น ซึ่งปรากฏว่ามีคนสนใจเริ่มมาทาตรงนี้มากขึ้น และมีผลตอบรับค่อนข้างดี พืชผักกลุ่มนี้ก็ ตอบสนองต่อระบบนี้ได้ดี ตลาดกว้างขึ้น ไม่ได้จากัดอยู่ที่ผักต่างประเทศกลุ่มเดียวเท่านั้น การปลูก ผักโดยไม่ใช้ดิน พืชผักที่มีมูลค่าทางการตลาดสูง เช่น แตงเทศหรือแตงแคนตาลูป ที่ฟาร์ม มหาวิทยาลัยกาลังผลิตอยู่ ซึ่งหากการปลูกผักไร้ดินในสภาพแวดล้อมปกติจะต้องใช้สารเคมีจานวน มาก มีสารพิษตกค้าง ไม่ปลอดภัยต่อผู้บริโภค แต่หากปลูกแบบไฮโดรโปนิกส์ หรือการปลูกพืชโดย ไม่ใช้ดินจะสามารถแก้ปัญหานี้ได้ รวมทั้งสามารถควบคุมคุณภาพได้ด้วย และแม้แต่พืชผักและพืช สมุนไพร เช่น สะระแหน่ วอเตอร์เครส หญ้าปักกิ่งหรือหญ้าเทวดา ก็สามารถตอบสนองต่อระบบ ไฮโดรโปนิกส์ได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะหญ้าเทวดา พบว่าให้ผลผลิตสูงมากเมื่อเทียบต่อตาราง พื้นที่ 5
  • 10. 2.การปลูกสตรอเบอร์รี่ สตรอเบอร์รี่ จัดเป็นไม้ผลเศรษฐกิจชนิดหนึ่งที่มีการปลูกกระจายกันมากที่สุดในโลก สามารถ พบได้แทบทุกประเทศตั้งแต่ แถบขั้วโลกลงมาถึงพื้นที่ในเขตร้อน ซึ่งมีความแตกต่างกันทั้งสภาพ ภูมิอากาศและชนิดดินที่ใช้ปลูก บางพันธุ์จะพบว่าสามารถปลูก ในทางเหนือของโลก เช่น รัฐ Alaska ได้ดีเท่ากับปลูกในทางใต้ลงมาเช่นแถบ Equator สตรอเบอร์รี่ เป็นผลไม้ที่มีรสชาติอร่อยและเป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไปมาหลายร้อยปีมาแล้ว ในช่วงสิบปี ที่ผ่านมานี้พบว่าผลผลิต ที่ใช้สาหรับบริโภคเป็นผลสด และใช้ในเชิงอุตสาหกรรมแปรรูปได้เพิ่ม ปริมาณมากขึ้นอย่างรวดเร็วตามประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก ทั้งนี้ เป็นสาเหตุมาจากการผสมพันธุ์ใหม่ที่ ให้ผลผลิตยาวนานขึ้น การนาระบบปลูกแบบดูแลอย่างใกล้ชิดมาใช้ ตลอดจนการเลือกพื้นที่ปลูก ที่ มีความเหมาะสมมากกว่าแต่ก่อน ในปัจจุบันนี้ก็ยังมีการทดลองวิจัยที่จะหาวิธีการต่าง ๆ เพื่อที่จะทา ให้การปลูก สตรอเบอร์รี่นั้นง่ายขึ้น โดยเน้นการให้ผลผลิตสูงและสามารถทารายได้ตอบแทนเป็นที่ พอใจแก่เกษตรกรผู้ปลูก ในประเทศไทยแม้ว่าจะมีพื้นที่ปลูกสตรอเบอร์รี่ส่วนใหญ่อยู่ทางภาคเหนือ เช่น บางอาเภอใน จังหวัดเชียงใหม่และเชียงราย และในพื้นที่ บางจังหวัดของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เช่น จังหวัด เลยและจังหวัดเพชรบูรณ์ เป็นต้น แต่ยังมีแนวโน้มที่สามารถปลูกได้ผลพอสมควร ในพื้นที่สูงของ ภาคกลาง เช่น แถบบนภูเขาของจังหวัดกาญจนบุรี เนื่องมาจากความต้องการของตลาดทั้งในและ ต่างประเทศ ขณะนี้ สตรอเบอร์รี่จึงถูกพิจารณาจัดเป็นพืชเศรษฐกิจชนิดใหม่ ซึ่งสามารถช่วยยก ฐานะความเป็นอยู่ของเกษตรกรผู้ปลูกนับเป็นพันครอบครัว ให้ดีขึ้นทั้งพื้นที่ราบและบนที่สูง นอกจากนี้ยังพบว่ามีศักยภาพสูงมาก สาหรับการผลิตสตรอเบอร์รี่เพื่อจุดประสงค์ในการขยายช่วง ของ การเก็บเกี่ยวหรือผลิตให้ผลออกนอกฤดูกาลบนพื้นที่สูงของประเทศไทยซึ่งมีสภาพอากาศหนาว เย็นพอเหมาะตลอดทั้งปีและมีอนาคต สาหรับการส่งออกไปจาหน่ายยังต่างประเทศ ซึ่งสามารถผลิต ได้ในช่วงดังกล่าวอีกด้วย 6
  • 11. ประวัติ ทางภาคเหนือของประเทศไทยได้มีการปลูกสตรอเบอร์รี่มานานหลายปีแล้ว แต่ที่นับว่าเริ่มมี ความสาคัญเป็นพืชเศรษฐกิจก็ตั้งแต่ พ.ศ. 2522 เป็นต้นมา ชาวอังกฤษที่มาทางานเกี่ยวกับป่าไม้ใน จังหวัดเชียงใหม่เป็นผู้นาต้นสตรอเบอร์รี่เข้ามาเมื่อประมาณ พ.ศ. 2477 ซึ่ง ต่อมาสตรอเบอร์รี่พันธุ์ นี้ถูกเรียกว่า พันธุ์พื้นเมือง เพราะไม่ทราบชื่อพันธุ์ที่แน่นอน ผลของพันธุ์นี้จะมีลักษณะนิ่ม มีขนาด เล็ก สีผลออกเป็นสีปูนแห้ง และให้ผลผลิตต่อพื้นที่ต่า ต่อมาหลังจากที่ได้มีการแนะนาวิธีการปลูกสต รอเบอร์รี่แล้ว ก็มีการแพร่ขยายการปลูก ในฐานะเป็นผลไม้ชนิดใหม่ภายในส่วนของโรงเรียน และ สถานีทดลองเกษตรของส่วนราชการต่าง ๆ แต่อย่างไรก็ตามยังไม่ได้มี การปลูกเพื่อการค้าอย่าง จริงจังก่อนถึงปี พ.ศ. 2522 มีเกษตรกรบางรายพยายามปลูกเป็นการค้าในพื้นที่ใหญ่ ๆ แต่ก็ไม่ได้รับ ความ สาเร็จเท่าที่ควร ในปี พ.ศ. 2512 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ ได้ทรงก่อตั้งโครงการหลวง ซึ่งปัจจุบันใช้ชื่อว่า มูลนิธิ โครงการหลวง โดยมี หม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี เป็นประธานมูลนิธิฯ ซึ่งมี วัตถุประสงค์ในการอนุรักษ์ต้นน้าลาธารของพื้นที่ทาง ภาคเหนือของประเทศ หยุดยั้งการปลูกฝิ่งของ ชาวไทยภูเขา โดยหาพืชอื่นทดแทนให้ปลูกและช่วยยกระดับการครองชีพ ตลอดจนความ เป็นอยู่ ของชาวไทยภูเขาให้ดีขึ้น ดังนั้นโครงการวิจัยสตรอเบอร์รี่จึงเป็นอีกโครงการหนึ่งโดยเริ่มดาเนินการ ในระหว่างปี พ.ศ. 2517- 2522 โดยมีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เป็นผู้รับผิดชอบโครงการและได้รับ ทุนวิจัยจากทางฝ่ายงานวิจัยกระทรวงเกษตร ประเทศ สหรัฐอเมริกา (Agricultural Research Service ของ USDA) ระหว่างการวิจัยนี้ได้มีการนาสตรอเบอร์รี่พันธุ์ต่าง ๆ เข้ามามากมาย เพื่อ ทดลองปลูกตามสถานีทดลองเกษตรที่มีระดับความสูงที่ต่างกัน รวมทั้งศึกษาเรื่องของโรคแมลงการ จัดการหลังการเก็บเกี่ยว การบรรจุหีบห่อ และตลอดจนทางด้านของการตลาด ผลของความสาเร็จและข้อมูลที่ได้มาจากโครงการวิจัยสตรอเบอร์รี่นี้ได้นาไปใช้ในงานส่งเสริม ให้แก่ ชาวไทยภูเขา รวมทั้งเกษตรกร พื้นราบในจังหวัดเชียงใหม่และเชียงราย ทาให้มีรายได้จากการ จาหน่ายผลผลิตสตรอเบอร์รี่และต้นไหลด้วย ปัจจุบันสตรอเบอร์รี่จึงถูกจัด เป็นพืชเศรษฐกิจพืชหนึ่ง ที่ทารายได้ค่อนข้างดี และให้ผลตอบแทนที่รวดเร็วแก่เกษตรกรผู้ปลูกในทั้งสองจังหวัดนี้ 7
  • 12. พันธุ์ ตั้งแต่ พ.ศ. 2512 จนถึง พ.ศ. 2541 ได้มีการนาสตรอเบอร์รี่พันธุ์ต่าง ๆ จากต่างประเทศเข้า มาทดลองปลูกมากมาย จากปี พ.ศ. 2515 ปรากฏว่าพันธุ์ Cambridge Favorite, Tioga และ Sequoia (โดยรู้จักกันในนามพันธุ์พระราชทานเบอร์ 13, 16 และ 20 ตามลาดับ) ได้ถูกพิจารณาว่า สามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมในจังหวัดเชียงใหม่และเชียงรายมากกว่าพันธุ์อื่น ๆ ต่อมา พบว่า พันธุ์ Tioga สามารถปรับตัวได้ดีทั้งพื้นที่ปลูกบนภูเขาสูงระดับ 1,200 เมตรและพื้นที่ราบของ ทั้งสองจังหวัด เกษตรกรขณะนั้นเกือบ ทั้งหมดใช้พันธุ์นี้ปลูกเป็นการค้ากันทั่วไปโดยไม่มีพันธุ์อื่นมา แทนที่ พ.ศ. 2528 ได้มีการนาพันธุ์ Akio Pajaro และ Douglas จากอเมริกาทดลองปลูกในสถานี โครงการหลวงที่ดอยอินทนนท์ แต่ก็ไม่ประสบผลสาเร็จ ต่อมาอีกหนึ่งปีได้มีการนาพันธุ์ Nyoho Toyonoka และ Aiberry จากประเทศญี่ปุ่นเข้ามาทดลองปลูก ผลปรากฏว่าสองพันธุ์แรกสามารถ ปรับตัวได้ดีบนพื้นที่สูง หลังจากนั้น มาเริ่มมีผู้นาพันธุ์อื่น ๆ เข้ามาปลูกทดสอบมากมาย จนกระทั่งมี การตั้งพันธุ์ Toyonoka เป็นพันธุ์พระราชทาน 70 (ซึ่งตรงกับปี พ.ศ. 2540 ที่พระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัวฯ ทรงมีพระชนมพรรษาครบ 70 พรรษา) และพันธุ์ B5 เป็นพันธุ์พระราชทาน 50 ปี (ปี พ.ศ. 2539 ซึ่งเป็นปีฉลองศิริราชสมบัติครบ 50 ปี) ปัจจุบันพันธุ์สตรอเบอร์รี่ที่นับว่าปลูกเป็นการค้า ส่วนใหญ่ของประเทศได้แก่ พันธุ์พระราชทาน 16, 20, 50 และ 70 นอกจากนี้ยังมีพันธุ์ Nyoho, Dover และ Selva บ้าง ในบางพื้นที่ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2535 จนถึงขณะนี้ทางศูนย์ค้นคว้าและพัฒนาระบบเกษตรในเขตที่สูง และ สถานีวิจัยดอยปุยของสานักงานโครงการ จัดตั้งสถาบันค้นคว้าและพัฒนาระบบเกษตรในเขตวิกฤต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ก็กาลังดาเนินการวิจัยศึกษาหาข้อมูลของ สตรอเบอรี่เพิ่มเติมมาโดย ตลอด รวมทั้งเทคนิควิธีการปลูกและการดูแลแบบสมัยใหม่เหมือนในต่างประเทศที่ผลิตเป็น อุตสาหกรรม การค้า โดยจะนาผลงานที่ได้เหล่านี้ทาการส่งเสริมเผยแพร่หรือจัดฝึกอบรมให้ เกษตรกรผู้ปลูกในพื้นที่ต่าง ๆ ต่อไป 8
  • 13. 3.การปลูกสตรอเบอร์รี่แบบไฮโดรโปนิกส์ สตรอเบอร์รี่ (Strawberry) เป็นพืชในวงศ์กุหลาบ มีผลสุก ที่สามารถรับประทานได้ ในอดีต มีการปลูกไว้เป็นพืชคลุมดินให้กับต้นไม้ชนิดอื่นๆ สตรอเบอรี่ในโลกนี้มีมากกว่า 20 สปีชีส์ และมี ลูกผสมมากมาย แต่สตรอว์เบอร์รีที่นิยมปลูกมากในปัจจุบันก็คือสตรอว์เบอร์รีสวน (Fragaria × ananassa) ผลของสตรอว์เบอร์รีมีรสชาติหลากหลายขึ้นอยู่กับสายพันธุ์ มีตั้งแต่รสหวานจนถึง เปรี้ยว สตรอเบอร์รี่ เป็นพืชล้มลุก แตกกิ่งก้านแผ่ปกคลุมดิน ใบจะรวมกันอยู่ 3 ใบใน 1 ก้าน ขอบ ใบมีรอยหยัก มีดอกสีขาว สีเหลือง หรือชมพูแล้วแต่สายพันธุ์ ผลมีก้านยาวเชื่อมกับต้น มีกลีบ เลี้ยงบนขั้วของผล เมื่อผลอ่อนจะมีสีขาว เหลืองนวล เมื่อสุกจะเป็นสีชมพู หรือแดง รสชาดเปรี้ยวถึง หวาน สายพันธุ์ที่นิยมปลูกในประเทศไทย  พันธุ์พระราชทาน 16  พันธุ์พระราชทาน 20  พันธุ์พระราชทาน 50 (เป็นพันธุ์ที่มูลนิธิโครงการหลวงส่งเสริมให้ปลูก) เป็นพันธุ์ที่เกิดจาก การผสมในประเทศสหรัฐอเมริกา และนาเข้ามาคัดเลือกโดยการผสมตัวเองตั้งแต่ปี พ.ศ. 2536 เจริญเติบโตและให้ผลผลิตได้ดีในสภาพอากาศเย็นปานกลาง ทรงพุ่มปานกลางถึงค่อนข้างแน่น ผลผลิตมีคุณภาพดีโดยเฉพาะใกล้สุกเต็มที่ น้าหนักต่อผล 12 -18 กรัม รูปร่างเป็นลิ่มสีแดงถึงสีแดง เข้มค่อนข้างแข็ง ไม่ต้านทานต่อไร แต่ต้านทานราแป้งได้ดี  พันธุ์พระราชทาน 70 (เป็นพันธุ์ที่มูลนิธิโครงการหลวงส่งเสริมให้ปลูก) เป็นสายพันธุ์จาก ประเทศญี่ปุ่น ใบมีลักษณะกลมใหญ่ และสีเขียวเข้มไม่ทนต่อราแป้ง แต่ทนต่อโรคเหี่ยว ให้ผลผลิต ค่อนข้างสูง น้าหนักต่อผล 11.5 - 13.0 กรัม ผลมีลักษณะทรงกลมหรือทรงกรวย สีแดงสดใสแต่ไม่ สม่าเสมอ เนื้อและผลค่อนข้างแข็ง มีกลิ่นหอม มีความฉ่าและรสชาติหวาน เปอร์เซ็นต์ความหวาน 9.6° Brix  พันธุ์พระราชทาน 72 (เป็นพันธุ์ที่มูลนิธิโครงการหลวงส่งเสริมให้ปลูก) เป็นสายพันธุ์นาเข้า มาจากประเทศญี่ปุ่น ชื่อพันธุ์ TOCHIOTOME ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542 น้าหนักต่อผล 14 กรัม เนื้อผล แข็งกว่าพันธุ์พระราชทาน 70 แต่มีความหวานน้อยกว่าคือ 9.3° Brix มีกลิ่นหอมเมื่อเริ่มสุก เนื้อ ภายในผลมีสีขาว ผิวผลเมื่อสุกเต็มที่จะมีสีแดงถึงแดงจัด เงาเป็นมันที่ผิวผล ทนต่อการขนส่ง มากกว่าพันธุ์อื่น  พันธุ์พระราชทาน 80 (เป็นพันธุ์ที่มูลนิธิโครงการหลวงส่งเสริมให้ปลูก ตั้งแต่ปีพ พ.ศ. 2552 เป็นต้นมา) เป็นสายพันธุ์ที่มาจากประเทศญี่ปุ่น ชื่อพันธุ์ Royal Queen ซึ่งมีลักษณะเด่นคือก้านใบ 9
  • 14. และลาต้นจะมีสีแดงสด ผมมีลักษณะเป็นรูปทรงกรวยสวยงาม ผลมีขนาดปานกลางน้าหนักเฉลี่ย 15 กรัม ผลมีกลิ่นหอม รสหวานฉ่า อีกทั้งยังมีความต้านทานต่อโรคและแมลงได้เป็นอย่่างดี  พันธุ์ 329 (Yale) เป็นพันธุ์ที่กรมส่งเสริมการเกษตรส่งเสริมให้กับเกษตรกรปลูก เป็นพันธุ์ที่ นาเข้ามาจากประเทศอิสราเอล ผลมีขนาดใหญ่กว่าพันธุ์ 80 รูปร่างแบน เนื้อแข็งรสหวานอมเปรี้ยว ทนต่อการขนส่งได้ดี สตรอเบอรี่ พันธุ์ 80 (Royal Queen) การขยายพันธุ์สตรอเบอร์รี่ ทาได้หลายวิธี เช่น 1. การใช้ไหล ขยายต้นไหลจากต้นแม่พันธุ์ 2. การแยกต้น หรือแยกกอจากต้นหลัก 3. การใช้เมล็ด ใช้ในกรณีที่มีการผสมพันธุ์เพื่อให้ได้พันธุ์ใหม่เกิดขึ้น 4. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ เป็นการผลิตเพื่อให้ได้ต้นพันธุ์ที่ปลอดโรคและมีความสมบูรณ์ที่สุด ช่วงที่เหมาะสมต่อการปลูก การปลูกสตรอเบอร์รี่สามารถปลูกได้ตลอดทั้งปลูก แต่การปลูกเพื่อเก็บเกี่ยวผลนั้นผู้ปลูกต้องเลือก เวลาในการปลูกเพื่อให้ทันต่อปัจจัยในการสร้างตาดอกของสตรอเบอร์รี่ คือช่วงฤดูหนาว ที่มีช่วงแสง ต่อวันสั้น และมีอุณหภูมิต่า โดยระยะเวลาที่เหมาะสมในการปลูกคือ ช่วงเดือนกรกฎาคม - สิงหาคม สาหรับการใช้เมล็ด ช่วงเดือนกันยายน - เดือนตุลาคม สาหรับการใช้ ต้นไหลมาปลูก 10
  • 15. *สาหรับการปลูกในช่วงเวลาอื่นเป็นการปลูกพืชสร้างต้นแม่พันธุ์เพื่อผลิตไหลในการปลูกรุ่นต่อไป ระยะห่างในการปลูกและระยะห่างระหว่างต้น 25 - 30 เซนติเมตร และ ระยะปลูกระหว่างแถว 30 - 40 เซนติเมตร วิธีการปลูกแบบไร้ดิน (ปลูกในวัสดุปลูก) 1. วัสดุปลูกที่นิยมใช้ แบบที่ 1. ทรายหยาบ 1 ส่วน + แกลบดิบ 2 ส่วน (สูตรฟาร์มในประเทศไทย) แบบที่ 2. เพอร์ไลท์ 3 ส่วน + ขุยมะพร้าวละเอียด 7 ส่วน (สูตรฟาร์มใน USA) แบบที่ 3. พีทมอส 1 ส่วน + ขุยมะพร้าว 3 ส่วน (สูตรฟาร์มในประเทศมาเลเซีย) แบบที่ 4. พีทมอส 2 ส่วน + เพอร์ไลท์ 1 ส่วน + เปลือกสน 1 ส่วน (สูตรฟาร์มในประเทศอิสราเอล) * ไม่ควรกลบวัสดุปลูกต้นสตรอเบอร์รี่ลึกเกินไป เพราะจะทาให้เชื้อโรคเข้าทาลายต้นสตรอเบอร์รี่ได้ ง่าย หรือตื้นเกินไปเพราะทาให้รากแห้งและมีผลต่อการเจริญเติบโตของต้นสตรอเบอร์รี่ได้ ควรกลบ วัสดุปลูกในระดับเดียวกับภาพที่แสดงไว้ด้านบน 2. หลังย้ายปลูกสัปดาห์แรกไม่ควรให้ปุ๋ยเคมี เนื่องจากจะทาให้รากพืชปรับตัวไม่ทันและตาย ได้ ควรเริ่มให้เมื่อผ่านไปแล้วประมาณ 7 - 10 วัน 3. การให้น้าควรดูวัสดุปลูกเป็นหลัก โดยให้มีความชื้นสม่าเสมอ อย่าให้แฉะหรือแห้งเกินไป 4. ในช่วงที่ปลูกเพื่อต้องการเก็บผล เมื่อต้นสตรอเบอร์รี่สร้างไหลออกมาให้ตัดไหลทิ้งเพื่อ บังคับให้ต้นสตรอเบอร์รี่สร้างตาดอกและเป็นการรักษาพลังงานของต้นเพื่อไว้เลี้ยงผลอีกด้วย 11
  • 16. 5. เมื่อต้นสตรอเบอร์รี่ เริ่มสมบูรณ์จะสร้างหน่อขึ้นมาข้างลาต้น ให้ผู้ปลูกไว้หน่อนั้น ประมาณ 6 - 8 หน่อต่อ 1 ต้น ที่เหลือให้ตัดหรือขุดออกไปปลูกต่อเพื่อไม่ให้กอนั้นแน่นเกินไปจน กระทบต่อการเจริญเติบโตได้ 6. หากเป็นการใช้ระบบน้าหยดให้ตั้งเวลาการให้น้าออกเป็น 4 ช่วง คือ เช้า - สาย - บ่าย - เย็น 7. ช่วงสัปดาห์แรก ของการนาไหลลงปลูกต้องให้น้าค่อนข้างบ่อยในวันหนึ่งอาจจะต้องให้น้า อย่างน้อย 3 - 4 ครั้งต่อวันโดยสังเกตุที่ตัววัสดุปลูกอย่าให้แห้งหรือแฉะเกินไป และให้นากระถางไว้ กลางแจ้งที่มีแดด ห้ามนาไปไว้ในที่ร่มไม่โดนแดดเพราะจะทาให้รากเน่าได้ ช่วงสัปดาห์แรกนี้ห้ามใส่ ปุ๋ยเคมีเด็ดขาดเพราะรากสตรอเบอรี่ยังอ่อนและกาลังปรับตัวอยู่ และระวังเรื่องน้าที่นามารดด้วยควร หลีกเลี่ยง การใช้น้าที่มีครอรีนสูง เช่นน้าประปา ทาการเด็ดกาบใบล่างของต้นไหลสตรอเบอรี่ออก ให้เลือใบประมาณ 2-3 ใบ วิธีการเด็ดใบล่างออก จะทาให้สตรอเบอรี่แตกยอดใหม่ได้เร็วและ เจริญเติบโตได้เร็วขึ้น 8. หลัง 1 สัปดาห์หลังย้ายปลูกเมื่อสตรอเบอรี่เริ่มมียอดให้ขึ้นมาให้เราเริ่มให้ปุ๋ย A,B ใน อัตราส่วน 1 - 2 ซีซี/น้า 1 ลิตร หรือมี ค่า EC อยู่ที่ประมาณ 1.3 - 1.6 ms/cmรดหรือให้กับระบบ น้าหยด สัปดาห์ละ 2 - 3 ครั้ง ช่วงนี้อยู่ที่ 6.0 - 6.3 พร้อมกับคอยตัดแต่งใบล่างที่แห้งออกด้วย หาก ช่วงนี้ต้นสร้างไหลออกมาแต่เราต้องการ ปลูกเพื่อเก็บผลให้เราตัดสายไหลดังกล่าวออกไปด้วย เพื่อให้อาหารไปเลี้ยงต้นหลักได้อย่างเต็มที่ 9. หลังครบ 2 สัปดาห์ให้เราเพิ่มปุ๋ย A,B อัตราส่วน 3 - 4 ซีซี/น้า 1 ลิตร และมีการเสริมปุ๋ย C อัตราส่วน 2 ซีซี/น้า 1 ลิตร สัปดาห์ละ 1 - 2 ครั้ง หรือมีค่า EC อยู่ที่ประมาณ 1.8 - 2.2 ms/cm ค่า pH ช่วงนี้อยู่ที่ 6.3 - 6.5 และทาการเด็บกาบใบล่างที่เหลืองหรือที่ไม่ได้รับการ สังเคราะห์แสงออก 10. เมื่อปลูกไปได้ประมาณ 40 - 60 วันหากต้นมีความสมบูรณ์ และได้รับอากาศเย็นในช่วง กลางคืน อุณหภูมิประมาณ 12 - 17 องศา C เป็นช่วงอุณหภูมิที่สตรอเบอรี่จะมีความสมบูรณ์ใน การสร้างตาดอก และเมื่อดอกได้รับการผสมเกสรก็จะมีการติดผลต่อไป รวมระยะเวลาเฉลี่ยในการ ปลูกตั้งแต่ จนเก็บเกี่ยวประมาณ 50 - 60 วันหลังย้ายปลูก ในช่วงที่สตรอเบอรี่เริ่มติดดอกให้เราจะ ใช้ A,B 3 - 4 ซีซีต่อน้า 1 ลิตร ค่า EC อยู่ที่ประมาณ 1.8 - 2.2 ms/cm และเสริมปุ๋ย C ลงไปในน้า ที่ใช้รด ในอัตราส่วน 1 ซีซี/น้า 1 ลิตร และช่วงที่ ติดผลนี้ให้เสริมด้วยปุ๋ย K ในอัตราส่วน 3 ซีซี/น้า 1 ลิตรให้ไปพร้อมกับน้าที่ใช้รด สัปดาห์ละ 2 - 3 ครั้ง ค่า pH ในช่วงนี้อยู่ที่ 6.5 - 6.8 12 3
  • 17. หมายเหตุเพิ่มเติม 1. สตรอบเบอรี่เป็นพืชที่ระบบรากตื้น การให้น้าควรให้อย่างสม่าเสมอต่อวัน โดยให้ไม่มาก แต่ให้บ่อยๆ เพื่อให้รากได้รับความชื้นอย่างเหมาะสม หากมากไปจะทาให้รากเน่า ถ้าน้อยไปจะทาให้ ต้นหยุดการเจริญเติบโต 2. ศัตรูพืชสาหรับสตรอเบอรี่ได้แก่ เพลี้ยอ่อน, ไรแดง, เพลี้ยไฟ, หนอนกระทู้, ทาก ฯลฯ ให้ เลือกใช้สารสกัดจากธรรมดชาติในการป้องกัน 3. โรคที่เกิดกับสตรอเบอรี่ได้แก่โรค แอนแทรคโนส, โรคใบจุด, โรครากเน่า, โรคที่เกิดจาก เชื้อไวรัส ที่มีพาหะมาจากเพลี้ยไฟ หรือเพลี้ยอ่อน 4. กรณีต้นสตรอเบอรี่แตกกอ ออกมาเพิ่มให้ตัดกออกให้เหลือแค่ 3 - 5 กอต่อต้นพอ 5. อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของสตรอเบอรี่คือ ช่วงกลางวัน 25 องศา C และ ช่วงกลางคืน 18 องศา C 6. การสร้างตาดอก อุณหภูมิต่ากว่า 24 องศา C อุณหภูมิที่เหมาะสมที่สุดคือ 12 องศา c ใน ด้านช่วงแสงที่น้อยกว่า 10 ชั่วโมงต่อวัน จะเป็นปัจจัยในการกระตุ้นการพัฒนาตาดอก ช่วงแสงที่ เหมาะสมที่สตรอเบอรี่ควรได้รับคือ 8 ชั่วโมงต่อวัน การปลูกในเขตร้อน เราสามารถสร้างปัจจัย ดังกล่าวได้โดยช่วงกลางคือ นาต้นสตรอเบอรี่มาวางไว้ในที่มีอุณปภูมิต่ากว่า 18 องศา เป็น ระยะเวลาติดต่อกัน 2 สัปดาห์ สตรอเบอรี่ก็จะสร้างตาดอกออกมาได้เช่นกัน โรค แมลง และศัตรูพืชสาหรับสตรอเบอร์รี่ 1.โรคที่เกิดจากเชื้อไวรัส จะแสดงอาการใบหงิก ย่น หรือมีอาการใบด่าง ใบผิดรูปร่าง ใบม้วนขึ้น ต้นเตี้ย แคระแกรน ข้อสั้น ทรงพุ่มมีใบแน่นขนาดใบเล็กกว่าปกติ ต้นพืชอ่อนแอ ชะงักการเจริญเติบโตและทาให้ผลผลิต ลดลง พบว่าแมลงพวกปากดูด ได้แก่ เพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟ และไส้เดือนฝอยบางชนิดเป็นพาหะของ โรค โรคนี้เมื่อเกิดแล้ว ไม่สามารถรักษาให้หายได้ นอกจากการป้องกันโดยคัดเลือกกล้าที่ไม่เป็นโรค ซึ่งเกิดจากต้นแม่พันธุ์ที่ได้จากวิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อมาปลูก ทาการอบดินเพื่อทาลายไส้เดือนฝอย ที่เป็นพาหะของโรคไวรัส กาจัดแมลงพวกเพลี้ยไฟ เพลี้ยอ่อน ซึ่งเป็นพาหะของโรค เมื่อพบว่ามีต้น ที่แสดงอาการผิดปกติดังกล่าวให้ขุดออกไปเผาทาลายทันที และการบารุงพืชให้แข็งแรงอยู่เสมอจะ ช่วยต้านทานเชื้อโรคได้ การป้องกันกาจัดแมลงพาหะของเชื้อไวรัส * ใช้สารสกัดสะเดา ฉีดพ่นเพื่อขับไล่และยับยั้งการกินอาหาร การเจริญเติบโตของแมลง ได้แก่ เพลี้ย อ่อน เพลี้ยไฟ 13
  • 18. * ใช้กับดักกาวเหนียวสีเหลือง วิธีการนี้สามารถดักจับตัวเต็มวัยของแมลงศัตรูพืช เช่น เพลี้ยไฟ ผีเสื้อต่างๆที่เป็นตัวแก่ของศัตรูพืช ทาให้ลดปริมาณศัตรูพืชลงได้ การวางกับดักกาวเหนียวสีเหลือง ควรวางให้อยู่ระดับสูงเหนือยอดต้นสตรอเบอรี่ประมาณ 1 ฟุต ในฤดูหนาวซึ่งมีการระบาดของแมลง น้อย อาจวางกับดัก 15 - 20 กับดัก/ไร่ แต่ในฤดูร้อนและฤดูฝน ซึ่งจะมีการระบาดของแมลง ศัตรูพืช ควรวางกับดัก 60 - 80 กับดัก/ไร่ 2. โรคแอนแทรคโนส (โรคกอเน่า) เกิดจากเชื้อราคอลเล็คโตตริคัม จะแสดงอาการเริ่มจากแผลเล็กๆ สีม่วงแดงบนไหล แล้ว ลุกลามไปตลอดความยาวของสายไหล แผลที่ขยายยาวมากขึ้นจะเปลี่ยนเป็นสีน้าตาล รอบนอกของ แผลเป็นสีเหลืองอมชมพูซีด แผลที่แห้งเป็นสีน้าตาลทาให้เกิดรอยคอดของไหลบริเวณที่เป็นแผล ต้น ไหลอาจจะยังไม่ตาย แต่เมื่อย้ายต้นไหลที่มีการติดเชื้อลงมาปลูกบริเวณพื้นราบ หากสภาพอากาศ เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของเขื้อ(อากาศร้อนชื้น) สตรอเบอรี่จะแสดงอาการใบเฉาและต่อมาจะ เหี่ยวอย่างรวดเร็ว พบว่าเนื้อเยื่อส่วนกอด้านในมีลักษณะเน่าแห้ง มีสีน้าตาลแดง หรือบางส่วนเป็น แผลขีดสีน้าตาลแดง และต้นจะตายในที่สุด โรคนี้สามารถเกิดที่ผลสตรอเบอรี่ได้ด้วย พบอาการเป็น แผลลักษณะวงรี สีน้าตาลเข้ม แผลบุ๋มลึกลงไปในผิวผล เมื่ออากาศชื้นสามารถมองเห็นหยดสีส้ม ซึ่ง เป็นกลุ่มของสปอร์ขยายพันธุ์ของเชื่อราอยู่ในบริเวณแผล การป้องกันและกาจัดโรค ในฤดูกาลผลิตผลสตรอเบอรี่ในช่วงเดือนตุลาคมถึงเดือนเมษายน ควรวางแผนจัดการในการผลิต ต้นไหลให้ปราศจากเชื้อโรคทั้งที่เป็นอาการแบบต่างๆของโรคแอนแทรคโนสที่ปรากฎให้เห็น ได้แก่ อาการโรคใบจุดดา, ขอบใบไหม้, แผลบนก้านใบ และแผลบนสายไหลตลอดจนต้นไหลที่มีการติดเชื้อ แบบแฝง โดยที่ต้นไหลยังแสดงอาการปกติ แต่จะตายเมื่อมรการย้ายลงมาปลูกบริเวณพื้นที่ราบ ใน สภาพอากาศเหมาะสมกับการเจริญของเชื้อ 3.โรคใบจุด โรคนี้จะปรากฎกับต้นแม่และต้นกล้า พบอาการระบาดรุนแรงในแปลงที่ปลูกกันมานาน การ ควบคุมโรคไม่ดีพอ แปลงที่มีวัชพืชมาก อาการเริ่มแรกจะเห็นแผลขนาดเล็กสีม่วงแก่บนใบ ต่อมา แผลขยายขนาด รอบแผลสีม่วงแดง กลางแผลสีน้าตาลอ่อนถึงขาวหรือเทา แผลค่อนข้างกลมคล้าย ตานก สีอาจเปลี่ยนไปบ้างแล้วแต่ความรุนแรงของโรคและการตอบสนองของพืช อาการอาจปรากฎ บนก้านใบ หรือบางครั้งพบอาการที่ผลด้วย 14
  • 19. การป้องกันกาจัดโรค ถ้าพบอาการของโรคที่ใบให้เด็ดใบที่เป็นโรคออกแล้วนาไปเผาทาลาย อย่าทิ้งไว้บริเวณแปลงปลูก เพราะจะทาให้เป็นแหล่งสะสมของโรคต่อไป บารุงพืชให้แข็งแรงในระยะปลูกเพื่อผลิตไหล อย่า ปล่อยให้วัชพืชขึ้นรก เพราะวัชพืชเป็นแหล่งอาศัยของโรค ควรดูแลความสะอาดของแปลงอยู่เสมอ โดยเฉพาะช่วงฤดูฝน 4. โรคเหี่ยว เป็นผลมาจากอาการรากเน่าโคนเน่า ซึ่งเกิดจากเชื้อราไฟทอปทอร่า จะพบการตายของราก โดยเริ่มจากปลายรากแล้วลุกลามต่อไปรากแขนงจะเน่าบริเวณท่อน้าท่ออาหารเป็นสีแดง อาการเน่า สามารถลามขึ้นไปจนถึงโคนต้น ถ้าหากอาการไม่รุนแรงพืชจะแสดงอาการเพียงแคระแกรน แต่ถ้า อาการรุนแรงจะเหี่ยวทั้งต้น ใบเป็นสีเหลืองจนถึงสีแดง และทาให้พืชตายได้ภายใน 2 - 3วัน เมื่อ ถอนต้นดูพบว่าก้านใบจะหลุดออกจากกอได้ง่าย ท่อลาเลียงภายในรากถูกทาลายจนเน่าทั้งหมด ศัตรูที่สาคัญของ สตรอเบอรี่ 1. ไรสองจุด เป็นศัตรูที่สาคัญของการผลิตผลสตรอเบอรี่ ไรจะดูดน้าเลี้ยงจากใบสตรอเบอรี่โดยเฉพาะ บริเวณใต้ใบ ทาให้ผิวใบบริเวณที่ไรดูดทาลายมีลักษณะกร้าน ใต้ใบเปลี่ยนเป็นสีน้าตาลแดง ผิวใบ ด้านบนจะเห็นเป็นจุดด่างขาวเล็กๆ กระจายอยู่ทั่วไป เมื่อการทาลายรุนแรงขึ้น จุดด่างขาวเล็กๆ เหล่านี้จะค่อยๆแผ่ขยายติดต่อกันไปเป็นบริเวณกว้าง จนทาให้ทั่วทั้งใบมีลักษณะเหลืองซีด ใบร่วง เป็นผลทาให้สตรอเบอรี่ชงักการเจริญเติบโต ต้นแคระแกรน ให้ผลผลิตน้อยลง พบระบาดมากใน สภาพอากาศแห้งความชื้นต่า การป้องกันและกาจัดไรสองจุด 1. การให้น้าแบบใช้สปริงเกอร์จะช่วยลดประชากรไรได้ เพราะจะเป็นการชะล้างไรให้หลุด จากใบพืช ชะล้างฝุ่นละอองที่ไรชอบหลบอาศัยอยู่ 2. หมั่นทาความสะอาดแปลง ไม่ให้มีวัชพืชขึ้นในแปลงปลูก 3. ไม่ควรปลูกพืชผักโดยเฉพาะ เช่น กระเทียม, ขึ้นฉ่าย แซมในแถวปลูกสตรอเบอรี่ เพราะ เป็นการเพิ่มพืชอาศัยให้ไรสองจุด 15
  • 20. 2. หนอนด้วงขาว เป็นหนอนของด้วงปีกแข็ง ตัวสีขาว ปากมีลักษณะปากกัด สีน้าตาลอ่อน เจริญเติบโตจากไข่ ที่อยู่ใต้ดิน จะเริ่มกัดกินรากสตรอเบอรี่ในช่วงปลายฤดูฝน ทาให้รากไม่สามารถดูดน้าได้ เมื่อใบคาย น้าจึงทาให้ใบเหี่ยว รูใบปิด ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ไม่สามารถฟุ้งกระจายเข้าสู่ใบ การสังเคราะห์ แสงจะลดลง ทาให้ต้นสตรอเบอรี่อ่อนแอ ชงักการเจริญเติบโต เมื่อพบอาการดังกล่าวให้ขุดหาหนอน แล้วทาลาย ในการเตรียมแปลงให้ย่อยดินให้ละเอียด โดยเฉพาะพื้นที่เปิดใหม่ใกล้ป่าหรือใกล้กองปุ๋ย หมัก ใช้สารเคมีประเภทคลอร์ไพริฟอสราดบริเวณที่พบ สารเคมีดังกล่าวเป็นสารเคมีกาจัดแมลง ประเภทสัมผัสและกินตาย มีพิษตกค้าง 20 - 25 วันในดิน 3. เพลี้ยอ่อน เป็นแมลงปากดูด จะดูดน้าเลี้ยงของใบ ก้านใบ ด้านท้ายลาตัวเพลี้ยอ่อนมีท่อยื่นออกมา 2 ท่อใช้ปล่อยสารน้าหวานเป็นอาหารของเชื้อรา ทาให้พืชสกปรกเกิดราดา พืชสังเคราะแสงได้ลดลง ทาให้ชงักการเจริญเติบโต ใบหงิกย่น เพลี้ยอ่อนจะอยู่รวมกันเป็นกลุ่มตามส่วนยอดช่อดอกและ ขยายพันธุ์อย่างรวดเร็ว * นอกจากศัตรูดังกล่าวแล้ว ยังพบว่าทากและหนูเป็นศัตรูสาคัญที่เข้าทาลายผลสตรอเบอรี่ได้ การติดดอก, ออกผล และ การเก็บเกี่ยว ต้นสตรอเบอรี่จะเริ่มแทงช่อดอกประมาณเดือนพฤศจิกายน เมื่ออุณหภูมิลดต่าลงและช่วง แสงของวันสั้นเข้า คือ ประมาณหนึ่งเดือนหลังจากปลูก เมื่อดอกบานมีการผสมเกสรแล้วประมาณ หนึ่งเดือน ผลจะเริ่มทยอยแก่พร้อมที่จะเก็บเกี่ยวได้ โดยผลสุกมากที่สุดในช่วงเดือนมีนาคมและจะ วายประมาณปลายเดือนเมษายน สตรอเบอรี่นอกจากเป็นอาหารแล้วยังใช้เป็นสมุนไพรได้ เนื่องจากผลสตรอเบอรี่อุดมด้วย วิตามินซีและธาตุเหล็ก มีคุณประโยชน์ต่อระบบเลือดและหัวใจ ลูกสีแดงสดอุดมด้วยซูเปอร์ไฟเบอร์ เพคติน ซึ่งสามารถช่วยลดปริมาณโคเลสเตอรอลได้ระดับหนึ่ง นอกจากนั้นยังช่วยให้ระบบทางเดิน อาหารทางานได้สะดวก มีสรรพคุณเป็นยาระบายอย่างอ่อน ยาขับปัสสาวะและสามารถยับยั้งสารก่อ มะเร็งกลุ่มไนโตรซามึนได้ (สารกลุ่มนี้กระตุ้นการเกิดมะเร็งในลาไส้) เนื่องจากมีโพลีฟินอลปริมาณสูง สาหรับการปลูกสตรอเบอร์รี่แบบรากแช่ในสารละลาย การปลูกสตรอเบอร์รี่แบบรากแช่ในสารละลายนั้นไม่สามารถนาเอาต้นไหลที่ได้จากการปลูก บนดินหรือวัสดุปลูกอื่นๆมาปลูกได้ เนื่องจากระบบรากของพืชที่ปลูกแบบรากแช่กับการปลูกในวัสดุ ปลูกต่างกันถ้านาเอาต้นที่ปลูกแบบวัสดุปลูกมาก่อนมาย้ายลงปลูกแบบรากแช่ในสารละลายส่วน ใหญ่ต้นเกล้านั้นจะตาย ดังนั้นก่อนปลูกสตรอเบอร์รี่แบบรากแช่ในสารละลายนั้นผู้ปลูกต้องมีการ เตรียมต้นเกล้าสาหรับการปลูกแบบนี้ก่อน โดยสามารถทาได้ 2 วิธีคือ 16
  • 21. 1. การเตรียมต้นเกล้าที่ได้จากไหลต้นพันธุ์ ต้นสตรอเบอร์รี่ที่สมบูรณ์จะมีการสร้างไหลออกมาจากต้นหลักโดยมีสายเป็นตัวเชื่อมเพื่อลาเลียงน้า และอาหาร ในขณะที่ต้นไหลยังมีระบบรากไม่สมบูรณ์พอที่จะหาน้าและอาหารมาเลี้ยงตัวเองได้ เมื่อ ผู้ปลูกเพิ่มเห็นต้นหลักสร้างสายและไหลยื่นออกมาจากต้นหลักแล้วให้ผู้ปลูกเตรียมสร้างต้นเกล้าเพื่อ ใช้ในการปลูกแบบรากแช่ดังนี้ 1.1 ให้ใช้ฟองน้า หุ้มบริเวณตุ่มรากของต้นไหลและใช้ภาชนะรองน้าไว้แล้วนาฟองน้านั้นไป จุ่มลงน้าโดยให้น้าท่วมประมาณ 1/2 ของก้อนฟองน้าก็พอ 1.2 ประมาณ 2 สัปดาห์หลังจากกระตุ้นการเกิดรากที่ไหลแล้วต้นสตรอเบอร์รี่จะมีระบบรากที่ สามารถปลูกแบบรากแช่ในสารละลายได้อย่างสมบูรณ์ 1.3 การตัดไหล ก่อนตัดไหลผู้ปลูกต้องสังเกตุที่รากของต้นไหลว่ามีมากพอที่จะสามารถย้าย ปลูกได้หรือไม่โดยดูที่ความสมบูรณ์ของใบของต้นไหลเป็นหลักก็ได้มีมีมากกว่า 3 ก้านหรือยัง การ ตัดไหลให้ตัดบริเวณตรงกลางของสาย ห้ามตัดชิดด้านใดด้านหนึ่ง เนื่องจากการตัดชิดด้านในด้าน หนึ่งจะทาให้ต้นสตรอเบอร์รี่เกิดแผลและเชื้อโรคจะเข้าทาลายได้ง่าย 1.4 ให้นาต้นไหลที่ทาการตัดแล้วย้ายลงปลูกในแปลงปลูกได้ โดยช่วงแรกให้ใช้ EC ประมาณ 1.2 - 1.4 1.5 เมื่อปลูกได้ประมาณ 2 สัปดาห์ให้เปลี่ยนน้าในระบบใหม่ และปรับ EC เป็น 1.5 - 1.7 1.6 เมื่อปลูกได้ประมาณ 2 สัปดาห์ให้เปลี่ยนน้าในระบบใหม่ และปรับ EC เป็น 1.7 - 2.0 และให้เลี้ยงด้วย EC ในระดับนี้ไปตลอด และให้ปุ๋ย C เสริม โดยฉีดพ่น 2 - 3 ครั้งต่อสัปดาห์ ใน 17
  • 22. ระหว่างนี้ถ้าต้องการปลูกเพื่อเก็บผลก็ให้ตัดไหลที่งอกออกมาทิ้งให้หมด เพื่อให้ต้นสะสมอาหารและมี ความสมบูรณ์พร้อมที่จะออกดอก 1.7 เมื่อสตรอเบอรี่ เริ่มติดผลได้ประมาณ 1 สัปดาห์ ให้เสริมปุ๋ย K ด้วยการฉีดพ่นสัปดาห์ละ 1 - 2 ครั้ง เพื่อให้ผลสตรอเบอร์รี่สมบูรณ์และเพิ่มน้าตาลให้กับผลมากขึ้น ตัวอย่าง การทาต้นไหลเพื่อนาไปปลูกต่อ 18
  • 23. 2. การเตรียมต้นเกล้าจากการเพาะเมล็ด สตรอเบอร์รี่เป็นพืชเมืองหนาวที่ ขยายพันธุ์ด้วยการสร้างไหล และการใช้เมล็ด สาหรับเมล็ด สตรอเบอร์รี่ที่ใช้ในการปลูกนั้นจะแบ่งการเตรียมเมล็ด ออกเป็น 2 ช่วง ก่อนปลูกคือ 1. ช่วงระยะพักตัว กล่าวคือ ตามธรรมชาติของพืชในเขตหนาวเมล็ดของพืชเหล่านี้เมื่อเข้าสู่ฤดู หนาวจะมีระยะฟักตัวเพื่อมีการเปลี่ยนแปลงทางเคมีในเมล็ดเพื่อให้พร้อมต่อการงอกเมื่อถึงฤดู และมี ปัจจัยที่เหมาะสมต่อการงอก ดังนั้นเราจะสังเกตุได้ว่าเมล็ดพืชในเขตหนาวถ้าเราเก็บมาใหม่ๆ แล้วนามาเพาะทาไมจึงมี เปอร์เซ็นต์การงอกต่า นั้นเป็นเพราะว่าเมล็ดเหล่านั้นยังไม่เข้าสู่ระยะฟักตัวเพื่อเปลี่ยนเคมีในเมล็ด ดังกล่าวมาแล้ว แต่เมื่อเรานาเมล็ดไปเก็บในตู้เย็นหรือที่มีอุณหภูมิตาเป็นระยะเวลาหนึ่งแล้วนาเมล็ด นั้นมาเพราะจะทาให้เปอร์เซ็นต์การงอกของเมล็ดนั้นสูงขึ้นกว่าเมล็ดที่ไม่ได้ผ่านระยะฟักตัว โดยสต รอเบอร์รี่มีระยะฟักตัวอยู่ที่ประมาณ 2 - 4 สัปดาห์ ในอุณหภูมิต่ากว่า 7 องศาเซลเซียส 2. ช่วงระยะเวลาการงอก โดยปกติของเมล็ดสตรอเบอร์รี่เมื่อผ่านระยะฟักตัวมาแล้วประมาณ 2 - 4 สัปดาห์ เมื่อถูกกระตุ้นด้วยปัจจัยการงอก คือ น้า, อุณหภูมิ และอ๊อกซิเจน เมล็ดจะเริ่มงอกภายใน 7 - 14 วัน การเพาะเมล็ดเป็นวิธีการปลูกสตรอเบอร์รี่ที่ใช้เวลาและมีวิธียุ่งยากกว่าการปลูกด้วยวิธีอื่น แต่การเพาะเมล็ดเป็นวิธีที่ผู้ปลูกสามารถเริ่มต้นได้ทุกฤดูและตัดปัญหาการขาดแคลนต้นไหลในบาง ช่วงฤดูได้ โดยการเพาะเมล็ดสตรอเบอร์รี่ มีวิธีการดังนี้ 19
  • 24. 1. นาเมล็ดที่ผ่านการฟักตัวแล้วมาแช่ในน้าสะอาด โดยเทน้าเก่าออกส่วนหนึ่ง และเติมน้า ใหม่เข้าไปแทนทุกวัน สาเหตุที่ต้องทาอย่างนี้คือ เมื่อเราแช่เมล็ดสตรอเบอร์รี่ เมล็ดจะคายเคมีที่ทา ให้น้าเปลี่ยนเป็นสีน้าตาลและมีเมือกออกมาคลุมตัวเมล็ดเอาไว้ ถ้าเราไม่เปลี่ยนถ่ายน้าทุกวันจะทา ให้น้ามีอ๊อกซิเจนต่า และเมล็ดจะเน่าได้ 2. หลังจากผ่านไปประมาณ 7 วัน จะมีรากเล็กๆ สีขาวยาวประมาณ 1 - 2 มิลลิเมตร งอก ออกมาจากเมล็ด ในช่วงนี้เมล็ดจะมีการคายเมือกหุ้มเมล็ดออกมามากทาให้เมล็ดที่แช่เกาะกันเป็น กลุ่ม ให้เราใช้ตะเกียบ ค่อยๆคนให้เมล็ดแยกออกจากกัน จากนั้นให้แยกเมล็ดที่งอกออกมานาไป เพาะในฟองน้าเหมือนกับการปลูกสลัดในระบบไฮโดรฯ ต่อไป 3. อนุบาลเกล้าสตรอเบอร์รี่ในถาดอนุบาลด้วยน้าเปล่า (วันที่ 1 - 7) คอยรักษาระดับน้าให้ อยู่ประมาณ 2 ส่วน 3 ของก้อนฟองน้า และให้โดยแสงราไรอย่าให้โดนแดดโดยตรง 4. เมื่ออนุบาลครบ 7 วันก็เริ่มให้ปุ๋ย อ่อนๆ ด้วยใช้ EC ประมาณ 0.8 - 1.1 เมื่อครบ 14 วัน ก็ย้ายลงแปลงปลูกได้โดยใช้ EC ที่ 1.2 - 1.4 จนครบ 1 เดือน ก็ปรับ EC เป็น 1.5 - 1.7 (ให้เปลี่ยน น้าทุกๆ 2 สัปดาห์) และให้ปุ๋ย C เสริม โดยฉีดพ่น 2 - 3 ครั้งต่อสัปดาห์ ในระหว่างนี้ถ้าต้องการ 20
  • 25. ปลูกเพื่อเก็บผลก็ให้ตัดไหลที่งอกออกมาทิ้งให้หมด เพื่อให้ต้นสะสมอาหารและมีความสมบูรณ์พร้อม ที่จะออกดอก 5. เมื่อสตรอเบอรี่ เริ่มติดผลได้ประมาณ 1 สัปดาห์ ให้เสริมปุ๋ย K ด้วยการฉีดพ่นสัปดาห์ละ 1 - 2 ครั้ง เพื่อให้ผลสตรอเบอร์รี่สมบูรณ์และเพิ่มน้าตาลให้กับผลมากขึ้น หมายเหตุ 1. ค่า pH ที่เหมาะสมสาหรับสตรอเบอร์รี่ อยู่ที่ 6.0 - 6.8 และ EC สาหรับต้นที่โตแล้วอยู่ที่ 1.7 - 2.3 2. ควรเปลี่ยนน้าใหม่ทุกๆ 2 สัปดาห์ 3. ควรฉีดพ่นปุ๋ย C และสารกาจัดและป้องกันโรคและแมลง ทุกๆ 7 - 10 วัน 21
  • 26. บทที่ 3 วิธีการดาเนินงาน ในการจัดทาโครงงานเรื่องสตรอเบอร์รี่ไฮโดรโปนิกส์ ไม่มีดินก็กินได้(Strawberry hydroponics, No soil is edible)มีวิธีการกาเนินงานดังนี้ วิธีการดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1.กาหนดหัวข้อที่จะศึกษา 2.ค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องสตรอเบอร์รี่ไฮโดรโปนิกส์ 3.ค้นคว้าและรวบรวมข้อมูลจากแหล่งที่น่าเชื่อถือต่างๆ 4.ตรวจเช็คข้อมูลให้ถูกต้อง 5.นาข้อมูลใส่ Slide share 6.นาข้อมูลลงในบล็อกของตน 7.สรุปข้อมูลต่างๆที่น่าสนใจลงใน Microsoft PowerPoint 8.นาเสนอข้อมูลให้คุณครูและเพื่อนๆ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1.อินเทอร์เน็ต 2.หนังสือจากห้องสมุด 3.คอมพิวเตอร์ 4.โปรแกรม Microsoft Word 5.โปรแกรม Microsoft PowerPiont งบประมาณ รวมทั้งสิ้น 200 บาท -ค่าเล่มรานงาน 170 บาท -ค่าเข้าเล่มรายงาน 30 บาท 22
  • 27. สถานที่ดาเนินการ -บ้านเลขที่ 189/177 ม.8 ต.ต้นเปา อ.สันกาแพง จ.เชียงใหม่ 50130 -หอโชคชัยแมนชั่น เลขที่ 26 ถนนเวียงแก้ว ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50200 -โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย 238 ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50140 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดั บ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 1 2 1 3 1 4 1 5 1 6 1 7 1 กาหนดหัวข้อที่จะศึกษา / / 2 ค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องสต รอเบอร์รี่ไฮโดรโปนิกส์ / / / / 3 ค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล จากแหล่งที่น่าเชื่อถือต่างๆ / / / / / 4 ตรวจเช็คข้อมูลให้ถูกต้อง / / / 5 นาข้อมูลใส่ Slide share / / 6 นาข้อมูลลงในบล็อกของตน / / 7 สรุปข้อมูลต่างๆที่น่าสนใจ ลงใน Microsoft PowerPoint / / / / 8 นาเสนอข้อมูลให้คุณครูและ เพื่อนๆ / 23
  • 28. บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน ในการจัดทาโครงงานเรื่องสตรอเบอร์รี่ไฮโดรโปนิกส์ ไม่มีดินก็กินได้(Strawberry hydroponics, No soil is edible)มีผลการดาเนินงานดังนี้ ผลการดาเนินงาน 1. ผู้ศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องการปลูกพืชแบบไร้ดินและการปลูกสตรอเบอร์รี่ ไฮโดรโปนิกส์ 2. ผู้ศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการปลูกสตรอเบอร์รี่ไฮโดรโปนิกส์ 3. สามารถเผยแพร่แก่ผู้ที่สนใจได้ การนาไปใช้ 1. สามารถนาข้อมูลไปเผยแพร่ให้ผู้ที่สนใจได้ 2. นาไปเป็นสื่อการเรียนการสอน 3. นาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ 4. สามารถนาไปเป็นอาชีพเสริมได้ 24