SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
Download to read offline
การกาหนด Encoding แสดงข้อความบนเว็บเพจเป็นภาษาไทย
Encoding เป็นการกาหนดรูปแบบการแสดงภาษาบนเว็บเพจ เมื่อเราแสดงเว็บเพจนี้บนบราวเซอร์ ก็
จะแสดงตัวอักษรเป็นภาษาในรูปแบบที่กาหนดไว้อัตโนมัติ ปัจจุบันการกาหนดภาษาไทยบนเว็บเพจจะนิยม
ใช้อยู่ 2 รูปแบบ คือ
Thai (Windows) เป็นมาตรฐานภาษาไทยของ Windows โดยใช้ค่ารหัสตัวอักษรเป็น Windows-874
Unicode (UTF-8) เป็นมาตรฐานที่เข้ารหัสแบบไบนารี่ Unicode ซึ่งเก็บอักษรได้ 34, 168 ตัว และเป็น
ภาษาต่างๆ ได้ถึง 24 ภาษา รวมทั้งภาษาไทยด้วย การกาหนดจะใช้ค่า
รหัสตัวอักษรเป็น UTF-8
ปัจจุบันการทาเว็บเพจจะนิยมกาหนดเป็น UTF-8 เพราะรองรับการทางานข้ามระบบ รวมถึง
แสดงผลตัวอักษรบนอุปกรณ์แบบพกพา ปาล์ม พ็อกเก็ตพีซี ไอโฟน และสมาร์ทโฟนได้อย่างถูกต้อง
วิธีการกาหนด Encoding บนหน้าเว็บ ดังนี้
เลือกคาสั่ง Modify
>Page Properties…
เพื่อเลือกรูปแบบการ
เข้ารหัสตัวอักษร
การใส่ข้อความและรูปภาพลงในเว็บเพจ
37
คลิกเลือกที่หัวข้อ
Title/Encoding
การพิมพ์ข้อความ
เราสามารถพิมพ์ข้อความต่าง ๆ ลงไปในหน้าเว็บเพจได้โดยตรง โดยเนื้อความที่พิมพ์มักจะถูกแบ่ง
ออกเป็นส่วน ๆ เรียกว่า ย่อหน้า (Paragraph)ซึ่งแต่ละย่อหน้าอาจมีเพียงบรรทัดเดียวหรือหลายๆ บรรทัดก็
ได้ โดยการกดปุ่ม Enterเมื่อจบบรรทัดหมายถึงการจบย่อหน้านั้นและขึ้นย่อหน้าใหม่
วิธีการพิมพ์ข้อความ
วิธีการพิมพ์เนื้อความจะต้องอยู่ในมุมมองออกแบบ (Design View)โดยเลือกคาสั่ง
Viewเลือก Design
1. เลื่อนเคอร์เซอร์ไปยังตาแหน่งที่ต้องการพิมพ์ข้อความ
2. กดปุ่มเปลี่ยนภาษาไทย/อังกฤษ( ปุ่ม Tile)
3. พิมพ์ข้อความที่ต้องการ เราสามารถพิมพ์ข้อความต่าง ๆ ไปจนสุดขอบขวาของหน้าเว็บเพจ
และเมื่อเราพิมพ์ต่อไป ข้อความส่วนที่เกินนั้นจะถูกตัดขึ้นบรรทัดใหม่เองโดยอัตโนมัติ ดังนั้น
เราจึงสามารถพิมพ์ข้อความไปได้เรื่อย ๆ จนจบย่อหน้า
4. หากต้องการขึ้นย่อหน้าใหม่ให้กดปุ่ม Enter
เลือกรูปแบบการ
เข้ารหัสตัวอักษร
Thai (Windows)
Unicode (UTF-8)
คลิก
38
การเลือกข้อความ
ในการทางานของโปรแกรม Adobe Dreamweaver CS3นี้การเลือกข้อความที่จะทางานก็เหมือนกับ
การเลือกข้อความทั่วๆไปคือจะต้องมีการเลือกข้อความหรือทาแถบสีดาคลุมข้อความที่ต้องการก่อนทาการ
เปลี่ยนแปลงรายละเอียดต่าง ๆ โดยมีวิธีการดังนี้
การใช้เมาส์
1. เลื่อนเมาส์ไปยังตาแหน่งที่ต้องการเลือกข้อความ
2. กดปุ่มเมาส์ทางซ้ายค้างไว้ แล้วลากไปยังตาแหน่งสุดท้ายของข้อความที่ต้องการเลือก
3. ปล่อยเมาส์ก็จะได้แถบสีดาเลือกข้อความที่ต้องการ
การใช้แป้นพิมพ์
1. เลื่อนเคอร์เซอร์ไปยังตาแหน่งต้นข้อความที่จะเลือก
2. กดปุ่ม Shiftค้างไว้ พร้อมกดปุ่มลูกศรบนแป้นพิมพ์ เพื่อเลื่อนเคอร์เซอร์ไปยังตาแหน่งสุดท้าย
ของข้อความ
3. ปล่อยปุ่มทั้งสองก็จะได้แถบสีดาเลือกข้อความที่ต้องการ
39
 การเลือกข้อความยาว ๆเราสามารถเลือกข้อความยาว ๆ ได้โดยการใช้วิธีลัดที่คลิกเมาส์เพียง
สองครั้ง ซึ่งไม่ต้องเสียเวลาในการดรากส์เมาส์ยาว ๆ โดยทาตามขั้นตอนดังนี้
1. คลิกเมาส์เพื่อวางเคอร์เซอร์ที่ต้นข้อความที่ต้องการ
2. กดปุ่ม Shiftค้างไว้
3. คลิกเคอร์เซอร์ที่ตาแหน่งสุดท้ายของข้อความ ก็จะได้ข้อความที่เลือก
 การเลือกทีละคาหรือทีละวรรค
ดับเบิ้ลคลิกที่คาหรือวรรคนั้น ก็จะสามารถเลือกคาได้โดยไม่ต้องดรากส์เมาส์เลือกทีละคาหรือทีละ
วรรค
40
 การเลือกข้อความทั้งหมด
การเลือกข้อความทั้งหมด เราสามารถใช้คาสั่งบนเมนูบาร์ คือ เลือกเมนูคาสั่ง Editเลือกคาสั่ง Select
All จะได้แถบสีดาคลุมข้อความทั้งหมดในแฟ้มข้อมูล
 การเลือกข้อความโดยใช้ Selection bar
Selection barเป็นแถบว่างๆ ที่อยู่ด้านซ้ายสุดของหน้าต่าง document เมื่อนาเมาส์มาอยู่บริเวณ
Selection bar เมาส์พอยน์เตอร์จะเปลี่ยนเป็นรูป
Selection bar
41
 เลือกทีละบรรทัด
คลิกที่ Selection bar ในต้นบรรทัดที่ต้องการเลือก
 เลือกทีละหลาย ๆ บรรทัด
คลิกที่ Selection bar ในต้นบรรทัดนั้น แล้วลากเมาส์ขึ้นหรือลงใน Selection bar
 การยกเลิกส่วนที่เลือกไว้
คลิกที่ตาแหน่งใด ๆ บนพื้นที่ว่างที่ไม่ใช่บริเวณแถบสีดา ซึ่งจะทาให้แถบสีดาที่เลือกไว้หายไป
42
การจัดรูปแบบตัวอักษร
เมื่อเราทาการเลือกข้อความตามที่ต้องการได้แล้วถ้าต้องการเปลี่ยนลักษณะของตัวอักษร เรา
สามารถทาได้โดยใช้การกาหนดค่าในส่วนของพาเนล Propertiesที่อยู่ด้านล่างของโปรแกรมเช่น การ
เปลี่ยนแบบอักษร , ขนาดตัวอักษร , สีตัวอักษร , กาหนดตัวหนาและตัวเอียงให้กับตัวอักษร ก็สามารถ
เปลี่ยนได้จากพาเนลตัวอักษรได้ทันที ซึ่งมีรายละเอียดของแต่ละไอคอนดังต่อไปนี้
เลือกรูปแบบหัวข้อ
ของข้อความ
เลือกสไตล์ที่เราเคยกาหนด
ให้กับตัวอักษร หรือสร้างสไตล์
ใหม่จากหน้าต่าง CSS Style
เปิดแถบพาเนล CSS
ตัวหน
า
ตัวเอียง
จัดตาแหน่งข้อความ
จัดย่อหน้าของข้อความ
ใส่ Bullet หรือตัวเลขกากับในแต่
ละบรรทัดของข้อความ
คลิกเมาส์เลือกสีให้กับ
ตัวอักษร
ขนาดตัวอักษร
เลือกรูปแบบตัวอักษรที่มี
อยู่ หรือเพิ่ม/ลบรูปแบบ
ตัวอักษร โดยเลือกที่ Edit
Font List…
43
การเปลี่ยนสีตัวอักษร
ในการเปลี่ยนลักษณะของแบบอักษร หรือสีตัวอักษรของการใช้โปรแกรม Adobe Dreamweaver
CS3หรือการสร้างโฮมเพจทั่วไป จะต้องเขียนเป็นรหัสสี เช่น #FF9900 จะได้เป็นสีเขียว , #990000เป็นสี
แดงเข้ม เป็นต้น ซึ่งรหัสสีนี้เมื่อเราเลือกสีใดจะปรากฏในช่องสี่เหลี่ยมด้านข้างและจะปรากฏในมุมมอง
Code View ด้วย หรือจะเลือกใช้คาสั่งจากเมนูบาร์ก็ได้เช่นกัน คาสั่ง คือ Text เลือกคาสั่ง Color…
การเปลี่ยนรูปแบบตัวอักษร
ในการเปลี่ยนลักษณะของแบบอักษร สามารถทาได้โดยเลือกข้อความที่ต้องการแล้วเลือก
ลักษณะรูปแบบตัวอักษรที่ต้องการ หรือจะเลือกใช้คาสั่งจากเมนูบาร์ก็ได้เช่นกัน คาสั่ง คือ Textเลือกคาสั่ง
Font
44
การเปลี่ยนขนาดตัวอักษร
การกาหนดขนาดตัวอักษรใน Dreamweaver CS5มีความยืดหยุ่นมากขึ้นด้วยคุณสมบัติของ CSS
คือสามารถระบุหน่วยซึ่งจะทาให้ได้ขนาดที่แน่นอน
หากต้องการเปลี่ยนขนาดของแบบอักษรในรูปแบบ HTML สามารถทาได้โดย
เลือกคาสั่ง Edit >> Preferences คลิกที่กลุ่มGeneral และคลิกยกเลิกที่
ในกาหนดรูปแบบแทน CSS
การเปลี่ยนลักษณะของแบบอักษร
ในการเปลี่ยนลักษณะของแบบอักษรสามารถทาได้โดยเลือกข้อความที่ต้องการแล้วเลือกลักษณะ
ตัวอักษรที่ต้องการ เช่น ตัวหนา ตัวเอียง หรือ ตัวขีดเส้นใต้ หรือจะเลือกใช้คาสั่งจากเมนูบาร์ก็ได้เช่นกัน
คาสั่ง คือ Textเลือกคาสั่ง Style
กาหนดรูปแบบเป็น
แบบHTML
กาหนดรูปแบบเป็น
แบบ CSS
45
การจัดย่อหน้า
 การจัดวางข้อความในย่อหน้า
การจัดวางข้อความสามารถทาได้หลายรูปแบบ เพื่อสะดวกในการจัดข้อความให้อยู่ในตาแหน่งที่
สวยงามและเป็นระเบียบ สามารถทาได้ 2 วิธี
วิธีที่ 1
1. เลือกย่อหน้าที่ต้องการจะจัดรูปแบบ หรือคลิกเมาส์ที่ย่อหน้านั้น
2. คลิกไอคอนการจัดย่อหน้าบนพาเนล Properties
วิธีที่ 2 เลือกเมนูคาสั่ง Format เลือกคาสั่งAlign
ชิดขวา
ชิดขอบ
กึ่งกลาง
ชิดซ้าย
46
 การจัดระยะเยื้อง (Indent) ของย่อหน้า
เป็นการจัดให้ย่อหน้านั้นห่างจากขอบของหน้าเอกสาร โดยย่อหน้านั้นจะถูกจัดให้ทั้งซ้ายและขวา
ห่างจากขอบเท่า ๆ กัน ซึ่งในแต่ละย่อหน้า เราสามารถใช้คาสั่งนี้ได้หลายครั้งเพื่อให้เยื้องจนได้ระยะที่
ต้องการ สามารถทาได้ 2 วิธี
วิธีที่ 1 1. วางตัวบอกตาแหน่งการพิมพ์ในย่อหน้าที่ต้องการ
2. คลิกที่ไอคอนบนพาเนล Properties
วิธีที่ 2 1. วางตัวบอกตาแหน่งการพิมพ์ในย่อหน้าที่ต้องการ
2. เลือกเมนูคาสั่ง Formatเลือกคาสั่ง Indentหรือ Outdent
Indentคือ ขยับย่อหน้าเข้าด้านใน
Outdentคือ ขยับย่อหน้าออกด้านนอก
เยื้องออก เยื้องเข้า
47
 การขึ้นบรรทัดใหม่ภายในย่อหน้า
ในโปรแกรม Dreamweaverrการพิมพ์ข้อความในแต่ละบรรทัดโปรแกรมจะทาการตัดคาขึ้นบรรทัด
ใหม่ให้เองตามความกว้างของหน้า แต่ถ้าต้องการให้ขึ้นบรรทัดใหม่ในตาแหน่งที่เราต้องการ สามารถทา
ได้ดังนี้
1. วางเคอร์เซอร์ยังตาแหน่งที่จะตัดขึ้นบรรทัดใหม่ หรือหลังตัวอักษรสุดท้ายของบรรทัด
2. กดปุ่ม Shift + Enterจะเห็นว่าข้อความที่ต้องการให้ขึ้นบรรทัดใหม่จะอยู่บรรทัดใหม่ต่อจาก
บรรทัดแรก แต่ยังอยู่ภายในย่อหน้าเดียวกัน
การใส่สัญลักษณ์แสดงหัวข้อย่อย
ในการพิมพ์ข้อความบนแฟ้มข้อมูล บางครั้งเราอาจจะต้องการทาข้อความให้เป็นรายการที่มี
ลักษณะเป็นหัวข้อย่อย ซึ่งในโปรแกรม Dreamweaverr ก็สามารถใส่สัญลักษณ์เหล่านี้ได้เช่นเดียวกับ
โปรแกรมอื่น ซึ่งสัญลักษณ์เหล่านี้มีหลายรูปแบบ ได้แก่ ตัวเลขลาดับ(Ordered) , สัญลักษณ์ (Bullet) ,
รายการที่ไม่ต้องเรียงลาดับ (Unordered) และ รายการที่ไม่ใส่อะไรเลย (Defintion List)สามารถทาได้ 2 วิธี
วิธีที่ 1
1. เลือกย่อหน้าทั้งหมดที่ต้องการใส่สัญลักษณ์แสดงหัวข้อย่อยหรือเลขลาดับ
2. คลิกไอคอน หรือ บนพาเนล Properties
วิธีที่ 2
1. เลือกย่อหน้าทั้งหมดที่ต้องการใส่สัญลักษณ์แสดงหัวข้อย่อยหรือเลขลาดับ
2. เลือกเมนูคาสั่ง Format เลือกคาสั่งList แล้วเลือกหัวข้อตามต้องการ
ตัวอย่างของสัญลักษณ์แสดงหัวข้อย่อยแต่ละชนิด
48
Unordered list Ordered list Definition list
 ห้องเรียนคอมพิวเตอร์ 1. ห้องเรียนคอมพิวเตอร์ ห้องเรียนคอมพิวเตอร์
ห้อง Sound Lab 2. ห้อง Sound Lab ห้อง Sound Lab
 ห้อง PlayLand 3. ห้อง PlayLand ห้อง PlayLand
การพิมพ์รายการหัวข้อย่อยขึ้นใหม่
1. วางตัวบอกตาแหน่งการพิมพ์ในตาแหน่งที่จะเริ่มพิมพ์หัวข้อย่อย
2. ใช้ไอคอนแสดงสัญลักษณ์หัวข้อย่อยบนพาเนล หรือ ใช้คาสั่ง TextเลือกList จะปรากฏ
สัญลักษณ์หน้าหัวข้อ และพร้อมให้เราพิมพ์รายการได้
3. พิมพ์รายการหัวข้อย่อย กด Enterเพื่อพิมพ์หัวข้อถัดไป
4. เมื่อพิมพ์รายการครบแล้ว ให้กด Enterสองครั้ง
 การพิมพ์รายการย่อยในหัวข้อย่อย
1. เลือกหัวข้อที่จะทาเป็นหัวข้อย่อย
2. คลิกไอคอน Indent ในพาเนล Propertiesหรือใช้คาสั่ง Text เลือกIndentหัวข้อนั้นจะถูก
เลื่อนไปเป็นหัวข้อย่อย
3. ถ้าต้องการพิมพ์หัวข้อย่อยอื่นให้กดปุ่ม Enter
การแทรกช่องว่างเพื่อเว้นวรรค
ในภาษา HTML จะอนุญาตให้เว้นวรรคตัวอักษรได้เพียง 1 ช่องว่างเท่านั้น ถ้าเราต้องการให้เว้น
วรรคมากกว่า 1 ช่องว่างเราจะต้องทาการแทรกช่องว่างลงไป ซึ่งสามารถทาได้ 2 วิธี ดังนี้
วิธีที่ 1
1. นาเคอร์เซอร์ไปวางยังตาแหน่งที่ต้องการจะแทรกช่องว่าง
2. ในแถบ Insertเลือกคลิปแท็บ Text แล้วคลิกที่ปุ่ม (Non-breaking Space)
49
วิธีที่ 2
1. นาเคอร์เซอร์ไปวางยังตาแหน่งที่ต้องการจะแทรกช่องว่าง
2. กดปุ่ม Ctrl+Shift+Spacebar
การใช้อักขระพิเศษ
นอกเหนือจากการพิมพ์ข้อความหรือตัวอักษรทั่ว ๆ ไป แล้ว เรายังสามารถใช้อักขระพิเศษให้กับ
เนื้อหาในเว็บเพจของเราได้อีกด้วย โดยมีวิธีการใช้อักขระพิเศษ 2 วิธี ดังนี้
วิธีที่ 1
1. นาเคอร์เซอร์ไปวางยังตาแหน่งที่ต้องการจะใช้อักขระพิเศษ
2. ในแถบ Insertเลือกคลิปแท็บ Textแล้วคลิกที่ เพื่อเลือก
อักขระพิเศษที่ต้องการ
การใส่วันที่
ในการสร้างโฮมเพจนอกเหนือจากการใส่ข้อความแล้วเรายังสามารถใส่วันที่ เพื่อให้แสดงวันที่ปัจจุบัน
ในหน้าเว็บเพจ มีวิธีใส่วันที่ 2 วิธี ดังนี้
วิธีที่ 1
1. นาเคอร์เซอร์ไปวางยังตาแหน่งที่ต้องการจะใส่วันที่
50
2. ในแถบ Insertเลือกคลิปแท็บ Common แล้วคลิกที่ปุ่ม Date
วิธีที่ 2
1. นาเคอร์เซอร์ไปวางยังตาแหน่งที่ต้องการจะใส่วันที่
2. เลือกเมนูคาสั่ง Insertเลือกคาสั่ง Date จะปรากฏไดอะล๊อกบล็อกซ์ของการใส่
วันที่ ให้เรากาหนดรายละเอียดของการใส่วันที่ตามต้องการ
3. เมื่อกาหนดได้แล้วคลิกเมาส์ที่ปุ่ม OK. จะปรากฏวันที่บนหน้าเว็บเพจ
นาเคอร์เซอร์ไป
วางยังตาแหน่งที่
ต้องการจะใส่วันที่
51
การใส่เส้นคั่นแนวนอน
การใส่เส้นคั่นแนวนอนในหน้าเว็บเพจเพื่อคั่นข้อมูลออกเป็นตอน ๆ เพื่อสะดวกในการอ่าน
ข้อความที่มีการแบ่งส่วนไว้อย่างชัดเจน ทาให้เว็บเพจของเราอ่านง่ายและสวยงาม โดยมีวิธีการใส่เส้นคั่น
แนวนอน ดังนี้
1. นาเคอร์เซอร์ไปวางยังตาแหน่งที่ต้องการจะใส่เส้นคั่น
2. เลือกเมนูคาสั่ง Insertเลือกเมนูคาสั่ง HTML >>>Horizontal Ruleจะปรากฏเส้นคั่นที่เป็นสี
เทาคั่นข้อความ
เลือกคาสั่ง
Insert > Date
เลือกรูปแบบวัน
เลือกรูปแบบวันที่
เลือกรูปแบบเวลา
คลิก
52
เลือกคาสั่ง
Insert > HTML
>Horizontal Rule
จะปรากฏเส้นคั่น
ที่เป็นสีเทาคั่น
ข้อความ
53
การปรับเปลี่ยนเส้นคั่นแนวนอน
1. เลือกเส้นคั่นแนวนอนที่จะปรับเปลี่ยน โดยการคลิกเมาส์ที่เส้นคั่นซึ่งเส้นคั่นจะมีแถบสีดา
คลุม
2. จะปรากฏพาเนล Propertiesของเส้นคั่นที่ด้านล่างของโปรแกรม ให้เราทาการปรับเปลี่ยนค่า
ต่าง ๆ ในพาเนลได้ตามต้องการ
คลิกเลือก
เส้นคั่น
จะปรากฏ
พาเนล Properties
ของเส้นคั่น
กาหนดความสูงของเส้น วาดเส้นแบบมีความลึก
กาหนดความยาวของเส้น จัดวางตาแหน่ง
ตั้งชื่อให้กับเส้น
54
การใส่รูปภาพลงในเว็บเพจ
นอกเหนือจากการใส่ข้อความที่เป็นตัวอักษรลงในเว็บเพจแล้ว เรายังสามารถใส่รูปภาพต่าง ๆ ลง
ไปในเว็บเพจได้อีกด้วย ซึ่งรูปภาพก็เป็นส่วนที่ช่วยสร้างสีสันให้กับเว็บเพจของเราได้เป็นอย่างดี โดยใน
เว็บเพจนี้อาจจะประกอบด้วยรูปภาพ เช่น ภาพถ่าย , ภาพวาด , หรือรูปปุ่มต่าง ๆ ก็ได้และในการใส่
รูปภาพลงในเว็บเพจยังมีรายละเอียดเกี่ยวกับรูปภาพอีกมากมายดังนี้
ชนิดของรูปภาพ ชนิดของไฟล์ภาพมีอยู่มากมายแต่ในที่นี้จะแนะนา 4 ชนิด คือ
1. GIF (Graphic Interchange Format)
เป็นรูปแบบของไฟล์รูปภาพที่เป็นที่นิยมกันอย่างมาก ซึ่งนิยมใช้บนงานอินเตอร์เน็ตเนื่องจากไฟล์ที่
ได้จะมีขนาดเล็ก สามารถกาหนดสีได้สูงสุด 256 สี ทาภาพโปร่งแสงและสร้างเป็นภาพเคลื่อนไหว มักใช้
กับภาพการ์ตูน , โลโก้ และภาพเคลื่อนไหว
2. JPEG (Joint Photographic Experts Group)
เป็นรูปแบบของไฟล์รูปภาพที่สามารถกาหนดสีได้เป็นล้านสี และไฟล์ที่ได้จะมีขนาดเล็กกว่าไฟล์
.GIF แต่จะเก็บรายละเอียดของภาพได้น้อยกว่า และสามารถที่จะบีบอัดไฟล์ได้ เหมาะสาหรับภาพถ่าย
รูปภาพจากสแกน , รูปภาพที่มีพื้นผิว , และรูปภาพใด ๆ ที่มีสีมากกว่า 256 สี
3. TIFF (Tagged Image File Format)
ไฟล์ประเภทนี้สามารถเก็บรายละเอียดของภาพได้เป็นอย่างดี ทาให้ไฟล์ที่ได้มีขนาดค่อนข้างใหญ่ จึงไม่
นิยมนามาใช้งานบนอินเตอร์เน็ต
4. PNG (Portable Network Graphic)
เป็นรูปแบบของไฟล์กราฟฟิคที่ใช้บนเว็บ แต่อาจใช้ไม่ได้กับทุกบราวเซอร์ รองรับความลึกของ
สีแบบ 32 บิต สามารถใส่เอ็ฟเฟ็คได้ ไฟล์ชนิดนี้เป็นไฟล์มาตรฐานของโปรแกรม Macromedia
Fireworks
55
วิธีการใส่รูปภาพลงในเว็บเพจ
เลือกตาแหน่งของ
ภาพที่ต้องการจะวาง
บนหน้าเว็บแล้วเลือก
เครื่องมือ
(image) แท็บ
Common
เลือกภาพที่ต้องการ
คลิก เพื่อตกลงเลือกภาพ
จะได้รูปแสดงบนหน้าเว็บ
เขียนคาอธิบายรูปภาพ
และคลิก
56
การปรับขนาดของรูปภาพ
เมื่อเราทาการแทรกรูปภาพในเว็บเพจแล้ว บางครั้งรูปภาพที่แทรกอาจจะมีขนาดที่ใหญ่หรือเล็ก
เกินไป จาเป็นต้องมีการปรับขนาดเพื่อให้สวยงามและเหมาะสมกับเว็บเพจ โดยมีวิธีการดังนี้
1. คลิกที่รูปภาพที่จะปรับขนาด จะปรากฏจุดยึด (Handle)ที่ขอบล่าง , ขอบขวา และมุมขวาล่าง
ของรูป
2. ลากจุดยึดเพื่อปรับขนาด หากต้องการให้มีขนาดเล็กลงให้ลากเมาส์เข้าไปด้านในภาพ และถ้า
ต้องการให้ภาพมีขนาดใหญ่ให้ลากเมาส์ออกไปจากภาพ และถ้าหากต้องการให้ขนาดมีการขยาย หรือ ย่อ
ให้ได้สัดส่วนเท่ากันระหว่างความกว้างและความยาวให้กดปุ่ม Shiftบนแป้นพิมพ์ค้างไว้ขณะที่ลากเมาส์
ด้วย
จุดยึด (Handle)
57
ในการใช้พาเนล Propertiesของรูปภาพ ถ้าเราคลิกเมาส์ที่รูปภาพจะปรากฏพาเนลด้านล่าง
โปรแกรม ซึ่งจะปรากฏภาพเล็กที่แสดงว่าเราเลือกภาพใดอยู่บนพาเนลด้วย และในการปรับภาพนั้นจะมี
ขนาดของภาพบอกอยู่ในพาเนลด้วย คือ Wหมายถึง กว้าง ,H หมายถึง สูง นอกจากการใช้เมาส์ในการ
ปรับขนาดของภาพแล้ว เรายังสามารถใส่ค่าตัวเลขของขนาดลงในช่อง W , Hได้อีกด้วย และถ้าต้องการ
กลับไปยังขนาดปกติให้ลบค่าในส่วนของ W และH ออก แล้วกดปุ่ม Enterหรือคลิกปุ่ม
ในพาเนล Properties
นอกจากนี้ด้านล่างขวาของพาเนลจะมีสัญลักษณ์ซึ่งแสดงว่ายังมีรายละเอียดของการตั้งค่า
รูปภาพอยู่อีก ซึ่งถ้าคลิกเมาส์ที่สัญลักษณ์นี้จะปรากฏไอคอนการตั้งค่าเพิ่มขึ้นอีกสองแถวด้านล่าง และ
สัญลักษณ์จะเปลี่ยนเป็นรูป  ซึ่งถ้าคลิกที่สัญลักษณ์นี้อีกครั้งก็จะเป็นการซ่อนไอคอนให้เหลือแค่สอง
แถวบนตามเดิม
ปรับความกว้างของรูปภาพ
ใส่ชื่อของรูปภาพ แสดงที่เก็บไฟล์รูป
ใส่ข้อความกากับรูป
จัดตาแหน่งการวางภาพ
ปรับความสูงของรูปภาพ
ใช้กาหนดการเชื่อมโยงภาพไปยังข้อมูลหรือเว็บไซต์อื่น
กาหนดความหนาของเส้นขอบภาพ
กาหนดตาแหน่งของภาพในหน้าเว็บ
58
การจัดวางตาแหน่งรูปภาพ
เมื่อเราทาการแทรกรูปภาพและกาหนดขนาดที่พอใจแล้ว และถ้าต้องการจัดวางในตาแหน่งต่าง ๆ
บนเว็บเพจ รวมทั้งการจัดวางร่วมกับข้อความดังต่อไปนี้
- Default วางบนขอบล่าง หรือเป็นไปตามค่าปกติของโปรแกรม
เว็บบราวเซอร์ที่ผู้ชมใช้
- Baseline วางขอบล่างของภาพเสมอแนวขอบล่างของข้อความ
- Top วางขอบบนของภาพเสมอกับขอบบนที่สูงสุดของข้อความหรือ
ออบเจ็คอื่นที่อยู่ในบรรทัดนั้น
- Middle วางกึ่งกลางของภาพเสมอกับขอบล่างของข้อความบรรทัดนั้น
- TextTop วางขอบบนของภาพเสมอกับขอบบนของข้อความในบรรทัดนั้น
วางขอบบนของภาพ
- Absolute Middle วางกึ่งกลางของภาพเสมอกับกึ่งกลางของข้อความบรรทัดนั้น
- Absolute Bottom วางขอบล่างของภาพเสมอแนวขอบล่างของข้อความ รวมถึง ตัวอักษรที่มี
หางห้อย เช่น g ด้วย
- Left วางภาพไว้ทางขอบซ้าย และจัดข้อความไว้ทางขวาของภาพ
- Right วางภาพไว้ทางขอบขวา และจัดข้อความไว้ทางซ้ายของภาพ
ตัวอย่างการจัดวางตาแหน่งของรูปภาพร่วมกับข้อความ
Default
Default Baseline
59
Middle
Top
TextTop
LeftAbsolute Bottom
Middl
e
Absolute
Right
60
การใส่รูปภาพเป็นพื้นฉากหลัง
โดยปกติพื้นหลังเว็บเพจจะมีสีขาว แต่หากเราต้องการนาภาพสวย ๆ มาเป็นพื้นหลังเว็บเพจ หรือ
ต้องการเปลี่ยนสีขาวของพื้นหลังให้มีรูปโลโก้ต่าง ๆ ดังนี้
เลือกคาสั่ง Modify > Page Properties…
คลิกปุ่ม
เพื่อกาหนดรูปที่จะ
นามาใช้
61
เลือกไฟล์ภาพพื้นหลัง
ที่จะนามาใช้
คลิกปุ่ม
คลิกปุ่ม
คลิกปุ่ม
เพื่อดูผลลัพธ์ก่อนแสดงผล
ที่หน้าจอ

More Related Content

Viewers also liked

Viewers also liked (13)

Lesson 7
Lesson 7Lesson 7
Lesson 7
 
Lesson 4
Lesson 4Lesson 4
Lesson 4
 
Lesson 4 2
Lesson 4 2Lesson 4 2
Lesson 4 2
 
ใบความรู้ที่5 ตาราง Table
ใบความรู้ที่5 ตาราง  Tableใบความรู้ที่5 ตาราง  Table
ใบความรู้ที่5 ตาราง Table
 
Lesson 9
Lesson 9Lesson 9
Lesson 9
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ชุดที่ 2
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ชุดที่ 2เอกสารประกอบการเรียนรู้ ชุดที่ 2
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ชุดที่ 2
 
แผนการเรียนรู้ที่ 1 แนะนำรายวิชา
แผนการเรียนรู้ที่ 1 แนะนำรายวิชาแผนการเรียนรู้ที่ 1 แนะนำรายวิชา
แผนการเรียนรู้ที่ 1 แนะนำรายวิชา
 
ทำความรู้จักกับ ulead
 ทำความรู้จักกับ ulead ทำความรู้จักกับ ulead
ทำความรู้จักกับ ulead
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การสร้างวิดีโออย่างง่ายจาก Movie wizard1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การสร้างวิดีโออย่างง่ายจาก Movie wizard1เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การสร้างวิดีโออย่างง่ายจาก Movie wizard1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การสร้างวิดีโออย่างง่ายจาก Movie wizard1
 
ใบความรู้ที่10 การสร้างและประยุกต์ใช้แมโคร
ใบความรู้ที่10 การสร้างและประยุกต์ใช้แมโครใบความรู้ที่10 การสร้างและประยุกต์ใช้แมโคร
ใบความรู้ที่10 การสร้างและประยุกต์ใช้แมโคร
 
Lesson4
Lesson4Lesson4
Lesson4
 
Lesson2
Lesson2Lesson2
Lesson2
 
Lesson 8
Lesson 8Lesson 8
Lesson 8
 

Similar to Lesson 2

Authorware
AuthorwareAuthorware
Authorware
pui3327
 
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูลตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
Kriangx Ch
 
คู่มือการใช้งาน
คู่มือการใช้งานคู่มือการใช้งาน
คู่มือการใช้งาน
0882324871
 
Turing machine2
Turing machine2Turing machine2
Turing machine2
ninewyuya
 
Turing Machine2
Turing Machine2Turing Machine2
Turing Machine2
ninewyuya
 
ใช้งานโปรแกรม Microsoft word2007
ใช้งานโปรแกรม Microsoft word2007ใช้งานโปรแกรม Microsoft word2007
ใช้งานโปรแกรม Microsoft word2007
tanongsak
 
ระบบปฏิบัติการ Windows
ระบบปฏิบัติการ Windowsระบบปฏิบัติการ Windows
ระบบปฏิบัติการ Windows
Arrat Krupeach
 
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
Suthida23
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
kachornchit_maprang
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
kachornchit_maprang
 

Similar to Lesson 2 (20)

Authorware
AuthorwareAuthorware
Authorware
 
Caption5
Caption5Caption5
Caption5
 
Animation flash
Animation flashAnimation flash
Animation flash
 
Word2007
Word2007Word2007
Word2007
 
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูลตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
 
กำเนิดภาษาซี
กำเนิดภาษาซีกำเนิดภาษาซี
กำเนิดภาษาซี
 
คู่มือการใช้งาน
คู่มือการใช้งานคู่มือการใช้งาน
คู่มือการใช้งาน
 
Webpagemaker2
Webpagemaker2Webpagemaker2
Webpagemaker2
 
Webpagemaker2
Webpagemaker2Webpagemaker2
Webpagemaker2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Word1
Word1Word1
Word1
 
Turing machine2
Turing machine2Turing machine2
Turing machine2
 
Turing Machine2
Turing Machine2Turing Machine2
Turing Machine2
 
T
TT
T
 
งานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 1
งานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 1งานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 1
งานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 1
 
ใช้งานโปรแกรม Microsoft word2007
ใช้งานโปรแกรม Microsoft word2007ใช้งานโปรแกรม Microsoft word2007
ใช้งานโปรแกรม Microsoft word2007
 
ระบบปฏิบัติการ Windows
ระบบปฏิบัติการ Windowsระบบปฏิบัติการ Windows
ระบบปฏิบัติการ Windows
 
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
 

More from krunueng1

ใบความรู้ที่5 ตาราง Table
ใบความรู้ที่5 ตาราง  Tableใบความรู้ที่5 ตาราง  Table
ใบความรู้ที่5 ตาราง Table
krunueng1
 

More from krunueng1 (20)

ใบความรู้ที่8 การตกแต่งฟอร์ม (Form) และรายงาน (Report)
ใบความรู้ที่8 การตกแต่งฟอร์ม (Form) และรายงาน (Report)ใบความรู้ที่8 การตกแต่งฟอร์ม (Form) และรายงาน (Report)
ใบความรู้ที่8 การตกแต่งฟอร์ม (Form) และรายงาน (Report)
 
ใบความรู้ที่ 7 การสร้างรายงาน (Report)
ใบความรู้ที่ 7 การสร้างรายงาน (Report)ใบความรู้ที่ 7 การสร้างรายงาน (Report)
ใบความรู้ที่ 7 การสร้างรายงาน (Report)
 
ใบความรู้ที่5 ตาราง Table
ใบความรู้ที่5 ตาราง  Tableใบความรู้ที่5 ตาราง  Table
ใบความรู้ที่5 ตาราง Table
 
แนะนำการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Microsoft Access 2010
แนะนำการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Microsoft Access 2010แนะนำการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Microsoft Access 2010
แนะนำการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Microsoft Access 2010
 
Lesson8
Lesson8Lesson8
Lesson8
 
Lesson7
Lesson7Lesson7
Lesson7
 
Lesson6
Lesson6Lesson6
Lesson6
 
Lesson5
Lesson5Lesson5
Lesson5
 
Lesson4
Lesson4Lesson4
Lesson4
 
Lesson2
Lesson2Lesson2
Lesson2
 
Lesson1
Lesson1Lesson1
Lesson1
 
Lesson9
Lesson9Lesson9
Lesson9
 
Lesson8
Lesson8Lesson8
Lesson8
 
Lesson7
Lesson7Lesson7
Lesson7
 
Lesson6
Lesson6Lesson6
Lesson6
 
Lesson5
Lesson5Lesson5
Lesson5
 
Lesson6
Lesson6Lesson6
Lesson6
 
Lesson3
Lesson3Lesson3
Lesson3
 
Lesson1
Lesson1Lesson1
Lesson1
 
Lesson 8
Lesson 8Lesson 8
Lesson 8
 

Lesson 2

  • 1. การกาหนด Encoding แสดงข้อความบนเว็บเพจเป็นภาษาไทย Encoding เป็นการกาหนดรูปแบบการแสดงภาษาบนเว็บเพจ เมื่อเราแสดงเว็บเพจนี้บนบราวเซอร์ ก็ จะแสดงตัวอักษรเป็นภาษาในรูปแบบที่กาหนดไว้อัตโนมัติ ปัจจุบันการกาหนดภาษาไทยบนเว็บเพจจะนิยม ใช้อยู่ 2 รูปแบบ คือ Thai (Windows) เป็นมาตรฐานภาษาไทยของ Windows โดยใช้ค่ารหัสตัวอักษรเป็น Windows-874 Unicode (UTF-8) เป็นมาตรฐานที่เข้ารหัสแบบไบนารี่ Unicode ซึ่งเก็บอักษรได้ 34, 168 ตัว และเป็น ภาษาต่างๆ ได้ถึง 24 ภาษา รวมทั้งภาษาไทยด้วย การกาหนดจะใช้ค่า รหัสตัวอักษรเป็น UTF-8 ปัจจุบันการทาเว็บเพจจะนิยมกาหนดเป็น UTF-8 เพราะรองรับการทางานข้ามระบบ รวมถึง แสดงผลตัวอักษรบนอุปกรณ์แบบพกพา ปาล์ม พ็อกเก็ตพีซี ไอโฟน และสมาร์ทโฟนได้อย่างถูกต้อง วิธีการกาหนด Encoding บนหน้าเว็บ ดังนี้ เลือกคาสั่ง Modify >Page Properties… เพื่อเลือกรูปแบบการ เข้ารหัสตัวอักษร การใส่ข้อความและรูปภาพลงในเว็บเพจ
  • 2. 37 คลิกเลือกที่หัวข้อ Title/Encoding การพิมพ์ข้อความ เราสามารถพิมพ์ข้อความต่าง ๆ ลงไปในหน้าเว็บเพจได้โดยตรง โดยเนื้อความที่พิมพ์มักจะถูกแบ่ง ออกเป็นส่วน ๆ เรียกว่า ย่อหน้า (Paragraph)ซึ่งแต่ละย่อหน้าอาจมีเพียงบรรทัดเดียวหรือหลายๆ บรรทัดก็ ได้ โดยการกดปุ่ม Enterเมื่อจบบรรทัดหมายถึงการจบย่อหน้านั้นและขึ้นย่อหน้าใหม่ วิธีการพิมพ์ข้อความ วิธีการพิมพ์เนื้อความจะต้องอยู่ในมุมมองออกแบบ (Design View)โดยเลือกคาสั่ง Viewเลือก Design 1. เลื่อนเคอร์เซอร์ไปยังตาแหน่งที่ต้องการพิมพ์ข้อความ 2. กดปุ่มเปลี่ยนภาษาไทย/อังกฤษ( ปุ่ม Tile) 3. พิมพ์ข้อความที่ต้องการ เราสามารถพิมพ์ข้อความต่าง ๆ ไปจนสุดขอบขวาของหน้าเว็บเพจ และเมื่อเราพิมพ์ต่อไป ข้อความส่วนที่เกินนั้นจะถูกตัดขึ้นบรรทัดใหม่เองโดยอัตโนมัติ ดังนั้น เราจึงสามารถพิมพ์ข้อความไปได้เรื่อย ๆ จนจบย่อหน้า 4. หากต้องการขึ้นย่อหน้าใหม่ให้กดปุ่ม Enter เลือกรูปแบบการ เข้ารหัสตัวอักษร Thai (Windows) Unicode (UTF-8) คลิก
  • 3. 38 การเลือกข้อความ ในการทางานของโปรแกรม Adobe Dreamweaver CS3นี้การเลือกข้อความที่จะทางานก็เหมือนกับ การเลือกข้อความทั่วๆไปคือจะต้องมีการเลือกข้อความหรือทาแถบสีดาคลุมข้อความที่ต้องการก่อนทาการ เปลี่ยนแปลงรายละเอียดต่าง ๆ โดยมีวิธีการดังนี้ การใช้เมาส์ 1. เลื่อนเมาส์ไปยังตาแหน่งที่ต้องการเลือกข้อความ 2. กดปุ่มเมาส์ทางซ้ายค้างไว้ แล้วลากไปยังตาแหน่งสุดท้ายของข้อความที่ต้องการเลือก 3. ปล่อยเมาส์ก็จะได้แถบสีดาเลือกข้อความที่ต้องการ การใช้แป้นพิมพ์ 1. เลื่อนเคอร์เซอร์ไปยังตาแหน่งต้นข้อความที่จะเลือก 2. กดปุ่ม Shiftค้างไว้ พร้อมกดปุ่มลูกศรบนแป้นพิมพ์ เพื่อเลื่อนเคอร์เซอร์ไปยังตาแหน่งสุดท้าย ของข้อความ 3. ปล่อยปุ่มทั้งสองก็จะได้แถบสีดาเลือกข้อความที่ต้องการ
  • 4. 39  การเลือกข้อความยาว ๆเราสามารถเลือกข้อความยาว ๆ ได้โดยการใช้วิธีลัดที่คลิกเมาส์เพียง สองครั้ง ซึ่งไม่ต้องเสียเวลาในการดรากส์เมาส์ยาว ๆ โดยทาตามขั้นตอนดังนี้ 1. คลิกเมาส์เพื่อวางเคอร์เซอร์ที่ต้นข้อความที่ต้องการ 2. กดปุ่ม Shiftค้างไว้ 3. คลิกเคอร์เซอร์ที่ตาแหน่งสุดท้ายของข้อความ ก็จะได้ข้อความที่เลือก  การเลือกทีละคาหรือทีละวรรค ดับเบิ้ลคลิกที่คาหรือวรรคนั้น ก็จะสามารถเลือกคาได้โดยไม่ต้องดรากส์เมาส์เลือกทีละคาหรือทีละ วรรค
  • 5. 40  การเลือกข้อความทั้งหมด การเลือกข้อความทั้งหมด เราสามารถใช้คาสั่งบนเมนูบาร์ คือ เลือกเมนูคาสั่ง Editเลือกคาสั่ง Select All จะได้แถบสีดาคลุมข้อความทั้งหมดในแฟ้มข้อมูล  การเลือกข้อความโดยใช้ Selection bar Selection barเป็นแถบว่างๆ ที่อยู่ด้านซ้ายสุดของหน้าต่าง document เมื่อนาเมาส์มาอยู่บริเวณ Selection bar เมาส์พอยน์เตอร์จะเปลี่ยนเป็นรูป Selection bar
  • 6. 41  เลือกทีละบรรทัด คลิกที่ Selection bar ในต้นบรรทัดที่ต้องการเลือก  เลือกทีละหลาย ๆ บรรทัด คลิกที่ Selection bar ในต้นบรรทัดนั้น แล้วลากเมาส์ขึ้นหรือลงใน Selection bar  การยกเลิกส่วนที่เลือกไว้ คลิกที่ตาแหน่งใด ๆ บนพื้นที่ว่างที่ไม่ใช่บริเวณแถบสีดา ซึ่งจะทาให้แถบสีดาที่เลือกไว้หายไป
  • 7. 42 การจัดรูปแบบตัวอักษร เมื่อเราทาการเลือกข้อความตามที่ต้องการได้แล้วถ้าต้องการเปลี่ยนลักษณะของตัวอักษร เรา สามารถทาได้โดยใช้การกาหนดค่าในส่วนของพาเนล Propertiesที่อยู่ด้านล่างของโปรแกรมเช่น การ เปลี่ยนแบบอักษร , ขนาดตัวอักษร , สีตัวอักษร , กาหนดตัวหนาและตัวเอียงให้กับตัวอักษร ก็สามารถ เปลี่ยนได้จากพาเนลตัวอักษรได้ทันที ซึ่งมีรายละเอียดของแต่ละไอคอนดังต่อไปนี้ เลือกรูปแบบหัวข้อ ของข้อความ เลือกสไตล์ที่เราเคยกาหนด ให้กับตัวอักษร หรือสร้างสไตล์ ใหม่จากหน้าต่าง CSS Style เปิดแถบพาเนล CSS ตัวหน า ตัวเอียง จัดตาแหน่งข้อความ จัดย่อหน้าของข้อความ ใส่ Bullet หรือตัวเลขกากับในแต่ ละบรรทัดของข้อความ คลิกเมาส์เลือกสีให้กับ ตัวอักษร ขนาดตัวอักษร เลือกรูปแบบตัวอักษรที่มี อยู่ หรือเพิ่ม/ลบรูปแบบ ตัวอักษร โดยเลือกที่ Edit Font List…
  • 8. 43 การเปลี่ยนสีตัวอักษร ในการเปลี่ยนลักษณะของแบบอักษร หรือสีตัวอักษรของการใช้โปรแกรม Adobe Dreamweaver CS3หรือการสร้างโฮมเพจทั่วไป จะต้องเขียนเป็นรหัสสี เช่น #FF9900 จะได้เป็นสีเขียว , #990000เป็นสี แดงเข้ม เป็นต้น ซึ่งรหัสสีนี้เมื่อเราเลือกสีใดจะปรากฏในช่องสี่เหลี่ยมด้านข้างและจะปรากฏในมุมมอง Code View ด้วย หรือจะเลือกใช้คาสั่งจากเมนูบาร์ก็ได้เช่นกัน คาสั่ง คือ Text เลือกคาสั่ง Color… การเปลี่ยนรูปแบบตัวอักษร ในการเปลี่ยนลักษณะของแบบอักษร สามารถทาได้โดยเลือกข้อความที่ต้องการแล้วเลือก ลักษณะรูปแบบตัวอักษรที่ต้องการ หรือจะเลือกใช้คาสั่งจากเมนูบาร์ก็ได้เช่นกัน คาสั่ง คือ Textเลือกคาสั่ง Font
  • 9. 44 การเปลี่ยนขนาดตัวอักษร การกาหนดขนาดตัวอักษรใน Dreamweaver CS5มีความยืดหยุ่นมากขึ้นด้วยคุณสมบัติของ CSS คือสามารถระบุหน่วยซึ่งจะทาให้ได้ขนาดที่แน่นอน หากต้องการเปลี่ยนขนาดของแบบอักษรในรูปแบบ HTML สามารถทาได้โดย เลือกคาสั่ง Edit >> Preferences คลิกที่กลุ่มGeneral และคลิกยกเลิกที่ ในกาหนดรูปแบบแทน CSS การเปลี่ยนลักษณะของแบบอักษร ในการเปลี่ยนลักษณะของแบบอักษรสามารถทาได้โดยเลือกข้อความที่ต้องการแล้วเลือกลักษณะ ตัวอักษรที่ต้องการ เช่น ตัวหนา ตัวเอียง หรือ ตัวขีดเส้นใต้ หรือจะเลือกใช้คาสั่งจากเมนูบาร์ก็ได้เช่นกัน คาสั่ง คือ Textเลือกคาสั่ง Style กาหนดรูปแบบเป็น แบบHTML กาหนดรูปแบบเป็น แบบ CSS
  • 10. 45 การจัดย่อหน้า  การจัดวางข้อความในย่อหน้า การจัดวางข้อความสามารถทาได้หลายรูปแบบ เพื่อสะดวกในการจัดข้อความให้อยู่ในตาแหน่งที่ สวยงามและเป็นระเบียบ สามารถทาได้ 2 วิธี วิธีที่ 1 1. เลือกย่อหน้าที่ต้องการจะจัดรูปแบบ หรือคลิกเมาส์ที่ย่อหน้านั้น 2. คลิกไอคอนการจัดย่อหน้าบนพาเนล Properties วิธีที่ 2 เลือกเมนูคาสั่ง Format เลือกคาสั่งAlign ชิดขวา ชิดขอบ กึ่งกลาง ชิดซ้าย
  • 11. 46  การจัดระยะเยื้อง (Indent) ของย่อหน้า เป็นการจัดให้ย่อหน้านั้นห่างจากขอบของหน้าเอกสาร โดยย่อหน้านั้นจะถูกจัดให้ทั้งซ้ายและขวา ห่างจากขอบเท่า ๆ กัน ซึ่งในแต่ละย่อหน้า เราสามารถใช้คาสั่งนี้ได้หลายครั้งเพื่อให้เยื้องจนได้ระยะที่ ต้องการ สามารถทาได้ 2 วิธี วิธีที่ 1 1. วางตัวบอกตาแหน่งการพิมพ์ในย่อหน้าที่ต้องการ 2. คลิกที่ไอคอนบนพาเนล Properties วิธีที่ 2 1. วางตัวบอกตาแหน่งการพิมพ์ในย่อหน้าที่ต้องการ 2. เลือกเมนูคาสั่ง Formatเลือกคาสั่ง Indentหรือ Outdent Indentคือ ขยับย่อหน้าเข้าด้านใน Outdentคือ ขยับย่อหน้าออกด้านนอก เยื้องออก เยื้องเข้า
  • 12. 47  การขึ้นบรรทัดใหม่ภายในย่อหน้า ในโปรแกรม Dreamweaverrการพิมพ์ข้อความในแต่ละบรรทัดโปรแกรมจะทาการตัดคาขึ้นบรรทัด ใหม่ให้เองตามความกว้างของหน้า แต่ถ้าต้องการให้ขึ้นบรรทัดใหม่ในตาแหน่งที่เราต้องการ สามารถทา ได้ดังนี้ 1. วางเคอร์เซอร์ยังตาแหน่งที่จะตัดขึ้นบรรทัดใหม่ หรือหลังตัวอักษรสุดท้ายของบรรทัด 2. กดปุ่ม Shift + Enterจะเห็นว่าข้อความที่ต้องการให้ขึ้นบรรทัดใหม่จะอยู่บรรทัดใหม่ต่อจาก บรรทัดแรก แต่ยังอยู่ภายในย่อหน้าเดียวกัน การใส่สัญลักษณ์แสดงหัวข้อย่อย ในการพิมพ์ข้อความบนแฟ้มข้อมูล บางครั้งเราอาจจะต้องการทาข้อความให้เป็นรายการที่มี ลักษณะเป็นหัวข้อย่อย ซึ่งในโปรแกรม Dreamweaverr ก็สามารถใส่สัญลักษณ์เหล่านี้ได้เช่นเดียวกับ โปรแกรมอื่น ซึ่งสัญลักษณ์เหล่านี้มีหลายรูปแบบ ได้แก่ ตัวเลขลาดับ(Ordered) , สัญลักษณ์ (Bullet) , รายการที่ไม่ต้องเรียงลาดับ (Unordered) และ รายการที่ไม่ใส่อะไรเลย (Defintion List)สามารถทาได้ 2 วิธี วิธีที่ 1 1. เลือกย่อหน้าทั้งหมดที่ต้องการใส่สัญลักษณ์แสดงหัวข้อย่อยหรือเลขลาดับ 2. คลิกไอคอน หรือ บนพาเนล Properties วิธีที่ 2 1. เลือกย่อหน้าทั้งหมดที่ต้องการใส่สัญลักษณ์แสดงหัวข้อย่อยหรือเลขลาดับ 2. เลือกเมนูคาสั่ง Format เลือกคาสั่งList แล้วเลือกหัวข้อตามต้องการ ตัวอย่างของสัญลักษณ์แสดงหัวข้อย่อยแต่ละชนิด
  • 13. 48 Unordered list Ordered list Definition list  ห้องเรียนคอมพิวเตอร์ 1. ห้องเรียนคอมพิวเตอร์ ห้องเรียนคอมพิวเตอร์ ห้อง Sound Lab 2. ห้อง Sound Lab ห้อง Sound Lab  ห้อง PlayLand 3. ห้อง PlayLand ห้อง PlayLand การพิมพ์รายการหัวข้อย่อยขึ้นใหม่ 1. วางตัวบอกตาแหน่งการพิมพ์ในตาแหน่งที่จะเริ่มพิมพ์หัวข้อย่อย 2. ใช้ไอคอนแสดงสัญลักษณ์หัวข้อย่อยบนพาเนล หรือ ใช้คาสั่ง TextเลือกList จะปรากฏ สัญลักษณ์หน้าหัวข้อ และพร้อมให้เราพิมพ์รายการได้ 3. พิมพ์รายการหัวข้อย่อย กด Enterเพื่อพิมพ์หัวข้อถัดไป 4. เมื่อพิมพ์รายการครบแล้ว ให้กด Enterสองครั้ง  การพิมพ์รายการย่อยในหัวข้อย่อย 1. เลือกหัวข้อที่จะทาเป็นหัวข้อย่อย 2. คลิกไอคอน Indent ในพาเนล Propertiesหรือใช้คาสั่ง Text เลือกIndentหัวข้อนั้นจะถูก เลื่อนไปเป็นหัวข้อย่อย 3. ถ้าต้องการพิมพ์หัวข้อย่อยอื่นให้กดปุ่ม Enter การแทรกช่องว่างเพื่อเว้นวรรค ในภาษา HTML จะอนุญาตให้เว้นวรรคตัวอักษรได้เพียง 1 ช่องว่างเท่านั้น ถ้าเราต้องการให้เว้น วรรคมากกว่า 1 ช่องว่างเราจะต้องทาการแทรกช่องว่างลงไป ซึ่งสามารถทาได้ 2 วิธี ดังนี้ วิธีที่ 1 1. นาเคอร์เซอร์ไปวางยังตาแหน่งที่ต้องการจะแทรกช่องว่าง 2. ในแถบ Insertเลือกคลิปแท็บ Text แล้วคลิกที่ปุ่ม (Non-breaking Space)
  • 14. 49 วิธีที่ 2 1. นาเคอร์เซอร์ไปวางยังตาแหน่งที่ต้องการจะแทรกช่องว่าง 2. กดปุ่ม Ctrl+Shift+Spacebar การใช้อักขระพิเศษ นอกเหนือจากการพิมพ์ข้อความหรือตัวอักษรทั่ว ๆ ไป แล้ว เรายังสามารถใช้อักขระพิเศษให้กับ เนื้อหาในเว็บเพจของเราได้อีกด้วย โดยมีวิธีการใช้อักขระพิเศษ 2 วิธี ดังนี้ วิธีที่ 1 1. นาเคอร์เซอร์ไปวางยังตาแหน่งที่ต้องการจะใช้อักขระพิเศษ 2. ในแถบ Insertเลือกคลิปแท็บ Textแล้วคลิกที่ เพื่อเลือก อักขระพิเศษที่ต้องการ การใส่วันที่ ในการสร้างโฮมเพจนอกเหนือจากการใส่ข้อความแล้วเรายังสามารถใส่วันที่ เพื่อให้แสดงวันที่ปัจจุบัน ในหน้าเว็บเพจ มีวิธีใส่วันที่ 2 วิธี ดังนี้ วิธีที่ 1 1. นาเคอร์เซอร์ไปวางยังตาแหน่งที่ต้องการจะใส่วันที่
  • 15. 50 2. ในแถบ Insertเลือกคลิปแท็บ Common แล้วคลิกที่ปุ่ม Date วิธีที่ 2 1. นาเคอร์เซอร์ไปวางยังตาแหน่งที่ต้องการจะใส่วันที่ 2. เลือกเมนูคาสั่ง Insertเลือกคาสั่ง Date จะปรากฏไดอะล๊อกบล็อกซ์ของการใส่ วันที่ ให้เรากาหนดรายละเอียดของการใส่วันที่ตามต้องการ 3. เมื่อกาหนดได้แล้วคลิกเมาส์ที่ปุ่ม OK. จะปรากฏวันที่บนหน้าเว็บเพจ นาเคอร์เซอร์ไป วางยังตาแหน่งที่ ต้องการจะใส่วันที่
  • 16. 51 การใส่เส้นคั่นแนวนอน การใส่เส้นคั่นแนวนอนในหน้าเว็บเพจเพื่อคั่นข้อมูลออกเป็นตอน ๆ เพื่อสะดวกในการอ่าน ข้อความที่มีการแบ่งส่วนไว้อย่างชัดเจน ทาให้เว็บเพจของเราอ่านง่ายและสวยงาม โดยมีวิธีการใส่เส้นคั่น แนวนอน ดังนี้ 1. นาเคอร์เซอร์ไปวางยังตาแหน่งที่ต้องการจะใส่เส้นคั่น 2. เลือกเมนูคาสั่ง Insertเลือกเมนูคาสั่ง HTML >>>Horizontal Ruleจะปรากฏเส้นคั่นที่เป็นสี เทาคั่นข้อความ เลือกคาสั่ง Insert > Date เลือกรูปแบบวัน เลือกรูปแบบวันที่ เลือกรูปแบบเวลา คลิก
  • 17. 52 เลือกคาสั่ง Insert > HTML >Horizontal Rule จะปรากฏเส้นคั่น ที่เป็นสีเทาคั่น ข้อความ
  • 18. 53 การปรับเปลี่ยนเส้นคั่นแนวนอน 1. เลือกเส้นคั่นแนวนอนที่จะปรับเปลี่ยน โดยการคลิกเมาส์ที่เส้นคั่นซึ่งเส้นคั่นจะมีแถบสีดา คลุม 2. จะปรากฏพาเนล Propertiesของเส้นคั่นที่ด้านล่างของโปรแกรม ให้เราทาการปรับเปลี่ยนค่า ต่าง ๆ ในพาเนลได้ตามต้องการ คลิกเลือก เส้นคั่น จะปรากฏ พาเนล Properties ของเส้นคั่น กาหนดความสูงของเส้น วาดเส้นแบบมีความลึก กาหนดความยาวของเส้น จัดวางตาแหน่ง ตั้งชื่อให้กับเส้น
  • 19. 54 การใส่รูปภาพลงในเว็บเพจ นอกเหนือจากการใส่ข้อความที่เป็นตัวอักษรลงในเว็บเพจแล้ว เรายังสามารถใส่รูปภาพต่าง ๆ ลง ไปในเว็บเพจได้อีกด้วย ซึ่งรูปภาพก็เป็นส่วนที่ช่วยสร้างสีสันให้กับเว็บเพจของเราได้เป็นอย่างดี โดยใน เว็บเพจนี้อาจจะประกอบด้วยรูปภาพ เช่น ภาพถ่าย , ภาพวาด , หรือรูปปุ่มต่าง ๆ ก็ได้และในการใส่ รูปภาพลงในเว็บเพจยังมีรายละเอียดเกี่ยวกับรูปภาพอีกมากมายดังนี้ ชนิดของรูปภาพ ชนิดของไฟล์ภาพมีอยู่มากมายแต่ในที่นี้จะแนะนา 4 ชนิด คือ 1. GIF (Graphic Interchange Format) เป็นรูปแบบของไฟล์รูปภาพที่เป็นที่นิยมกันอย่างมาก ซึ่งนิยมใช้บนงานอินเตอร์เน็ตเนื่องจากไฟล์ที่ ได้จะมีขนาดเล็ก สามารถกาหนดสีได้สูงสุด 256 สี ทาภาพโปร่งแสงและสร้างเป็นภาพเคลื่อนไหว มักใช้ กับภาพการ์ตูน , โลโก้ และภาพเคลื่อนไหว 2. JPEG (Joint Photographic Experts Group) เป็นรูปแบบของไฟล์รูปภาพที่สามารถกาหนดสีได้เป็นล้านสี และไฟล์ที่ได้จะมีขนาดเล็กกว่าไฟล์ .GIF แต่จะเก็บรายละเอียดของภาพได้น้อยกว่า และสามารถที่จะบีบอัดไฟล์ได้ เหมาะสาหรับภาพถ่าย รูปภาพจากสแกน , รูปภาพที่มีพื้นผิว , และรูปภาพใด ๆ ที่มีสีมากกว่า 256 สี 3. TIFF (Tagged Image File Format) ไฟล์ประเภทนี้สามารถเก็บรายละเอียดของภาพได้เป็นอย่างดี ทาให้ไฟล์ที่ได้มีขนาดค่อนข้างใหญ่ จึงไม่ นิยมนามาใช้งานบนอินเตอร์เน็ต 4. PNG (Portable Network Graphic) เป็นรูปแบบของไฟล์กราฟฟิคที่ใช้บนเว็บ แต่อาจใช้ไม่ได้กับทุกบราวเซอร์ รองรับความลึกของ สีแบบ 32 บิต สามารถใส่เอ็ฟเฟ็คได้ ไฟล์ชนิดนี้เป็นไฟล์มาตรฐานของโปรแกรม Macromedia Fireworks
  • 21. 56 การปรับขนาดของรูปภาพ เมื่อเราทาการแทรกรูปภาพในเว็บเพจแล้ว บางครั้งรูปภาพที่แทรกอาจจะมีขนาดที่ใหญ่หรือเล็ก เกินไป จาเป็นต้องมีการปรับขนาดเพื่อให้สวยงามและเหมาะสมกับเว็บเพจ โดยมีวิธีการดังนี้ 1. คลิกที่รูปภาพที่จะปรับขนาด จะปรากฏจุดยึด (Handle)ที่ขอบล่าง , ขอบขวา และมุมขวาล่าง ของรูป 2. ลากจุดยึดเพื่อปรับขนาด หากต้องการให้มีขนาดเล็กลงให้ลากเมาส์เข้าไปด้านในภาพ และถ้า ต้องการให้ภาพมีขนาดใหญ่ให้ลากเมาส์ออกไปจากภาพ และถ้าหากต้องการให้ขนาดมีการขยาย หรือ ย่อ ให้ได้สัดส่วนเท่ากันระหว่างความกว้างและความยาวให้กดปุ่ม Shiftบนแป้นพิมพ์ค้างไว้ขณะที่ลากเมาส์ ด้วย จุดยึด (Handle)
  • 22. 57 ในการใช้พาเนล Propertiesของรูปภาพ ถ้าเราคลิกเมาส์ที่รูปภาพจะปรากฏพาเนลด้านล่าง โปรแกรม ซึ่งจะปรากฏภาพเล็กที่แสดงว่าเราเลือกภาพใดอยู่บนพาเนลด้วย และในการปรับภาพนั้นจะมี ขนาดของภาพบอกอยู่ในพาเนลด้วย คือ Wหมายถึง กว้าง ,H หมายถึง สูง นอกจากการใช้เมาส์ในการ ปรับขนาดของภาพแล้ว เรายังสามารถใส่ค่าตัวเลขของขนาดลงในช่อง W , Hได้อีกด้วย และถ้าต้องการ กลับไปยังขนาดปกติให้ลบค่าในส่วนของ W และH ออก แล้วกดปุ่ม Enterหรือคลิกปุ่ม ในพาเนล Properties นอกจากนี้ด้านล่างขวาของพาเนลจะมีสัญลักษณ์ซึ่งแสดงว่ายังมีรายละเอียดของการตั้งค่า รูปภาพอยู่อีก ซึ่งถ้าคลิกเมาส์ที่สัญลักษณ์นี้จะปรากฏไอคอนการตั้งค่าเพิ่มขึ้นอีกสองแถวด้านล่าง และ สัญลักษณ์จะเปลี่ยนเป็นรูป  ซึ่งถ้าคลิกที่สัญลักษณ์นี้อีกครั้งก็จะเป็นการซ่อนไอคอนให้เหลือแค่สอง แถวบนตามเดิม ปรับความกว้างของรูปภาพ ใส่ชื่อของรูปภาพ แสดงที่เก็บไฟล์รูป ใส่ข้อความกากับรูป จัดตาแหน่งการวางภาพ ปรับความสูงของรูปภาพ ใช้กาหนดการเชื่อมโยงภาพไปยังข้อมูลหรือเว็บไซต์อื่น กาหนดความหนาของเส้นขอบภาพ กาหนดตาแหน่งของภาพในหน้าเว็บ
  • 23. 58 การจัดวางตาแหน่งรูปภาพ เมื่อเราทาการแทรกรูปภาพและกาหนดขนาดที่พอใจแล้ว และถ้าต้องการจัดวางในตาแหน่งต่าง ๆ บนเว็บเพจ รวมทั้งการจัดวางร่วมกับข้อความดังต่อไปนี้ - Default วางบนขอบล่าง หรือเป็นไปตามค่าปกติของโปรแกรม เว็บบราวเซอร์ที่ผู้ชมใช้ - Baseline วางขอบล่างของภาพเสมอแนวขอบล่างของข้อความ - Top วางขอบบนของภาพเสมอกับขอบบนที่สูงสุดของข้อความหรือ ออบเจ็คอื่นที่อยู่ในบรรทัดนั้น - Middle วางกึ่งกลางของภาพเสมอกับขอบล่างของข้อความบรรทัดนั้น - TextTop วางขอบบนของภาพเสมอกับขอบบนของข้อความในบรรทัดนั้น วางขอบบนของภาพ - Absolute Middle วางกึ่งกลางของภาพเสมอกับกึ่งกลางของข้อความบรรทัดนั้น - Absolute Bottom วางขอบล่างของภาพเสมอแนวขอบล่างของข้อความ รวมถึง ตัวอักษรที่มี หางห้อย เช่น g ด้วย - Left วางภาพไว้ทางขอบซ้าย และจัดข้อความไว้ทางขวาของภาพ - Right วางภาพไว้ทางขอบขวา และจัดข้อความไว้ทางซ้ายของภาพ ตัวอย่างการจัดวางตาแหน่งของรูปภาพร่วมกับข้อความ Default Default Baseline
  • 25. 60 การใส่รูปภาพเป็นพื้นฉากหลัง โดยปกติพื้นหลังเว็บเพจจะมีสีขาว แต่หากเราต้องการนาภาพสวย ๆ มาเป็นพื้นหลังเว็บเพจ หรือ ต้องการเปลี่ยนสีขาวของพื้นหลังให้มีรูปโลโก้ต่าง ๆ ดังนี้ เลือกคาสั่ง Modify > Page Properties… คลิกปุ่ม เพื่อกาหนดรูปที่จะ นามาใช้