SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6
ปีการศึกษา 2561
ชื่อโครงงาน ปัญหาขยะเน่าเสียในชุมชน
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นางสาว พิมพ์นิภา จันต๊ะมงคล เลขที่ 5 ชั้น ม.6 ห้อง 10
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
นางสาวพิมพ์นิภา จันต๊ะมงคล ชั้น ม.6/10 เลขที่ 5
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ปัญหาขยะเน่าเสียในชุมชน
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Community waste
ประเภทโครงงาน สิ่งแวดล้อม
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว พิมพ์นิภา จันต๊ะมงคล
ชื่อที่ปรึกษา คุณครู เขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่1
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ในปัจจุบันเราคนต่างทั้งขยะกันโดยไม่คานึงถึงการเกิดปัญหาตามมา เช่น ปัญหาขยะล้นโลก และในหมู่บ้าน
ของเรานั้นทิ้งขยะไม่เป็นที่เป็นทางและไม่แยกขยะ จึงก่อให้เกิดปัญหาในชุมชน ซึ่งนาความสกปรก มาให้ชุมชน มีสัตว์
ที่เป็นพาหะนาโรค หนู และ หนอน ซึ่งสัตว์เหล่านี้จะนาเชื้อโรคมาสู่คนได้ง่ายจะทาให้เป็นโรคต่างๆ ทั้งเรื้อรังและ
เฉียบพลันเหล่านี้เมื่อมีมากขึ้นก็จะทาให้เกิด ก๊าซมีเทน ซึ่งก๊าซนี้จะลอยตัวสู่ชั้นบรรยากาศขึ้นไปทาลายชั้นโอโซน
หรือภาวะเรือนกระจกที่ทาให้ฤดูกาลบนโลกเปลี่ยนแปลงไป เช่น ฤดูร้อน แต่กับมีฝนตกหนักมากมีลูกเห็บตก ฤดูฝน
กลับแห้งแล้ง ซึ่งในรังสี UVเกิดการปรับสภาพสมดุลไม่ทันทาให้โรคใหม่ๆเกิดทาให้ร่างกายอ่อนแอ ป่วยบ่อย
ภูมิคุ้มกันของร่างกายลดลงทาให้เกิดมะเร็งผิวหนัง ซึ่งเป็นโรคนี้หาทางรักษายากและต้องใช้เงินเยอะ ซึ่งเป็นโรคที่
ร้ายแรงมาก ผู้จัดทาก็เป็นหนึ่งในผู้ที่ได้รับผลกระทบจากปัญหาดังกล่าวจึงอยากเป็นส่วนหนึ่งในการแก้ไขปัญหาขยะ
เน่าเสียในชุมชนโดยการจัดทาโครงงานที่ขึ้นเพื่อช่วยลดปริมาณขยะและเพื่อสุขภาพที่ดีชองคนในชุมชน ขยะในชุมชน
นั้นถ้าหากเราแยกก่อนนาไปทิ้งเราสามารถ ทาให้ปริมาณขยะลดลงได้เท่าตัว แล้วหากนาขยะที่แยกได้มารีไซเคิลลด
การผลิตพลาสติก หรือโฟมได้ซึ่งสารที่ใช้ผลิตโฟม เป็นสารสาคัญที่ทาให้เกิดภาวะโลกร้อน
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อรู้วิธีการจัดการขยะของชุมชน
2.เพื่อช่วยลดปัญหาโลกร้อนอีกทางหนึ่ง
3
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
-ชุมชนบ้านปงเหนือ ต.บ้านปง อ.หางดง จ.เชียงใหม่
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
ความหมายของขยะมูลฝอย
จากการรวบรวมเอกสารที่เกี่ยวข้องพบว่านักวิชาการหลายท่านได้ให้ความหมายของขยะมูลฝอยไว้ ดังนี้
พิชิต สกุลพราหมณ์ (2535 : 334) ได้ให้ความหมายว่า ขยะมูลฝอย หมายถึง บรรดาสิ่งของที่เสื่อมสภาพ ชารุด หรือ
สภาพการใช้งาน ได้แก่ เศษสิ่งของ หรือเศษวัสดุต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากอาคาร ที่พักอาศัย สถานที่ทาการ โรงงาน
อุตสาหกรรม ตลาด ถนน
สานักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ (2524 : 136-137) ได้ให้ความหมายของคาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับขยะมูล
ฝอยไว้ ดังนี้
ขยะมูลฝอย หมายความถึง บรรดาสิ่งต่าง ๆ ซึ่งในขยะนั้นคนไม่ต้องการและทิ้งไป ทั้งนี้รวมตลอดถึงเศษผ้า เศษ
อาหาร มูลสัตว์ ซากสัตว์ เถ้า ฝุ่นละออง และเศษวัสดุสิ่งของที่เก็บกวาดจาก
เคหะสถาน อาคาร ถนน ตลาด ที่เลี้ยงสัตว์ โรงงานอุตสาหกรรม และที่อื่น ๆ
ขยะมูลฝอยเปียก หมายความถึง พวกเศษอาหาร พืชผัก เศษเนื้อสัตว์ และเศษของใหญ่ที่ได้จากการประกอบอาหาร
จากตลาดหรือเศษที่เหลือจากการรับประทานอาหารด้วยอินทรีย์วัตถุ ซึ่งมักเป็นพวกที่สลายตัวได้ง่าย ดังนั้นถ้ามูล
ฝอยเปียกถูกปล่อยทิ้งนานเห็นควรจะเกิดการเน่าเสียและ
เกิดกลิ่นเหม็นรบกวนได้ง่ายโดยปกติแล้วมูลฝอยเปียกจะมีปริมาณความชื้น
ประมาณ 40-70% ของมูลฝอยทั้งหมดขยะมูลฝอยแห้ง หมายความถึง มูลฝอยที่ไม่เกิดการบูดเน่าได้ง่ายทั้งที่ติดไฟได้
และไม่ติดไฟ เช่น เศษกระดาษ เศษผ้า เศษแก้ว กระป๋อง ขวด ไม้ โลหะต่าง ๆ กิ่งไม้ รวมทั้งผง และฝุ่นละอองต่าง ๆ
เป็นต้น ขยะมูลฝอยที่ย่อยสลายได้ (Compostable) หมายความถึง สารอินทรีย์ในขยะมูลฝอยที่สามารถย่อยสลายได้
ด้วยจุลินทรีย์ โดยใช้ปฏิกิริยาชีวเคมี เช่น เศษอาหาร เศษผลไม้ ขยะมูลฝอยที่ไม่สามารถย่อยสลายได้ (Non
Compostable) หมายความถึง สารอนินทรีย์หรือสารอินทรีย์ที่ย่อยสลายได้ยาก ในมูลฝอยที่ไม่สามารถย่อยสลายได้
ด้วยจุลินทรีย์ โดยใช้ปฏิกิริยาชีวเคมี เช่น เศษโลหะ ถุงพลาสติก ฯลฯ
ขยะมูลฝอยที่เผาไหม้ได้ หมายความถึง มูลฝอยที่สามารถลุกไหม้ได้ เช่น เศษกระดาษ เศษไม้
ขยะมูลฝอยอันตราย หมายความถึง มูลฝอยที่เป็นอันตรายต่อมนุษย์ สัตว์ และสิ่งแวดล้อมได้แก่ มูลฝอยจากโรงงาน
อุตสาหกรรม เช่น กากสารพิษ มูลฝอยจากโรงพยาบาล เช่น มูลฝอยติดเชื้อจากผู้ป่วย เข็มฉีดยา สาลี มูลฝอยจาก
บ้านเรือน และสถานที่ต่าง ๆ เช่น ถ่านไฟฉาย แบตเตอรี่ หลอดไฟ กระป๋องสเปรย์ ยาฆ่าแมลง น้ามันเครื่อง วัตถุมีคม
ต่าง ๆ ซึ่งทาให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพอนามัยของมนุษย์ สัตว์ และสิ่งแวดล้อม
ผู้วิจัยได้สรุป ความหมายของขยะมูลฝอยที่นามาใช้ในการวิจัยครั้งนี้ว่า ขยะมูลฝอย หมายถึง วัสดุ สิ่งของที่
เหลือทั้งจากการใช้งานตามแหล่งต่าง ๆ ได้แก่ เศษกระดาษ เศษวัสดุที่ห่อหุ้มสินค้า พลาสติก เศษแก้ว กระป๋อง เศษ
อาหาร และเศษวัสดุอื่นซึ่งแบ่งประเภทได้เป็น ขยะมูลฝอยเปียก ขยะมูลฝอยแห้ง และขยะมูลฝอยอันตราย
4
ประเภทของขยะมูลฝอย
ระเบียบ ชาญช่าง (2541 : 21-22) ได้แบ่งประเภทของขยะมูลฝอยไว้ดังนี้
1. ขยะสด (Garbage) ได้แก่ เศษอาหาร เศษพืชผัก เศษเนื้อสัตว์ เศษผลไม้ กระดูก และก้าง ฯลฯ ส่วนมากจะเกิดขึ้น
จากกิจกรรมการปรุงอาหาร และการรับประทานอาหารจากครัวเรือน ตลาดสด สถานที่จาหน่ายอาหาร โรงอาหาร
และสถานที่จัดเลี้ยงอาหาร ฯลฯ ขยะสดมีส่วนประกอบเป็นอินทรีย์สาร (Organic matter) ที่สลายตัวได้เป็นส่วนใหญ่
มีความชื้นปะปนอยู่ประมาณร้อยละ40-70 ดังนั้น ถ้าปล่อยทิ้งไว้นานเกินไปโดยไม่นาไปกาจัดจะเกิดการสลายตัวเน่า
เปื่อยจากปฏิกิริยาของจุลินทรีย์ ทาให้เกิดกลิ่นเหม็นรบกวน และเป็นแหล่งเพาะเชื้อโรคจากสัตว์เหล่านี้ได้ ขยะสด
ชนิดต่าง ๆ เมื่อปล่อยทิ้งค้างไว้ระยะหนึ่งจะมีน้าเหลือง ๆ มีกลิ่นเหม็นเป็น “น้าเหลืองขยะ” (Leachate)เกิดขึ้น และ
ไหลนองออกมาจากส่วนที่เป็นของแข็ง กลายเป็นน้าโสโครกที่ส่งกลิ่นเหม็นรุนแรงและเป็นที่น่ารังเกียจ น้าเหลืองขยะ
จะมีค่าบีโอดีค่อนข้างสูงมาก ถ้าไหลลงสู่แหล่งน้าในปริมาณมาก ๆอาจทาให้เกิดมลภาวะทางน้าได้
2. ขยะแห้ง (Rubbish) ได้แก่ เศษวัสดุที่ย่อยสลายยากหรือบางชนิดย่อยสลายตัวไม่ได้เลย (Nonputresible
materials) ถ้าแบ่งตามคุณลักษณะของการเผาไหม้ สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่มคือ ขยะแห้งที่เผาไหม้ได้
(Combustible materials) ได้แก่ กระดาษ เศษไม้ กล่องไม้ ผ้าขี้ริ้ว เสื้อผ้าเก่า หรือชารุด พลาสติก เศษหญ้า ใบไม้
ฯลฯ ขยะแห้งที่เผาไหม้ไม่ได้ (Non- combustiblematerials) ได้แก่ เศษโลหะ เศษแก้ว เศษชาม โอ่งแตก ขวดเปล่า
กระป๋องบรรจุอาหาร ฯลฯ
3. เถ้า (Ashes) เป็นเศษหรือกากที่เหลืออยู่หลังจากการเผาไหม้แล้ว เช่น การเผาไหม้ของเชื้อเพลิงแข็ง พวกไม้ฟืน
ถ่านไม้ ถ่านหิน แกลบ ซากของพืช ฯลฯ จะเกิดเป็นเถ้าเหลืออยู่ต้องนาไปกาจัดต่อไป เช่น นาไปถมที่ลุ่ม มิฉะนั้นจะ
เกิดปัญหารบกวน เช่นเดียวกับฝุ่นได้
4. ซากสัตว์ (Dead animals) ได้แก่ สัตว์ตายที่อาจเนื่องมาจากถูกยวดยานพาหนะชน หรือทับตาย หรือเป็นโรคตาย
(ไม่นับรวมที่มนุษย์ฆ่า เพื่อเป็นอาหารเพราะเศษที่เหลือจากการใช้เป็นอาหารถือว่าเป็นขยะสด) ได้แก่ สุนัข แมว หมู
วัว ควาย ฯลฯ ซากสัตว์เหล่านี้ต้องรีบนาไปกาจัดโดยเร็ว เช่น การเผาทาลาย การฝัง เป็นต้น มิฉะนั้นจะเกิดการเน่า
เหม็นส่งกลิ่นรบกวน สร้างทัศนะอุจาด และน่าสมเพชแก่ผู้พบเห็น นอกจากนี้ถ้าสัตว์ตาย เนื่องจากโรคต่าง ๆ เช่น
แอนเธอแรกซ์(Anthrax) โรคกลัวน้า จะอันตรายมาก เพราะเชื้ออาจติดเข้าสู่คนได้
5. ขยะจากถนน (Street Refuse) ได้แก่ เศษดิน ฝุ่นละออง มูลสัตว์ เศษใบไม้ เศษหญ้าและเศษขยะที่ผู้เดินเท้าหรือผู้
ที่อยู่บนพาหนะทิ้งลงบนถนนหรือข้างถนน เช่น พลาสติก เศษแก้ว เศษกระเบื้อง เปลือกผลไม้ ฯลฯ ขยะจากถนนควร
ได้รับการรวบรวมและนาไปกาจัดเป็นประจามิฉะนั้นจะเกิดการฟุ้งกระจายและเปรอะเปื้อนได้ง่ายในขณะที่ฝนตกลง
มาน้าฝนจะไหลชะล้างขยะต่าง ๆ จากถนนลงสู่ท่อน้าทาให้เกิดการอุดตันของท่อระบายน้าได้
6. ขยะจากการเกษตรกรรม (Agricultural Refuse) ได้แก่ ขยะที่เกิดจากกิจกรรมด้านการเกษตร เช่น เศษหญ้า ฟาง
แกลบ เศษพืช เศษอาหารสัตว์ มูลสัตว์ ฯลฯ ส่วนมากเป็นอินทรีย์วัตถุที่สลายตัวได้ หากปล่อยทิ้งไว้จะเกิดการ
หมักหมมเป็นแหล่งเพาะพันธุ์แมลงและสัตว์นาโรคบางชนิดได้
7. ของใช้ที่ชารุด (Bulky Waste) หมายถึง สิ่งของเครื่องใช้ที่มีขนาดใหญ่ แต่มีสภาพชารุด เสื่อมสภาพ หรือหมดอายุ
การใช้งาน เช่น เฟอร์นิเจอร์เก่าที่ชารุด เตาหุงต้มที่ชารุด ยางรถยนต์เก่าฯลฯ
8. ขยะพิเศษ (Special Wastes) หมายถึง เศษสิ่งของที่มีอันตราย มีการปนเปื้อนของเชื้อโรค วัตถุที่ระเบิดได้ เศษ
สิ่งของที่ปนเปื้อนด้วยสารกัมมันตภาพรังสี เช่น กระป๋องสี ถ่านไฟฉาย
แบตเตอรี่รถยนต์ ฯลฯ ขยะพิเศษนี้มีแหล่งกาเนิดจากบ้านพักอาศัย โรงพยาบาล โรงงานอุตสาหกรรม ร้านค้า
5
ปัญหามลพิษจากขยะมูลฝอย
พิชิต สกุลพราหมณ์ (2535 : 197-198) ได้เสนอถึงปัญหาที่เกิดจากการที่ชุมชนไม่มีการ
จัดการขยะมูลฝอย อย่างถูกต้องเหมาะสมไว้ดังนี้
1. ภาวะมลพิษ (Pollution) มูลฝอยเป็นสาเหตุที่สาคัญมากอย่างหนึ่งที่ทาให้เกิดภาวะมลพิษดิน น้า และอากาศ
เนื่องจากมูลฝอยที่ขาดการเก็บรวบรวมหรือไม่นาไปกาจัดอย่างถูกต้องปล่อยทิ้งค้างไว้ในพื้นที่ของชุมชนย่อมทาให้มี
ความสกปรก อาจมีเชื้อโรคหรือสารพิษตกค้างอยู่บนดิน ซึ่งก่อให้เกิดมลพิษดินขึ้น เมื่อมีการชะล้างของพื้นผิวหน้าดิน
ด้วยน้า เช่น น้าฝน น้าก็จะพัดพาและละลายเอาความสกปรกลงสู่ที่ราบลุ่ม และในที่สุดเกิดมลพิษน้าในแหล่งน้าขึ้นได้
ส่วนมลพิษอากาศนั้น เกิดขึ้นได้ทั้งพวกมลสารที่เป็นวัตถุและพวกแก๊ส หรือไอระเหย เนื่องจากกลิ่นที่เกิดจากการเน่า
เปื่อยและการสลายตัวของอินทรีย์สาร
2. แหล่งเพาะพันธุ์ (Breeding Place) เนื่องจากเชื้อจุลินทรีย์ที่ปะปนมากับมูลฝอยมีโอกาสที่ขยายพันธุ์เพิ่มจานวน
มากขึ้นได้ เพราะมูลฝอยมีทั้งความชื้น และสารอินทรีย์ที่จุลินทรีย์ใช้เป็นอาหาร มูลฝอยพวกอินทรีย์สารที่ทิ้งค้างไว้ก็
จะเกิดการเน่าเปื่อย กลายเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของแมลงวันเป็นอย่างดี นอกจากนั้นกองมูลฝอยที่ปล่อยทิ้งค้างไว้นาน
ๆ จะกลายเป็นที่อยู่อาศัยของหนูรวมทั้งเป็นแหล่งขยายพันธุ์ เพราะมีทั้งอาหารและที่หลบซ่อนเป็นอย่างดี
3. การเสี่ยงภัยต่อสุขภาพ (Health Risk) เนื่องจากการเก็บรวบรวม และการกาจัดมูลฝอยที่ไม่ดีหรือปล่อยปละละเลย
ทาให้มูลฝอยเหลือทิ้งค้างในชุมชน ย่อมเป็นสาเหตุอย่างหนึ่งที่ทาให้เกิดมีทั้งแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรค แมลงวัน หนู ซึ่ง
เป็นปัจจัยสาคัญที่ทาให้เกิดโรคได้ง่ายขึ้น ดังนั้นจึงทาให้ประชาชนมีโอกาสจะต้องเสี่ยงภัยต่อสุขภาพมากยิ่งขึ้น
4. การสูญเสียทางเศรษฐกิจ (Economic Loss) การเก็บรวบรวมและการกาจัดมูลฝอยที่ไม่ถูกต้องก่อให้เกิดผล
เสียหายทางเศรษฐกิจ เช่น คนเกิดการเจ็บป่วยขึ้น ซึ่งนอกจากจะไม่สามารถทางานได้ตามปกติแล้ว ยังต้องเสีย
ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลเพิ่มขึ้นอีกด้วย ทางด้านการให้บริการการรักษาพยาบาล แพทย์พยาบาลจะต้องเพิ่ม
จานวน และให้เวลาในการพยาบาลมากขึ้นทาให้ต้องเพิ่มค่าใช้จ่ายในการบริการมากขึ้น แม้แต่การปล่อยปละละเลย
หรือการกาจัดมูลฝอยที่ทาให้เกิดมลพิษในแหล่งน้าขึ้นนอกจากไม่สามารถใช้ประโยชน์จากแหล่งน้า
ได้เท่าที่ควร แล้วยังจะทาให้สัตว์น้าลดจานวนลงได้
5. ขาดความสง่างาม (Nonesthetics) เนื่องจากขยะมูลฝอยเป็นผลผลิตของชุมชนที่เกิดขึ้นทุกวัน ถ้าไม่สามารถเก็บ
รวบรวมมูลฝอยที่เกิดขึ้นได้หมด ปล่อยให้มีมูลฝอยเหลือค้างในชุมชนมูลฝอยส่วนที่เหลือค้างอยู่นั้น นอกจากจะทาให้
เกิดความสกปรกและปัญหาอื่น ๆ ได้แล้ว ยังอาจเป็นสิ่งที่แสดงออกถึงความไม่เจริญ และขาดวัฒนธรรมของชุมชนอีก
ด้วย ซึ่งเป็นสิ่งสาคัญอย่างหนึ่งที่จะทาให้ชุมชนนั้นขาดความสง่างามและขาดความเป็นระเบียบ
6. เหตุราคาญ (Nuisances) ขยะมูลฝอยอาจทาให้เกิดเหตุราคาญได้หลายอย่าง ที่สาคัญคือกลิ่นเหม็น และฝุ่นละออง
การเก็บรวบรวมขยะมูลฝอยได้ไม่หมดจะทาให้เกิดเป็นแหล่งรวมของกลิ่นเหม็น หรือแม้แต่การนาไปกาจัดที่แหล่ง
กาจัด หากไม่อาจกาจัดให้หมดไปได้ในแต่ละวันขยะมูลฝอยที่เหลือค้างและสะสมไว้นั้น จะทาให้เกิดกลิ่นเหม็นเป็น
เหตุราคาญแก่ชุมชนในบริเวณใกล้เคียงขึ้นได้ นอกจากนั้นแล้วฝุ่นละอองที่เกิดขึ้นจากการเก็บรวบรวม การขนถ่าย
และการกาจัดขยะมูลฝอยก็ยังคงเป็นเหตุราคาญที่มักได้รับการร้องเรียนจากประชาชนอยู่เสมอ
6
แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอย
การจัดการขยะมูลฝอยสามารถกระทาได้หลายวิธี ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องหลายด้าน เช่น ลักษณะและ
ปริมาณของขยะ สถานที่ ค่าใช้จ่ายในการลงทุน ค่าใช้จ่ายในกระบวนการกาจัด การนาผลผลิตจากการจัดการขยะไป
ใช้ประโยชน์ ดังนั้นการเลือกใช้วิธีการจัดการขยะแบบไหนนั้นจะต้องได้รับการพิจารณาอย่างรอบคอบ เพื่อไม่ให้เกิด
ปัญหา ซึ่งวิธีการจัดการขยะมูลฝอยได้มีนักวิชาการหลายท่านได้ให้แนวคิดไว้ ดังนี้
กรมควบคุมมลพิษ (2544 : 11-14) ได้กาหนดแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยอย่างครบวงจร โดยเน้นรูปแบบของการ
วางแผนการจัดการขยะมูลฝอยอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด สามารถลดปริมาณขยะมูลฝอยที่จะต้องส่งเข้าไปทาลาย
ด้วยระบบต่างๆให้น้อยที่สุด สามารถนาขยะมูลฝอยมา ใช้ประโยชน์ทั้งในส่วนของการใช้ซ้าและการแปรรูปเพื่อใช้ใหม่
(Reuse & Recycle) รวมถึงการกาจัดที่ได้ผลพลอยได้ เช่น ปุ๋ยหมักหรือพลังงาน โดยสรุปวิธีการดาเนินการตาม
แนวทางมีดังนี้คือ
1. การลดปริมาณการผลิตมูลฝอย รณรงค์ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการลดการผลิตมูลฝอยในแต่ละวัน ได้แก่
1.1 ลดการทิ้งบรรจุภัณฑ์โดยการใช้สินค้าชนิดเติมใหม่ เช่น ผงซักฝอก น้ายาล้าง
จาน น้ายาทาความสะอาดและถ่านไฟฉายชนิดชาร์ตใหม่ เป็นต้น
1.2 เลือกใช้สินค้าที่มีคุณภาพมีห่อบรรจุภัณฑ์น้อย อายุการใช้งานยาวนาน และ
ตัวสินค้าไม่เป็นมลพิษ
1.3 ลดการใช้วัสดุกาจัดยาก เช่น โฟมบรรจุอาหารและถุงพลาสติก
2. จัดระบบการรีไซเคิล หรือการรวบรวมเพื่อนาไปสู่การแปรรูปเพื่อใช้ใหม่
2.1 รณรงค์ให้ประชาชนแยกของเสียกลับนามาใช้ประโยชน์ใหม่ เช่น กระดาษ พลาสติก และโลหะ นาไปใช้ซ้าหรือ
นาไปขาย/รีไซเคิล ขยะเศษอาหารนามาหมักทาปุ๋ย ในรูปปุ๋ยน้าหรือปุ๋ยหมักเพื่อใช้ในชุมชน
2.2 จัดระบบที่เอื้อต่อการทาขยะรีไซเคิล
2.3 จัดกลุ่มอาสาสมัครหรือชมรม หรือนักเรียนให้มีกิจกรรม/โครงการ นาขยะมูลฝอยกลับมาใช้ใหม่
2.4 จัดตั้งศูนย์รีไซเคิลหากพื้นที่ที่มีปริมาณขยะมูลฝอยเกิดขึ้นในแต่ละวันเป็นปริมาณมากๆ อาจจะมีการจัดตั้งศูนย์
คัดแยกขยะมูลฝอยซึ่งสามารุจะรองรับจากชุมชนใกล้เคียงหรือรับซื้อจากประชาชนโดยตรงซึ่งอาจจะให้เอกชนลงทุน
หรืออาจให้สัมปทานเอกชนก็ได้
3. การขนส่ง
3.1 ระยะทางไม่ไกลให้รถขนส่งขยะมูลฝอยไปยังสถานที่กาจัดโดยตรง
3.2 ระยะทางไกลและมีปริมาณขยะมูลฝอยมากอาจจะต้องสร้างสถานีขนถ่าย เพื่อถ่ายเทจากรถเก็บขนขยะมูลฝอยลง
สู่รถบรรทุกขนาดใหญ่
4. ระบบกาจัด
เนื่องจากขยะมูลฝอยใช้ประโยชน์ใหม่ได้ จึงควรจัดการเพื่อกาจัดทาลายให้น้อยที่สุด ควรเลือกระบบกาจัดแบบ
ผสมผสานเนื่องจากปัญหาขาดแคลนพื้นที่ จึงควรพิจารณาปรับปรุงพื้นที่กาจัดมูลฝอยที่มีอยู่เดิม และพัฒนาให้เป็น
ศูนย์กาจัดขยะมูลฝอย โดยมีขั้นตอนดังนี้
4.1 จัดระบบคัดแยกขยะมูลฝอย
4.2 ระบบกาจัดผสมผสานหลายๆระบบในพื้นที่เดียวกัน ได้แก่ หมักทาปุ๋ย ฝังกลบ
และวิธีอื่นๆ เป็นต้น
7
ปรีดา แย้มเจริญวงศ์ (2531 : 63) ได้จัดแบ่งขั้นตอนในการดาเนินงานจัดการขยะมูลฝอยที่
สาคัญไว้ 4 ขั้นตอน คือ
1. การเก็บรวบรวม ซึ่งจะเริ่มตั้งแต่การขยะมูลฝอยใส่ในภาชนะไปจนถึงการรวบรวมขยะมูลฝอยจากแหล่งต่างๆ แล้ว
ไปใส่ในยานพาหนะเพื่อขนส่งต่อไปยังสถานที่กาจัด หรือทาประโยชน์อื่น
2. การขนส่ง เป็นการนาขยะมูลฝอยที่เก็บรวบรวมจากแหล่งชุมชนขนส่งไปยังสถานที่กาจัดขยะมูลฝอยหรือนาขยะมูล
ฝอยที่เก็บรวบรวมได้ไปรวบรวมไว้ที่สถานีขนถ่ายขยะมูลฝอยเพื่อรวบรวมขยะมูลฝอยคราวละมากๆ และขนส่งต่อไป
ยังสถานที่กาจัดขยะมูลฝอย หรือนาไปทาประโยชน์อย่างอื่น
3. การแปรสภาพ เป็นการทาให้ขยะมูลฝอยสะดวกต่อการเก็บขนหรือนาไปทาประโยชน์อย่างอื่น หรือการนาไปกาจัด
การแปรสภาพนี้อาจทาได้โดยการบดอัดเป็นก้อนคัดแยก เอาส่วนที่ยังใช้ประโยชน์ได้ออกไป เป็นต้น
4. การกาจัดหรือการทาลาย เป็นวิธีการจัดการขยะมูลฝอยในขั้นสุดท้ายเพื่อให้มูลฝอยนั้นไม่ก่อให้เกิดปัญหามลพิษต่อ
สิ่งแวดล้อมอันจะมีผลกระทบต่อสุขภาพและความเป็นอยู่ของมนุษย์
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
· คิดหัวข้อโครงงาน
· ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
· จัดทาโครงร่างงาน
· ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
· ปรับปรุงทดสอบ
· การทำเอกสารรายงาน
· ประเมินผลงาน
· นำเสนอโครงงาน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
-
งบประมาณ
-
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน พิมพ์นิภา
2 ศึกษาและค้นคว้า
ข้อมูล
พิมพ์นิภา
3 จัดทาโครงร่างงาน พิมพ์นิภา
4 ปฏิบัติการสร้าง
โครงงาน
พิมพ์นิภา
5 ปรับปรุงทดสอบ พิมพ์นิภา
6 การทาเอกสาร
รายงาน
พิมพ์นิภา
7 ประเมินผลงาน พิมพ์นิภา
8 นาเสนอโครงงาน พิมพ์นิภา
8
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
คนในชุมชนสามารถจัดการกับขยะของตัวเองได้และทาให้ชุมชนสะอาด ปลอดขยะ
สถานที่ดาเนินการ
ชุมชนบ้านปงเหนือ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
http://namewarangkana.blogspot.com/2013/03/2.html
http://digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/54930526/chapter2.pdf
https://www.deqp.go.th/media/images/7/74/%E0%B8%A8%E0%B8%B9%E0%B8%99%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8
%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%8A%E0%B8%B8%E0%B8%A1%E0%B8
%8A%E0%B8%99%E0%B8%AF..%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%94%E0%B8%82%E0%B8%A2%E0%B8%B0_Zero_W
aste_ok.pdf

More Related Content

What's hot

ป่าที่ยังเหลือ
ป่าที่ยังเหลือป่าที่ยังเหลือ
ป่าที่ยังเหลือJiranun Phahonthammasan
 
Asssssssssssssssssss
AsssssssssssssssssssAsssssssssssssssssss
Assssssssssssssssssssunsumm
 
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติกโครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติกFah Philip
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project asirwa04
 
ผักออร์แกนิกOrganic food
ผักออร์แกนิกOrganic foodผักออร์แกนิกOrganic food
ผักออร์แกนิกOrganic foodbecoolZ
 
โครงงานคอม[1]
โครงงานคอม[1]โครงงานคอม[1]
โครงงานคอม[1]maddemon madden
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์thunnattapat
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Kiattipong Sriwichai
 
ใบโครงงานคอม
ใบโครงงานคอมใบโครงงานคอม
ใบโครงงานคอมyrcnan
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยNarrongdej3110
 
โครงร่างโครงงานขนมไทย
โครงร่างโครงงานขนมไทยโครงร่างโครงงานขนมไทย
โครงร่างโครงงานขนมไทยKanokwan Makepothi
 
ใบงานที่5 โครงร่างโครงาน
ใบงานที่5 โครงร่างโครงานใบงานที่5 โครงร่างโครงาน
ใบงานที่5 โครงร่างโครงานPopeye Kotchakorn
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)Thanarak Karunyarat
 
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่pink2543
 
กล่องแฟนซีรีไซเคิล (1)
กล่องแฟนซีรีไซเคิล (1)กล่องแฟนซีรีไซเคิล (1)
กล่องแฟนซีรีไซเคิล (1)Prapatsorn Chaihuay
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดพัน พัน
 

What's hot (20)

2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
ป่าที่ยังเหลือ
ป่าที่ยังเหลือป่าที่ยังเหลือ
ป่าที่ยังเหลือ
 
โครงงาน Hydroponic
โครงงาน Hydroponicโครงงาน Hydroponic
โครงงาน Hydroponic
 
Asssssssssssssssssss
AsssssssssssssssssssAsssssssssssssssssss
Asssssssssssssssssss
 
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติกโครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
 
Thitiporn1
Thitiporn1Thitiporn1
Thitiporn1
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
ผักออร์แกนิกOrganic food
ผักออร์แกนิกOrganic foodผักออร์แกนิกOrganic food
ผักออร์แกนิกOrganic food
 
โครงงานคอม[1]
โครงงานคอม[1]โครงงานคอม[1]
โครงงานคอม[1]
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบโครงงานคอม
ใบโครงงานคอมใบโครงงานคอม
ใบโครงงานคอม
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย
 
โครงร่างโครงงานขนมไทย
โครงร่างโครงงานขนมไทยโครงร่างโครงงานขนมไทย
โครงร่างโครงงานขนมไทย
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
ใบงานที่5 โครงร่างโครงาน
ใบงานที่5 โครงร่างโครงานใบงานที่5 โครงร่างโครงาน
ใบงานที่5 โครงร่างโครงาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
 
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่
 
กล่องแฟนซีรีไซเคิล (1)
กล่องแฟนซีรีไซเคิล (1)กล่องแฟนซีรีไซเคิล (1)
กล่องแฟนซีรีไซเคิล (1)
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 

Similar to Kiki

เรื่องปัญหาขยะภายในโลก
เรื่องปัญหาขยะภายในโลกเรื่องปัญหาขยะภายในโลก
เรื่องปัญหาขยะภายในโลกพัน พัน
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งTanutkit Kinruean
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งTanutkit Kinruean
 
ผักออร์เเกนิก
ผักออร์เเกนิกผักออร์เเกนิก
ผักออร์เเกนิกladyingviolet
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Preawpraow Klinhomm
 
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์tangkwakamonwan
 

Similar to Kiki (20)

2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
Healthy food
Healthy foodHealthy food
Healthy food
 
เรื่องปัญหาขยะภายในโลก
เรื่องปัญหาขยะภายในโลกเรื่องปัญหาขยะภายในโลก
เรื่องปัญหาขยะภายในโลก
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่ง
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่ง
 
2559 project 15-608
2559 project 15-6082559 project 15-608
2559 project 15-608
 
2559 project 15-608
2559 project 15-6082559 project 15-608
2559 project 15-608
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
คอมเดี่ยว
คอมเดี่ยวคอมเดี่ยว
คอมเดี่ยว
 
ผักออร์เเกนิก
ผักออร์เเกนิกผักออร์เเกนิก
ผักออร์เเกนิก
 
at1
at1at1
at1
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
Microplastic
MicroplasticMicroplastic
Microplastic
 
5 finalprojectcom
5 finalprojectcom5 finalprojectcom
5 finalprojectcom
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Pitchayaporn N.
Pitchayaporn N.Pitchayaporn N.
Pitchayaporn N.
 

Kiki

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6 ปีการศึกษา 2561 ชื่อโครงงาน ปัญหาขยะเน่าเสียในชุมชน ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว พิมพ์นิภา จันต๊ะมงคล เลขที่ 5 ชั้น ม.6 ห้อง 10 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม นางสาวพิมพ์นิภา จันต๊ะมงคล ชั้น ม.6/10 เลขที่ 5 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ปัญหาขยะเน่าเสียในชุมชน ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Community waste ประเภทโครงงาน สิ่งแวดล้อม ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว พิมพ์นิภา จันต๊ะมงคล ชื่อที่ปรึกษา คุณครู เขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่1 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ในปัจจุบันเราคนต่างทั้งขยะกันโดยไม่คานึงถึงการเกิดปัญหาตามมา เช่น ปัญหาขยะล้นโลก และในหมู่บ้าน ของเรานั้นทิ้งขยะไม่เป็นที่เป็นทางและไม่แยกขยะ จึงก่อให้เกิดปัญหาในชุมชน ซึ่งนาความสกปรก มาให้ชุมชน มีสัตว์ ที่เป็นพาหะนาโรค หนู และ หนอน ซึ่งสัตว์เหล่านี้จะนาเชื้อโรคมาสู่คนได้ง่ายจะทาให้เป็นโรคต่างๆ ทั้งเรื้อรังและ เฉียบพลันเหล่านี้เมื่อมีมากขึ้นก็จะทาให้เกิด ก๊าซมีเทน ซึ่งก๊าซนี้จะลอยตัวสู่ชั้นบรรยากาศขึ้นไปทาลายชั้นโอโซน หรือภาวะเรือนกระจกที่ทาให้ฤดูกาลบนโลกเปลี่ยนแปลงไป เช่น ฤดูร้อน แต่กับมีฝนตกหนักมากมีลูกเห็บตก ฤดูฝน กลับแห้งแล้ง ซึ่งในรังสี UVเกิดการปรับสภาพสมดุลไม่ทันทาให้โรคใหม่ๆเกิดทาให้ร่างกายอ่อนแอ ป่วยบ่อย ภูมิคุ้มกันของร่างกายลดลงทาให้เกิดมะเร็งผิวหนัง ซึ่งเป็นโรคนี้หาทางรักษายากและต้องใช้เงินเยอะ ซึ่งเป็นโรคที่ ร้ายแรงมาก ผู้จัดทาก็เป็นหนึ่งในผู้ที่ได้รับผลกระทบจากปัญหาดังกล่าวจึงอยากเป็นส่วนหนึ่งในการแก้ไขปัญหาขยะ เน่าเสียในชุมชนโดยการจัดทาโครงงานที่ขึ้นเพื่อช่วยลดปริมาณขยะและเพื่อสุขภาพที่ดีชองคนในชุมชน ขยะในชุมชน นั้นถ้าหากเราแยกก่อนนาไปทิ้งเราสามารถ ทาให้ปริมาณขยะลดลงได้เท่าตัว แล้วหากนาขยะที่แยกได้มารีไซเคิลลด การผลิตพลาสติก หรือโฟมได้ซึ่งสารที่ใช้ผลิตโฟม เป็นสารสาคัญที่ทาให้เกิดภาวะโลกร้อน วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อรู้วิธีการจัดการขยะของชุมชน 2.เพื่อช่วยลดปัญหาโลกร้อนอีกทางหนึ่ง
  • 3. 3 ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) -ชุมชนบ้านปงเหนือ ต.บ้านปง อ.หางดง จ.เชียงใหม่ หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) ความหมายของขยะมูลฝอย จากการรวบรวมเอกสารที่เกี่ยวข้องพบว่านักวิชาการหลายท่านได้ให้ความหมายของขยะมูลฝอยไว้ ดังนี้ พิชิต สกุลพราหมณ์ (2535 : 334) ได้ให้ความหมายว่า ขยะมูลฝอย หมายถึง บรรดาสิ่งของที่เสื่อมสภาพ ชารุด หรือ สภาพการใช้งาน ได้แก่ เศษสิ่งของ หรือเศษวัสดุต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากอาคาร ที่พักอาศัย สถานที่ทาการ โรงงาน อุตสาหกรรม ตลาด ถนน สานักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ (2524 : 136-137) ได้ให้ความหมายของคาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับขยะมูล ฝอยไว้ ดังนี้ ขยะมูลฝอย หมายความถึง บรรดาสิ่งต่าง ๆ ซึ่งในขยะนั้นคนไม่ต้องการและทิ้งไป ทั้งนี้รวมตลอดถึงเศษผ้า เศษ อาหาร มูลสัตว์ ซากสัตว์ เถ้า ฝุ่นละออง และเศษวัสดุสิ่งของที่เก็บกวาดจาก เคหะสถาน อาคาร ถนน ตลาด ที่เลี้ยงสัตว์ โรงงานอุตสาหกรรม และที่อื่น ๆ ขยะมูลฝอยเปียก หมายความถึง พวกเศษอาหาร พืชผัก เศษเนื้อสัตว์ และเศษของใหญ่ที่ได้จากการประกอบอาหาร จากตลาดหรือเศษที่เหลือจากการรับประทานอาหารด้วยอินทรีย์วัตถุ ซึ่งมักเป็นพวกที่สลายตัวได้ง่าย ดังนั้นถ้ามูล ฝอยเปียกถูกปล่อยทิ้งนานเห็นควรจะเกิดการเน่าเสียและ เกิดกลิ่นเหม็นรบกวนได้ง่ายโดยปกติแล้วมูลฝอยเปียกจะมีปริมาณความชื้น ประมาณ 40-70% ของมูลฝอยทั้งหมดขยะมูลฝอยแห้ง หมายความถึง มูลฝอยที่ไม่เกิดการบูดเน่าได้ง่ายทั้งที่ติดไฟได้ และไม่ติดไฟ เช่น เศษกระดาษ เศษผ้า เศษแก้ว กระป๋อง ขวด ไม้ โลหะต่าง ๆ กิ่งไม้ รวมทั้งผง และฝุ่นละอองต่าง ๆ เป็นต้น ขยะมูลฝอยที่ย่อยสลายได้ (Compostable) หมายความถึง สารอินทรีย์ในขยะมูลฝอยที่สามารถย่อยสลายได้ ด้วยจุลินทรีย์ โดยใช้ปฏิกิริยาชีวเคมี เช่น เศษอาหาร เศษผลไม้ ขยะมูลฝอยที่ไม่สามารถย่อยสลายได้ (Non Compostable) หมายความถึง สารอนินทรีย์หรือสารอินทรีย์ที่ย่อยสลายได้ยาก ในมูลฝอยที่ไม่สามารถย่อยสลายได้ ด้วยจุลินทรีย์ โดยใช้ปฏิกิริยาชีวเคมี เช่น เศษโลหะ ถุงพลาสติก ฯลฯ ขยะมูลฝอยที่เผาไหม้ได้ หมายความถึง มูลฝอยที่สามารถลุกไหม้ได้ เช่น เศษกระดาษ เศษไม้ ขยะมูลฝอยอันตราย หมายความถึง มูลฝอยที่เป็นอันตรายต่อมนุษย์ สัตว์ และสิ่งแวดล้อมได้แก่ มูลฝอยจากโรงงาน อุตสาหกรรม เช่น กากสารพิษ มูลฝอยจากโรงพยาบาล เช่น มูลฝอยติดเชื้อจากผู้ป่วย เข็มฉีดยา สาลี มูลฝอยจาก บ้านเรือน และสถานที่ต่าง ๆ เช่น ถ่านไฟฉาย แบตเตอรี่ หลอดไฟ กระป๋องสเปรย์ ยาฆ่าแมลง น้ามันเครื่อง วัตถุมีคม ต่าง ๆ ซึ่งทาให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพอนามัยของมนุษย์ สัตว์ และสิ่งแวดล้อม ผู้วิจัยได้สรุป ความหมายของขยะมูลฝอยที่นามาใช้ในการวิจัยครั้งนี้ว่า ขยะมูลฝอย หมายถึง วัสดุ สิ่งของที่ เหลือทั้งจากการใช้งานตามแหล่งต่าง ๆ ได้แก่ เศษกระดาษ เศษวัสดุที่ห่อหุ้มสินค้า พลาสติก เศษแก้ว กระป๋อง เศษ อาหาร และเศษวัสดุอื่นซึ่งแบ่งประเภทได้เป็น ขยะมูลฝอยเปียก ขยะมูลฝอยแห้ง และขยะมูลฝอยอันตราย
  • 4. 4 ประเภทของขยะมูลฝอย ระเบียบ ชาญช่าง (2541 : 21-22) ได้แบ่งประเภทของขยะมูลฝอยไว้ดังนี้ 1. ขยะสด (Garbage) ได้แก่ เศษอาหาร เศษพืชผัก เศษเนื้อสัตว์ เศษผลไม้ กระดูก และก้าง ฯลฯ ส่วนมากจะเกิดขึ้น จากกิจกรรมการปรุงอาหาร และการรับประทานอาหารจากครัวเรือน ตลาดสด สถานที่จาหน่ายอาหาร โรงอาหาร และสถานที่จัดเลี้ยงอาหาร ฯลฯ ขยะสดมีส่วนประกอบเป็นอินทรีย์สาร (Organic matter) ที่สลายตัวได้เป็นส่วนใหญ่ มีความชื้นปะปนอยู่ประมาณร้อยละ40-70 ดังนั้น ถ้าปล่อยทิ้งไว้นานเกินไปโดยไม่นาไปกาจัดจะเกิดการสลายตัวเน่า เปื่อยจากปฏิกิริยาของจุลินทรีย์ ทาให้เกิดกลิ่นเหม็นรบกวน และเป็นแหล่งเพาะเชื้อโรคจากสัตว์เหล่านี้ได้ ขยะสด ชนิดต่าง ๆ เมื่อปล่อยทิ้งค้างไว้ระยะหนึ่งจะมีน้าเหลือง ๆ มีกลิ่นเหม็นเป็น “น้าเหลืองขยะ” (Leachate)เกิดขึ้น และ ไหลนองออกมาจากส่วนที่เป็นของแข็ง กลายเป็นน้าโสโครกที่ส่งกลิ่นเหม็นรุนแรงและเป็นที่น่ารังเกียจ น้าเหลืองขยะ จะมีค่าบีโอดีค่อนข้างสูงมาก ถ้าไหลลงสู่แหล่งน้าในปริมาณมาก ๆอาจทาให้เกิดมลภาวะทางน้าได้ 2. ขยะแห้ง (Rubbish) ได้แก่ เศษวัสดุที่ย่อยสลายยากหรือบางชนิดย่อยสลายตัวไม่ได้เลย (Nonputresible materials) ถ้าแบ่งตามคุณลักษณะของการเผาไหม้ สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่มคือ ขยะแห้งที่เผาไหม้ได้ (Combustible materials) ได้แก่ กระดาษ เศษไม้ กล่องไม้ ผ้าขี้ริ้ว เสื้อผ้าเก่า หรือชารุด พลาสติก เศษหญ้า ใบไม้ ฯลฯ ขยะแห้งที่เผาไหม้ไม่ได้ (Non- combustiblematerials) ได้แก่ เศษโลหะ เศษแก้ว เศษชาม โอ่งแตก ขวดเปล่า กระป๋องบรรจุอาหาร ฯลฯ 3. เถ้า (Ashes) เป็นเศษหรือกากที่เหลืออยู่หลังจากการเผาไหม้แล้ว เช่น การเผาไหม้ของเชื้อเพลิงแข็ง พวกไม้ฟืน ถ่านไม้ ถ่านหิน แกลบ ซากของพืช ฯลฯ จะเกิดเป็นเถ้าเหลืออยู่ต้องนาไปกาจัดต่อไป เช่น นาไปถมที่ลุ่ม มิฉะนั้นจะ เกิดปัญหารบกวน เช่นเดียวกับฝุ่นได้ 4. ซากสัตว์ (Dead animals) ได้แก่ สัตว์ตายที่อาจเนื่องมาจากถูกยวดยานพาหนะชน หรือทับตาย หรือเป็นโรคตาย (ไม่นับรวมที่มนุษย์ฆ่า เพื่อเป็นอาหารเพราะเศษที่เหลือจากการใช้เป็นอาหารถือว่าเป็นขยะสด) ได้แก่ สุนัข แมว หมู วัว ควาย ฯลฯ ซากสัตว์เหล่านี้ต้องรีบนาไปกาจัดโดยเร็ว เช่น การเผาทาลาย การฝัง เป็นต้น มิฉะนั้นจะเกิดการเน่า เหม็นส่งกลิ่นรบกวน สร้างทัศนะอุจาด และน่าสมเพชแก่ผู้พบเห็น นอกจากนี้ถ้าสัตว์ตาย เนื่องจากโรคต่าง ๆ เช่น แอนเธอแรกซ์(Anthrax) โรคกลัวน้า จะอันตรายมาก เพราะเชื้ออาจติดเข้าสู่คนได้ 5. ขยะจากถนน (Street Refuse) ได้แก่ เศษดิน ฝุ่นละออง มูลสัตว์ เศษใบไม้ เศษหญ้าและเศษขยะที่ผู้เดินเท้าหรือผู้ ที่อยู่บนพาหนะทิ้งลงบนถนนหรือข้างถนน เช่น พลาสติก เศษแก้ว เศษกระเบื้อง เปลือกผลไม้ ฯลฯ ขยะจากถนนควร ได้รับการรวบรวมและนาไปกาจัดเป็นประจามิฉะนั้นจะเกิดการฟุ้งกระจายและเปรอะเปื้อนได้ง่ายในขณะที่ฝนตกลง มาน้าฝนจะไหลชะล้างขยะต่าง ๆ จากถนนลงสู่ท่อน้าทาให้เกิดการอุดตันของท่อระบายน้าได้ 6. ขยะจากการเกษตรกรรม (Agricultural Refuse) ได้แก่ ขยะที่เกิดจากกิจกรรมด้านการเกษตร เช่น เศษหญ้า ฟาง แกลบ เศษพืช เศษอาหารสัตว์ มูลสัตว์ ฯลฯ ส่วนมากเป็นอินทรีย์วัตถุที่สลายตัวได้ หากปล่อยทิ้งไว้จะเกิดการ หมักหมมเป็นแหล่งเพาะพันธุ์แมลงและสัตว์นาโรคบางชนิดได้ 7. ของใช้ที่ชารุด (Bulky Waste) หมายถึง สิ่งของเครื่องใช้ที่มีขนาดใหญ่ แต่มีสภาพชารุด เสื่อมสภาพ หรือหมดอายุ การใช้งาน เช่น เฟอร์นิเจอร์เก่าที่ชารุด เตาหุงต้มที่ชารุด ยางรถยนต์เก่าฯลฯ 8. ขยะพิเศษ (Special Wastes) หมายถึง เศษสิ่งของที่มีอันตราย มีการปนเปื้อนของเชื้อโรค วัตถุที่ระเบิดได้ เศษ สิ่งของที่ปนเปื้อนด้วยสารกัมมันตภาพรังสี เช่น กระป๋องสี ถ่านไฟฉาย แบตเตอรี่รถยนต์ ฯลฯ ขยะพิเศษนี้มีแหล่งกาเนิดจากบ้านพักอาศัย โรงพยาบาล โรงงานอุตสาหกรรม ร้านค้า
  • 5. 5 ปัญหามลพิษจากขยะมูลฝอย พิชิต สกุลพราหมณ์ (2535 : 197-198) ได้เสนอถึงปัญหาที่เกิดจากการที่ชุมชนไม่มีการ จัดการขยะมูลฝอย อย่างถูกต้องเหมาะสมไว้ดังนี้ 1. ภาวะมลพิษ (Pollution) มูลฝอยเป็นสาเหตุที่สาคัญมากอย่างหนึ่งที่ทาให้เกิดภาวะมลพิษดิน น้า และอากาศ เนื่องจากมูลฝอยที่ขาดการเก็บรวบรวมหรือไม่นาไปกาจัดอย่างถูกต้องปล่อยทิ้งค้างไว้ในพื้นที่ของชุมชนย่อมทาให้มี ความสกปรก อาจมีเชื้อโรคหรือสารพิษตกค้างอยู่บนดิน ซึ่งก่อให้เกิดมลพิษดินขึ้น เมื่อมีการชะล้างของพื้นผิวหน้าดิน ด้วยน้า เช่น น้าฝน น้าก็จะพัดพาและละลายเอาความสกปรกลงสู่ที่ราบลุ่ม และในที่สุดเกิดมลพิษน้าในแหล่งน้าขึ้นได้ ส่วนมลพิษอากาศนั้น เกิดขึ้นได้ทั้งพวกมลสารที่เป็นวัตถุและพวกแก๊ส หรือไอระเหย เนื่องจากกลิ่นที่เกิดจากการเน่า เปื่อยและการสลายตัวของอินทรีย์สาร 2. แหล่งเพาะพันธุ์ (Breeding Place) เนื่องจากเชื้อจุลินทรีย์ที่ปะปนมากับมูลฝอยมีโอกาสที่ขยายพันธุ์เพิ่มจานวน มากขึ้นได้ เพราะมูลฝอยมีทั้งความชื้น และสารอินทรีย์ที่จุลินทรีย์ใช้เป็นอาหาร มูลฝอยพวกอินทรีย์สารที่ทิ้งค้างไว้ก็ จะเกิดการเน่าเปื่อย กลายเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของแมลงวันเป็นอย่างดี นอกจากนั้นกองมูลฝอยที่ปล่อยทิ้งค้างไว้นาน ๆ จะกลายเป็นที่อยู่อาศัยของหนูรวมทั้งเป็นแหล่งขยายพันธุ์ เพราะมีทั้งอาหารและที่หลบซ่อนเป็นอย่างดี 3. การเสี่ยงภัยต่อสุขภาพ (Health Risk) เนื่องจากการเก็บรวบรวม และการกาจัดมูลฝอยที่ไม่ดีหรือปล่อยปละละเลย ทาให้มูลฝอยเหลือทิ้งค้างในชุมชน ย่อมเป็นสาเหตุอย่างหนึ่งที่ทาให้เกิดมีทั้งแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรค แมลงวัน หนู ซึ่ง เป็นปัจจัยสาคัญที่ทาให้เกิดโรคได้ง่ายขึ้น ดังนั้นจึงทาให้ประชาชนมีโอกาสจะต้องเสี่ยงภัยต่อสุขภาพมากยิ่งขึ้น 4. การสูญเสียทางเศรษฐกิจ (Economic Loss) การเก็บรวบรวมและการกาจัดมูลฝอยที่ไม่ถูกต้องก่อให้เกิดผล เสียหายทางเศรษฐกิจ เช่น คนเกิดการเจ็บป่วยขึ้น ซึ่งนอกจากจะไม่สามารถทางานได้ตามปกติแล้ว ยังต้องเสีย ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลเพิ่มขึ้นอีกด้วย ทางด้านการให้บริการการรักษาพยาบาล แพทย์พยาบาลจะต้องเพิ่ม จานวน และให้เวลาในการพยาบาลมากขึ้นทาให้ต้องเพิ่มค่าใช้จ่ายในการบริการมากขึ้น แม้แต่การปล่อยปละละเลย หรือการกาจัดมูลฝอยที่ทาให้เกิดมลพิษในแหล่งน้าขึ้นนอกจากไม่สามารถใช้ประโยชน์จากแหล่งน้า ได้เท่าที่ควร แล้วยังจะทาให้สัตว์น้าลดจานวนลงได้ 5. ขาดความสง่างาม (Nonesthetics) เนื่องจากขยะมูลฝอยเป็นผลผลิตของชุมชนที่เกิดขึ้นทุกวัน ถ้าไม่สามารถเก็บ รวบรวมมูลฝอยที่เกิดขึ้นได้หมด ปล่อยให้มีมูลฝอยเหลือค้างในชุมชนมูลฝอยส่วนที่เหลือค้างอยู่นั้น นอกจากจะทาให้ เกิดความสกปรกและปัญหาอื่น ๆ ได้แล้ว ยังอาจเป็นสิ่งที่แสดงออกถึงความไม่เจริญ และขาดวัฒนธรรมของชุมชนอีก ด้วย ซึ่งเป็นสิ่งสาคัญอย่างหนึ่งที่จะทาให้ชุมชนนั้นขาดความสง่างามและขาดความเป็นระเบียบ 6. เหตุราคาญ (Nuisances) ขยะมูลฝอยอาจทาให้เกิดเหตุราคาญได้หลายอย่าง ที่สาคัญคือกลิ่นเหม็น และฝุ่นละออง การเก็บรวบรวมขยะมูลฝอยได้ไม่หมดจะทาให้เกิดเป็นแหล่งรวมของกลิ่นเหม็น หรือแม้แต่การนาไปกาจัดที่แหล่ง กาจัด หากไม่อาจกาจัดให้หมดไปได้ในแต่ละวันขยะมูลฝอยที่เหลือค้างและสะสมไว้นั้น จะทาให้เกิดกลิ่นเหม็นเป็น เหตุราคาญแก่ชุมชนในบริเวณใกล้เคียงขึ้นได้ นอกจากนั้นแล้วฝุ่นละอองที่เกิดขึ้นจากการเก็บรวบรวม การขนถ่าย และการกาจัดขยะมูลฝอยก็ยังคงเป็นเหตุราคาญที่มักได้รับการร้องเรียนจากประชาชนอยู่เสมอ
  • 6. 6 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอย การจัดการขยะมูลฝอยสามารถกระทาได้หลายวิธี ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องหลายด้าน เช่น ลักษณะและ ปริมาณของขยะ สถานที่ ค่าใช้จ่ายในการลงทุน ค่าใช้จ่ายในกระบวนการกาจัด การนาผลผลิตจากการจัดการขยะไป ใช้ประโยชน์ ดังนั้นการเลือกใช้วิธีการจัดการขยะแบบไหนนั้นจะต้องได้รับการพิจารณาอย่างรอบคอบ เพื่อไม่ให้เกิด ปัญหา ซึ่งวิธีการจัดการขยะมูลฝอยได้มีนักวิชาการหลายท่านได้ให้แนวคิดไว้ ดังนี้ กรมควบคุมมลพิษ (2544 : 11-14) ได้กาหนดแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยอย่างครบวงจร โดยเน้นรูปแบบของการ วางแผนการจัดการขยะมูลฝอยอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด สามารถลดปริมาณขยะมูลฝอยที่จะต้องส่งเข้าไปทาลาย ด้วยระบบต่างๆให้น้อยที่สุด สามารถนาขยะมูลฝอยมา ใช้ประโยชน์ทั้งในส่วนของการใช้ซ้าและการแปรรูปเพื่อใช้ใหม่ (Reuse & Recycle) รวมถึงการกาจัดที่ได้ผลพลอยได้ เช่น ปุ๋ยหมักหรือพลังงาน โดยสรุปวิธีการดาเนินการตาม แนวทางมีดังนี้คือ 1. การลดปริมาณการผลิตมูลฝอย รณรงค์ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการลดการผลิตมูลฝอยในแต่ละวัน ได้แก่ 1.1 ลดการทิ้งบรรจุภัณฑ์โดยการใช้สินค้าชนิดเติมใหม่ เช่น ผงซักฝอก น้ายาล้าง จาน น้ายาทาความสะอาดและถ่านไฟฉายชนิดชาร์ตใหม่ เป็นต้น 1.2 เลือกใช้สินค้าที่มีคุณภาพมีห่อบรรจุภัณฑ์น้อย อายุการใช้งานยาวนาน และ ตัวสินค้าไม่เป็นมลพิษ 1.3 ลดการใช้วัสดุกาจัดยาก เช่น โฟมบรรจุอาหารและถุงพลาสติก 2. จัดระบบการรีไซเคิล หรือการรวบรวมเพื่อนาไปสู่การแปรรูปเพื่อใช้ใหม่ 2.1 รณรงค์ให้ประชาชนแยกของเสียกลับนามาใช้ประโยชน์ใหม่ เช่น กระดาษ พลาสติก และโลหะ นาไปใช้ซ้าหรือ นาไปขาย/รีไซเคิล ขยะเศษอาหารนามาหมักทาปุ๋ย ในรูปปุ๋ยน้าหรือปุ๋ยหมักเพื่อใช้ในชุมชน 2.2 จัดระบบที่เอื้อต่อการทาขยะรีไซเคิล 2.3 จัดกลุ่มอาสาสมัครหรือชมรม หรือนักเรียนให้มีกิจกรรม/โครงการ นาขยะมูลฝอยกลับมาใช้ใหม่ 2.4 จัดตั้งศูนย์รีไซเคิลหากพื้นที่ที่มีปริมาณขยะมูลฝอยเกิดขึ้นในแต่ละวันเป็นปริมาณมากๆ อาจจะมีการจัดตั้งศูนย์ คัดแยกขยะมูลฝอยซึ่งสามารุจะรองรับจากชุมชนใกล้เคียงหรือรับซื้อจากประชาชนโดยตรงซึ่งอาจจะให้เอกชนลงทุน หรืออาจให้สัมปทานเอกชนก็ได้ 3. การขนส่ง 3.1 ระยะทางไม่ไกลให้รถขนส่งขยะมูลฝอยไปยังสถานที่กาจัดโดยตรง 3.2 ระยะทางไกลและมีปริมาณขยะมูลฝอยมากอาจจะต้องสร้างสถานีขนถ่าย เพื่อถ่ายเทจากรถเก็บขนขยะมูลฝอยลง สู่รถบรรทุกขนาดใหญ่ 4. ระบบกาจัด เนื่องจากขยะมูลฝอยใช้ประโยชน์ใหม่ได้ จึงควรจัดการเพื่อกาจัดทาลายให้น้อยที่สุด ควรเลือกระบบกาจัดแบบ ผสมผสานเนื่องจากปัญหาขาดแคลนพื้นที่ จึงควรพิจารณาปรับปรุงพื้นที่กาจัดมูลฝอยที่มีอยู่เดิม และพัฒนาให้เป็น ศูนย์กาจัดขยะมูลฝอย โดยมีขั้นตอนดังนี้ 4.1 จัดระบบคัดแยกขยะมูลฝอย 4.2 ระบบกาจัดผสมผสานหลายๆระบบในพื้นที่เดียวกัน ได้แก่ หมักทาปุ๋ย ฝังกลบ และวิธีอื่นๆ เป็นต้น
  • 7. 7 ปรีดา แย้มเจริญวงศ์ (2531 : 63) ได้จัดแบ่งขั้นตอนในการดาเนินงานจัดการขยะมูลฝอยที่ สาคัญไว้ 4 ขั้นตอน คือ 1. การเก็บรวบรวม ซึ่งจะเริ่มตั้งแต่การขยะมูลฝอยใส่ในภาชนะไปจนถึงการรวบรวมขยะมูลฝอยจากแหล่งต่างๆ แล้ว ไปใส่ในยานพาหนะเพื่อขนส่งต่อไปยังสถานที่กาจัด หรือทาประโยชน์อื่น 2. การขนส่ง เป็นการนาขยะมูลฝอยที่เก็บรวบรวมจากแหล่งชุมชนขนส่งไปยังสถานที่กาจัดขยะมูลฝอยหรือนาขยะมูล ฝอยที่เก็บรวบรวมได้ไปรวบรวมไว้ที่สถานีขนถ่ายขยะมูลฝอยเพื่อรวบรวมขยะมูลฝอยคราวละมากๆ และขนส่งต่อไป ยังสถานที่กาจัดขยะมูลฝอย หรือนาไปทาประโยชน์อย่างอื่น 3. การแปรสภาพ เป็นการทาให้ขยะมูลฝอยสะดวกต่อการเก็บขนหรือนาไปทาประโยชน์อย่างอื่น หรือการนาไปกาจัด การแปรสภาพนี้อาจทาได้โดยการบดอัดเป็นก้อนคัดแยก เอาส่วนที่ยังใช้ประโยชน์ได้ออกไป เป็นต้น 4. การกาจัดหรือการทาลาย เป็นวิธีการจัดการขยะมูลฝอยในขั้นสุดท้ายเพื่อให้มูลฝอยนั้นไม่ก่อให้เกิดปัญหามลพิษต่อ สิ่งแวดล้อมอันจะมีผลกระทบต่อสุขภาพและความเป็นอยู่ของมนุษย์ วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน · คิดหัวข้อโครงงาน · ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล · จัดทาโครงร่างงาน · ปฏิบัติการสร้างโครงงาน · ปรับปรุงทดสอบ · การทำเอกสารรายงาน · ประเมินผลงาน · นำเสนอโครงงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ - งบประมาณ - ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน พิมพ์นิภา 2 ศึกษาและค้นคว้า ข้อมูล พิมพ์นิภา 3 จัดทาโครงร่างงาน พิมพ์นิภา 4 ปฏิบัติการสร้าง โครงงาน พิมพ์นิภา 5 ปรับปรุงทดสอบ พิมพ์นิภา 6 การทาเอกสาร รายงาน พิมพ์นิภา 7 ประเมินผลงาน พิมพ์นิภา 8 นาเสนอโครงงาน พิมพ์นิภา
  • 8. 8 ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) คนในชุมชนสามารถจัดการกับขยะของตัวเองได้และทาให้ชุมชนสะอาด ปลอดขยะ สถานที่ดาเนินการ ชุมชนบ้านปงเหนือ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) http://namewarangkana.blogspot.com/2013/03/2.html http://digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/54930526/chapter2.pdf https://www.deqp.go.th/media/images/7/74/%E0%B8%A8%E0%B8%B9%E0%B8%99%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8 %A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%8A%E0%B8%B8%E0%B8%A1%E0%B8 %8A%E0%B8%99%E0%B8%AF..%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%94%E0%B8%82%E0%B8%A2%E0%B8%B0_Zero_W aste_ok.pdf