SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น ง 30244
                                                    ใบความรู้ที่ 3.1
                                                  เรื่อง กาเนิดภาษาซี

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง – เขียนกาเนิดภาษาซีได้




           ด้ ว ย ศั ก ย ภ า พ แ ล ะ                                   เทคโนโลยีของคอมพิวเตอร์ที่แพร่หลาย จึงทา
ให้มีผู้คิดค้นพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ภาษาซีขึ้นคือ นายเดนนิส ริทชี่ (Dennis Ritchie) ที่ศูนย์วิจัยเบล (Bell
Laboratories) ประเทศสหรัฐอเมริกาเมื่อปี ค.ศ.1972 และเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้เขียนระบบปฏิบัติการยู
นิ ก ส์                     ซึ่ ง ใ ช้ กั น แ พ ร่ ห ล า ย ใ น ร ะ บ บ เ ค รื อ ข่ า ย ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ใ น ปั จ จุ บั น
           ภาษาซีเป็นภาษาที่มีความใกล้เคียงกับภาษาระดับต่า (Low-Level Language) จึงทาให้นักพัฒนา
โปรแกรมสามารถที่จะกาหนดรายละเอียดของโปรแกรมให้เข้าถึงการทางานในส่วน                                        ต่าง ๆ ของ
คอมพิวเตอร์ให้มากที่สุดเพื่อให้เกิดความเร็วในการทางานสูงสุด และในขณะเดียวกันภาษาซีก็ยังมีความเป็นภาษา
ระดับสูง (High-Level Language) ทาให้ผู้พัฒนาสามารถที่จะพัฒนาโปรแกรมได้ โดยเน้นไปที่การแก้ปัญหาที่
ต้ อ ง ก า ร ไ ด้ อ ย่ า ง อิ ส ร ะ โ ด ย ไ ม่ ต้ อ ง ค า นึ ง ถึ ง ฮ า ร์ ด แ ว ร์ ใ ด                                   ๆ
           ภาษาซีเป็นภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ได้รับความนิยมและมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง                               นาย
Bjarne Stroustrup นักวิจัยและพัฒนาของศูนย์วิจัยเบล (Bell Laboratiories) ได้พัฒนาภาษา C++ (ซีพลัสพลัส)
ขึ้นมา โดยที่ภาษา C++ มีความสามารถในการทางานได้ทุกอย่างเหมือนกับภาษาซี ซึ่งมีรูปแบบและโครงสร้าง
ของภาษาใกล้เคียงกัน แต่ภาษา C++ ใช้หลักการออกแบบโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object Oriented Design) ในขณะ
ที่ภาษาซีใช้หลักการออกแบบโปรแกรมแบบโมดูลาร์ (Modular Design)




      รวบรวมโดย ครู เทวัญ ภูพานทอง ครู คศ. 1 โรงเรี ยนนามนพิทยาคม สพม. 24 (กาฬสิ นธุ์)
                                       http://comkrutae.wordpress.com
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น ง 30244
                                                ใบความรู้ที่ 3.2
                                          เรื่อง การเข้าสู่โปรแกรม

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง – บอกหน้าที่และความแตกต่างของแต่ละเมนูคาสั่งได้
      เริ่มต้นการเข้าสู่โปรแกรมภาษาซี โดยการดับเบิลคลิกที่ไอคอนโปรแกรมภาษาซีที่                      หน้าจอ
Desktop




                                        รูปแสดงไอคอนของโปรแกรมภาษาซี

เมื่อเข้าสู่โปรแกรมจะพบกับหน้าจอซึ่งมีรายละเอียดดังนี้




                                               รูปแสดง หน้าจอของโปรแกรมภาษาซี
1. เมนูหลัก เป็นที่เก็บรวบรวมคาสั่งเพื่ออานวยความสะดวกในการเขียนโปรแกรม ประกอบด้วยเมนู File Edit
Search Run Compile Debug Project Option Window และ Help                        วิธีการเรียกใช้เมนูหลัก และเมนู
ย่อย สามารถกระทาได้หลายวิธีดังนี้
   1.1 คลิกเมาส์ที่เมนูที่ต้องการ จะปรากฏรายการคาสั่งให้เลือก
   1.2 กดปุ่ม Alt ค้างไว้แล้วกดตัวอักษรสีเข้มที่อยู่ตัวแรกของเมนูนั้น เช่นต้องการเรียกใช้เมนู File ให้กด
        Alt+F เป็นต้น การยกเลิกให้กดปุ่ม Esc
   1.3 กดปุ่ม F10 จะปรากฏแถบสีที่เมนู แล้วกดปุ่มคีย์ลูกศรเพื่อเลื่อนไปยังเมนูที่ต้องการแล้วกดปุ่ม Enter


     รวบรวมโดย ครู เทวัญ ภูพานทอง ครู คศ. 1 โรงเรี ยนนามนพิทยาคม สพม. 24 (กาฬสิ นธุ์)
                                   http://comkrutae.wordpress.com
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น ง 30244

  1.4 กดปุ่ม Hot-Key โดยไม่ต้องเรียกเมนูหลัก และเมนูย่อย เช่นต้องการบันทึกข้อมูลให้กดปุ่ม F2 หรือ
      ต้องการออกจากโปรแกรมให้กด Alt+X เป็นต้น
2. พื้นที่สาหรับเขียนโปรแกรม (Edit Window) เป็นพื้นที่ที่ใช้ในการพิมพ์ข้อความสาหรับเขียน
โปรแกรม (Source File) มีรายละเอียดที่น่าสนใจดังนี้
           บริเวณกึ่งกลางด้านบนของหน้าต่างจะมีชื่อไฟล์ปรากฏอยู่ ถ้ายังมี่การบันทึกไฟล์จะปรากฏเป็น
  2.1
           NONAME00.CPP
  2.2 มุมบนด้านขวาของหน้าต่างจะมีหมายเลขกากับไว้ว่าเป็นหน้าต่างที่เท่าใด ในกรณีที่เปิดหนาจอมากกว่า
           1 หน้าต่าง ถ้าต้องการไปยังหน้าต่างอื่นๆ ให้กดปุ่ม Alt แล้วตามด้วยหมายเลขหน้าต่าง เช่น Alt+3
           เพื่อไปหน้าต่างที่ 3 หรือใช้เมาส์คลิกที่ส่วนใดส่วนหนึ่งของหน้าต่างที่ต้องการก็ได้
  2.3 มุมบนด้านซ้ายของหน้าต่าง จะมีปุ่มสี่เหลี่ยมจตุรัส ปุ่มนี้มีชื่อว่า Close มีไว้สาหรับนาเมาส์ไปคลิกเพื่อ
           ปิดหน้าต่างการเขียนโปรแกรม หรือจะปิดหน้าต่างด้วยวิธีการกดปุ่ม Alt+F3 บนแป้นพิมพ์ก็ได้
  2.4 มุมล่างด้านซ้ายของหน้าต่าง จะมีหมายเลขปรากฏ 2 ตัวคั่นระหว่างตัวเลขด้วยเครื่องหมายโคล่อน
           ตัวอย่างเช่น 3:5 หมายความว่า โปรแกรมแจ้งให้ทราบว่าขณะนี้เคอร์เซอร์อยู่ที่บรรทัดที่ 3 คอลัมน์ที่ 5
           ด้านหน้าของตัวเลขที่แสดงบรรทัดและคอลัมน์ ถ้ามีการพิมพ์ข้อความ หรือเขียนโปรแกรมจะปรากฏ
  2.5
           ดอกจัน แสดงว่ายังไม่มีการบันทึกข้อมูล ดอกจันนี้จะปรากฏตลอดจนกว่าจะมีการบันทึกข้อมูล
  2.6 มุมล่างด้านขวา มีไว้สาหรับปรับขนาดของหน้าต่างหรือเคลื่อนย้ายหน้าต่าง สามารถกระทาได้โดยคลิก
           เมาส์ที่บริเวณดังกล่าวแล้วลากเพื่อปรับขนาดตามต้องการ หรือกดปุ่ม Ctrl+F5 ขอบหน้าต่างจะเป็น
           เส้นเดียว ให้กดลูกศรบนแป้นพิมพ์เพื่อเคลื่อนย้ายหน้าต่าง หรือกดปุ่ม Shift+ลูกศร เพื่อปรับขนาดของ
           หน้าต่าง

3. หน้าต่างแสดงข้อความ (Message Window) หน้าต่างนี้มีไว้เพื่อแจ้งข้อความข่าวสารให้ทราบเกี่ยวกับ
โปรแกรมที่เขียนขึ้นว่าใช้งานได้ หรือมีข้อผิดพลาดอย่างไรจะปรากฏข้อความในส่วนของหน้าต่างแสดงข้อความ
4. คาสั่งเร่งด่วน (Quick Reference Line) แสดงอยู่บริเวณด้านล่างของจอภาพเป็นคาสั่งที่
ต้องการใช้งานอยู่บ่อย ๆ ดังนั้นโปรแกรมจึงแสดงไว้เพื่อเรียกใช้ได้ทันทีโดยไม่ต้องกดเมนู คาสั่งดังกล่าวมีดังนี้คือ
                    F1 Help F2 Save F3 Open Alt-F9 Compile F9 Make F10 Menu

รายละเอียดของเมนู
    เมนูหลัก (Main Menu) ประกอบด้วย File Edit Search Run Compile Debug Project Options
Window และ Help

     File       เก็บรวบรวมคาสั่งเกี่ยวกับการเปิดปิดไฟล์ การบันทึกไฟล์ การออกจากโปรแกรม

      รวบรวมโดย ครู เทวัญ ภูพานทอง ครู คศ. 1 โรงเรี ยนนามนพิทยาคม สพม. 24 (กาฬสิ นธุ์)
                                    http://comkrutae.wordpress.com
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น ง 30244

    Edit     การแก้ไขโปรแกรม การสาเนาหรือการย้ายข้อความที่ปรากฏ บนเอดิเตอร์
   Search    ค้นหาคาหรือข้อความที่เขียนในโปรแกรม ตลอดจนการแทนที่คา
    Run      รันโปรแกรมที่เขียนด้วยคาสั่งแบบต่างๆ
  Compile    แปลข้อมูลของโปรแกรมที่เป็น Source file ให้เป็น Object file
   Debug     ตรวจสอบข้อผิดพลาดของโปรแกรม
   Project   ใช้ในการระบุไฟล์ต่างๆ ที่จาเป็นต้องนามาใช้ในตัวโปรแกรมและ Project ที่ทางานอยู่
  Options    กาหนดรายละเอียดต่างๆ ของคอมไพเลอร์ เช่น Directories Compiler เป็นต้น
  Window     จัดการเกี่ยวกับหน้าต่างที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม
    Help     ขอความช่วยเหลือหรือรายละเอียดเกี่ยวกับโปรแกรมในลักษณะต่างๆ
การทดสอบและตรวจสอบความถูกต้องโปรแกรม
        เมื่อนักเรียนเขียนโปรแกรมเสร็จให้ทดลองคอมไพล์โปรแกรมว่ามีจุดผิดพลาดที่ใดบ้าง    ในภาษาซี
การคอมไพล์โปรแกรมจะใช้วิธีการกดปุ่ม Alt+F9 ในกรณีที่มีข้อผิดพลาดจะแสดงในช่องด้านล่างของหน้าจอเอดิ
เตอร์ในส่วนของกรอบ message ให้อ่านทาความเข้าใจ และแก้ไขตามที่โปรแกรมแจ้งข้อมูลผิดพลาด เมื่อเสร็จ
แล้วให้ทดลองรันโปรแกรมโดยกดปุ่ม Ctrl+F9




     รวบรวมโดย ครู เทวัญ ภูพานทอง ครู คศ. 1 โรงเรี ยนนามนพิทยาคม สพม. 24 (กาฬสิ นธุ์)
                               http://comkrutae.wordpress.com
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น ง 30244
                                                        ใบความรู้ที่ 3.3
                                                เรื่อง หลักการเขียนโปรแกรม

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง - อธิบายหลักการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซีได้

         ในการเขียนโปรแกรมจะต้องเข้าใจหลักเกณฑ์ของภาษาโปรแกรม และระบบการทางานของคอมพิวเตอร์
ว่ามีโครงสร้างและวิธีการใช้คาสั่งอย่างไร หลักเกณฑ์การเขียนโปรแกรม ประกอบด้วย 5 ขั้นตอนคือ

                           1. ทาความเข้าใจและวิเคราะห์ปัญหา
                           2. กาหนดแผนในการแก้ปัญหา
                           3. เขียนโปรแกรมตามแผนที่กาหนด
                            4. ทดสอบและตรวจสอบความถูกต้อง
                           5. นาโปรแกรมที่ผ่านการทดสอบไปใช้งาน
ทาความเข้าใจและวิเคราะห์ปัญหา
            ก่อนที่นักเรียนจะลงมือเขียนโปรแกรมนั้น นักเรียนจะต้องทาความเข้าใจและการวิเคราะห์ปัญหาเป็นสิ่ง
ที่สาคัญเพราะผู้เขียนโปรแกรมจะต้องวิเคราะห์ปัญหาร่วมกับนักวิเคราะห์ระบบว่าโจทย์ต้องการผลลัพธ์อะไร การ
ที่จะได้มาซึ่งผลลัพธ์นั้น ต้องป้อนข้อมูลอะไรบ้าง และเมื่อป้อนข้อมูลเข้าไปแล้วจะทาการประมวลผลอย่างไร สิ่ง
เหล่านี้ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องทาความเข้าใจให้ถูกต้อง เพราะถ้าผู้เขียนโปรแกรมวิเคราะห์ปัญหาไม่ถูกต้อง
ผลลัพธ์ก็อาจจะไม่ตรงกับ                    ความต้องการของโจทย์ได้กาหนดแผนในการแก้ปัญหา
                         เมื่ อ ท าความเข้ า ใจและวิ เ คราะห์ ปั ญ หาโจทย์ จ นได้ ข้ อ สรปุ ว่ า โจทย์ ต้ อ งการอะไรแล้ ว
ก็ทาการกาหนดแผนในการแก้ไขปัญหาโดยการเขียนผังงาน (Flowchart) การเขียนผังงานคือ                                                   การ
เ ขี ย น แ ผ น ภ า พ ที่ เ ป็ น ล า ดั บ          เ พื่ อ แ ส ด ง ขั้ น ต อ น ก า ร ท า ง า น ข อ ง โ ป ร แ ก ร ม เ พื่ อ ใ ห้ ง่ า ย
ต่อการทาความเข้าใจ การเขียนผังงานมี 3 แบบคือ แบบเรียงลาดับ(Sequential)
แบบมีการกาหนดเงื่อนไข(Condition) และแบบมีการทางานวนรอบ(Looping)
สัญลักษณ์ของผังงาน(Flowchart Symbol) มีดังนี้คือ

                        สัญลักษณ์                                                         ความหมาย
                                                               เริ่มต้นทางาน
                                                               กาหนดค่าหรือประมวลผล
                                                               รับข้อมูลและแสดงผลข้อมูล
                                                               รับข้อมูลทางแป้นพิมพ์
       รวบรวมโดย ครู เทวัญ ภูพานทอง ครู คศ. 1 โรงเรี ยนนามนพิทยาคม สพม. 24 (กาฬสิ นธุ์)
                                          http://comkrutae.wordpress.com
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น ง 30244

                                       การตัดสินใจ

                                       ใช้แสดงผลข้อมูลทางจอภาพ

                                       ใช้แสดงผลข้อมูลออกทางเอกสาร

                                       ทิศทางการดาเนินงาน

                                       ตัวเชื่อมต่อภายในหน้าเดียวกัน
                                       ตัวเชื่อมต่อไปหน้าอื่น

                       รูปแสดงสัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน




รวบรวมโดย ครู เทวัญ ภูพานทอง ครู คศ. 1 โรงเรี ยนนามนพิทยาคม สพม. 24 (กาฬสิ นธุ์)
                       http://comkrutae.wordpress.com
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น ง 30244
                              ตัวอย่าง การเขียนผังงานแบบเรียงลาดับ




                                รูป แสดงผังงานการบวกเลข 2 จานวน



อธิบายผังงานการบวกเลข 2 จานวน

       1. Start เริ่มต้นการทางาน
       2. x=5 และ y=3 กาหนดค่าให้ตัวแปร x มีค่าเท่ากับ 5 ตัวแปร y มีค่าเท่ากับ 3
       3. z=x+y เมื่อ x+y ได้ค่าเท่าไรให้นาไปเก็บไว้ยังตัวแปร z
        4. แสดงค่าที่เก็บไว้ในตัวแปร z
       5. จบการทางาน




    รวบรวมโดย ครู เทวัญ ภูพานทอง ครู คศ. 1 โรงเรี ยนนามนพิทยาคม สพม. 24 (กาฬสิ นธุ์)
                               http://comkrutae.wordpress.com
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น ง 30244


ตัวอย่าง การเขียนผังงานแบบมีการกาหนดเงื่อนไขโดยอายุ 1-30 ปียังอยู่ในวัยหนุ่มสาว แต่ถ้าเกินแสดงว่ามีอายุ
มาก




อธิบายผังงานรับค่าอายุ

         1. Start เริ่มต้นการทางาน
         2. รับค่าอายุมาเก็บไว้ในตัวแปร age
         3. ตรวจสอบเงื่อนไขว่าอายุอยู่ในช่วง 1 ถึง 30 ปีหรือไม่
          4. ถ้าใช่แสดงข้อความ You are young ถ้าไม่ใช่ให้พิมพ์ You are old
         5. จบการทางาน


เขียนโปรแกรมตามแผนที่กาหนด
         เมื่อนักเรียนเขียนผังงานเสร็จเรียบร้อยแล้ว ขั้นตอนต่อไปคือการเขียนโปรแกรมตามผังงานที่ได้กาหนด
เอาไว้ ในกรณีที่เขียนด้วยภาษาซี การเขียนโปรแกรมก็ต้องเป็นไปตามกฎเกณฑ์และโครงสร้างของภาษาซี

     รวบรวมโดย ครู เทวัญ ภูพานทอง ครู คศ. 1 โรงเรี ยนนามนพิทยาคม สพม. 24 (กาฬสิ นธุ์)
                                 http://comkrutae.wordpress.com
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น ง 30244
 ทดสอบและตรวจสอบความถูกต้องของโปรแกรม
         เมื่อนักเรียนเขียนโปรแกรมเสร็จให้ทดลองคอมไพล์โปรแกรมว่ามีจุดผิดพลาดที่ใดบ้าง ในภาษาซีการ
คอมไพล์โปรแกรมจะใช้วิธีการกดปุ่ม Alt + F9 ในกรณีที่มีข้อผิดพลาดจะแสดงในช่องด้านล่างของหน้าจอเอดิ
เตอร์ในส่วนของกรอบ message ให้อ่านทาความเข้าใจ และแก้ไขตามที่โปรแกรมแจ้งข้อมูลผิดพลาดเมื่อเสร็จแล้ว
ให้ทดลองรันโปรแกรม

นาโปรแกรมที่ผ่านการทดสอบไปใช้งาน
      ถ้ารันโปรแกรมแล้วใช้งานได้แสดงว่าจะได้ไฟล์ที่มีส่วนขยายเป็น EXE เพื่อนาไปทดสอบงานในที่ต่าง ๆ ถ้า
นาไปใช้งานแล้วมีปัญหาก็ให้แก้ไขอีกครั้ง แต่ถ้าไม่มีปัญหาแสดงว่าโปรแกรมนี้ใช้งานได้อย่างสมบูรณ์ ให้ทาคู่มือ
ประกอบการใช้งานและนาไปเผยแพร่ต่อ




     รวบรวมโดย ครู เทวัญ ภูพานทอง ครู คศ. 1 โรงเรี ยนนามนพิทยาคม สพม. 24 (กาฬสิ นธุ์)
                                  http://comkrutae.wordpress.com

More Related Content

What's hot

ความหมายโครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ความหมายโครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือความหมายโครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ความหมายโครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือThitinun Phoawleeklee
 
กิจกรรม2 8
กิจกรรม2 8กิจกรรม2 8
กิจกรรม2 8Pavit Wongkajit
 
โครงงานเรื่อง ระบบปฎิบัติการ
โครงงานเรื่อง ระบบปฎิบัติการโครงงานเรื่อง ระบบปฎิบัติการ
โครงงานเรื่อง ระบบปฎิบัติการpeepee kullabut
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .jamiezaa123
 
โครงงานระบบปฏิบัติการ
โครงงานระบบปฏิบัติการโครงงานระบบปฏิบัติการ
โครงงานระบบปฏิบัติการThanapon Seadthaisong
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์kitkatbody18
 
โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”
โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”
โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”Mymi Santikunnukan
 
โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5miiztake
 
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาFiction Lee'jslism
 
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซีแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซีChess
 
แผนการสอน
แผนการสอนแผนการสอน
แผนการสอนOLe Promwichai
 
ใบความรู้ เรื่อง รูปแบบรายงานโครงงาน
ใบความรู้ เรื่อง รูปแบบรายงานโครงงานใบความรู้ เรื่อง รูปแบบรายงานโครงงาน
ใบความรู้ เรื่อง รูปแบบรายงานโครงงานเทวัญ ภูพานทอง
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์kanlaya champatho
 
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2wifi5822
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 1มาณวิกา นาคนอก
 
ตัวอย่างโครงงานพัฒนา
ตัวอย่างโครงงานพัฒนาตัวอย่างโครงงานพัฒนา
ตัวอย่างโครงงานพัฒนาPennapa Boopphacharoensok
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานNuchy Geez
 

What's hot (20)

ความหมายโครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ความหมายโครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือความหมายโครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ความหมายโครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
 
ใบความรู้ที่ 3.2
ใบความรู้ที่ 3.2ใบความรู้ที่ 3.2
ใบความรู้ที่ 3.2
 
กิจกรรม2 8
กิจกรรม2 8กิจกรรม2 8
กิจกรรม2 8
 
โครงงานเรื่อง ระบบปฎิบัติการ
โครงงานเรื่อง ระบบปฎิบัติการโครงงานเรื่อง ระบบปฎิบัติการ
โครงงานเรื่อง ระบบปฎิบัติการ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
 
โครงงานระบบปฏิบัติการ
โครงงานระบบปฏิบัติการโครงงานระบบปฏิบัติการ
โครงงานระบบปฏิบัติการ
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แผนการสอนการสร้างเว็บเพจ
แผนการสอนการสร้างเว็บเพจแผนการสอนการสร้างเว็บเพจ
แผนการสอนการสร้างเว็บเพจ
 
โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”
โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”
โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”
 
โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5
 
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
 
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซีแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี
 
แผนการสอน
แผนการสอนแผนการสอน
แผนการสอน
 
ใบความรู้ เรื่อง รูปแบบรายงานโครงงาน
ใบความรู้ เรื่อง รูปแบบรายงานโครงงานใบความรู้ เรื่อง รูปแบบรายงานโครงงาน
ใบความรู้ เรื่อง รูปแบบรายงานโครงงาน
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 1
 
Plan3
Plan3Plan3
Plan3
 
ตัวอย่างโครงงานพัฒนา
ตัวอย่างโครงงานพัฒนาตัวอย่างโครงงานพัฒนา
ตัวอย่างโครงงานพัฒนา
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 

Viewers also liked

ใบความรู้ เรื่อง การนำทางเบื้องต้น
ใบความรู้  เรื่อง การนำทางเบื้องต้นใบความรู้  เรื่อง การนำทางเบื้องต้น
ใบความรู้ เรื่อง การนำทางเบื้องต้นเทวัญ ภูพานทอง
 
ใบความรู้ เรื่อง ภาษาสื่อสารในอินเทอร์เน็ต
ใบความรู้ เรื่อง ภาษาสื่อสารในอินเทอร์เน็ตใบความรู้ เรื่อง ภาษาสื่อสารในอินเทอร์เน็ต
ใบความรู้ เรื่อง ภาษาสื่อสารในอินเทอร์เน็ตเทวัญ ภูพานทอง
 
รายการเอกสารประกอบการพิจารณา OBEC AWARDS ปี 2556
รายการเอกสารประกอบการพิจารณา OBEC AWARDS ปี 2556รายการเอกสารประกอบการพิจารณา OBEC AWARDS ปี 2556
รายการเอกสารประกอบการพิจารณา OBEC AWARDS ปี 2556เทวัญ ภูพานทอง
 
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิค
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิคแผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิค
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิคเทวัญ ภูพานทอง
 
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4พงศธร ภักดี
 

Viewers also liked (19)

ฟังก์ชั่น break
ฟังก์ชั่น breakฟังก์ชั่น break
ฟังก์ชั่น break
 
การสร้างภาพขอบเบลอ
การสร้างภาพขอบเบลอการสร้างภาพขอบเบลอ
การสร้างภาพขอบเบลอ
 
ใบความรู้ เรื่อง การนำทางเบื้องต้น
ใบความรู้  เรื่อง การนำทางเบื้องต้นใบความรู้  เรื่อง การนำทางเบื้องต้น
ใบความรู้ เรื่อง การนำทางเบื้องต้น
 
Por51
Por51Por51
Por51
 
ใบความรู้ เรื่อง ภาษาสื่อสารในอินเทอร์เน็ต
ใบความรู้ เรื่อง ภาษาสื่อสารในอินเทอร์เน็ตใบความรู้ เรื่อง ภาษาสื่อสารในอินเทอร์เน็ต
ใบความรู้ เรื่อง ภาษาสื่อสารในอินเทอร์เน็ต
 
อักษรประดิษฐ์
อักษรประดิษฐ์อักษรประดิษฐ์
อักษรประดิษฐ์
 
การวาดการ์ตูน
การวาดการ์ตูนการวาดการ์ตูน
การวาดการ์ตูน
 
K32
K32K32
K32
 
ใส่เส้นกรอบให้กับภาพ
ใส่เส้นกรอบให้กับภาพใส่เส้นกรอบให้กับภาพ
ใส่เส้นกรอบให้กับภาพ
 
การสร้างไอคอนทรงกลม
การสร้างไอคอนทรงกลมการสร้างไอคอนทรงกลม
การสร้างไอคอนทรงกลม
 
นวัตกรรมครูเต้
นวัตกรรมครูเต้นวัตกรรมครูเต้
นวัตกรรมครูเต้
 
ภาพพื้นหลังเรืองแสง
ภาพพื้นหลังเรืองแสงภาพพื้นหลังเรืองแสง
ภาพพื้นหลังเรืองแสง
 
การ์ดอวยพร
การ์ดอวยพรการ์ดอวยพร
การ์ดอวยพร
 
การปรับภาพให้คมชัด
การปรับภาพให้คมชัดการปรับภาพให้คมชัด
การปรับภาพให้คมชัด
 
โปรแกรมตกแต่งภาพ
โปรแกรมตกแต่งภาพโปรแกรมตกแต่งภาพ
โปรแกรมตกแต่งภาพ
 
รายการเอกสารประกอบการพิจารณา OBEC AWARDS ปี 2556
รายการเอกสารประกอบการพิจารณา OBEC AWARDS ปี 2556รายการเอกสารประกอบการพิจารณา OBEC AWARDS ปี 2556
รายการเอกสารประกอบการพิจารณา OBEC AWARDS ปี 2556
 
การสืบค้นข้อมูลชั้นสูง
การสืบค้นข้อมูลชั้นสูงการสืบค้นข้อมูลชั้นสูง
การสืบค้นข้อมูลชั้นสูง
 
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิค
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิคแผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิค
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิค
 
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4
 

Similar to กำเนิดภาษาซี

การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2winewic199
 
โปรแกรม
โปรแกรมโปรแกรม
โปรแกรมthanapon51105
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2winewic199
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาการพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาwinewic199
 
Lesson 1การเริ่มต้นใช้โปรแกรม
Lesson 1การเริ่มต้นใช้โปรแกรมLesson 1การเริ่มต้นใช้โปรแกรม
Lesson 1การเริ่มต้นใช้โปรแกรมErrorrrrr
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมPassawan' Koohar
 
การพัฒนาเครื่องมือ
การพัฒนาเครื่องมือการพัฒนาเครื่องมือ
การพัฒนาเครื่องมือdgnjamez
 
Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007
Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007
Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007MMp'New Aukkaradet
 
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 3 การประมวลผลคำโดยใช้ microsoft word 2010
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 3 การประมวลผลคำโดยใช้ microsoft word 2010งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 3 การประมวลผลคำโดยใช้ microsoft word 2010
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 3 การประมวลผลคำโดยใช้ microsoft word 2010MSWORD2010 COMPUTER
 
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 3 การประมวลผลคำโดยใช้ microsoft word 2010
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 3 การประมวลผลคำโดยใช้ microsoft word 2010งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 3 การประมวลผลคำโดยใช้ microsoft word 2010
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 3 การประมวลผลคำโดยใช้ microsoft word 2010sutham lrp
 
งานนำเสนอ(เริ่มต้นกับAuthorware)
งานนำเสนอ(เริ่มต้นกับAuthorware)งานนำเสนอ(เริ่มต้นกับAuthorware)
งานนำเสนอ(เริ่มต้นกับAuthorware)Anekphongtupan
 
งานนำเสนอ(เริ่มต้นกับAuthorware)
งานนำเสนอ(เริ่มต้นกับAuthorware)งานนำเสนอ(เริ่มต้นกับAuthorware)
งานนำเสนอ(เริ่มต้นกับAuthorware)Anekphongtupan
 

Similar to กำเนิดภาษาซี (20)

การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
 
โปรแกรม
โปรแกรมโปรแกรม
โปรแกรม
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาการพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
Lesson 1การเริ่มต้นใช้โปรแกรม
Lesson 1การเริ่มต้นใช้โปรแกรมLesson 1การเริ่มต้นใช้โปรแกรม
Lesson 1การเริ่มต้นใช้โปรแกรม
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Pbl1
Pbl1Pbl1
Pbl1
 
P bl1
P bl1P bl1
P bl1
 
1236363
12363631236363
1236363
 
การพัฒนาเครื่องมือ
การพัฒนาเครื่องมือการพัฒนาเครื่องมือ
การพัฒนาเครื่องมือ
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007
Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007
Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007
 
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 3 การประมวลผลคำโดยใช้ microsoft word 2010
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 3 การประมวลผลคำโดยใช้ microsoft word 2010งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 3 การประมวลผลคำโดยใช้ microsoft word 2010
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 3 การประมวลผลคำโดยใช้ microsoft word 2010
 
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 3 การประมวลผลคำโดยใช้ microsoft word 2010
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 3 การประมวลผลคำโดยใช้ microsoft word 2010งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 3 การประมวลผลคำโดยใช้ microsoft word 2010
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 3 การประมวลผลคำโดยใช้ microsoft word 2010
 
งานนำเสนอ(เริ่มต้นกับAuthorware)
งานนำเสนอ(เริ่มต้นกับAuthorware)งานนำเสนอ(เริ่มต้นกับAuthorware)
งานนำเสนอ(เริ่มต้นกับAuthorware)
 
งานนำเสนอ(เริ่มต้นกับAuthorware)
งานนำเสนอ(เริ่มต้นกับAuthorware)งานนำเสนอ(เริ่มต้นกับAuthorware)
งานนำเสนอ(เริ่มต้นกับAuthorware)
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 

More from เทวัญ ภูพานทอง

การสืบค้นข้อมูลประเภทรูปภาพ
การสืบค้นข้อมูลประเภทรูปภาพการสืบค้นข้อมูลประเภทรูปภาพ
การสืบค้นข้อมูลประเภทรูปภาพเทวัญ ภูพานทอง
 
การสืบค้นข้อมูลประเภทข้อความ
การสืบค้นข้อมูลประเภทข้อความการสืบค้นข้อมูลประเภทข้อความ
การสืบค้นข้อมูลประเภทข้อความเทวัญ ภูพานทอง
 
เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ ปี 2559
เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ  ปี 2559เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ  ปี 2559
เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ ปี 2559เทวัญ ภูพานทอง
 
เอกสารประกอบการพิจารณา Obec Awards ปีการศึกษา 2558
เอกสารประกอบการพิจารณา Obec Awards ปีการศึกษา 2558เอกสารประกอบการพิจารณา Obec Awards ปีการศึกษา 2558
เอกสารประกอบการพิจารณา Obec Awards ปีการศึกษา 2558เทวัญ ภูพานทอง
 
ประกาศผล การประกวดสื่อของ สพฐ.ปีการศึกษา2557
ประกาศผล การประกวดสื่อของ สพฐ.ปีการศึกษา2557ประกาศผล การประกวดสื่อของ สพฐ.ปีการศึกษา2557
ประกาศผล การประกวดสื่อของ สพฐ.ปีการศึกษา2557เทวัญ ภูพานทอง
 
รายงานเยี่ยมบ้านนักเรียน ปีการศึกษา 2557
รายงานเยี่ยมบ้านนักเรียน ปีการศึกษา 2557รายงานเยี่ยมบ้านนักเรียน ปีการศึกษา 2557
รายงานเยี่ยมบ้านนักเรียน ปีการศึกษา 2557เทวัญ ภูพานทอง
 
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดีแบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดีเทวัญ ภูพานทอง
 
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556เทวัญ ภูพานทอง
 
การเพิ่มบล็อกผู้บริหารใน Obeclms
การเพิ่มบล็อกผู้บริหารใน Obeclmsการเพิ่มบล็อกผู้บริหารใน Obeclms
การเพิ่มบล็อกผู้บริหารใน Obeclmsเทวัญ ภูพานทอง
 
ใบความรู้ เรื่อง ประโยชน์การสืบค้น
ใบความรู้  เรื่อง ประโยชน์การสืบค้นใบความรู้  เรื่อง ประโยชน์การสืบค้น
ใบความรู้ เรื่อง ประโยชน์การสืบค้นเทวัญ ภูพานทอง
 

More from เทวัญ ภูพานทอง (20)

คู่มือการใช้งาน Kahoot
คู่มือการใช้งาน Kahootคู่มือการใช้งาน Kahoot
คู่มือการใช้งาน Kahoot
 
คู่มือการใช้งาน Kahoot
คู่มือการใช้งาน Kahootคู่มือการใช้งาน Kahoot
คู่มือการใช้งาน Kahoot
 
คู่มือการใช้งาน Plicker
คู่มือการใช้งาน Plickerคู่มือการใช้งาน Plicker
คู่มือการใช้งาน Plicker
 
การสืบค้นข้อมูลประเภทรูปภาพ
การสืบค้นข้อมูลประเภทรูปภาพการสืบค้นข้อมูลประเภทรูปภาพ
การสืบค้นข้อมูลประเภทรูปภาพ
 
การสืบค้นข้อมูลประเภทข้อความ
การสืบค้นข้อมูลประเภทข้อความการสืบค้นข้อมูลประเภทข้อความ
การสืบค้นข้อมูลประเภทข้อความ
 
กลยุทธ์การสืบค้นข้อมูล
กลยุทธ์การสืบค้นข้อมูลกลยุทธ์การสืบค้นข้อมูล
กลยุทธ์การสืบค้นข้อมูล
 
เครื่องมือค้นหา (Search engine)
เครื่องมือค้นหา (Search engine)เครื่องมือค้นหา (Search engine)
เครื่องมือค้นหา (Search engine)
 
ประเภทของ Search engine
ประเภทของ Search engineประเภทของ Search engine
ประเภทของ Search engine
 
เครื่องมือในการค้นหา
เครื่องมือในการค้นหาเครื่องมือในการค้นหา
เครื่องมือในการค้นหา
 
ประโยชน์ของการสืบค้น
ประโยชน์ของการสืบค้นประโยชน์ของการสืบค้น
ประโยชน์ของการสืบค้น
 
การค้นหาเว็บด้วย Internet Expolorer
การค้นหาเว็บด้วย Internet Expolorerการค้นหาเว็บด้วย Internet Expolorer
การค้นหาเว็บด้วย Internet Expolorer
 
เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ ปี 2559
เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ  ปี 2559เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ  ปี 2559
เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ ปี 2559
 
เอกสารประกอบการพิจารณา Obec Awards ปีการศึกษา 2558
เอกสารประกอบการพิจารณา Obec Awards ปีการศึกษา 2558เอกสารประกอบการพิจารณา Obec Awards ปีการศึกษา 2558
เอกสารประกอบการพิจารณา Obec Awards ปีการศึกษา 2558
 
ประกาศผล การประกวดสื่อของ สพฐ.ปีการศึกษา2557
ประกาศผล การประกวดสื่อของ สพฐ.ปีการศึกษา2557ประกาศผล การประกวดสื่อของ สพฐ.ปีการศึกษา2557
ประกาศผล การประกวดสื่อของ สพฐ.ปีการศึกษา2557
 
รายงานเยี่ยมบ้านนักเรียน ปีการศึกษา 2557
รายงานเยี่ยมบ้านนักเรียน ปีการศึกษา 2557รายงานเยี่ยมบ้านนักเรียน ปีการศึกษา 2557
รายงานเยี่ยมบ้านนักเรียน ปีการศึกษา 2557
 
เอกสารเสนอ Best practice ครูเต้
เอกสารเสนอ Best practice ครูเต้เอกสารเสนอ Best practice ครูเต้
เอกสารเสนอ Best practice ครูเต้
 
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดีแบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
 
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
 
การเพิ่มบล็อกผู้บริหารใน Obeclms
การเพิ่มบล็อกผู้บริหารใน Obeclmsการเพิ่มบล็อกผู้บริหารใน Obeclms
การเพิ่มบล็อกผู้บริหารใน Obeclms
 
ใบความรู้ เรื่อง ประโยชน์การสืบค้น
ใบความรู้  เรื่อง ประโยชน์การสืบค้นใบความรู้  เรื่อง ประโยชน์การสืบค้น
ใบความรู้ เรื่อง ประโยชน์การสืบค้น
 

กำเนิดภาษาซี

  • 1. เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น ง 30244 ใบความรู้ที่ 3.1 เรื่อง กาเนิดภาษาซี ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง – เขียนกาเนิดภาษาซีได้ ด้ ว ย ศั ก ย ภ า พ แ ล ะ เทคโนโลยีของคอมพิวเตอร์ที่แพร่หลาย จึงทา ให้มีผู้คิดค้นพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ภาษาซีขึ้นคือ นายเดนนิส ริทชี่ (Dennis Ritchie) ที่ศูนย์วิจัยเบล (Bell Laboratories) ประเทศสหรัฐอเมริกาเมื่อปี ค.ศ.1972 และเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้เขียนระบบปฏิบัติการยู นิ ก ส์ ซึ่ ง ใ ช้ กั น แ พ ร่ ห ล า ย ใ น ร ะ บ บ เ ค รื อ ข่ า ย ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ใ น ปั จ จุ บั น ภาษาซีเป็นภาษาที่มีความใกล้เคียงกับภาษาระดับต่า (Low-Level Language) จึงทาให้นักพัฒนา โปรแกรมสามารถที่จะกาหนดรายละเอียดของโปรแกรมให้เข้าถึงการทางานในส่วน ต่าง ๆ ของ คอมพิวเตอร์ให้มากที่สุดเพื่อให้เกิดความเร็วในการทางานสูงสุด และในขณะเดียวกันภาษาซีก็ยังมีความเป็นภาษา ระดับสูง (High-Level Language) ทาให้ผู้พัฒนาสามารถที่จะพัฒนาโปรแกรมได้ โดยเน้นไปที่การแก้ปัญหาที่ ต้ อ ง ก า ร ไ ด้ อ ย่ า ง อิ ส ร ะ โ ด ย ไ ม่ ต้ อ ง ค า นึ ง ถึ ง ฮ า ร์ ด แ ว ร์ ใ ด ๆ ภาษาซีเป็นภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ได้รับความนิยมและมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง นาย Bjarne Stroustrup นักวิจัยและพัฒนาของศูนย์วิจัยเบล (Bell Laboratiories) ได้พัฒนาภาษา C++ (ซีพลัสพลัส) ขึ้นมา โดยที่ภาษา C++ มีความสามารถในการทางานได้ทุกอย่างเหมือนกับภาษาซี ซึ่งมีรูปแบบและโครงสร้าง ของภาษาใกล้เคียงกัน แต่ภาษา C++ ใช้หลักการออกแบบโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object Oriented Design) ในขณะ ที่ภาษาซีใช้หลักการออกแบบโปรแกรมแบบโมดูลาร์ (Modular Design) รวบรวมโดย ครู เทวัญ ภูพานทอง ครู คศ. 1 โรงเรี ยนนามนพิทยาคม สพม. 24 (กาฬสิ นธุ์) http://comkrutae.wordpress.com
  • 2. เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น ง 30244 ใบความรู้ที่ 3.2 เรื่อง การเข้าสู่โปรแกรม ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง – บอกหน้าที่และความแตกต่างของแต่ละเมนูคาสั่งได้ เริ่มต้นการเข้าสู่โปรแกรมภาษาซี โดยการดับเบิลคลิกที่ไอคอนโปรแกรมภาษาซีที่ หน้าจอ Desktop รูปแสดงไอคอนของโปรแกรมภาษาซี เมื่อเข้าสู่โปรแกรมจะพบกับหน้าจอซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ รูปแสดง หน้าจอของโปรแกรมภาษาซี 1. เมนูหลัก เป็นที่เก็บรวบรวมคาสั่งเพื่ออานวยความสะดวกในการเขียนโปรแกรม ประกอบด้วยเมนู File Edit Search Run Compile Debug Project Option Window และ Help วิธีการเรียกใช้เมนูหลัก และเมนู ย่อย สามารถกระทาได้หลายวิธีดังนี้ 1.1 คลิกเมาส์ที่เมนูที่ต้องการ จะปรากฏรายการคาสั่งให้เลือก 1.2 กดปุ่ม Alt ค้างไว้แล้วกดตัวอักษรสีเข้มที่อยู่ตัวแรกของเมนูนั้น เช่นต้องการเรียกใช้เมนู File ให้กด Alt+F เป็นต้น การยกเลิกให้กดปุ่ม Esc 1.3 กดปุ่ม F10 จะปรากฏแถบสีที่เมนู แล้วกดปุ่มคีย์ลูกศรเพื่อเลื่อนไปยังเมนูที่ต้องการแล้วกดปุ่ม Enter รวบรวมโดย ครู เทวัญ ภูพานทอง ครู คศ. 1 โรงเรี ยนนามนพิทยาคม สพม. 24 (กาฬสิ นธุ์) http://comkrutae.wordpress.com
  • 3. เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น ง 30244 1.4 กดปุ่ม Hot-Key โดยไม่ต้องเรียกเมนูหลัก และเมนูย่อย เช่นต้องการบันทึกข้อมูลให้กดปุ่ม F2 หรือ ต้องการออกจากโปรแกรมให้กด Alt+X เป็นต้น 2. พื้นที่สาหรับเขียนโปรแกรม (Edit Window) เป็นพื้นที่ที่ใช้ในการพิมพ์ข้อความสาหรับเขียน โปรแกรม (Source File) มีรายละเอียดที่น่าสนใจดังนี้ บริเวณกึ่งกลางด้านบนของหน้าต่างจะมีชื่อไฟล์ปรากฏอยู่ ถ้ายังมี่การบันทึกไฟล์จะปรากฏเป็น 2.1 NONAME00.CPP 2.2 มุมบนด้านขวาของหน้าต่างจะมีหมายเลขกากับไว้ว่าเป็นหน้าต่างที่เท่าใด ในกรณีที่เปิดหนาจอมากกว่า 1 หน้าต่าง ถ้าต้องการไปยังหน้าต่างอื่นๆ ให้กดปุ่ม Alt แล้วตามด้วยหมายเลขหน้าต่าง เช่น Alt+3 เพื่อไปหน้าต่างที่ 3 หรือใช้เมาส์คลิกที่ส่วนใดส่วนหนึ่งของหน้าต่างที่ต้องการก็ได้ 2.3 มุมบนด้านซ้ายของหน้าต่าง จะมีปุ่มสี่เหลี่ยมจตุรัส ปุ่มนี้มีชื่อว่า Close มีไว้สาหรับนาเมาส์ไปคลิกเพื่อ ปิดหน้าต่างการเขียนโปรแกรม หรือจะปิดหน้าต่างด้วยวิธีการกดปุ่ม Alt+F3 บนแป้นพิมพ์ก็ได้ 2.4 มุมล่างด้านซ้ายของหน้าต่าง จะมีหมายเลขปรากฏ 2 ตัวคั่นระหว่างตัวเลขด้วยเครื่องหมายโคล่อน ตัวอย่างเช่น 3:5 หมายความว่า โปรแกรมแจ้งให้ทราบว่าขณะนี้เคอร์เซอร์อยู่ที่บรรทัดที่ 3 คอลัมน์ที่ 5 ด้านหน้าของตัวเลขที่แสดงบรรทัดและคอลัมน์ ถ้ามีการพิมพ์ข้อความ หรือเขียนโปรแกรมจะปรากฏ 2.5 ดอกจัน แสดงว่ายังไม่มีการบันทึกข้อมูล ดอกจันนี้จะปรากฏตลอดจนกว่าจะมีการบันทึกข้อมูล 2.6 มุมล่างด้านขวา มีไว้สาหรับปรับขนาดของหน้าต่างหรือเคลื่อนย้ายหน้าต่าง สามารถกระทาได้โดยคลิก เมาส์ที่บริเวณดังกล่าวแล้วลากเพื่อปรับขนาดตามต้องการ หรือกดปุ่ม Ctrl+F5 ขอบหน้าต่างจะเป็น เส้นเดียว ให้กดลูกศรบนแป้นพิมพ์เพื่อเคลื่อนย้ายหน้าต่าง หรือกดปุ่ม Shift+ลูกศร เพื่อปรับขนาดของ หน้าต่าง 3. หน้าต่างแสดงข้อความ (Message Window) หน้าต่างนี้มีไว้เพื่อแจ้งข้อความข่าวสารให้ทราบเกี่ยวกับ โปรแกรมที่เขียนขึ้นว่าใช้งานได้ หรือมีข้อผิดพลาดอย่างไรจะปรากฏข้อความในส่วนของหน้าต่างแสดงข้อความ 4. คาสั่งเร่งด่วน (Quick Reference Line) แสดงอยู่บริเวณด้านล่างของจอภาพเป็นคาสั่งที่ ต้องการใช้งานอยู่บ่อย ๆ ดังนั้นโปรแกรมจึงแสดงไว้เพื่อเรียกใช้ได้ทันทีโดยไม่ต้องกดเมนู คาสั่งดังกล่าวมีดังนี้คือ F1 Help F2 Save F3 Open Alt-F9 Compile F9 Make F10 Menu รายละเอียดของเมนู เมนูหลัก (Main Menu) ประกอบด้วย File Edit Search Run Compile Debug Project Options Window และ Help File เก็บรวบรวมคาสั่งเกี่ยวกับการเปิดปิดไฟล์ การบันทึกไฟล์ การออกจากโปรแกรม รวบรวมโดย ครู เทวัญ ภูพานทอง ครู คศ. 1 โรงเรี ยนนามนพิทยาคม สพม. 24 (กาฬสิ นธุ์) http://comkrutae.wordpress.com
  • 4. เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น ง 30244 Edit การแก้ไขโปรแกรม การสาเนาหรือการย้ายข้อความที่ปรากฏ บนเอดิเตอร์ Search ค้นหาคาหรือข้อความที่เขียนในโปรแกรม ตลอดจนการแทนที่คา Run รันโปรแกรมที่เขียนด้วยคาสั่งแบบต่างๆ Compile แปลข้อมูลของโปรแกรมที่เป็น Source file ให้เป็น Object file Debug ตรวจสอบข้อผิดพลาดของโปรแกรม Project ใช้ในการระบุไฟล์ต่างๆ ที่จาเป็นต้องนามาใช้ในตัวโปรแกรมและ Project ที่ทางานอยู่ Options กาหนดรายละเอียดต่างๆ ของคอมไพเลอร์ เช่น Directories Compiler เป็นต้น Window จัดการเกี่ยวกับหน้าต่างที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม Help ขอความช่วยเหลือหรือรายละเอียดเกี่ยวกับโปรแกรมในลักษณะต่างๆ การทดสอบและตรวจสอบความถูกต้องโปรแกรม เมื่อนักเรียนเขียนโปรแกรมเสร็จให้ทดลองคอมไพล์โปรแกรมว่ามีจุดผิดพลาดที่ใดบ้าง ในภาษาซี การคอมไพล์โปรแกรมจะใช้วิธีการกดปุ่ม Alt+F9 ในกรณีที่มีข้อผิดพลาดจะแสดงในช่องด้านล่างของหน้าจอเอดิ เตอร์ในส่วนของกรอบ message ให้อ่านทาความเข้าใจ และแก้ไขตามที่โปรแกรมแจ้งข้อมูลผิดพลาด เมื่อเสร็จ แล้วให้ทดลองรันโปรแกรมโดยกดปุ่ม Ctrl+F9 รวบรวมโดย ครู เทวัญ ภูพานทอง ครู คศ. 1 โรงเรี ยนนามนพิทยาคม สพม. 24 (กาฬสิ นธุ์) http://comkrutae.wordpress.com
  • 5. เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น ง 30244 ใบความรู้ที่ 3.3 เรื่อง หลักการเขียนโปรแกรม ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง - อธิบายหลักการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซีได้ ในการเขียนโปรแกรมจะต้องเข้าใจหลักเกณฑ์ของภาษาโปรแกรม และระบบการทางานของคอมพิวเตอร์ ว่ามีโครงสร้างและวิธีการใช้คาสั่งอย่างไร หลักเกณฑ์การเขียนโปรแกรม ประกอบด้วย 5 ขั้นตอนคือ 1. ทาความเข้าใจและวิเคราะห์ปัญหา 2. กาหนดแผนในการแก้ปัญหา 3. เขียนโปรแกรมตามแผนที่กาหนด 4. ทดสอบและตรวจสอบความถูกต้อง 5. นาโปรแกรมที่ผ่านการทดสอบไปใช้งาน ทาความเข้าใจและวิเคราะห์ปัญหา ก่อนที่นักเรียนจะลงมือเขียนโปรแกรมนั้น นักเรียนจะต้องทาความเข้าใจและการวิเคราะห์ปัญหาเป็นสิ่ง ที่สาคัญเพราะผู้เขียนโปรแกรมจะต้องวิเคราะห์ปัญหาร่วมกับนักวิเคราะห์ระบบว่าโจทย์ต้องการผลลัพธ์อะไร การ ที่จะได้มาซึ่งผลลัพธ์นั้น ต้องป้อนข้อมูลอะไรบ้าง และเมื่อป้อนข้อมูลเข้าไปแล้วจะทาการประมวลผลอย่างไร สิ่ง เหล่านี้ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องทาความเข้าใจให้ถูกต้อง เพราะถ้าผู้เขียนโปรแกรมวิเคราะห์ปัญหาไม่ถูกต้อง ผลลัพธ์ก็อาจจะไม่ตรงกับ ความต้องการของโจทย์ได้กาหนดแผนในการแก้ปัญหา เมื่ อ ท าความเข้ า ใจและวิ เ คราะห์ ปั ญ หาโจทย์ จ นได้ ข้ อ สรปุ ว่ า โจทย์ ต้ อ งการอะไรแล้ ว ก็ทาการกาหนดแผนในการแก้ไขปัญหาโดยการเขียนผังงาน (Flowchart) การเขียนผังงานคือ การ เ ขี ย น แ ผ น ภ า พ ที่ เ ป็ น ล า ดั บ เ พื่ อ แ ส ด ง ขั้ น ต อ น ก า ร ท า ง า น ข อ ง โ ป ร แ ก ร ม เ พื่ อ ใ ห้ ง่ า ย ต่อการทาความเข้าใจ การเขียนผังงานมี 3 แบบคือ แบบเรียงลาดับ(Sequential) แบบมีการกาหนดเงื่อนไข(Condition) และแบบมีการทางานวนรอบ(Looping) สัญลักษณ์ของผังงาน(Flowchart Symbol) มีดังนี้คือ สัญลักษณ์ ความหมาย เริ่มต้นทางาน กาหนดค่าหรือประมวลผล รับข้อมูลและแสดงผลข้อมูล รับข้อมูลทางแป้นพิมพ์ รวบรวมโดย ครู เทวัญ ภูพานทอง ครู คศ. 1 โรงเรี ยนนามนพิทยาคม สพม. 24 (กาฬสิ นธุ์) http://comkrutae.wordpress.com
  • 6. เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น ง 30244 การตัดสินใจ ใช้แสดงผลข้อมูลทางจอภาพ ใช้แสดงผลข้อมูลออกทางเอกสาร ทิศทางการดาเนินงาน ตัวเชื่อมต่อภายในหน้าเดียวกัน ตัวเชื่อมต่อไปหน้าอื่น รูปแสดงสัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน รวบรวมโดย ครู เทวัญ ภูพานทอง ครู คศ. 1 โรงเรี ยนนามนพิทยาคม สพม. 24 (กาฬสิ นธุ์) http://comkrutae.wordpress.com
  • 7. เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น ง 30244 ตัวอย่าง การเขียนผังงานแบบเรียงลาดับ รูป แสดงผังงานการบวกเลข 2 จานวน อธิบายผังงานการบวกเลข 2 จานวน 1. Start เริ่มต้นการทางาน 2. x=5 และ y=3 กาหนดค่าให้ตัวแปร x มีค่าเท่ากับ 5 ตัวแปร y มีค่าเท่ากับ 3 3. z=x+y เมื่อ x+y ได้ค่าเท่าไรให้นาไปเก็บไว้ยังตัวแปร z 4. แสดงค่าที่เก็บไว้ในตัวแปร z 5. จบการทางาน รวบรวมโดย ครู เทวัญ ภูพานทอง ครู คศ. 1 โรงเรี ยนนามนพิทยาคม สพม. 24 (กาฬสิ นธุ์) http://comkrutae.wordpress.com
  • 8. เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น ง 30244 ตัวอย่าง การเขียนผังงานแบบมีการกาหนดเงื่อนไขโดยอายุ 1-30 ปียังอยู่ในวัยหนุ่มสาว แต่ถ้าเกินแสดงว่ามีอายุ มาก อธิบายผังงานรับค่าอายุ 1. Start เริ่มต้นการทางาน 2. รับค่าอายุมาเก็บไว้ในตัวแปร age 3. ตรวจสอบเงื่อนไขว่าอายุอยู่ในช่วง 1 ถึง 30 ปีหรือไม่ 4. ถ้าใช่แสดงข้อความ You are young ถ้าไม่ใช่ให้พิมพ์ You are old 5. จบการทางาน เขียนโปรแกรมตามแผนที่กาหนด เมื่อนักเรียนเขียนผังงานเสร็จเรียบร้อยแล้ว ขั้นตอนต่อไปคือการเขียนโปรแกรมตามผังงานที่ได้กาหนด เอาไว้ ในกรณีที่เขียนด้วยภาษาซี การเขียนโปรแกรมก็ต้องเป็นไปตามกฎเกณฑ์และโครงสร้างของภาษาซี รวบรวมโดย ครู เทวัญ ภูพานทอง ครู คศ. 1 โรงเรี ยนนามนพิทยาคม สพม. 24 (กาฬสิ นธุ์) http://comkrutae.wordpress.com
  • 9. เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น ง 30244 ทดสอบและตรวจสอบความถูกต้องของโปรแกรม เมื่อนักเรียนเขียนโปรแกรมเสร็จให้ทดลองคอมไพล์โปรแกรมว่ามีจุดผิดพลาดที่ใดบ้าง ในภาษาซีการ คอมไพล์โปรแกรมจะใช้วิธีการกดปุ่ม Alt + F9 ในกรณีที่มีข้อผิดพลาดจะแสดงในช่องด้านล่างของหน้าจอเอดิ เตอร์ในส่วนของกรอบ message ให้อ่านทาความเข้าใจ และแก้ไขตามที่โปรแกรมแจ้งข้อมูลผิดพลาดเมื่อเสร็จแล้ว ให้ทดลองรันโปรแกรม นาโปรแกรมที่ผ่านการทดสอบไปใช้งาน ถ้ารันโปรแกรมแล้วใช้งานได้แสดงว่าจะได้ไฟล์ที่มีส่วนขยายเป็น EXE เพื่อนาไปทดสอบงานในที่ต่าง ๆ ถ้า นาไปใช้งานแล้วมีปัญหาก็ให้แก้ไขอีกครั้ง แต่ถ้าไม่มีปัญหาแสดงว่าโปรแกรมนี้ใช้งานได้อย่างสมบูรณ์ ให้ทาคู่มือ ประกอบการใช้งานและนาไปเผยแพร่ต่อ รวบรวมโดย ครู เทวัญ ภูพานทอง ครู คศ. 1 โรงเรี ยนนามนพิทยาคม สพม. 24 (กาฬสิ นธุ์) http://comkrutae.wordpress.com