SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
Download to read offline
โครงการช่วยเหลือ เจือปัน
จัดทาโดย
1.นายสิทธันต์ สุขสุวรรณ เลขที่ 9
2.นางสาวภวิษย์พร ภิรมรักษ์ เลขที่ 33
3.นางสาวอริสรา แก้วทับทิม เลขที่ 34
4.นางสาวระวีวรรณ อินวารี เลขที่ 35
5.นางสาววีระวรรณ อินวารี เลขที่ 36
6.นางสาวศณิตา ฝักบัว เลขที่ 37
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1
เสนอ
คุณครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8
ก
คำนำ
โครงการช่วยเหลือเจือปันนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา IS3 จัดทาขึ้นเพื่อช่วยเหลือเด็กและครอบครัวที่มี
ปัญหาในเรื่องของการใช้ชีวิต ที่มีผลมาจากการใช้ความรุนแรงในความครัว การถูกล่วงละเมิดทางเพศ ทั้งนี้
โครงการช่วยเหลือเจือปันจึงนาสิ่งของไปบริจาคให้กับบ้านพักเด็กและครอบครัว
คณะผู้จัดทาโครงการช่วยเหลือเจือปันหวังว่าโครงการนี้จะเป็นประโยชน์แก่ผู้อื่น หากมี
ข้อผิดพลาดประการใดก็ขออภัย ณ ที่นี้ด้วย
คณะผู้จัดทา
18 กันยายน 2558
ข
กิตติกรรมประกำศ
โครงการช่วยเหลือ เจือปันนี้สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดีเนื่องจากได้รับความกรุณาจาก คุณครูทรงศักดิ์
โพธิ์เอี่ยม คุณครูที่ปรึกษารายวิชา IS 3 ที่ได้ให้คาปรึกษา คาแนะนา แนวคิด ตลอดจนการแก้ไขข้อบกพร่อง
ของการทางานต่างๆมาโดยตลอด
ขอขอบพระคุณ คุณชมาพร พงษ์ศิริ คุณแม่ของนางสาวภวิษย์พร ภิรมรักษ์ ที่ได้พาสมาชิกในกลุ่ม
ไปยังบ้านพักเด็กและครอบครัว
และขอขอบคุณสมาชิกในกลุ่มทุกคนที่ร่วมมือกันทาโครงการนี้อย่างตั้งใจ จนโครงการนี้สาเร็จ
อย่างสมบูรณ์
คณะผู้จัดทา
1.นายสิทธันต์ สุขสุวรรณ เลขที่ 9
2.นางสาวภวิษย์พร ภิรมรักษ์ เลขที่ 33
3.นางสาวอริสรา แก้วทับทิม เลขที่ 34
4.นางสาวระวีวรรณ อินวารี เลขที่ 35
5.นางสาววีระวรรณ อินวารี เลขที่ 36
6.นางสาวศณิตา ฝักบัว เลขที่ 37
สารบัญ
เรื่อง หน้า
คานา ก
กิตติกรรมประกาศ ข
บทที่ 1 บทนา
หลักการและเหตุผล 1
การบูรณาการกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 1
วัตถุประสงค์ของโครงการ 1
สถานที่ดาเนินการ 1
วิธีการดาเนินงาน 1
ระยะเวลาดาเนินงาน 2
รายละเอียดงบประมาณของโครงการ 2
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 2
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
เด็กด้อยโอกาส 3
ประเภทของเด็กด้อยโอกาส 3
สาเหตุของเด็กด้อยโอกาส 6
ผลกระทบจากปัญหาเด็กด้อยโอกาส 8
แนวทางแก้ไขปัญหาเด็กด้อยโอกาส 9
บทที่ 3 ขั้นตอนการดาเนินงาน
วัสดุอุปกรณ์ 11
ขั้นตอนดาเนินงาน 11
บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน 12
บทที่ 5 สรุปและอภิปรายผล
สรุปผลการทางาน 14
อภิปรายผลการดาเนินงาน 14
ข้อเสนอแนะ 14
เอกสารอ้างอิง 15
ภาคผนวก 16
สารบัญภาพ
ภาพที่ หน้า
ภาพที่ 4.1 สิ่งของที่จะนาไปบริจาค 12
ภาพที่ 4.2 นาสิ่งของที่เตรียมไว้บริจาคให้กับบ้านพักเด็กและครอบครัว 12
ภาพที่ 4.3 พูดคุยเกี่ยวกับเด็กที่รับมาดูแล 13
ภาพที่ 4.4 ถ่ายรูปร่วมกัน 13
ภาพที่ 1 ค้นคว้าหาโครงการที่น่าสนใจ 17
ภาพที่ 2 นาเสนอโครงการที่จะทา 17
ภาพที่ 3 สิ่งของที่เตรียมไปบริจาค 17
ภาพที่ 4 นาสิ่งของไปบริจาคให้กับบ้านพักเด็กและครอบครัว 18
ภาพที่ 5 ถ่ายรูปร่วมกับพี่ที่ดูแลเด็กที่อาศัยอยู่ในบ้านพัก 18
ภาพที่ 6 เว็บไซต์นาเสนอโครงการ 18
ภาพที่ 7 powerpoint สไลด์ที่ 1 โครงการช่วยเหลือ เจือปัน 19
ภาพที่ 8 powerpoint สไลด์ที่ 2 หลักการและเหตุผล 19
ภาพที่ 9 powerpoint สไลด์ที่ 3 การบูรณาการกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 19
ภาพที่ 10 powerpoint สไลด์ที่ 4 เงื่อนไขความรู้ และคุณธรรม 20
ภาพที่ 11 powerpoint สไลด์ที่ 5 วัตถุประสงค์ของโครงการ และสถานที่ดาเนินการ 20
ภาพที่ 12 powerpoint สไลด์ที่ 6 วิธีการดาเนินงาน 20
ภาพที่ 13 powerpoint สไลด์ที่ 7 ระยะเวลาดาเนินงาน และรายละเอียดงบประมาณ 21
ภาพที่ 14 powerpoint สไลด์ที่ 8 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 21
ภาพที่ 15 powerpoint สไลด์ที่ 9 รายชื่อผู้จัดทา 21
ภาพที่ 16 powerpoint สไลด์ที่ 10 ขอบคุณ 22
1
บทที่ 1
บทนา
1.หลักการและเหตุผล
การอบรม การสั่งสอน การให้คาแนะนา การเลี้ยงดู การให้ความรักและความอบอุ่น เป็นสิ่งที่สาคัญ
ที่จะทาทุกคนมีสุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี โดยเฉพาะกับบุคคลที่มีปัญหา เช่น ปัญหาใช้ความรุนแรงใน
ครอบครัว ปัญหาการค้ามนุษย์ ปัญหาเด็กและเยาวชน สตรีถูกทารุณกรรม การตั้งครรภ์โดยไม่พึงประสงค์
ซึ่งบุคคลเหล่านี้เป็นผู้ที่ต้องการคาแนะนาที่ดีและกาลังใจอย่างมาก ในสังคมไทยจึงมีมูลนิธิที่คอยให้
คาปรึกษาให้คาแนะนา ให้ที่พักชั่วคราว เพื่อขัดเกลาจิตใจบุคคลนั้นๆ
คณะผู้จัดทาเล็งเห็นถึงความสาคัญ และอยากมีส่วนร่วมที่จะช่วยสนับสนุนการทางานของทาง
มูลนิธิโดยการช่วยบริจาคสิ่งของที่มีความจาเป็นหรือสิ่งที่ทางมูลนิธิต้องการจะนาไปใช้กับเด็กที่พักอาศัยอยู่
อาทิเช่น หนังสือ เสื้อผ้า นม ขนม รวมทั้งของใช้ที่ใช้ในชีวิตประจาวัน เช่น แป้ง สบู่ ยาสีฟัน กระดาษชาระ
เป็นต้น
2.การบูรณาการกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
1.ความพอประมาณ ซื้อของที่ขาดแคลนและจาเป็น
2.ความมีเหตุผล เราเลือกสถานที่ที่ต้องการความช่วยเหลือ
3.การมีภูมิคุ้มกันที่ดี ทาให้เด็กที่บ้านพักมีสิ่งของที่จาเป็นที่เราให้เอาไว้ใช้
เงื่อนไข
1.เงื่อนไขความรู้ ทาให้รับรู้ถึงปัญหาในสังคมที่ส่งผลกระทบกับเด็ก
2.เงื่อนไขคุณธรรม เป็นการส่งมอบความสุขให้กับผู้อื่น
3.วัตถุประสงค์ของโครงการ
เพื่อบริจาคสิ่งของให้กับบ้านพักเด็กและครอบครัว
4.สถานที่ดาเนินการ
บ้านพักเด็กและครอบครัว เลขที่8/8 หมู่ 12 ต.ปากแพรก อ.เมือง จ.กาญจนบุรี 71000
5.วิธีการดาเนินงาน
1.ขั้นเตรียมงาน
- ปรึกษาสมาชิกในกลุ่มเกี่ยวกับโครงการ
- แบ่งกันหาข้อมูล
2
2. ขั้นดาเนินงาน
- ติดต่อสถานสงเคราะห์สัตว์ที่จะไปช่วยบริจาค
- เงินบริจาคโดยการแสดงความสามารถ
- เดินทางไปยังสถานที่
- เขียนโครงการ
- สรุปโครงการ
- จัดทาเว็บไซต์เผยแพร่ข้อมูล
6.ระยะเวลาดาเนินงาน
ตั้งแต่เดือน มิถุนายน 2558 – เดือน กันยายน 2558
7.รายละเอียดงบประมาณของโครงการ
ค่าเดินทาง 200 – 300 บาท
เงินบริจาค 700 บาท
8.ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
บ้านพักเด็กและครอบครัวมีสิ่งของเตรียมเอาไว้เพื่อใช้งาน
3
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
1.เด็กด้อยโอกาส
เด็กด้อยโอกาส หมายถึง เด็กที่อยู่ในสภาวะยากลาบาก เนื่องจากประสบปัญหาต่าง ๆ มีชีวิตความเป็นอยู่
ด้อยกว่าเด็กปกติทั่วไป ขาดโอกาสหรือไม่มีโอกาสที่จะเข้ารับบริการทางการศึกษาหรือได้รับพัฒนาทั้งทาง
ร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม และจิตใจ จาเป็นต้องได้รับความช่วยเหลือเป็นกรณีพิเศษเพื่อให้มีชีวิต
ความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น มีพัฒนาการที่ถูกต้องเหมาะสมกับวัยและสามารถบรรลุถึงศักยภาพขั้นสูงสุดได้
2.ประเภทของเด็กด้อยโอกาส
ประเภทกลุ่มเด็กด้อยโอกาสและเด็กนอกระบบการศึกษาอย่างละเอียด จะสามารถจาแนกออกเป็น
11 กลุ่ม โดยพบว่ามีจานวนทั้งสิ้นประมาณ 6,400,000 คน ประกอบด้วย
1.เด็กเร่ร่อนจรจัด มีจานวน 30,000 คน ซึ่งแหล่งชุมชนแออัดที่มีจานวนเด็กเร่ร่อนมากที่สุดอยู่ใน
เขตกรุงเทพมหานคร บริเวณสะพานพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ชุมชนคลองเตย ชุมชนรังสิต และชุมชนธัญญบุรี
รวมทั้งตามเมืองขนาดใหญ่ อาทิ ด่านแม่สาย จ.เชียงราย , บริเวณโรงเกลือ จ.สระแก้ว , บริเวณชุมชนข้างทาง
รถไฟ สวนรัก หอนาฬิกา จ.นครราชสีมา และบริเวณพัทยา จ.ชลบุรี ซึ่งส่วนใหญ่ประสบปัญหาครอบครัว
แตกแยก ถูกทารุณกรรม บางส่วนออกมาเร่ร่อนเพื่อหารายได้ช่วยเหลือครอบครัว และหนีตามเพื่อนมา
เร่ร่อน
เด็กกลุ่มนี้กาลังเผชิญความเสี่ยงสูงต่อปัญหายาเสพติด การขายบริการทางเพศ และอาชญากรรม เนื่องจากถูก
ทาร้าย ถูกล่วงละเมิดทางเพศ และการเจ็บป่วย ซึ่งขณะนี้มีองค์กรของภาครัฐและองค์กรเอกชนเข้าช่วยเหลือ
ได้เพียง 5,000 คน ยังมีเด็กเร่ร่อนนอกระบบจานวนมากในหลายพื้นที่ที่รอความช่วยเหลือกว่า 15,000-
20,000 คน สิ่งที่เด็กในกลุ่มนี้ต้องการคือ การช่วยเหลือต่อเนื่องระยะยาว ซ่อมแซมสภาพพื้นฐานในชีวิต
และช่วยเหลือเยียวยาครอบครัว จากนั้นจึงนาเด็กกลับเข้าสู่ระบบการศึกษา
2.เด็กไร้สัญชาติ มีจานวน 200,000-300,000 คน ในจานวนนี้มีอยู่ 100,000 คนที่ยังขาดโอกาสทาง
การศึกษา ซึ่งเป็นเด็กจากชนกลุ่มน้อยที่เข้ามาพักพิงในประเทศไทย มีทั้งที่อยู่มานานเป็นชั่วอายุคน และเพิ่ง
อพยพเข้ามาอยู่ จึงยังไม่ถูกรับรองสัญชาติ ทาให้เด็กในกลุ่มดังกล่าวไม่ได้รับบริการเท่าเทียมกับเด็กทั่วไป
โดยขาดโอกาสทางการศึกษา ไม่ได้รับสิทธิรับทุนแม้เรียนดี เสี่ยงต่อการถูกล่อลวงไปค้ามนุษย์ ขาดสิทธิ
ทางการรักษาพยาบาล และไม่สามารถเดินทางไกลได้ เพราะไม่ได้รับการรับรองสิทธิการเป็นพลเมือง
4
ความต้องการจาเป็นของเด็กกลุ่มนี้คือ การให้สิทธิและโอกาสต่อเด็กไร้สัญชาติ ทั้งทางกฎหมายรับรองและ
สิทธิการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา การดูแลรักษาพยาบาล และสิทธิการเดินทางออกนอกพื้นที่ได้ รวมถึง
กลไกการติดตามคุ้มครองเด็กไร้สัญชาติที่มีแนวโน้มสูญหายและเสี่ยงต่อขบวนการค้ามนุษย์
3.ลูกของแรงงานต่างด้าว มีจานวน 250,000 คน ปัญหาสาคัญของเด็กในกลุ่มนี้คือ ขาดโอกาสทาง
การศึกษา เนื่องจากต้องอพยพตามผู้ปกครองเข้ามาทางาน และเป็นกลุ่มที่ต้องเป็นแรงงานเด็ก จึงไม่มีเวลา
เรียนในระบบโรงเรียนปกติ ความต้องการของเด็กกลุ่มนี้จึงต้องการการศึกษารูปแบบพิเศษ บนพื้นฐานของ
ความต้องการให้การศึกษาที่มีคุณภาพเหมาะสมกับวิถีชีวิตรวมถึงการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ และส่งเสริม
ยอมรับในความหลากหลายทางวัฒนธรรม
4.เด็กติดเชื้อเอดส์ มีจานวน 50,000 คน ซึ่งติดเชื้อเอดส์จากพ่อแม่ จึงมีจานวนไม่น้อยที่เป็นทั้งเด็ก
กาพร้าและติดเชื้อเอดส์ จึงต้องเผชิญกับปัญหาทางสุขภาพ ขาดการยอมรับจากสังคมทาให้ผู้ป่วยเข้าไม่ถึง
บริการด้านสุขภาพ การส่งต่อของเด็กระหว่างองค์กรไม่เป็นความลับ และเด็กที่ป่วยไม่สามารถอยู่ร่วมกับ
ครอบครัวได้ เด็กในกลุ่มนี้จึงต้องการการดูแลเอาใจใส่จากครอบครัวเครือญาติ การดูแลด้านสุขภาพ การพัก
ฟื้นเยียวยา และได้รับการรักษาพยาบาลตามสิทธิอย่างต่อเนื่อง ระบบสวัสดิการดูแลเด็กติดเชื้อ การเข้าใจ
และยอมรับจากสังคม และโอกาสในการศึกษาเช่นเดียวกับเด็กปกติ
5.เด็กกาพร้าถูกทอดทิ้ง มีจานวน 88,730 คน ซึ่งถูกทอดทิ้งตามโรงพยาบาล สถานรับเลี้ยงเด็ก และ
ที่สาธารณะ โดยมีสาเหตุจากแม่ที่อยู่ในวัยเรียน และแม่ที่ไม่สามารถเลี้ยงลูกได้ เด็กในกลุ่มนี้นอกจาก
ต้องการโอกาสทางการศึกษาเหมือนเด็กทั่วไปตั้งแต่ปฐมวัยแล้ว ยังต้องการความรักความเอาใจใส่เป็นพิเศษ
เพื่อให้เด็กสามารถปรับตัวกับสังคมได้
6.เด็กถูกบังคับใช้แรงงาน โดยเฉพาะเด็กอายุต่ากว่า 15 ปีที่ถูกบังคับเป็นแรงงานอย่างผิดกฎหมาย มี
จานวน 10,000 คน ซึ่งมีจานวนมากที่ยังไม่เข้าถึงระบบการคุ้มครองของกฎหมายและบริการทางสังคม
เนื่องจากสถานประกอบการมีลักษณะซ่อนเร้น เช่น โรงงานขนาดเล็กตามห้องแถวและชานเมือง ความ
ต้องการของเด็กในกลุ่มนี้คือ ความช่วยเหลือทั้งทางสุขภาพ จิตใจ และโอกาสกลับสู่ระบบการศึกษา การมี
งานทาที่มั่นคงเพื่อหนีความยากจนในอนาคต
7.เด็กถูกบังคับให้ค้าประเวณี รวมถึงเด็กที่ทางานในสถานบริการ เช่น สนุ๊กเกอร์คลับ ผับ คาเฟ่ ฯลฯ
โดยพบว่ามีเด็กอายุต่ากว่า 18 ปี ที่เข้าสู่การค้าประเวณี ไม่ต่ากว่า 25,000 คน โดยพบว่า ความต้องการของ
เด็กกลุ่มนี้คือ ความช่วยเหลือทั้งทางสุขภาพ จิตใจ โอกาสทางการศึกษา รวมถึงกลไกทางสังคมและชุมชน
ในการให้กาลังใจ เพื่อฟื้นฟูจิตใจ ปลูกจิตสานึกให้รักศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ การฝึกฝนอาชีพให้มีงานทา
5
8.เด็กติดยา มีจานวน 10,000 คน โดยกระจายอยู่ในเขตกรุงเทพฯและเมืองใหญ่ รวมถึงพื้นที่ใน
จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยพบว่า เด็กกลุ่มนี้มีความต้องการฟื้นฟูสภาพร่างกาย สมอง การเยียวยาจิตใจและ
คืนความมั่นใจในการกลับสู่สังคม/ชุมชน ตลอดจนความต้องการการศึกษาทั้งสายสามัญและสายอาชีพ
9.เด็กยากจนพิเศษ หรือเด็กที่ครอบครัวมีรายได้รวมกันไม่เกิน 20,000 บาท/ปี มีจานวน 2,978,770
คน เด็กในกลุ่มนี้ต้องการการสนับสนุนโอกาสทางการศึกษาที่มีคุณภาพตั้งแต่ปฐมวัยจนถึงขั้นสูงสุดตาม
ศักยภาพ
10.เด็กที่อยู่ในพื้นที่ห่างไกล ถิ่นทุรกันดาร มีจานวน 160,000 คน โดยพบว่า เด็กกลุ่มนี้ต้องการการ
สนับสนุนโอกาสทางการศึกษาที่มีคุณภาพตั้งแต่ปฐมวัยจนถึงชั้นสูงสุดตามศักยภาพเช่นกัน
11.เด็กออทิสติก เด็กที่มีความบกพร่องในการเรียนรู้ (LD) เด็กสมาธิสั้น (ADHD) มีจานวนถึง
2,500,000 คน หรือประมาณ 1 ใน 5 ของเด็กในวัยเรียนในระดับชั้นอนุบาลถึงมัธยม (3-18 ปี) ซึ่งเด็กในกลุ่ม
นี้มีทั้งอยู่ในระบบการศึกษาและนอกระบบการศึกษา ซึ่งขาดการส่งเสริมดูแลตามพัฒนาการการเรียนรู้อย่าง
เข้าใจ เด็กในกลุ่มนี้จึงมีความต้องการเฉพาะทั้งในด้านการเลี้ยงดูในครอบครัวและการให้การศึกษาของ
โรงเรียนที่ต้องมีการจัดระบบคัดกรอง วินิจฉัย และดูแลอย่างเหมาะสม
นอกจากนี้ในกลุ่มประชากรวัยแรงงานที่ต้องการเรียนต่อและเพิ่มทักษะในการประกอบอาชีพ
เนื่องจากขาดความรู้ ทักษะและความชานาญในการประกอบอาชีพ โดยพบว่าปัจจุบันผู้ที่อยู่ในวัยกาลัง
แรงงาน ถึงร้อยละ 54 มีการศึกษาในระดับประถมศึกษาหรือต่ากว่า และจากผลการสารวจของสานักงาน
สถิติแห่งชาติ พ.ศ. 2552 พบว่า ประชากรอายุ 18-24 ปี จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 หรือต่ากว่า
ประมาณ 4,600,000 คน หรือคิดเป็นสัดส่วน 2 ใน 3 ของประชากรอายุ 18-24 ปีทั้งหมด จึงนับเป็นอุปสรรค
ต่อการดารงชีวิตและการประกอบอาชีพในอนาคต
การพัฒนาความรู้ผ่านการให้การศึกษาต่อและเพิ่มทักษะในการประกอบอาชีพ จึงถือเป็นการยกระดับรายได้
และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นในกลุ่มวัยแรงงาน โดยจากการสารวจประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป พบว่า มีประชากร
8,800,000 คน คิดเป็นร้อยละ 17 ที่มีความต้องการพัฒนาความรู้ และทักษะเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการ
ทางานและการประกอบอาชีพ
6
3.สาเหตุของเด็กด้อยโอกาส
1.โครงสร้างประชากร ข้อมูลประชากรไทยจากกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ณ เดือน
ธันวาคม 2552 มีประชากรทั้งสิ้น 63.5 ล้านคน เป็นเด็กและเยาวชน คือบุคคลที่มีอายุ ไม่เกินยี่สิบห้าปี
บริบูรณ์ จานวน 22.92 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 36.85 ของประชากรทั้งหมด (กลุ่มเด็กแรกเกิดถึง 2 ปี
ประมาณ 2.30 ล้านคน กลุ่มอายุ 3-5 ปี ประมาณ 2.40 ล้านคน กลุ่มอายุ 6-12 ปี ประมาณ 5.91 ล้านคน กลุ่ม
อายุ 13-17 ปี ประมาณ 4.85 ล้านคน และกลุ่มอายุ 18-25 ปี ประมาณ 7.46 ล้านคน) นอกจากนี้ ยังมีเด็กบุตร
แรงงานต่างด้าวอายุไม่เกิน 15 ปี ที่เกิดในประเทศไทยและจดทะเบียน (ตามแบบ ท.ร. 38/1) กับ
คณะกรรมการบริหารแรงงานต่างด้าวหลบหนีเข้าเมือง (กบร.) ของกระทรวงแรงงานอีกประมาณ 2 แสนคน
โครงสร้างประชากรเด็กและเยาวชนไทย คาดว่ามีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง จากการสารวจการ
เปลี่ยนแปลงของประชากร ในระยะ 5 ปีย้อนหลัง (ปี 2544-2548) มีเด็กเกิดใหม่ปีละ 0.75-0.81 ล้านคน
เนื่องจากหญิงชายวัยเจริญพันธุ์แต่งงานช้าลง การคุมกาเนิดได้รับการยอมรับและมีประสิทธิผล ขณะที่
จานวนและสัดส่วนประชากรวัยแรงงานยังคงมีระดับค่อนข้างคงที่ แต่จานวนและสัดส่วนประชากรสูงอายุ
ได้เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และจะเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 14.7 ของประชากรทั้งหมดในปี 2559 (การคาดประมาณ
ประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2543-2573, สศช.) จึงเป็นโอกาสต่อการลงทุนพัฒนาคุณภาพเด็ก พัฒนา
ทักษะความรู้ของเด็กและเยาวชนที่จะเป็นกาลังแรงงานใหม่ที่มีคุณภาพสอดคล้องกับความต้องการของ
ตลาดแรงงานและแนวโน้มของกาลังแรงงานที่จะลดลงในอนาคต ขณะเดียวกันคนวัยแรงงานจะต้อง
รับภาระดูแลเด็กและผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น ส่งผลให้อัตราการพึ่งพิงมีแนวโน้มสูงขึ้น
2.โครงสร้างครอบครัวไทยและสภาพแวดล้อมเด็ก ประเทศไทยมีจานวนครัวเรือน 21.14 ล้าน
ครัวเรือน ขนาดครอบครัวเฉลี่ย 3.0 คนต่อครัวเรือน (ข้อมูลกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ณ เดือน
ธันวาคม 2552) สถิติการจดทะเบียนสมรสลดลง ในขณะที่สถิติการหย่าร้างสูงขึ้นเรื่อย ๆ โดยในปี 2550มี
อัตราการหย่าร้างประมาณ 1ใน 3 ของการจดทะเบียนสมรส ซึ่งสอดคล้องกับข้อมูลของสถาบันแห่งชาติเพื่อ
การพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล ที่พบว่าสถิติการหย่าร้างเพิ่มขึ้น 2 เท่า จากประมาณ
50,000 คู่ ในปี 2536 เป็นประมาณ 100,00 คู่ ในปี 2550 สังคมไทยมีการเปลี่ยนแปลงจากสังคมเครือญาติเป็น
สังคมปัจเจกมากขึ้น ส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบครอบครัวไทย เช่น ครอบครัวเลี้ยงเดี่ยวที่มีพ่อหรือ
แม่เลี้ยงบุตรเพียงลาพัง ครอบครัวพ่อแม่วัยรุ่น ครัวเรือนที่อยู่ด้วยกันแบบไม่ใช่ญาติ ครัวเรือนที่มีอายุแบบ
กระโดด คือ ปู่ย่า/ตายายกับหลาน หรือครัวเรือนที่เป็นเพศเดียวกัน นอกจากนี้ ผลของการสารวจเด็กและ
เยาวชน ปี 2552 ของสานักงานสถิติแห่งชาติ พบว่า เด็กที่อาศัยอยู่กับพ่อแม่มีร้อยละ 61.8 ไม่ได้อยู่กับพ่อแม่
มีร้อยละ 20.1 ที่เหลืออยู่กับพ่อหรือแม่คนใดคนหนึ่ง สาหรับเด็กที่ไม่ได้อยู่กับพ่อแม่พบว่าอยู่นอกเขต
เทศบาลมากกว่าในเขตเทศบาล ในการดาเนินชีวิตของครอบครัว มีการเปลี่ยนแปลงที่ทั้งพ่อและแม่ต้อง
แสวงหารายได้ ทาให้ไม่สามารถอบรมเลี้ยงดูบุตรได้เท่าที่ควร ส่งผลให้เด็กไม่ได้รับการดูแลที่เพียงพอ จึง
7
ถูกดึงดูดจากสิ่งจูงใจภายนอกครอบครัวโดยง่าย เช่น ติดเกม ติดสารเสพติด มีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร
เป็นต้น
3.การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและการสื่อสารเพื่อตอบสนอง
ความต้องการของผู้คนอย่างรวดเร็วในรูปแบบที่หลากหลาย เช่น อินเตอร์เน็ตความเร็วสูง ระบบ
โทรศัพท์เคลื่อนที่ 3 จี เป็นต้น ส่งผลให้ผู้คนทุกเชื้อชาติสามารถติดต่อสื่อสารกันอย่างไร้พรมแดนและ
รวดเร็วทันใจ จึงเป็นโอกาสในการสร้างช่องทางใหม่ ๆ เพื่อการเสริมสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ และดึงดูด
ความสนใจของเด็กและเยาวชนให้เป็นคนใฝ่เรียนรู้ จุดประกายความคิดและจินตนาการใหม่ๆ ในเชิง
สร้างสรรค์ แต่ในขณะเดียวกันก็เป็นภัยคุกคามต่อเด็กและเยาวชนจากกระแสการคลั่งไคล้และเสพติด
เทคโนโลยี รวมทั้งเป็นข้อจากัดต่อผู้มีฐานะยากจนที่ไม่สามารถเข้าถึงเทคโนโลยีได้อย่างเท่าเทียมคนทั่วไป
4.การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม การเปลี่ยนแปลงสังคมไทยจากสังคมเกษตรกรรม สู่
สังคมอุตสาหกรรม และสังคมฐานความรู้ ส่งผลให้ประเทศไทยรับเอาค่านิยมความเป็นสากลทั้งจาก
ตะวันตกและตะวันออกมาเชื่อมโยงกับวิถีความเป็นไทย โดยเกิดการเปลี่ยนแปลงที่สาคัญ คือ
4.1การเลียนแบบพฤติกรรมของซีกโลกตะวันตกที่มีความอิสระเสรีในการแสดงออกถึงอัตลักษณ์ความ
เป็นตัวตน และความต้องการของแต่ละบุคคล ทาให้นิยามของความสุขแตกต่างหลากหลาย โดยเฉพาะเด็ก
และเยาวชนซึ่งมีวุฒิภาวะทางอารมณ์น้อยย่อมได้รับผลกระทบมากและส่งผลต่อเนื่องไปยังครอบครัวและ
สังคม
4.2 การตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วผ่านทางโลกเสมือนจริงทาให้ผู้คนมีความรู้มากขึ้น เกิด
เครือข่ายทางสังคมในโลกเสมือนจริงซึ่งมีอิทธิพลต่อการดารงชีวิตมากขึ้นทุกขณะ อีกทั้งเกิดความคิด
สร้างสรรค์ที่หลากหลาย แต่การปฏิสัมพันธ์ในโลกแห่งความเป็นจริงมีน้อยลง โดยเฉพาะเด็กและเยาวชน
จะมีการเรียนรู้ผ่านเทคโนโลยีที่ทันสมัยและการสื่อสารได้อย่างสะดวกรวดเร็วทุกที่ทุกเวลา สาหรับคนที่ไม่
มีภูมิคุ้มกันและไม่สามารถเลือกสิ่งดี ๆ ได้ด้วยตนเอง จะเป็นกลุ่มที่ตกอยู่ในภาวะเสี่ยง ประกอบกับหากพ่อ
แม่ไม่เข้าใจและเข้าไม่ถึงโลกเสมือนจริง จะมองกิจกรรมที่เด็กเข้าไปร่วมออนไลน์ในทางลบเท่านั้น ทาให้
เกิดช่องว่างครอบครัว และเกิดความเหลื่อมล้าในการเข้าถึงเทคโนโลยี
4.3คนไทยเริ่มหวนคานึงถึงความสงบสุขแบบในอดีต ท่ามกลางสภาพสังคมที่มีความขัดแย้ง สับสน
วุ่นวาย มีวิถีชีวิตเร่งรีบ แก่งแย่งแข่งขัน จึงเป็นโอกาสในการสนับสนุนส่งเสริมให้เด็กและเยาวชน
ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตมาเป็นแบบพอเพียงและหันมาดาเนินชีวิตอย่างสงบสุข แผนปฏิรูปประเทศไทย (2554)
จึงให้มีการส่งเสริมการสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ โดยพัฒนาอาชีวศึกษาควบคู่กับการสนับสนุนที่ดิน
ทากินและแหล่งทุน ส่งเสริมทักษะการประกอบอาชีพในสถานประกอบการ การเป็นผู้ประกอบการรายย่อย
รวมทั้งพัฒนาชุมชนให้เป็นแหล่งเรียนรู้
8
4.4 การเคลื่อนย้ายแรงงานจากภาคสู่ภาค และจากประเทศเพื่อนบ้านเข้าสู่ประเทศไทย พร้อมกับแรงงาน
ไทยเคลื่อนย้ายออกนอกประเทศ ส่งผลให้เด็กและเยาวชนต้องปรับตัวกับวัฒนธรรม ที่หลากหลายและมี
ความจาเป็นที่จะต้องเข้าใจเพื่อให้อยู่ในสังคมได้อย่างสมานฉันท์
5.การรวมกลุ่มภายใต้กรอบความร่วมมือระดับอนุภูมิภาคโดยเฉพาะการเป็นประชาคมอาเซียนในปี
2558 จะมีผลกระทบต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เนื่องจากจะมีการเคลื่อนย้ายประชากรทั้งด้านการ
ท่องเที่ยวและบริการ รวมถึงเคลื่อนย้ายแรงงานเข้าสู่ประเทศไทยมากขึ้น โดยในปี 2558 จะมีการเคลื่อนย้าย
แรงงานที่มีทักษะฝีมืออย่างเสรี 7 สาขา ได้แก่ วิศวกรรม พยาบาล สถาปัตยกรรม วิชาชีพสารวจ ทันตแพทย์
แพทย์ และนักบัญชี ดังนั้น การพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความพร้อมเข้าสู่ตลาดแรงงานอย่างมีคุณภาพ
จะต้องให้ความสาคัญกับการพัฒนาความรู้ความสามารถเฉพาะทาง การพัฒนาทักษะการเรียนรู้และการ
ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีที่จะเข้ามาในอนาคต ตลอดจนมีความรู้ภาษาต่างประเทศ และมีความเข้าใจใน
วัฒนธรรมที่หลากหลาย เพื่อนาไปสู่การใช้ความรู้และนวัตกรรมในการพัฒนาและการผลิตในอนาคต
4.ผลกระทบจากปัญหาเด็กด้อยโอกาส
ผลกระทบต่อเด็ก
1.เด็กจะเกิดปัญหาการไม่เห็นคุณค่าของตัวเอง ติดยาเสพติด การติดเชื้อเอดส์ และพฤติกรรมทางเพศ
ที่ไม่เหมาะสม มีครอบครัวตั้งแต่อายุยังน้อย ซึ่งยังไม่มีความพร้อมด้านวุฒิภาวะทางอารมณ์ และ
ความสามารถในการเลี้ยงดูลูก การทาแท้ง การทอดทิ้งเด็ก อีกทั้งการใช้ความรุนแรงในครอบครัวตามมา
กลายเป็นวงจรของปัญหาที่ไม่สิ้นสุด
2.เด็กที่ถูกทอดทิ้งเพื่อช่วยแบ่งเบาภาระในครอบครัวจึงต้องออกทางาน นามาซึ่งปัญหาการใช้
แรงงานเด็กอย่างไม่เป็นธรรมและผิดกฎหมายคุ้มครองแรงงาน ถูกละเมิดสิทธิและทาทารุณกรรม อีกทั้งเกิด
กระบวนการล่อลวงและค้าเด็กเพื่อค้าประเวณีที่มีรูปแบบซับซ้อนมากขึ้น หรือเด็กขายบริการทางเพศด้วย
ความสมัครใจมีอายุน้อยลง คือ 13-15 ปีมากขึ้น (ศูนย์การศึกษาเพื่อเด็กด้อยโอกาส คณะครุศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
3.เด็กไม่สามารถเข้าถึงบริการของรัฐและสิทธิที่ควรจะได้รับ โดยเริ่มตั้งแต่คลอด เมื่อพ่อแม่ของเด็ก
พาเด็กมาให้ตายายเลี้ยงดูที่ต่างจังหวัด ปัญหาที่เราพบเสมอคือเด็กไม่มีหลักฐานการเกิด เนื่องจากแม่เด็ก
ไม่ได้ทิ้งเอกสารไว้ให้หรือบางคนไม่ได้แจ้งเกิดให้กับลูก ทาให้เด็กหลายคนไม่สามารถเข้าถึงบริการของรัฐ
ไม่ว่าจะเป็นการรักษาพยาบาล หรือการศึกษา
9
4.ปัญหาต่อมาจะเกิดขึ้นกับเด็กในช่วงวัยก่อนเรียน เด็กจานวนมากยังอยู่ในภาวะทุพโภชนาการ
เนื่องจากตายายขาดความรู้ในการเลี้ยงดูเด็กและความยากจนทาให้ไม่มีเงินที่จะซื้อนมให้เด็ก บางครั้งต้องกิน
น้าข้าวแทนนม เด็กจึงขาดสารอาหาร ทาให้เด็กหลายคนมีพัฒนาการล่าช้ากว่าวัย เป็นโรคแทรกซ้อนต่างๆ
รวมทั้งมีผลต่อระดับสติปัญญาและพิการได้
ผลกระทบต่อสังคม
1.สถิติเด็กและเยาวชนทาผิดสูงขึ้น จากรายงานคดีเกี่ยวกับเด็กที่ถูกจับเข้าสถานพินิจและคุ้มครอง
เด็กและเยาวชน พบว่า ความผิดฐานลักทรัพย์ ( ในความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ ) ทาร้ายร่างกาย ( ในความผิด
เกี่ยวกับชีวิตและร่างกาย ) ข่มขืนกระทาชาเรา ( ในความผิดเกี่ยวกับเพศ ) ซ่องโจร อั้งยี่ ( ในความผิด
เกี่ยวกับความสงบสุข ) และยาเสพติด ( ความผิดอื่น ) เป็นฐานความผิดที่มีสถิติสูงสุด จากที่เด็กเคยตกเป็น
เหยื่ออันเนื่องมาจากปัญหาการทอดทิ้งเด็ก
2.ปัญหาเด็กถูกทอดทิ้งเป็นปัญหาที่สร้างภาระให้กับสังคมที่จะต้องดูแล โดยเฉพาะหน่วยที่เข้ามามี
บทบาทการรับดูแลเด็กที่ถูกทอดทิ้ง
3. สังคมเกิดความไม่เป็นระเบียบจากปัญหาที่เกิดขึ้นหากไม่มีการดูแลและแก้ไขอย่างต่อเนื่อง
5.แนวทางแก้ไขปัญหาเด็กด้อยโอกาส
1. จัดการเรียนการสอนโดยเปิดโอกาสให้นักเรียนได้แสดงความคิดเห็น และการกระทาในขอบเขต
ของตน ไม่ไปละเมิดสิทธิของผู้อื่น และคอยสอดส่องดูแลเด็กไม่ให้ไปกระทาในสิ่งที่ผิดกฎหมาย หรือ
กระทาในสิ่งที่ เป็นผลร้ายต่อตนเอง และผู้อื่น อีกนัยหนึ่ง ให้โอกาสเด็กได้ศึกษาหาความรู้กฎหมาย
รัฐธรรมนูญ และ เรียนรู้สิทธิของเด็กเองเพื่อจะได้ปฏิบัติตนได้ถูกต้อง
2. ให้โอกาสแก่เด็ก ได้รับการศึกษาอย่างน้อย 12 ปี โรงเรียนควรสอดส่องดูแลเด็กที่ ผู้ปกครองขาด
ความใส่ใจไม่ให้การศึกษาแก่บุตรหลานของตนโดยการให้คา แนะนา ช่วยเหลือเขาให้ส่งบุตรหลานของเขา
ได้เล่าเรียนตลอด12ปี
3. หาทางป้องกันแก้ไขช่วยเหลือเด็กที่ถูกทาร้าย ทุบตี ล่วงละเมิดทางเพศ และถูกทอดทิ้งจาก
ครอบครัว โดยการสอดส่องดูแลเด็กที่มีอาการผิดปกติ หรือศึกษาหาข้อมูลต่างๆ ในการช่วยเหลือเด็กพร้อม
ทั้ง ให้การศึกษาแก่เด็กไม่ให้ถูกทาร้าย ถูกละเมิดสิทธิ ป้องกันตนเองและเมื่อถูกละเมิดสิทธิควรทาอย่างไร
4. ให้การช่วยเหลือเด็กได้พัฒนาเต็มศักยภาพของเขาให้รู้จักคิดแก้ปัญหาเมื่อมีภัยมารู้จักป้องกัน
ตนเองจากภัยทางสังคม เช่น การติดสารเสพติด โรคเอดส์ อุบัติเหตุ ฯลฯ
10
5. ให้การศึกษาเกี่ยวกับกฎหมายแรงงานแก่นักเรียนเพื่อป้องกันคุ้มครองการใช้แรงงานเด็ก การ
ละเมิดกฎหมายแรงงาน พร้อมให้ได้เรียนรู้เกี่ยวกับอาชีพต่าง ๆ เพื่อโอกาสในการประกอบอาชีพที่เหมาะสม
ต่อไป
6. กาหนดเป็นมาตรการเพื่อป้องกันการละเมิดสิทธิเด็กในสถานศึกษาไม่ว่าจะเป็นการละเมิดทาง
ร่างกายทางเพศและจิตใจ
7. ให้โอกาสแก่เด็กที่ด้อยโอกาสทางการศึกษา เด็กพิการ เด็กไร้ที่พึ่ง ให้ได้รับบริการทางการศึกษา
และได้รับการดูแล คุ้มครองสิทธิที่พึงได้รับ เช่นได้รับเครื่องอุปโภคบริโภคการป้องกันรักษาโรครวมทั้งการ
ได้รับการศึกษา
8. กาหนดแนวทางป้องกัน และ แก้ปัญหามิให้เด็กถูกไล่ออกจากระบบการศึกษาโดยกาหนดวิธีการ
ทากิจกรรมพิเศษ สาหรับนักเรียนที่มีพฤติกรรมผิดปกติ เช่น ขาดความรับผิดชอบขาดระเบียบวินัย
9. กาหนดนโยบาย หรือแนวทางที่จะพัฒนาเด็กนักเรียนให้มีคุณภาพทั้งด้าน ร่างกายและจิตใจ ให้
เป็นคนดี คนเก่ง และอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข
11
บทที่ 3
ขั้นตอนการดาเนินงาน
วัสดุอุปกรณ์
1.หนังสือ
2.เสื้อผ้า
3.นม
4.ขนม
5.ของใช้อื่นๆที่จาเป็น
ขั้นตอนดาเนินงาน
1.ปรึกษากันภายในกลุ่มเกี่ยวกับโครงการที่สนใจ
2.หาข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่ที่จะไปดาเนินงาน
3.ติดต่อสอบถามเจ้าหน้าที่ ณ บ้านพักเด็กและครอบครัว เพื่อจัดหาของบริจาคได้ตรงกับความ
ต้องการ
4.จัดหาของสาหรับบริจาค
5.นาสิ่งของไปบริจาคให้กับบ้านพักเด็กและครอบครัว
6.สรุปโครงการ
7.จัดทาเว็บไซต์เพื่อเผยแพร่โครงการ
12
บทที่ 4
ผลการดาเนินงาน
จากการทากิจกรรมนาสิ่งของไปบริจาคให้กับบ้านพักเด็กและครอบครัว จังวัดกาญจนบุรี มีรายละเอียดดังนี้
ภาพตัวอย่างการทางาน
ภาพที่ 4.1 สิ่งของที่จะนาไปบริจาค
ภาพที่ 4.2 นาสิ่งของที่เตรียมไว้บริจาคให้กับบ้านพักเด็กและครอบครัว
13
ภาพที่ 4.3 พูดคุยเกี่ยวกับเด็กที่รับมาดูแล
ภาพที่ 4.4 ถ่ายรูปร่วมกัน
14
บทที่ 5
สรุปและอภิปรายผล
สรุปผลการทางาน
จากการดาเนินงานของโครงการช่วยเหลือเจือปัน ได้นาสิ่งของอุปโภค บริโภค เช่น นม เสื้อผ้า
หนังสือ ไปบริจาคให้กับบ้านพักเด็กและครอบครัวเป็นที่เรียบร้อย
อภิปรายผลการดาเนินงาน
การดาเนินโครงการช่วยเหลือเจือปัน เริ่มจากเล็งเห็นถึงปัญหา เช่น ปัญหาการใช้ความรุนแรงใน
ครอบครัว ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อเด็กและเยาวชน ทาให้ต้องมีหน่วยงานหรือมูลนิธิต่างๆเข้ามาดูแลเด็กและ
เยาวชนกลุ่มนี้ และในการดูแลนั้นจาเป็นต้องมีของ อุปโภค บริโภคต่างๆ เพื่อให้เด็กเหล่านั้นได้ใช้ สมาชิก
ในกลุ่มจึงทาการค้นคว้าข้อมูลเลือกหน่วยงานมูลนิธิที่ดูแลเด็กและเยาวชน เพื่อนาสิ่งของที่จาเป็นต่างๆไป
บริจาค และได้เลือกที่จะนาของไปบริจาคให้กับบ้านพักเด็กและครอบครัว จ.กาญจนบุรี ซึ่งดูแล อบรม และ
ให้การศึกษา แก่เด็กและเยาวชนที่มีปัญหาก่อนส่งกลับคืนสู่สังคม สมาชิกในกลุ่มจึงจัดหาสิ่งของเพื่อนาไป
บริจาคให้กับบ้านพักเด็กและครอบครัว
ข้อเสนอแนะ
ควรมีกิจกรรมไปทาร่วมกับเด็กที่บ้านพักด้วย เช่น เล่านิทานให้ฟัง สอนหนังสือ ช่วยกันทาความ
สะอาด เป็นต้น
15
เอกสารอ้างอิง
นริศ มณีขาว. 2557. แนวทางการแก้ไขปัญหาเด็กด้อยโอกาส. สืบค้นเมื่อ 1 กันยายน 2558.
จาก http://www.carefor.org/content/view/1530/158/
นักศึกษาสาขาการพัฒนาชุมชน ชั้นปีที่ 3 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร.
2555. ผลกระทบของปัญหาเด็กด้อยโอกาส. สืบค้นเมื่อ 1 กันยายน 2558.
จาก https://sites.google.com/site/cd2552/phlk-ra-thb-khxng-payha
นางสุภาพร เรืองจันทร์. 2549. ปัญหาของเด็กและเยาวชนไทยในปัจจุบัน. สืบค้นเมื่อ 1 กันยายน 2558.
จาก https://www.gotoknow.org/posts/14041
สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล. 2554. สาเหตุปัญหาเด็กด้อยโอกาส.
สืบค้นเมื่อ 1 กันยายน 2558. จาก http://www.nicfd.cf.mahidol.ac.th/th/index.php/policy/2011-10-
13-04-10-00/237-2011-11-14-04-12-09
สานักงานส่งเสริมสังคมแห่การเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.). 2555. ประเภทของเด็กด้อยโอกาส.
สืบค้นเมื่อ 1 กันยายน 2558. จาก http://www.qlf.or.th/Home/Contents/147
Natcha Rattaphan. 2553. ความหมายของเด็กด้อยโอกาส. สืบค้นเมื่อ 1 กันยายน 2558.
จาก https://www.l3nr.org/posts/365639
16
ภาคผนวก
17
ภาพที่ 1 ค้นคว้าหาโครงการที่น่าสนใจ
ภาพที่ 2 นาเสนอโครงการที่จะทา
ภาพที่ 3 สิ่งของที่เตรียมไปบริจาค
18
ภาพที่ 4 นาสิ่งของไปบริจาคให้กับบ้านพักเด็กและครอบครัว
ภาพที่ 5 ถ่ายรูปร่วมกับพี่ที่ดูแลเด็กที่อาศัยอยู่ในบ้านพัก
ภาพที่ 6 เว็บไซต์นาเสนอโครงการ
https://sites.google.com/site/khorngkarchwyheluxceuxpann/
19
ภาพที่ 7 powerpoint สไลด์ที่ 1 โครงการช่วยเหลือ เจือปัน
ภาพที่ 8 powerpoint สไลด์ที่ 2 หลักการและเหตุผล
ภาพที่ 9 powerpoint สไลด์ที่ 3 การบูรณาการกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
20
ภาพที่ 10 powerpoint สไลด์ที่ 4 เงื่อนไขความรู้ และคุณธรรม
ภาพที่ 11 powerpoint สไลด์ที่ 5 วัตถุประสงค์ของโครงการ และสถานที่ดาเนินการ
ภาพที่ 12 powerpoint สไลด์ที่ 6 วิธีการดาเนินงาน
21
ภาพที่ 13 powerpoint สไลด์ที่ 7 ระยะเวลาดาเนินงาน และรายละเอียดงบประมาณ
ภาพที่ 14 powerpoint สไลด์ที่ 8 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ภาพที่ 15 powerpoint สไลด์ที่ 9 รายชื่อผู้จัดทา
22
ภาพที่ 16 powerpoint สไลด์ที่ 10 ขอบคุณ

More Related Content

What's hot

โครงงานการแข็งตัวของเต้าฮวย
โครงงานการแข็งตัวของเต้าฮวยโครงงานการแข็งตัวของเต้าฮวย
โครงงานการแข็งตัวของเต้าฮวยAor Dujkamol
 
โครงการช่วยเหลือเจือปัน
โครงการช่วยเหลือเจือปันโครงการช่วยเหลือเจือปัน
โครงการช่วยเหลือเจือปันPawitporn Piromruk
 
ความลับของน้ำซาวข้าว
ความลับของน้ำซาวข้าวความลับของน้ำซาวข้าว
ความลับของน้ำซาวข้าวSupichaya Tamaneewan
 
กล้วยบวชชี
กล้วยบวชชีกล้วยบวชชี
กล้วยบวชชีToeyy Piraya
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงChok Ke
 
โครงงาน(ติดบอด)
โครงงาน(ติดบอด)โครงงาน(ติดบอด)
โครงงาน(ติดบอด)009kkk
 
ชาตะไคร้
ชาตะไคร้ชาตะไคร้
ชาตะไคร้Theyok Tanya
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร Wichitchai Buathong
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลGuntima NaLove
 
โครงงานคอมพิวเตอร์(เต็ม)
โครงงานคอมพิวเตอร์(เต็ม)โครงงานคอมพิวเตอร์(เต็ม)
โครงงานคอมพิวเตอร์(เต็ม)Tanutcha Pintong
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านChok Ke
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์Thananya Pon
 
งานคอมพราวเอ้
งานคอมพราวเอ้งานคอมพราวเอ้
งานคอมพราวเอ้Tayicha Phunpowngam
 
โครงานเรื่องยาฆ่าหญ้าชีวภาพ
โครงานเรื่องยาฆ่าหญ้าชีวภาพโครงานเรื่องยาฆ่าหญ้าชีวภาพ
โครงานเรื่องยาฆ่าหญ้าชีวภาพteadateada
 
Power point กองสวัสดิการสังคม
Power point กองสวัสดิการสังคมPower point กองสวัสดิการสังคม
Power point กองสวัสดิการสังคมyahapop
 
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพPresent โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพศิริวรรณ นามสวัสดิ์
 
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนโครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนmadechada
 
2558 project-มิ้น
2558 project-มิ้น2558 project-มิ้น
2558 project-มิ้นKanokwan Rapol
 
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือบทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือนางสาวอัมพร แสงมณี
 

What's hot (20)

โครงงานการแข็งตัวของเต้าฮวย
โครงงานการแข็งตัวของเต้าฮวยโครงงานการแข็งตัวของเต้าฮวย
โครงงานการแข็งตัวของเต้าฮวย
 
โครงการช่วยเหลือเจือปัน
โครงการช่วยเหลือเจือปันโครงการช่วยเหลือเจือปัน
โครงการช่วยเหลือเจือปัน
 
ความลับของน้ำซาวข้าว
ความลับของน้ำซาวข้าวความลับของน้ำซาวข้าว
ความลับของน้ำซาวข้าว
 
กล้วยบวชชี
กล้วยบวชชีกล้วยบวชชี
กล้วยบวชชี
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผง
 
Focus2
Focus2Focus2
Focus2
 
โครงงาน(ติดบอด)
โครงงาน(ติดบอด)โครงงาน(ติดบอด)
โครงงาน(ติดบอด)
 
ชาตะไคร้
ชาตะไคร้ชาตะไคร้
ชาตะไคร้
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผล
 
โครงงานคอมพิวเตอร์(เต็ม)
โครงงานคอมพิวเตอร์(เต็ม)โครงงานคอมพิวเตอร์(เต็ม)
โครงงานคอมพิวเตอร์(เต็ม)
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
งานคอมพราวเอ้
งานคอมพราวเอ้งานคอมพราวเอ้
งานคอมพราวเอ้
 
โครงานเรื่องยาฆ่าหญ้าชีวภาพ
โครงานเรื่องยาฆ่าหญ้าชีวภาพโครงานเรื่องยาฆ่าหญ้าชีวภาพ
โครงานเรื่องยาฆ่าหญ้าชีวภาพ
 
Power point กองสวัสดิการสังคม
Power point กองสวัสดิการสังคมPower point กองสวัสดิการสังคม
Power point กองสวัสดิการสังคม
 
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพPresent โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
 
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนโครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
 
2558 project-มิ้น
2558 project-มิ้น2558 project-มิ้น
2558 project-มิ้น
 
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือบทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทที่ 2 ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
 

Similar to โครงการช่วยเหลือ เจือปัน

โครงงาน Banana spit
โครงงาน Banana spitโครงงาน Banana spit
โครงงาน Banana spitsledped39
 
ตัวอย่างระบบดูช่วยเหลือนักเรียน
ตัวอย่างระบบดูช่วยเหลือนักเรียนตัวอย่างระบบดูช่วยเหลือนักเรียน
ตัวอย่างระบบดูช่วยเหลือนักเรียนทับทิม เจริญตา
 
โครงงานกอท
โครงงานกอทโครงงานกอท
โครงงานกอทManaf Joraka
 
Is3โครงการปันรัก
Is3โครงการปันรักIs3โครงการปันรัก
Is3โครงการปันรักkessara61977
 
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง Bunnaruenee
 
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง Bunnaruenee
 
โครงการเปื้อนรัก ปันยิ้ม
โครงการเปื้อนรัก ปันยิ้มโครงการเปื้อนรัก ปันยิ้ม
โครงการเปื้อนรัก ปันยิ้มพัน พัน
 
นำเสนอ ร.ร
นำเสนอ ร.รนำเสนอ ร.ร
นำเสนอ ร.รpoo123456789
 
ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียนKay Pakham
 
โครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษา
โครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษาโครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษา
โครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษาnammint
 
ความรู้สู่ชุมชน
ความรู้สู่ชุมชนความรู้สู่ชุมชน
ความรู้สู่ชุมชนAnchalee Tanphet
 

Similar to โครงการช่วยเหลือ เจือปัน (20)

krongkan
krongkankrongkan
krongkan
 
ทักษะการบอกความต้องการ
ทักษะการบอกความต้องการทักษะการบอกความต้องการ
ทักษะการบอกความต้องการ
 
Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1
 
Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1
 
โครงงาน Banana spit
โครงงาน Banana spitโครงงาน Banana spit
โครงงาน Banana spit
 
ตัวอย่างระบบดูช่วยเหลือนักเรียน
ตัวอย่างระบบดูช่วยเหลือนักเรียนตัวอย่างระบบดูช่วยเหลือนักเรียน
ตัวอย่างระบบดูช่วยเหลือนักเรียน
 
โครงงานกอท
โครงงานกอทโครงงานกอท
โครงงานกอท
 
Is3โครงการปันรัก
Is3โครงการปันรักIs3โครงการปันรัก
Is3โครงการปันรัก
 
Focus 4-55
Focus 4-55Focus 4-55
Focus 4-55
 
รายงานกล้วยฉาบ.Docx อันใหม่
รายงานกล้วยฉาบ.Docx อันใหม่รายงานกล้วยฉาบ.Docx อันใหม่
รายงานกล้วยฉาบ.Docx อันใหม่
 
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
 
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
 
Is3sharinglove
Is3sharingloveIs3sharinglove
Is3sharinglove
 
โครงการเปื้อนรัก ปันยิ้ม
โครงการเปื้อนรัก ปันยิ้มโครงการเปื้อนรัก ปันยิ้ม
โครงการเปื้อนรัก ปันยิ้ม
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
นำเสนอ ร.ร
นำเสนอ ร.รนำเสนอ ร.ร
นำเสนอ ร.ร
 
ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียน
 
โครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษา
โครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษาโครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษา
โครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษา
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
ความรู้สู่ชุมชน
ความรู้สู่ชุมชนความรู้สู่ชุมชน
ความรู้สู่ชุมชน
 

More from พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

โครงการช่วยเหลือ เจือปัน

  • 1. โครงการช่วยเหลือ เจือปัน จัดทาโดย 1.นายสิทธันต์ สุขสุวรรณ เลขที่ 9 2.นางสาวภวิษย์พร ภิรมรักษ์ เลขที่ 33 3.นางสาวอริสรา แก้วทับทิม เลขที่ 34 4.นางสาวระวีวรรณ อินวารี เลขที่ 35 5.นางสาววีระวรรณ อินวารี เลขที่ 36 6.นางสาวศณิตา ฝักบัว เลขที่ 37 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 เสนอ คุณครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8
  • 2. ก คำนำ โครงการช่วยเหลือเจือปันนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา IS3 จัดทาขึ้นเพื่อช่วยเหลือเด็กและครอบครัวที่มี ปัญหาในเรื่องของการใช้ชีวิต ที่มีผลมาจากการใช้ความรุนแรงในความครัว การถูกล่วงละเมิดทางเพศ ทั้งนี้ โครงการช่วยเหลือเจือปันจึงนาสิ่งของไปบริจาคให้กับบ้านพักเด็กและครอบครัว คณะผู้จัดทาโครงการช่วยเหลือเจือปันหวังว่าโครงการนี้จะเป็นประโยชน์แก่ผู้อื่น หากมี ข้อผิดพลาดประการใดก็ขออภัย ณ ที่นี้ด้วย คณะผู้จัดทา 18 กันยายน 2558
  • 3. ข กิตติกรรมประกำศ โครงการช่วยเหลือ เจือปันนี้สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดีเนื่องจากได้รับความกรุณาจาก คุณครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม คุณครูที่ปรึกษารายวิชา IS 3 ที่ได้ให้คาปรึกษา คาแนะนา แนวคิด ตลอดจนการแก้ไขข้อบกพร่อง ของการทางานต่างๆมาโดยตลอด ขอขอบพระคุณ คุณชมาพร พงษ์ศิริ คุณแม่ของนางสาวภวิษย์พร ภิรมรักษ์ ที่ได้พาสมาชิกในกลุ่ม ไปยังบ้านพักเด็กและครอบครัว และขอขอบคุณสมาชิกในกลุ่มทุกคนที่ร่วมมือกันทาโครงการนี้อย่างตั้งใจ จนโครงการนี้สาเร็จ อย่างสมบูรณ์ คณะผู้จัดทา 1.นายสิทธันต์ สุขสุวรรณ เลขที่ 9 2.นางสาวภวิษย์พร ภิรมรักษ์ เลขที่ 33 3.นางสาวอริสรา แก้วทับทิม เลขที่ 34 4.นางสาวระวีวรรณ อินวารี เลขที่ 35 5.นางสาววีระวรรณ อินวารี เลขที่ 36 6.นางสาวศณิตา ฝักบัว เลขที่ 37
  • 4. สารบัญ เรื่อง หน้า คานา ก กิตติกรรมประกาศ ข บทที่ 1 บทนา หลักการและเหตุผล 1 การบูรณาการกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 1 สถานที่ดาเนินการ 1 วิธีการดาเนินงาน 1 ระยะเวลาดาเนินงาน 2 รายละเอียดงบประมาณของโครงการ 2 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 2 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง เด็กด้อยโอกาส 3 ประเภทของเด็กด้อยโอกาส 3 สาเหตุของเด็กด้อยโอกาส 6 ผลกระทบจากปัญหาเด็กด้อยโอกาส 8 แนวทางแก้ไขปัญหาเด็กด้อยโอกาส 9 บทที่ 3 ขั้นตอนการดาเนินงาน วัสดุอุปกรณ์ 11 ขั้นตอนดาเนินงาน 11 บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน 12 บทที่ 5 สรุปและอภิปรายผล สรุปผลการทางาน 14 อภิปรายผลการดาเนินงาน 14 ข้อเสนอแนะ 14 เอกสารอ้างอิง 15 ภาคผนวก 16
  • 5. สารบัญภาพ ภาพที่ หน้า ภาพที่ 4.1 สิ่งของที่จะนาไปบริจาค 12 ภาพที่ 4.2 นาสิ่งของที่เตรียมไว้บริจาคให้กับบ้านพักเด็กและครอบครัว 12 ภาพที่ 4.3 พูดคุยเกี่ยวกับเด็กที่รับมาดูแล 13 ภาพที่ 4.4 ถ่ายรูปร่วมกัน 13 ภาพที่ 1 ค้นคว้าหาโครงการที่น่าสนใจ 17 ภาพที่ 2 นาเสนอโครงการที่จะทา 17 ภาพที่ 3 สิ่งของที่เตรียมไปบริจาค 17 ภาพที่ 4 นาสิ่งของไปบริจาคให้กับบ้านพักเด็กและครอบครัว 18 ภาพที่ 5 ถ่ายรูปร่วมกับพี่ที่ดูแลเด็กที่อาศัยอยู่ในบ้านพัก 18 ภาพที่ 6 เว็บไซต์นาเสนอโครงการ 18 ภาพที่ 7 powerpoint สไลด์ที่ 1 โครงการช่วยเหลือ เจือปัน 19 ภาพที่ 8 powerpoint สไลด์ที่ 2 หลักการและเหตุผล 19 ภาพที่ 9 powerpoint สไลด์ที่ 3 การบูรณาการกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 19 ภาพที่ 10 powerpoint สไลด์ที่ 4 เงื่อนไขความรู้ และคุณธรรม 20 ภาพที่ 11 powerpoint สไลด์ที่ 5 วัตถุประสงค์ของโครงการ และสถานที่ดาเนินการ 20 ภาพที่ 12 powerpoint สไลด์ที่ 6 วิธีการดาเนินงาน 20 ภาพที่ 13 powerpoint สไลด์ที่ 7 ระยะเวลาดาเนินงาน และรายละเอียดงบประมาณ 21 ภาพที่ 14 powerpoint สไลด์ที่ 8 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 21 ภาพที่ 15 powerpoint สไลด์ที่ 9 รายชื่อผู้จัดทา 21 ภาพที่ 16 powerpoint สไลด์ที่ 10 ขอบคุณ 22
  • 6. 1 บทที่ 1 บทนา 1.หลักการและเหตุผล การอบรม การสั่งสอน การให้คาแนะนา การเลี้ยงดู การให้ความรักและความอบอุ่น เป็นสิ่งที่สาคัญ ที่จะทาทุกคนมีสุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี โดยเฉพาะกับบุคคลที่มีปัญหา เช่น ปัญหาใช้ความรุนแรงใน ครอบครัว ปัญหาการค้ามนุษย์ ปัญหาเด็กและเยาวชน สตรีถูกทารุณกรรม การตั้งครรภ์โดยไม่พึงประสงค์ ซึ่งบุคคลเหล่านี้เป็นผู้ที่ต้องการคาแนะนาที่ดีและกาลังใจอย่างมาก ในสังคมไทยจึงมีมูลนิธิที่คอยให้ คาปรึกษาให้คาแนะนา ให้ที่พักชั่วคราว เพื่อขัดเกลาจิตใจบุคคลนั้นๆ คณะผู้จัดทาเล็งเห็นถึงความสาคัญ และอยากมีส่วนร่วมที่จะช่วยสนับสนุนการทางานของทาง มูลนิธิโดยการช่วยบริจาคสิ่งของที่มีความจาเป็นหรือสิ่งที่ทางมูลนิธิต้องการจะนาไปใช้กับเด็กที่พักอาศัยอยู่ อาทิเช่น หนังสือ เสื้อผ้า นม ขนม รวมทั้งของใช้ที่ใช้ในชีวิตประจาวัน เช่น แป้ง สบู่ ยาสีฟัน กระดาษชาระ เป็นต้น 2.การบูรณาการกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 1.ความพอประมาณ ซื้อของที่ขาดแคลนและจาเป็น 2.ความมีเหตุผล เราเลือกสถานที่ที่ต้องการความช่วยเหลือ 3.การมีภูมิคุ้มกันที่ดี ทาให้เด็กที่บ้านพักมีสิ่งของที่จาเป็นที่เราให้เอาไว้ใช้ เงื่อนไข 1.เงื่อนไขความรู้ ทาให้รับรู้ถึงปัญหาในสังคมที่ส่งผลกระทบกับเด็ก 2.เงื่อนไขคุณธรรม เป็นการส่งมอบความสุขให้กับผู้อื่น 3.วัตถุประสงค์ของโครงการ เพื่อบริจาคสิ่งของให้กับบ้านพักเด็กและครอบครัว 4.สถานที่ดาเนินการ บ้านพักเด็กและครอบครัว เลขที่8/8 หมู่ 12 ต.ปากแพรก อ.เมือง จ.กาญจนบุรี 71000 5.วิธีการดาเนินงาน 1.ขั้นเตรียมงาน - ปรึกษาสมาชิกในกลุ่มเกี่ยวกับโครงการ - แบ่งกันหาข้อมูล
  • 7. 2 2. ขั้นดาเนินงาน - ติดต่อสถานสงเคราะห์สัตว์ที่จะไปช่วยบริจาค - เงินบริจาคโดยการแสดงความสามารถ - เดินทางไปยังสถานที่ - เขียนโครงการ - สรุปโครงการ - จัดทาเว็บไซต์เผยแพร่ข้อมูล 6.ระยะเวลาดาเนินงาน ตั้งแต่เดือน มิถุนายน 2558 – เดือน กันยายน 2558 7.รายละเอียดงบประมาณของโครงการ ค่าเดินทาง 200 – 300 บาท เงินบริจาค 700 บาท 8.ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บ้านพักเด็กและครอบครัวมีสิ่งของเตรียมเอาไว้เพื่อใช้งาน
  • 8. 3 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 1.เด็กด้อยโอกาส เด็กด้อยโอกาส หมายถึง เด็กที่อยู่ในสภาวะยากลาบาก เนื่องจากประสบปัญหาต่าง ๆ มีชีวิตความเป็นอยู่ ด้อยกว่าเด็กปกติทั่วไป ขาดโอกาสหรือไม่มีโอกาสที่จะเข้ารับบริการทางการศึกษาหรือได้รับพัฒนาทั้งทาง ร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม และจิตใจ จาเป็นต้องได้รับความช่วยเหลือเป็นกรณีพิเศษเพื่อให้มีชีวิต ความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น มีพัฒนาการที่ถูกต้องเหมาะสมกับวัยและสามารถบรรลุถึงศักยภาพขั้นสูงสุดได้ 2.ประเภทของเด็กด้อยโอกาส ประเภทกลุ่มเด็กด้อยโอกาสและเด็กนอกระบบการศึกษาอย่างละเอียด จะสามารถจาแนกออกเป็น 11 กลุ่ม โดยพบว่ามีจานวนทั้งสิ้นประมาณ 6,400,000 คน ประกอบด้วย 1.เด็กเร่ร่อนจรจัด มีจานวน 30,000 คน ซึ่งแหล่งชุมชนแออัดที่มีจานวนเด็กเร่ร่อนมากที่สุดอยู่ใน เขตกรุงเทพมหานคร บริเวณสะพานพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ชุมชนคลองเตย ชุมชนรังสิต และชุมชนธัญญบุรี รวมทั้งตามเมืองขนาดใหญ่ อาทิ ด่านแม่สาย จ.เชียงราย , บริเวณโรงเกลือ จ.สระแก้ว , บริเวณชุมชนข้างทาง รถไฟ สวนรัก หอนาฬิกา จ.นครราชสีมา และบริเวณพัทยา จ.ชลบุรี ซึ่งส่วนใหญ่ประสบปัญหาครอบครัว แตกแยก ถูกทารุณกรรม บางส่วนออกมาเร่ร่อนเพื่อหารายได้ช่วยเหลือครอบครัว และหนีตามเพื่อนมา เร่ร่อน เด็กกลุ่มนี้กาลังเผชิญความเสี่ยงสูงต่อปัญหายาเสพติด การขายบริการทางเพศ และอาชญากรรม เนื่องจากถูก ทาร้าย ถูกล่วงละเมิดทางเพศ และการเจ็บป่วย ซึ่งขณะนี้มีองค์กรของภาครัฐและองค์กรเอกชนเข้าช่วยเหลือ ได้เพียง 5,000 คน ยังมีเด็กเร่ร่อนนอกระบบจานวนมากในหลายพื้นที่ที่รอความช่วยเหลือกว่า 15,000- 20,000 คน สิ่งที่เด็กในกลุ่มนี้ต้องการคือ การช่วยเหลือต่อเนื่องระยะยาว ซ่อมแซมสภาพพื้นฐานในชีวิต และช่วยเหลือเยียวยาครอบครัว จากนั้นจึงนาเด็กกลับเข้าสู่ระบบการศึกษา 2.เด็กไร้สัญชาติ มีจานวน 200,000-300,000 คน ในจานวนนี้มีอยู่ 100,000 คนที่ยังขาดโอกาสทาง การศึกษา ซึ่งเป็นเด็กจากชนกลุ่มน้อยที่เข้ามาพักพิงในประเทศไทย มีทั้งที่อยู่มานานเป็นชั่วอายุคน และเพิ่ง อพยพเข้ามาอยู่ จึงยังไม่ถูกรับรองสัญชาติ ทาให้เด็กในกลุ่มดังกล่าวไม่ได้รับบริการเท่าเทียมกับเด็กทั่วไป โดยขาดโอกาสทางการศึกษา ไม่ได้รับสิทธิรับทุนแม้เรียนดี เสี่ยงต่อการถูกล่อลวงไปค้ามนุษย์ ขาดสิทธิ ทางการรักษาพยาบาล และไม่สามารถเดินทางไกลได้ เพราะไม่ได้รับการรับรองสิทธิการเป็นพลเมือง
  • 9. 4 ความต้องการจาเป็นของเด็กกลุ่มนี้คือ การให้สิทธิและโอกาสต่อเด็กไร้สัญชาติ ทั้งทางกฎหมายรับรองและ สิทธิการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา การดูแลรักษาพยาบาล และสิทธิการเดินทางออกนอกพื้นที่ได้ รวมถึง กลไกการติดตามคุ้มครองเด็กไร้สัญชาติที่มีแนวโน้มสูญหายและเสี่ยงต่อขบวนการค้ามนุษย์ 3.ลูกของแรงงานต่างด้าว มีจานวน 250,000 คน ปัญหาสาคัญของเด็กในกลุ่มนี้คือ ขาดโอกาสทาง การศึกษา เนื่องจากต้องอพยพตามผู้ปกครองเข้ามาทางาน และเป็นกลุ่มที่ต้องเป็นแรงงานเด็ก จึงไม่มีเวลา เรียนในระบบโรงเรียนปกติ ความต้องการของเด็กกลุ่มนี้จึงต้องการการศึกษารูปแบบพิเศษ บนพื้นฐานของ ความต้องการให้การศึกษาที่มีคุณภาพเหมาะสมกับวิถีชีวิตรวมถึงการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ และส่งเสริม ยอมรับในความหลากหลายทางวัฒนธรรม 4.เด็กติดเชื้อเอดส์ มีจานวน 50,000 คน ซึ่งติดเชื้อเอดส์จากพ่อแม่ จึงมีจานวนไม่น้อยที่เป็นทั้งเด็ก กาพร้าและติดเชื้อเอดส์ จึงต้องเผชิญกับปัญหาทางสุขภาพ ขาดการยอมรับจากสังคมทาให้ผู้ป่วยเข้าไม่ถึง บริการด้านสุขภาพ การส่งต่อของเด็กระหว่างองค์กรไม่เป็นความลับ และเด็กที่ป่วยไม่สามารถอยู่ร่วมกับ ครอบครัวได้ เด็กในกลุ่มนี้จึงต้องการการดูแลเอาใจใส่จากครอบครัวเครือญาติ การดูแลด้านสุขภาพ การพัก ฟื้นเยียวยา และได้รับการรักษาพยาบาลตามสิทธิอย่างต่อเนื่อง ระบบสวัสดิการดูแลเด็กติดเชื้อ การเข้าใจ และยอมรับจากสังคม และโอกาสในการศึกษาเช่นเดียวกับเด็กปกติ 5.เด็กกาพร้าถูกทอดทิ้ง มีจานวน 88,730 คน ซึ่งถูกทอดทิ้งตามโรงพยาบาล สถานรับเลี้ยงเด็ก และ ที่สาธารณะ โดยมีสาเหตุจากแม่ที่อยู่ในวัยเรียน และแม่ที่ไม่สามารถเลี้ยงลูกได้ เด็กในกลุ่มนี้นอกจาก ต้องการโอกาสทางการศึกษาเหมือนเด็กทั่วไปตั้งแต่ปฐมวัยแล้ว ยังต้องการความรักความเอาใจใส่เป็นพิเศษ เพื่อให้เด็กสามารถปรับตัวกับสังคมได้ 6.เด็กถูกบังคับใช้แรงงาน โดยเฉพาะเด็กอายุต่ากว่า 15 ปีที่ถูกบังคับเป็นแรงงานอย่างผิดกฎหมาย มี จานวน 10,000 คน ซึ่งมีจานวนมากที่ยังไม่เข้าถึงระบบการคุ้มครองของกฎหมายและบริการทางสังคม เนื่องจากสถานประกอบการมีลักษณะซ่อนเร้น เช่น โรงงานขนาดเล็กตามห้องแถวและชานเมือง ความ ต้องการของเด็กในกลุ่มนี้คือ ความช่วยเหลือทั้งทางสุขภาพ จิตใจ และโอกาสกลับสู่ระบบการศึกษา การมี งานทาที่มั่นคงเพื่อหนีความยากจนในอนาคต 7.เด็กถูกบังคับให้ค้าประเวณี รวมถึงเด็กที่ทางานในสถานบริการ เช่น สนุ๊กเกอร์คลับ ผับ คาเฟ่ ฯลฯ โดยพบว่ามีเด็กอายุต่ากว่า 18 ปี ที่เข้าสู่การค้าประเวณี ไม่ต่ากว่า 25,000 คน โดยพบว่า ความต้องการของ เด็กกลุ่มนี้คือ ความช่วยเหลือทั้งทางสุขภาพ จิตใจ โอกาสทางการศึกษา รวมถึงกลไกทางสังคมและชุมชน ในการให้กาลังใจ เพื่อฟื้นฟูจิตใจ ปลูกจิตสานึกให้รักศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ การฝึกฝนอาชีพให้มีงานทา
  • 10. 5 8.เด็กติดยา มีจานวน 10,000 คน โดยกระจายอยู่ในเขตกรุงเทพฯและเมืองใหญ่ รวมถึงพื้นที่ใน จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยพบว่า เด็กกลุ่มนี้มีความต้องการฟื้นฟูสภาพร่างกาย สมอง การเยียวยาจิตใจและ คืนความมั่นใจในการกลับสู่สังคม/ชุมชน ตลอดจนความต้องการการศึกษาทั้งสายสามัญและสายอาชีพ 9.เด็กยากจนพิเศษ หรือเด็กที่ครอบครัวมีรายได้รวมกันไม่เกิน 20,000 บาท/ปี มีจานวน 2,978,770 คน เด็กในกลุ่มนี้ต้องการการสนับสนุนโอกาสทางการศึกษาที่มีคุณภาพตั้งแต่ปฐมวัยจนถึงขั้นสูงสุดตาม ศักยภาพ 10.เด็กที่อยู่ในพื้นที่ห่างไกล ถิ่นทุรกันดาร มีจานวน 160,000 คน โดยพบว่า เด็กกลุ่มนี้ต้องการการ สนับสนุนโอกาสทางการศึกษาที่มีคุณภาพตั้งแต่ปฐมวัยจนถึงชั้นสูงสุดตามศักยภาพเช่นกัน 11.เด็กออทิสติก เด็กที่มีความบกพร่องในการเรียนรู้ (LD) เด็กสมาธิสั้น (ADHD) มีจานวนถึง 2,500,000 คน หรือประมาณ 1 ใน 5 ของเด็กในวัยเรียนในระดับชั้นอนุบาลถึงมัธยม (3-18 ปี) ซึ่งเด็กในกลุ่ม นี้มีทั้งอยู่ในระบบการศึกษาและนอกระบบการศึกษา ซึ่งขาดการส่งเสริมดูแลตามพัฒนาการการเรียนรู้อย่าง เข้าใจ เด็กในกลุ่มนี้จึงมีความต้องการเฉพาะทั้งในด้านการเลี้ยงดูในครอบครัวและการให้การศึกษาของ โรงเรียนที่ต้องมีการจัดระบบคัดกรอง วินิจฉัย และดูแลอย่างเหมาะสม นอกจากนี้ในกลุ่มประชากรวัยแรงงานที่ต้องการเรียนต่อและเพิ่มทักษะในการประกอบอาชีพ เนื่องจากขาดความรู้ ทักษะและความชานาญในการประกอบอาชีพ โดยพบว่าปัจจุบันผู้ที่อยู่ในวัยกาลัง แรงงาน ถึงร้อยละ 54 มีการศึกษาในระดับประถมศึกษาหรือต่ากว่า และจากผลการสารวจของสานักงาน สถิติแห่งชาติ พ.ศ. 2552 พบว่า ประชากรอายุ 18-24 ปี จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 หรือต่ากว่า ประมาณ 4,600,000 คน หรือคิดเป็นสัดส่วน 2 ใน 3 ของประชากรอายุ 18-24 ปีทั้งหมด จึงนับเป็นอุปสรรค ต่อการดารงชีวิตและการประกอบอาชีพในอนาคต การพัฒนาความรู้ผ่านการให้การศึกษาต่อและเพิ่มทักษะในการประกอบอาชีพ จึงถือเป็นการยกระดับรายได้ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นในกลุ่มวัยแรงงาน โดยจากการสารวจประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป พบว่า มีประชากร 8,800,000 คน คิดเป็นร้อยละ 17 ที่มีความต้องการพัฒนาความรู้ และทักษะเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการ ทางานและการประกอบอาชีพ
  • 11. 6 3.สาเหตุของเด็กด้อยโอกาส 1.โครงสร้างประชากร ข้อมูลประชากรไทยจากกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ณ เดือน ธันวาคม 2552 มีประชากรทั้งสิ้น 63.5 ล้านคน เป็นเด็กและเยาวชน คือบุคคลที่มีอายุ ไม่เกินยี่สิบห้าปี บริบูรณ์ จานวน 22.92 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 36.85 ของประชากรทั้งหมด (กลุ่มเด็กแรกเกิดถึง 2 ปี ประมาณ 2.30 ล้านคน กลุ่มอายุ 3-5 ปี ประมาณ 2.40 ล้านคน กลุ่มอายุ 6-12 ปี ประมาณ 5.91 ล้านคน กลุ่ม อายุ 13-17 ปี ประมาณ 4.85 ล้านคน และกลุ่มอายุ 18-25 ปี ประมาณ 7.46 ล้านคน) นอกจากนี้ ยังมีเด็กบุตร แรงงานต่างด้าวอายุไม่เกิน 15 ปี ที่เกิดในประเทศไทยและจดทะเบียน (ตามแบบ ท.ร. 38/1) กับ คณะกรรมการบริหารแรงงานต่างด้าวหลบหนีเข้าเมือง (กบร.) ของกระทรวงแรงงานอีกประมาณ 2 แสนคน โครงสร้างประชากรเด็กและเยาวชนไทย คาดว่ามีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง จากการสารวจการ เปลี่ยนแปลงของประชากร ในระยะ 5 ปีย้อนหลัง (ปี 2544-2548) มีเด็กเกิดใหม่ปีละ 0.75-0.81 ล้านคน เนื่องจากหญิงชายวัยเจริญพันธุ์แต่งงานช้าลง การคุมกาเนิดได้รับการยอมรับและมีประสิทธิผล ขณะที่ จานวนและสัดส่วนประชากรวัยแรงงานยังคงมีระดับค่อนข้างคงที่ แต่จานวนและสัดส่วนประชากรสูงอายุ ได้เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และจะเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 14.7 ของประชากรทั้งหมดในปี 2559 (การคาดประมาณ ประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2543-2573, สศช.) จึงเป็นโอกาสต่อการลงทุนพัฒนาคุณภาพเด็ก พัฒนา ทักษะความรู้ของเด็กและเยาวชนที่จะเป็นกาลังแรงงานใหม่ที่มีคุณภาพสอดคล้องกับความต้องการของ ตลาดแรงงานและแนวโน้มของกาลังแรงงานที่จะลดลงในอนาคต ขณะเดียวกันคนวัยแรงงานจะต้อง รับภาระดูแลเด็กและผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น ส่งผลให้อัตราการพึ่งพิงมีแนวโน้มสูงขึ้น 2.โครงสร้างครอบครัวไทยและสภาพแวดล้อมเด็ก ประเทศไทยมีจานวนครัวเรือน 21.14 ล้าน ครัวเรือน ขนาดครอบครัวเฉลี่ย 3.0 คนต่อครัวเรือน (ข้อมูลกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ณ เดือน ธันวาคม 2552) สถิติการจดทะเบียนสมรสลดลง ในขณะที่สถิติการหย่าร้างสูงขึ้นเรื่อย ๆ โดยในปี 2550มี อัตราการหย่าร้างประมาณ 1ใน 3 ของการจดทะเบียนสมรส ซึ่งสอดคล้องกับข้อมูลของสถาบันแห่งชาติเพื่อ การพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล ที่พบว่าสถิติการหย่าร้างเพิ่มขึ้น 2 เท่า จากประมาณ 50,000 คู่ ในปี 2536 เป็นประมาณ 100,00 คู่ ในปี 2550 สังคมไทยมีการเปลี่ยนแปลงจากสังคมเครือญาติเป็น สังคมปัจเจกมากขึ้น ส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบครอบครัวไทย เช่น ครอบครัวเลี้ยงเดี่ยวที่มีพ่อหรือ แม่เลี้ยงบุตรเพียงลาพัง ครอบครัวพ่อแม่วัยรุ่น ครัวเรือนที่อยู่ด้วยกันแบบไม่ใช่ญาติ ครัวเรือนที่มีอายุแบบ กระโดด คือ ปู่ย่า/ตายายกับหลาน หรือครัวเรือนที่เป็นเพศเดียวกัน นอกจากนี้ ผลของการสารวจเด็กและ เยาวชน ปี 2552 ของสานักงานสถิติแห่งชาติ พบว่า เด็กที่อาศัยอยู่กับพ่อแม่มีร้อยละ 61.8 ไม่ได้อยู่กับพ่อแม่ มีร้อยละ 20.1 ที่เหลืออยู่กับพ่อหรือแม่คนใดคนหนึ่ง สาหรับเด็กที่ไม่ได้อยู่กับพ่อแม่พบว่าอยู่นอกเขต เทศบาลมากกว่าในเขตเทศบาล ในการดาเนินชีวิตของครอบครัว มีการเปลี่ยนแปลงที่ทั้งพ่อและแม่ต้อง แสวงหารายได้ ทาให้ไม่สามารถอบรมเลี้ยงดูบุตรได้เท่าที่ควร ส่งผลให้เด็กไม่ได้รับการดูแลที่เพียงพอ จึง
  • 12. 7 ถูกดึงดูดจากสิ่งจูงใจภายนอกครอบครัวโดยง่าย เช่น ติดเกม ติดสารเสพติด มีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร เป็นต้น 3.การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและการสื่อสารเพื่อตอบสนอง ความต้องการของผู้คนอย่างรวดเร็วในรูปแบบที่หลากหลาย เช่น อินเตอร์เน็ตความเร็วสูง ระบบ โทรศัพท์เคลื่อนที่ 3 จี เป็นต้น ส่งผลให้ผู้คนทุกเชื้อชาติสามารถติดต่อสื่อสารกันอย่างไร้พรมแดนและ รวดเร็วทันใจ จึงเป็นโอกาสในการสร้างช่องทางใหม่ ๆ เพื่อการเสริมสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ และดึงดูด ความสนใจของเด็กและเยาวชนให้เป็นคนใฝ่เรียนรู้ จุดประกายความคิดและจินตนาการใหม่ๆ ในเชิง สร้างสรรค์ แต่ในขณะเดียวกันก็เป็นภัยคุกคามต่อเด็กและเยาวชนจากกระแสการคลั่งไคล้และเสพติด เทคโนโลยี รวมทั้งเป็นข้อจากัดต่อผู้มีฐานะยากจนที่ไม่สามารถเข้าถึงเทคโนโลยีได้อย่างเท่าเทียมคนทั่วไป 4.การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม การเปลี่ยนแปลงสังคมไทยจากสังคมเกษตรกรรม สู่ สังคมอุตสาหกรรม และสังคมฐานความรู้ ส่งผลให้ประเทศไทยรับเอาค่านิยมความเป็นสากลทั้งจาก ตะวันตกและตะวันออกมาเชื่อมโยงกับวิถีความเป็นไทย โดยเกิดการเปลี่ยนแปลงที่สาคัญ คือ 4.1การเลียนแบบพฤติกรรมของซีกโลกตะวันตกที่มีความอิสระเสรีในการแสดงออกถึงอัตลักษณ์ความ เป็นตัวตน และความต้องการของแต่ละบุคคล ทาให้นิยามของความสุขแตกต่างหลากหลาย โดยเฉพาะเด็ก และเยาวชนซึ่งมีวุฒิภาวะทางอารมณ์น้อยย่อมได้รับผลกระทบมากและส่งผลต่อเนื่องไปยังครอบครัวและ สังคม 4.2 การตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วผ่านทางโลกเสมือนจริงทาให้ผู้คนมีความรู้มากขึ้น เกิด เครือข่ายทางสังคมในโลกเสมือนจริงซึ่งมีอิทธิพลต่อการดารงชีวิตมากขึ้นทุกขณะ อีกทั้งเกิดความคิด สร้างสรรค์ที่หลากหลาย แต่การปฏิสัมพันธ์ในโลกแห่งความเป็นจริงมีน้อยลง โดยเฉพาะเด็กและเยาวชน จะมีการเรียนรู้ผ่านเทคโนโลยีที่ทันสมัยและการสื่อสารได้อย่างสะดวกรวดเร็วทุกที่ทุกเวลา สาหรับคนที่ไม่ มีภูมิคุ้มกันและไม่สามารถเลือกสิ่งดี ๆ ได้ด้วยตนเอง จะเป็นกลุ่มที่ตกอยู่ในภาวะเสี่ยง ประกอบกับหากพ่อ แม่ไม่เข้าใจและเข้าไม่ถึงโลกเสมือนจริง จะมองกิจกรรมที่เด็กเข้าไปร่วมออนไลน์ในทางลบเท่านั้น ทาให้ เกิดช่องว่างครอบครัว และเกิดความเหลื่อมล้าในการเข้าถึงเทคโนโลยี 4.3คนไทยเริ่มหวนคานึงถึงความสงบสุขแบบในอดีต ท่ามกลางสภาพสังคมที่มีความขัดแย้ง สับสน วุ่นวาย มีวิถีชีวิตเร่งรีบ แก่งแย่งแข่งขัน จึงเป็นโอกาสในการสนับสนุนส่งเสริมให้เด็กและเยาวชน ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตมาเป็นแบบพอเพียงและหันมาดาเนินชีวิตอย่างสงบสุข แผนปฏิรูปประเทศไทย (2554) จึงให้มีการส่งเสริมการสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ โดยพัฒนาอาชีวศึกษาควบคู่กับการสนับสนุนที่ดิน ทากินและแหล่งทุน ส่งเสริมทักษะการประกอบอาชีพในสถานประกอบการ การเป็นผู้ประกอบการรายย่อย รวมทั้งพัฒนาชุมชนให้เป็นแหล่งเรียนรู้
  • 13. 8 4.4 การเคลื่อนย้ายแรงงานจากภาคสู่ภาค และจากประเทศเพื่อนบ้านเข้าสู่ประเทศไทย พร้อมกับแรงงาน ไทยเคลื่อนย้ายออกนอกประเทศ ส่งผลให้เด็กและเยาวชนต้องปรับตัวกับวัฒนธรรม ที่หลากหลายและมี ความจาเป็นที่จะต้องเข้าใจเพื่อให้อยู่ในสังคมได้อย่างสมานฉันท์ 5.การรวมกลุ่มภายใต้กรอบความร่วมมือระดับอนุภูมิภาคโดยเฉพาะการเป็นประชาคมอาเซียนในปี 2558 จะมีผลกระทบต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เนื่องจากจะมีการเคลื่อนย้ายประชากรทั้งด้านการ ท่องเที่ยวและบริการ รวมถึงเคลื่อนย้ายแรงงานเข้าสู่ประเทศไทยมากขึ้น โดยในปี 2558 จะมีการเคลื่อนย้าย แรงงานที่มีทักษะฝีมืออย่างเสรี 7 สาขา ได้แก่ วิศวกรรม พยาบาล สถาปัตยกรรม วิชาชีพสารวจ ทันตแพทย์ แพทย์ และนักบัญชี ดังนั้น การพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความพร้อมเข้าสู่ตลาดแรงงานอย่างมีคุณภาพ จะต้องให้ความสาคัญกับการพัฒนาความรู้ความสามารถเฉพาะทาง การพัฒนาทักษะการเรียนรู้และการ ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีที่จะเข้ามาในอนาคต ตลอดจนมีความรู้ภาษาต่างประเทศ และมีความเข้าใจใน วัฒนธรรมที่หลากหลาย เพื่อนาไปสู่การใช้ความรู้และนวัตกรรมในการพัฒนาและการผลิตในอนาคต 4.ผลกระทบจากปัญหาเด็กด้อยโอกาส ผลกระทบต่อเด็ก 1.เด็กจะเกิดปัญหาการไม่เห็นคุณค่าของตัวเอง ติดยาเสพติด การติดเชื้อเอดส์ และพฤติกรรมทางเพศ ที่ไม่เหมาะสม มีครอบครัวตั้งแต่อายุยังน้อย ซึ่งยังไม่มีความพร้อมด้านวุฒิภาวะทางอารมณ์ และ ความสามารถในการเลี้ยงดูลูก การทาแท้ง การทอดทิ้งเด็ก อีกทั้งการใช้ความรุนแรงในครอบครัวตามมา กลายเป็นวงจรของปัญหาที่ไม่สิ้นสุด 2.เด็กที่ถูกทอดทิ้งเพื่อช่วยแบ่งเบาภาระในครอบครัวจึงต้องออกทางาน นามาซึ่งปัญหาการใช้ แรงงานเด็กอย่างไม่เป็นธรรมและผิดกฎหมายคุ้มครองแรงงาน ถูกละเมิดสิทธิและทาทารุณกรรม อีกทั้งเกิด กระบวนการล่อลวงและค้าเด็กเพื่อค้าประเวณีที่มีรูปแบบซับซ้อนมากขึ้น หรือเด็กขายบริการทางเพศด้วย ความสมัครใจมีอายุน้อยลง คือ 13-15 ปีมากขึ้น (ศูนย์การศึกษาเพื่อเด็กด้อยโอกาส คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) 3.เด็กไม่สามารถเข้าถึงบริการของรัฐและสิทธิที่ควรจะได้รับ โดยเริ่มตั้งแต่คลอด เมื่อพ่อแม่ของเด็ก พาเด็กมาให้ตายายเลี้ยงดูที่ต่างจังหวัด ปัญหาที่เราพบเสมอคือเด็กไม่มีหลักฐานการเกิด เนื่องจากแม่เด็ก ไม่ได้ทิ้งเอกสารไว้ให้หรือบางคนไม่ได้แจ้งเกิดให้กับลูก ทาให้เด็กหลายคนไม่สามารถเข้าถึงบริการของรัฐ ไม่ว่าจะเป็นการรักษาพยาบาล หรือการศึกษา
  • 14. 9 4.ปัญหาต่อมาจะเกิดขึ้นกับเด็กในช่วงวัยก่อนเรียน เด็กจานวนมากยังอยู่ในภาวะทุพโภชนาการ เนื่องจากตายายขาดความรู้ในการเลี้ยงดูเด็กและความยากจนทาให้ไม่มีเงินที่จะซื้อนมให้เด็ก บางครั้งต้องกิน น้าข้าวแทนนม เด็กจึงขาดสารอาหาร ทาให้เด็กหลายคนมีพัฒนาการล่าช้ากว่าวัย เป็นโรคแทรกซ้อนต่างๆ รวมทั้งมีผลต่อระดับสติปัญญาและพิการได้ ผลกระทบต่อสังคม 1.สถิติเด็กและเยาวชนทาผิดสูงขึ้น จากรายงานคดีเกี่ยวกับเด็กที่ถูกจับเข้าสถานพินิจและคุ้มครอง เด็กและเยาวชน พบว่า ความผิดฐานลักทรัพย์ ( ในความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ ) ทาร้ายร่างกาย ( ในความผิด เกี่ยวกับชีวิตและร่างกาย ) ข่มขืนกระทาชาเรา ( ในความผิดเกี่ยวกับเพศ ) ซ่องโจร อั้งยี่ ( ในความผิด เกี่ยวกับความสงบสุข ) และยาเสพติด ( ความผิดอื่น ) เป็นฐานความผิดที่มีสถิติสูงสุด จากที่เด็กเคยตกเป็น เหยื่ออันเนื่องมาจากปัญหาการทอดทิ้งเด็ก 2.ปัญหาเด็กถูกทอดทิ้งเป็นปัญหาที่สร้างภาระให้กับสังคมที่จะต้องดูแล โดยเฉพาะหน่วยที่เข้ามามี บทบาทการรับดูแลเด็กที่ถูกทอดทิ้ง 3. สังคมเกิดความไม่เป็นระเบียบจากปัญหาที่เกิดขึ้นหากไม่มีการดูแลและแก้ไขอย่างต่อเนื่อง 5.แนวทางแก้ไขปัญหาเด็กด้อยโอกาส 1. จัดการเรียนการสอนโดยเปิดโอกาสให้นักเรียนได้แสดงความคิดเห็น และการกระทาในขอบเขต ของตน ไม่ไปละเมิดสิทธิของผู้อื่น และคอยสอดส่องดูแลเด็กไม่ให้ไปกระทาในสิ่งที่ผิดกฎหมาย หรือ กระทาในสิ่งที่ เป็นผลร้ายต่อตนเอง และผู้อื่น อีกนัยหนึ่ง ให้โอกาสเด็กได้ศึกษาหาความรู้กฎหมาย รัฐธรรมนูญ และ เรียนรู้สิทธิของเด็กเองเพื่อจะได้ปฏิบัติตนได้ถูกต้อง 2. ให้โอกาสแก่เด็ก ได้รับการศึกษาอย่างน้อย 12 ปี โรงเรียนควรสอดส่องดูแลเด็กที่ ผู้ปกครองขาด ความใส่ใจไม่ให้การศึกษาแก่บุตรหลานของตนโดยการให้คา แนะนา ช่วยเหลือเขาให้ส่งบุตรหลานของเขา ได้เล่าเรียนตลอด12ปี 3. หาทางป้องกันแก้ไขช่วยเหลือเด็กที่ถูกทาร้าย ทุบตี ล่วงละเมิดทางเพศ และถูกทอดทิ้งจาก ครอบครัว โดยการสอดส่องดูแลเด็กที่มีอาการผิดปกติ หรือศึกษาหาข้อมูลต่างๆ ในการช่วยเหลือเด็กพร้อม ทั้ง ให้การศึกษาแก่เด็กไม่ให้ถูกทาร้าย ถูกละเมิดสิทธิ ป้องกันตนเองและเมื่อถูกละเมิดสิทธิควรทาอย่างไร 4. ให้การช่วยเหลือเด็กได้พัฒนาเต็มศักยภาพของเขาให้รู้จักคิดแก้ปัญหาเมื่อมีภัยมารู้จักป้องกัน ตนเองจากภัยทางสังคม เช่น การติดสารเสพติด โรคเอดส์ อุบัติเหตุ ฯลฯ
  • 15. 10 5. ให้การศึกษาเกี่ยวกับกฎหมายแรงงานแก่นักเรียนเพื่อป้องกันคุ้มครองการใช้แรงงานเด็ก การ ละเมิดกฎหมายแรงงาน พร้อมให้ได้เรียนรู้เกี่ยวกับอาชีพต่าง ๆ เพื่อโอกาสในการประกอบอาชีพที่เหมาะสม ต่อไป 6. กาหนดเป็นมาตรการเพื่อป้องกันการละเมิดสิทธิเด็กในสถานศึกษาไม่ว่าจะเป็นการละเมิดทาง ร่างกายทางเพศและจิตใจ 7. ให้โอกาสแก่เด็กที่ด้อยโอกาสทางการศึกษา เด็กพิการ เด็กไร้ที่พึ่ง ให้ได้รับบริการทางการศึกษา และได้รับการดูแล คุ้มครองสิทธิที่พึงได้รับ เช่นได้รับเครื่องอุปโภคบริโภคการป้องกันรักษาโรครวมทั้งการ ได้รับการศึกษา 8. กาหนดแนวทางป้องกัน และ แก้ปัญหามิให้เด็กถูกไล่ออกจากระบบการศึกษาโดยกาหนดวิธีการ ทากิจกรรมพิเศษ สาหรับนักเรียนที่มีพฤติกรรมผิดปกติ เช่น ขาดความรับผิดชอบขาดระเบียบวินัย 9. กาหนดนโยบาย หรือแนวทางที่จะพัฒนาเด็กนักเรียนให้มีคุณภาพทั้งด้าน ร่างกายและจิตใจ ให้ เป็นคนดี คนเก่ง และอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข
  • 16. 11 บทที่ 3 ขั้นตอนการดาเนินงาน วัสดุอุปกรณ์ 1.หนังสือ 2.เสื้อผ้า 3.นม 4.ขนม 5.ของใช้อื่นๆที่จาเป็น ขั้นตอนดาเนินงาน 1.ปรึกษากันภายในกลุ่มเกี่ยวกับโครงการที่สนใจ 2.หาข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่ที่จะไปดาเนินงาน 3.ติดต่อสอบถามเจ้าหน้าที่ ณ บ้านพักเด็กและครอบครัว เพื่อจัดหาของบริจาคได้ตรงกับความ ต้องการ 4.จัดหาของสาหรับบริจาค 5.นาสิ่งของไปบริจาคให้กับบ้านพักเด็กและครอบครัว 6.สรุปโครงการ 7.จัดทาเว็บไซต์เพื่อเผยแพร่โครงการ
  • 17. 12 บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน จากการทากิจกรรมนาสิ่งของไปบริจาคให้กับบ้านพักเด็กและครอบครัว จังวัดกาญจนบุรี มีรายละเอียดดังนี้ ภาพตัวอย่างการทางาน ภาพที่ 4.1 สิ่งของที่จะนาไปบริจาค ภาพที่ 4.2 นาสิ่งของที่เตรียมไว้บริจาคให้กับบ้านพักเด็กและครอบครัว
  • 19. 14 บทที่ 5 สรุปและอภิปรายผล สรุปผลการทางาน จากการดาเนินงานของโครงการช่วยเหลือเจือปัน ได้นาสิ่งของอุปโภค บริโภค เช่น นม เสื้อผ้า หนังสือ ไปบริจาคให้กับบ้านพักเด็กและครอบครัวเป็นที่เรียบร้อย อภิปรายผลการดาเนินงาน การดาเนินโครงการช่วยเหลือเจือปัน เริ่มจากเล็งเห็นถึงปัญหา เช่น ปัญหาการใช้ความรุนแรงใน ครอบครัว ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อเด็กและเยาวชน ทาให้ต้องมีหน่วยงานหรือมูลนิธิต่างๆเข้ามาดูแลเด็กและ เยาวชนกลุ่มนี้ และในการดูแลนั้นจาเป็นต้องมีของ อุปโภค บริโภคต่างๆ เพื่อให้เด็กเหล่านั้นได้ใช้ สมาชิก ในกลุ่มจึงทาการค้นคว้าข้อมูลเลือกหน่วยงานมูลนิธิที่ดูแลเด็กและเยาวชน เพื่อนาสิ่งของที่จาเป็นต่างๆไป บริจาค และได้เลือกที่จะนาของไปบริจาคให้กับบ้านพักเด็กและครอบครัว จ.กาญจนบุรี ซึ่งดูแล อบรม และ ให้การศึกษา แก่เด็กและเยาวชนที่มีปัญหาก่อนส่งกลับคืนสู่สังคม สมาชิกในกลุ่มจึงจัดหาสิ่งของเพื่อนาไป บริจาคให้กับบ้านพักเด็กและครอบครัว ข้อเสนอแนะ ควรมีกิจกรรมไปทาร่วมกับเด็กที่บ้านพักด้วย เช่น เล่านิทานให้ฟัง สอนหนังสือ ช่วยกันทาความ สะอาด เป็นต้น
  • 20. 15 เอกสารอ้างอิง นริศ มณีขาว. 2557. แนวทางการแก้ไขปัญหาเด็กด้อยโอกาส. สืบค้นเมื่อ 1 กันยายน 2558. จาก http://www.carefor.org/content/view/1530/158/ นักศึกษาสาขาการพัฒนาชุมชน ชั้นปีที่ 3 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร. 2555. ผลกระทบของปัญหาเด็กด้อยโอกาส. สืบค้นเมื่อ 1 กันยายน 2558. จาก https://sites.google.com/site/cd2552/phlk-ra-thb-khxng-payha นางสุภาพร เรืองจันทร์. 2549. ปัญหาของเด็กและเยาวชนไทยในปัจจุบัน. สืบค้นเมื่อ 1 กันยายน 2558. จาก https://www.gotoknow.org/posts/14041 สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล. 2554. สาเหตุปัญหาเด็กด้อยโอกาส. สืบค้นเมื่อ 1 กันยายน 2558. จาก http://www.nicfd.cf.mahidol.ac.th/th/index.php/policy/2011-10- 13-04-10-00/237-2011-11-14-04-12-09 สานักงานส่งเสริมสังคมแห่การเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.). 2555. ประเภทของเด็กด้อยโอกาส. สืบค้นเมื่อ 1 กันยายน 2558. จาก http://www.qlf.or.th/Home/Contents/147 Natcha Rattaphan. 2553. ความหมายของเด็กด้อยโอกาส. สืบค้นเมื่อ 1 กันยายน 2558. จาก https://www.l3nr.org/posts/365639
  • 22. 17 ภาพที่ 1 ค้นคว้าหาโครงการที่น่าสนใจ ภาพที่ 2 นาเสนอโครงการที่จะทา ภาพที่ 3 สิ่งของที่เตรียมไปบริจาค
  • 23. 18 ภาพที่ 4 นาสิ่งของไปบริจาคให้กับบ้านพักเด็กและครอบครัว ภาพที่ 5 ถ่ายรูปร่วมกับพี่ที่ดูแลเด็กที่อาศัยอยู่ในบ้านพัก ภาพที่ 6 เว็บไซต์นาเสนอโครงการ https://sites.google.com/site/khorngkarchwyheluxceuxpann/
  • 24. 19 ภาพที่ 7 powerpoint สไลด์ที่ 1 โครงการช่วยเหลือ เจือปัน ภาพที่ 8 powerpoint สไลด์ที่ 2 หลักการและเหตุผล ภาพที่ 9 powerpoint สไลด์ที่ 3 การบูรณาการกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
  • 25. 20 ภาพที่ 10 powerpoint สไลด์ที่ 4 เงื่อนไขความรู้ และคุณธรรม ภาพที่ 11 powerpoint สไลด์ที่ 5 วัตถุประสงค์ของโครงการ และสถานที่ดาเนินการ ภาพที่ 12 powerpoint สไลด์ที่ 6 วิธีการดาเนินงาน
  • 26. 21 ภาพที่ 13 powerpoint สไลด์ที่ 7 ระยะเวลาดาเนินงาน และรายละเอียดงบประมาณ ภาพที่ 14 powerpoint สไลด์ที่ 8 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ภาพที่ 15 powerpoint สไลด์ที่ 9 รายชื่อผู้จัดทา
  • 27. 22 ภาพที่ 16 powerpoint สไลด์ที่ 10 ขอบคุณ