SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
สีเป็นส่วนสาคัญอีกส่วนหนึ่งในการวาดภาพ การเลือกใช้สีที่เหมาะสมกับการนาไปใช้งาน ก็จะทาให้
ได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง ซึ่งในบทนี้จะศึกษาการทางานที่เกี่ยวกับสีตั้งแต่ทาความรู้จักกับโหมดสี , การตั้งโหมดสี ,
เทคนิกการใช้สีและปรับแต่งสีแต่ละประเภทไม่ว่าจะเป็นสีแบบทึบ , การปรับสีให้โปร่งใส ,
การใส่สีแบบเกรเดียนท์ เป็นต้น
ทาความรู้จักกับโหมดสี
โหมดสี (Color Mode) คือวิธีการกาหนดค่าสีที่จัดเก็บในไฟล์รูปภาพ โดยยึดหลักการมองเห็นสีใน
โมเดลสีต่างๆ สาหรับโหมดสีใน Illustrator แบ่งออกเป็น 5 โหมด ดังนี้
โหมด RGB ใช้หลักการของโมเดล RGB โดยมีการกาหนดค่าความเข้มข้นของสีแดง เขียว และน้า
เงินที่มาผสมกันในแต่ละพิกเซลเป็นค่าตั้งแต่ 0-255 ภาพที่เกิดจากโหมด RGB จะเป็นการซ้อนสีหลัก 3 ชั้น และ
สามารถมองทะลุผ่าน 3 สีนี้จนกลายเป็นภาพ ซึ่งเรียกชั้นของสีเหล่านี้ว่า “Channel” โดยปกติสีทั่วไปในการ
แสดงผลจะมีถึง 16.7 ล้านสี หรือ 224
โหมด CMYK ใช้หลักการของโมเดล CMYK โดยมีการกาหนดค่าสีจากเปอร์เซ็นต์ความเข้มข้นของ
สีแต่ละสีที่มาผสมกัน เช่น สี Bright Red เกิดจาก C = 2% M = 93% Y = 90% K = 0% (หรือสีขาว)
โหมด HSB ใช้หลักการของโมเดล HSB โดยมีค่า 3 ค่าที่ต้องกาหนดคือ Hue เป็นวงล้อสี ซึ่งแต่ละสี
จะแตกต่างกันตามคามยาวของคลื่นแสงที่มากระทบวัตถุและสะท้อนกลับมาที่ตาของเรา, Saturation เป็น
ตัวกาหนดความเข้มความจางของสี และ Brightness เป็นตัวกาหนดความมืด และความสว่างของสี
โหมด Grayscale การไล่เฉดสีเทา จะประกอบด้วยสีทั้งหมด 256 สี โดยไล่จากสีขาวสีเทาไปเรื่อยจน
ท้ายสุดคือสีดา ใช้พื้นที่ในการเก็บข้อมูล 8 บิต
โหมด Web Safe RGB การแสดงสีบนเว็บเพจ ใช้หลักการผสมสีเช่นเดียวกับโหมด RGB แต่จะเป็น
การกาหนดสีเพื่อใช้งานในภาษา HTML เช่น #000000 เป็นสีดา, #FF0000 เป็นสีแดง จะสามารถแสดงความ
กว้างของแต่ละสีได้เพียง 216 สี (00-FF) ซึ่งน้อยกว่าโหมด RGB ทั่วไป ดังนั้น หากเราสร้างภาพกราฟิกสาหรับ
แสดงผลบนเว็บก็ควรใช้โหมดสี Web Safe RGB เพื่อป้องกันการเกิดความผิดเพี้ยน
เติมสีสันให้กับภาพ
56
การเปลี่ยนโหมดสี
เราสามารถเปลี่ยนโหมดสีที่จะใช้ ได้จากการเลือกเมนูจากพาเนล Color โดยคลิก จากนั้นเลือก
โหมดสีที่ต้องการ
เติมสีให้วัตถุ (Fill Color)
สาหรับการกาหนดสีให้กับวัตถุนั้นมีอยู่ด้วยกันหลายวิธี เช่น กาหนดจากพาเนล Color , Color Picker ,
พาเนล Swatch , หรือพาเนล Gradient เป็นต้น ซึ่งสามารถเลือกใช้แต่ละวิธีได้ตามความจาเป็นและความถนัด
เติมสีพื้นและสีเส้นจากพาเนล Color
หลังจากที่แสดงพาเนล Color แล้ว เราจะมาเติมสีให้กับวัตถุกันตามขั้นตอน ดังนี้
ผลที่ได้จากการเปลี่ยนสีเส้น
ผลที่ได้จากการเปลี่ยนสีพื้น
 เลือกโหมดสีตามต้องการ
โดยโหมดสีที่เลือกจะมี
เครื่องหมาย อยู่ข้างหน้า
 คลิก
 คลิกเลือกวัตถุ
 คลิกเลือก
สีเส้น
สีพื้น
 คลิกลากแถบสีหลัก
แต่ละสีของโมเดล หรือ...
คลิกเลือกสีจากแถบสี
57
เติมสีพื้นและสีเส้นจาก Color Picker
การเติมสียังสามารถใช้ Color Picker ในการกาหนดสีพื้นและสีเส้นได้โดยคลิกเลือกจากแถบแยกสีหรือ
ป้อนตัวเลขค่าสีเอง นอกจากนี้แล้วยังสามารถเปลี่ยนและเลือกสีในโมเดลต่างๆ ได้ด้วย โดยมีขั้นตอนดังนี้
 ดับเบิลคลิกสีพื้น( Fill) หรือ สีเส้น( Stroke )
ภาพก่อนเปลี่ยนสี ภาพที่ได้หลังจากเปลี่ยนสี
 คลิกเลือกวัตถุ
ตัวอย่างสีเดิม
ตัวอย่างสีใหม่
เตือนว่าอยู่นอก
ขอบเขตสี CMYK
คลิกเพื่อเลือกสี
CMYK ที่ใกล้เคียง
ค่าสีในรูปรหัสสีสาหรับเว็บเพจให้แสดงเฉพาะสีที่
เหมาะสาหรับใช้บนเว็บ
 คลิกเลือกสี
 เลื่อน เพื่อเลือกค่าสีขององค์ประกอบแรก
 คลิก OK
58
เติมสีพื้นและสีเส้นด้วยเครื่องมือในทูลบ็อกซ์
ในการเลือกสีเพื่อนาไปใช้ตกแต่งภาพนั้น สีที่เลือกจะปรากฏในช่อง Fill และ Stroke ซึ่งเราสามารถใช้
เครื่องมืออื่นบนทูลบอกซ์ที่อยู่ใกล้เคียง ในการสลับหรือเปลี่ยนแปลงสีใหม่ได้ดังนี้
คลิกที่ปุ่ม เพื่อสลับค่าระหว่างสีพื้นกับสีเส้น
คลิกที่ปุ่ม เพื่อกลับไปใช้สีเริ่มต้น (Default color) คือ พื้นสีขาวและเส้นสีดา
คลิกที่ปุ่ม (Gradient) เพื่อเติมสีแบบไล่โทน
คลิกที่ปุ่ม (None) ไม่ต้องการเติมสีใดๆ
คลิกที่ปุ่ม จะกลับมาใช้สีทึบ (Solid) หลังจากที่ใช้สีแบบไล่โทนหรือไม่เติมสีใดๆ
เติมสีพื้นและสีเส้นจากพาเนล Swatches
สีที่มีในพาเนล Swatches นั้นเป็นสีสาเร็จที่โปรแกรมได้เตรียมไว้ให้แล้วเป็นชุดๆ ซึ่งมีทั้งหมด 3 แบบ
คือ สีแบบทึบ , แบบไล่โทนและลวดลายพื้น (Pattern) ซึ่งผู้เรียนสามารถกาหนดสีต่างๆ เหล่านี้ให้จากพาเนล
Swatches ก่อนอื่นผู้เรียนจะต้องเปิดพาเนล Swatches ขึ้นมาใช้งานโดยเลือกเมนูคาสั่ง Windows เลือกพาเนล
Swatches จะปรากฏพาเนลที่มีการกาหนดรูปแบบ ต่าง ๆดังนี้
ในพาเนล Swatches สามารถที่จะเปลี่ยนเป็นมุมมองต่างๆ เพื่อให้สามารถทางานได้อย่างสะดวกขึ้น
โดยคลิกปุ่ม แล้วเลือกรูปแบบต่างๆ ดังนี้
แสดงเมนูของพาเนล
ลบสีออกจากพาเนลเปิดไลบรารีสี (Libraries Manu)
แสดงแบบสีแบบต่างๆ
(Show Swatch Kinds Menu)
แก้ไขข้อมูลสีหรือข้อมูลชุดสี (Swatch Options)
แสดงชุดสีใหม่ (New Color Group)
สร้างสีใหม่เพิ่ม (New Swatch)
ไม่ใช้สีใดๆ
ชุดสี
59
สาหรับขั้นตอนในการเติมสีจากพาเนล Swatches มีดังนี้
* ถ้าหากไม่เลือกวัตถุก่อนที่จะเลือกสี ให้คลิกลากสีที่ต้องการเปลี่ยนจากพาเนลแล้วไปปล่อยที่วัตถุได้
รูปภาพจะเปลี่ยนสีตามที่เลือก
สร้างสีใหม่ในพาเนล Swatches
 คลิกวัตถุ  คลิกเลือกสี
ภาพที่ได้จากการเปลี่ยนสี
 คลิก New Swatch
 ทาการผสมสี
ใหม่
คลิกลากมาปล่อยที่ถังขยะ สีใหม่ที่ได้
คลิกปุ่ม OK
คลิกที่สีใหม่ค้างไว้แล้วลากไปปล่อยที่วัตถุ
หากต้องการลบสีใน Swatchesให้
คลิกลากสีมาปล่อยที่ปุ่มถังขยะ
60
สร้าง Pattern ใหม่ในพาเนล Swatches
นอกจากการสร้างสีใหม่ตามวิธีข้างต้นแล้ว ผู้เรียนยังสามารถทาการสร้าง Pattern ไว้ใช้งานได้อีกด้วย
โดยมีขั้นตอนดังนี้
คลิกเลือกออบเจ็ค คลิกเมนู Edit > Define Pattern
 ตั้งชื่อ Pattern แล้วคลิก OK
 จะปรากฏ Pattern ใหม่ขึ้นมาต่อท้ายของเดิม
ผลลัพธ์ของการใช้งาน Pattern
61
เติมสีพื้นแบบไล่โทนด้วยพาเนล Gradient
การเติมสีแบบไล่โทนจะช่วยให้ภาพดูมีมิติและมีความสวยงามมากขึ้น ซึ่งจะเป็นการไล่ระดับสี
จากสีหนึ่งไปยังอีกสีหนึ่ง โดยใช้ทิศทางการไล่อยู่สองทาง คือ การไล่แบบแนวตรงและแบบวงกลม และจะ
ทางานร่วมกับเครื่องมือ Gradient และพาเนล Gradient โดยเลือกพาเนล Gradient มาไว้บนโปรแกรมโดยคลิก
เลือกเมนูคาสั่ง Windows เลือกคาสั่ง Gradient ซึ่งจะมีส่วนประกอบของพาเนลดังนี้
ขั้นตอนการเติมสีแบบ Gradient มีดังนี้
1. คลิกเลือกวัตถุที่ต้องการเติมสีแบบ Gradient
2. คลิกที่ปุ่ม (Gradient) บน Toolbox เพื่อเติมสีแบบไล่โทน
3. คลิกเลือก Type ในพาเนล Gradient เพื่อกาหนดรูปแบบการไล่สี
4. ระบุองศาการเอียงของสีที่ช่อง Angle
5. ดับเบิ้ลคลิกที่จุดสี จะปรากฏหน้าต่างของสีขึ้นมา จากนั้นเลือกสีที่ต้องการ
6. คลิกลากปุ่ม เพื่อกาหนดตาแหน่งของจุด หรือป้อนค่าตัวเลขที่ช่อง Location
หลังจากนั้นให้คลิกจุดสีที่เหลือ แล้วทาซ้าในขั้นตอนที่ 5 และ 6
7. เปลี่ยนศูนย์กลางของการไล่ระหว่างสี 2 สี ได้โดยคลิกลากที่ปุ่ม หรือ คลิกที่ปุ่มแล้วใส่ค่าที่
ช่อง Location ก็ได้เช่นเดียวกัน
ทิศทางการไล่สี ซึ่งมี 2 แบบ คือ
Linear : แบบแนวตรง
Radial : แบบวงกลม
ตัวอย่างสี
องศาการเอียงของสีแบบ Linear
จุดสีแต่ละจุด
ตาแหน่งของจุดสีที่เลือกอยู่
ศูนย์กลางของการไล่สีระหว่างจุดสี 2 จุด
ค่าความโปร่งใสของสี
62
การเพิ่มจานวนจุดสี
หากต้องการไล่โทนสีให้มากกว่าที่มีอยู่ ให้คลิกเลือกวัตถุที่ต้องการเพิ่มจานวนจุดสีหลังทาตามขั้นตอนดังนี้
วิธีที่ 1 จากพาเนล Gradient
 




ภาพที่ได้
คลิกเพิ่มจุดจากแถบด้านล่าง สังเกตเมาส์จะเป็นรูป จุดสีที่เพิ่มแล้ว
เลือกสีใหม่ โดยการผสมสี
63
วิธีที่ 2 จากพาเนล Swatches
การลดจานวนจุดสี
เมื่อทาการเพิ่มจานวนไปแล้ว และต้องการลดจานวนจุดสีบางจุดที่ไม่ต้องการออกไปจากวัตถุ สามารถ
ทาได้ดังนี้
การคัดลอกจุดสี
สาหรับสีบางสีที่ต้องการใช้หลายตาแหน่ง สามารถคัดลอกจากจุดเดิมไปยังจุดสีใหม่ได้ โดยที่ไม่ต้อง
ผสมสีใหม่ โดยคีย์ Alt บนแป้นพิมพ์ค้างไว้แล้วคลิกลากจุดสีต้นแบบออกไปวางยังตาแหน่งใหม่จะเห็นว่า
จุดสีที่เพิ่มขึ้นมาจะมีสีเดียวกับจุดสีที่เป็นต้นฉบับ ดังภาพ
 คลิกสีจากพาเนล Swatches ค้างไว้
 ลากไปปล่อยที่แถบสีในพาเนล Gradient จุดสีที่เพิ่มขึ้น
คลิกลากจุดสีนั้นออกจากพาเนล
คลิกปุ่ม Alt ค้างไว้ แล้วลากจากจุดสีต้นแบบออกไป
ออกไปวาง
64
สร้าง Gradient ใหม่ในพาเนล Swatches
หากต้องการเก็บสี Gradient ที่สร้างขึ้นเองไว้ใช้งานในครั้งต่อไปก็สามารถทาได้โดยเก็บไว้ในพาเนล
Swatches โดยมีขั้นตอนคือ
ปรับแต่งทิศทางและการกระจายของสีด้วยเครื่องมือ Gradient
หลังจากกาหนดสีแบบไล่โทนให้กับวัตถุไม่ว่าจะเป็นแบบแนวตรง หรือ แบบรัศมีวงกลมก็ตาม เรา
สามารถเปลี่ยนจุดศูนย์กลาง ทิศทาง และระยะการกระจายตัวของสีเหล่านี้ได้ใหม่ตามต้องการ ดังนี้
 คลิกที่เครื่องมือ Gradient เลือกวัตถุ
สีใหม่ที่เพิ่มขึ้น
 จะปรากฏแถบการไล่สีขึ้น ให้คลิกที่
จุดสีแล้วลากเปลี่ยนตาแหน่งได้ทันที
 อาจหมุน , ย่อ หรือ ขยาย แถบสีด้วยก็ได้  เมื่อปรับค่าเสร็จแล้ว คลิกที่เครื่องมืออื่นๆ 1 ครั้ง
คลิกลากจากตัวอย่างสี
ที่พาเนล Gradient ค้างไว้
 นาไปปล่อยในช่องสีที่
ว่างของพาเนล Swatches
ผลลัพธ์ที่ได้
65
เติมสีและเส้นด้วยพาเนล Graphic Styles
Style เป็นชุดรูปแบบสีและเส้นรวมทั้งมีกราฟิกพิเศษ เช่น การเติมเงา , การไล่โทนสีแบบหลอดไฟ
นีออน , ทาขอบแบบหยัก , สีพื้นแบบลายเส้น เป็นต้น ซึ่งส่วนใหญ่เป็นการดึงคุณสมบัติของ Filter และ Effect
เข้ามาใช้ โดยโปรแกรมจะรวบรวมและเก็บไว้เป็นหมวดๆ อยู่ใน Graphic Style Libraries ซึ่งวิธีการเปิดพาเนล
Graphic Styles ทาได้โดยคลิกที่เมนูคาสั่ง Window เลือกคาสั่ง Graphic Styles โดยมีรายละเอียดดังนี้
วิธีการใช้งานสไตล์ (Style)
วิธีการเปิดใช้ไลบรารีสไตล์ (Style Libraries)
 คลิกเลือกวัตถุ  คลิกเลือก Style
ยกเลิกการใช้ Style
Style ที่โปรแกรมมีมาให้
ตัดการเชื่อมโยงระหว่างวัตถุกับ Style สร้าง Style ใหม่
ลบ Styleเปิดไลบรารีสไตล์
แสดงเมนูของพาเนล
 คลิกที่ปุ่ม เพื่อเปิดไลบรารี
 คลิกชื่อ Style อื่นๆ
 Style ที่เลือกจะถูกเปิดขึ้น
ผลลัพธ์ที่ได้
66
ดูดสีจากวัตถุอื่นด้วยเครื่องมือ Eyedropper
Eyedropper เป็นการเลือกใช้สีอีกวิธีหนึ่ง โดยจะทาการเลือกสีพื้น , สีและรูปแบบเส้น , ความโปร่งใส
รวมไปถึงรูปแบบของฟอนต์จากวัตถุต้นแบบมาใช้ และยังสามารถเลือกสีจากภาพบิทแมพมาใช้งานได้ด้วย ซึ่ง
จะทาให้ภาพวาดมีสีสันที่เหมือนจริง โดยมีวิธีการใช้งานดังนี้
เทสีให้ภาพด้วยเครื่องมือ Live Paint Bucket
Live Paint Bucket ใช้ในการเติมสีให้ชิ้นวัตถุที่มีการแบ่งพื้นที่ออกเป็นส่วนๆด้วยเส้น Path หรือด้วย
วัตถุอื่นที่ซ้อนทับกันอยู่ โดยไม่ต้องเลือกวัตถุไว้ก่อน ซึ่งสามารถเทสีลงไปได้เลยทันที โดยมีขั้นตอนดังนี้
 เลือกกลุ่มของวัตถุ
คลิกที่เครื่องมือ Live Paint Bucket
 คลิกที่เครื่องมือ Eyedropper
 คลิกเลือกวัตถุที่จะเติมสี หรือ เปลี่ยนสี
ผลลัพธ์ที่ได้
 ไปคลิกเลือกสีบนวัตถุต้นแบบ ( สีต้นฉบับ )
 เลือกสีที่ต้องการ
คลิกเติมสีในส่วนที่ต้องการ  สีจะถูกเติมเฉพาะส่วนที่มีเส้นpath
ตัดกัน ซึ่งจะไม่เติมทั้งชิ้นของวัตถุ
ผลลัพธ์ที่ได้เมื่อเปลี่ยนสี
แตะเติมสีส่วนอื่นๆจนครบ
สามารถเปลี่ยนเป็นสีอื่นๆสีได้โดย
การคลิกปุ่มลูกศรที่แป้นพิมพ์
67
เติมสีแบบไล่โทนสีโดยใช้ Gradient Mesh
สาหรับการไล่โทนสีแบบ Gradient โดยใช้พาเนล Gradient นั้นเป็นการไล่สีตามแนวทีมีให้ คือ แนว
ตรง (Linear) หรือเป็นวงกลม (Radial) เท่านั้น อย่างไรก็ตามการวาดภาพที่มีแสงเงาแบบซับซ้อนหรือภาพแบบ
เหมือนจริงนั้น การไล่โทนสีแบบนี้อาจไม่เพียงพอ เนื่องจากทิศทางของเงาหรือโทนสีนั้นไม่ได้เป็นเส้นตรงหรือ
เป็นวงกลมเสมอไป ดังนั้นหากต้องการวาดภาพในลักษณะนี้แล้วก็ควรใช้การเติมสีแบบ Gradient Mesh
การเติมสีแบบนี้จะเป็นการเติมสีแบบอิสระเหมือนกับการใช้พู่กันระบายสี ทั้งนี้ก่อนอื่นจะต้องสร้างตา
ข่ายสาหรับเป็นโครงสร้างในการเติมสีก่อน ซึ่งจะเป็นเส้นตารางในแนวตั้งและแนวนอน โดยการเติมสีนั้นจะ
เติมจากจุดตัดของเส้น โดยแต่ละจุดก็จะเก็บคุณสมบัติสีของตัวเองและเมื่อเติมสีให้กับจุดสีก็จะทาการกระจาย
ออกไปพร้อมๆ กับไล่โทนไปหาสีที่จุดอื่นบริเวณรอบๆ
การกระจายของสีนั้นจะขึ้นอยู่กับจานวนของเส้นตาข่าย หากเส้นมีน้อยระยะห่างแต่ละจุดมากก็จะทา
ให้สีกระจายได้ในวงกว้างดังภาพด้านซ้าย แต่หากจานวนตาข่ายมีมากระยะห่างในแต่ละจุดก็จะน้อย จึงทาให้สี
กระจายได้ในวงแคบๆ ดังภาพด้านขวา
การสร้างตาข่ายด้วยเครื่องมือ Mesh
การสร้างตาข่ายด้วยเครื่องมือ Mesh เป็นการสร้างตาข่ายแบบอิสระ โดยสร้างจุดตัดของเส้นในแนวตั้ง
และแนวนอนตามการคลิกตรงตาแหน่งบนวัตถุ โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. คลิกที่เครื่องมือ Mesh บน Toolbox โดยเมาส์จะเปลี่ยนเป็นรูป
2. ใช้เมาส์รูป คลิกตรงตาแหน่งบนวัตถุที่ต้องการให้เป็นจุดสี
  ตาข่ายที่ได้เมื่อคลิกในตาแหน่งต่าง ๆ
เส้นตาข่ายมีน้อยทาให้สีกระจายในวงกว้าง เส้นตาข่ายมีมากทาให้สีกระจายในวงแคบ
68
สร้างตาข่ายด้วยคาสั่ง Create Gradient Mesh
เป็นการสร้างตาข่ายโดยแบ่งออกเป็นช่องแถวและคอลัมน์ที่มีขนาดเท่าๆ กัน และมีลักษณะของเส้นตา
ข่ายที่แปรเปลี่ยนไปตามรูปทรงของวัตถุ ซึ่งมีขั้นตอนในการสร้างดังนี้
1. คลิกเลือกวัตถุ
2. คลิกเมนูคาสั่ง Object เลือกคาสั่ง Create Gradient Mesh…
3. กาหนดรายละเอียดของตาข่าย ดังนี้
Rows กาหนดจานวนแถว
Columns กาหนดจานวนคอลัมน์
Appearances เลือกรูปแบบการไล่โทนสี
Flat กาหนดให้ไม่มีการเปลี่ยนแปลงสีใดๆ
To Center ปรับการไล่โทนสีโดยใช้สีสว่างจากจุดกลางวัตถุ
To Edge ปรับการไล่โทนสีโดยใช้สีสว่างจากขอบด้านนอก
Highlight กาหนดความสว่างของโทนสี เมื่อเลือกรูปแบบการไล่แบบ To Center หรือ To
Edge
4. คลิกปุ่ม
TIP :
เพื่อให้ง่ายในการกาหนดสีในจุดต่อไป ก่อนการสร้างตาข่ายควรกาหนดสี
พื้นเป็นสีโดยรวมของวัตถุไว้ก่อน เช่นต้องการวาดดอกไม้สีชมพูก็ให้กาหนดสีพื้น
เป็นสีชมพูไว้ก่อน
ในขณะที่สร้างตาข่ายหากคลิกเปลี่ยนที่พื้นวัตถุ ก็จะเป็นการเติมสีนั้นให้กับ
จุดใหม่ทันที และหลังจากสร้างตาข่ายแล้วสีของเส้น (Stroke) จะถูกยกเลิกไป
69
เติมสีให้กับจุดสี
หลังจากสร้างตาข่ายแล้วยังสามารถเติมสีให้กับจุดตัดของเส้นตาข่ายดังนี้
1. คลิกเลือกจุดสีด้วยเครื่องมือ Direct Selection หรือเครื่องมือ Lasso ในกรณีที่ต้องการ
เลือกหลายจุดพร้อมๆ กัน
กดคีย์ Shift ค้างไว้ขณะคลิกลากเพื่อเพิ่มกลุ่มของจุดสีในบริเวณอื่นๆ
2. คลิกกาหนดสีจากพาเนล Swatches , Color หรือ Color Guide
หากเป็นการวาดภาพตามต้นแบบ เราสามารถใช้เครื่องมือ Eyedropper ดูดสีจากภาพต้นแบบมา
ใช้ได้ ซึ่งจะทาให้ภาพมีความเหมือนจริงมากขึ้น




ตาข่ายที่สร้างขึ้น
70
กาหนดความโปร่งใสของสีด้วยพาเนล Transparency
การปรับแต่งความโปร่งใสจะส่งผลให้วัตถุนั้นมีความจางลงจนมองเห็นวัตถุอื่นที่อยู่ด้านหลังได้ โดย
ค่า Opacity ที่ 100 % จะทาให้สีวัตถุทึบที่สุด ในขณะที่ค่า Opacity ที่ 0 % วัตถุจะโปร่งจนมองไม่เห็น ซึ่งการ
ปรับค่าความโปร่งใสจะต้องทาที่พาเนล Transparency ดังนี้


ภาพที่ได้เมื่อเติมสีให้กับจุดสีที่เลือกไว้ ภาพที่ได้เมื่อเติมสีให้กับจุดสีอื่นๆ ต่อไป
เลือกออบเจ็ค กาหนดเปอร์เซ็นต์ความโปร่งใส ผลลัพธ์ที่ได้

More Related Content

Viewers also liked (6)

คู่มือFlash
คู่มือFlashคู่มือFlash
คู่มือFlash
 
Adobe flash-คู่มือ-สำหรับครู
Adobe flash-คู่มือ-สำหรับครูAdobe flash-คู่มือ-สำหรับครู
Adobe flash-คู่มือ-สำหรับครู
 
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิค
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิคแผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิค
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิค
 
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
 
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
 

Similar to Lesson3

ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การใช้เครื่องมือในการปรับแต่งสี
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การใช้เครื่องมือในการปรับแต่งสีใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การใช้เครื่องมือในการปรับแต่งสี
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การใช้เครื่องมือในการปรับแต่งสีคีตะบลู รักคำภีร์
 
โหมดสี
โหมดสีโหมดสี
โหมดสีpaween
 
หน่วยที่ 4 แต่งแต้มสีสันให้ภาพ
หน่วยที่ 4 แต่งแต้มสีสันให้ภาพหน่วยที่ 4 แต่งแต้มสีสันให้ภาพ
หน่วยที่ 4 แต่งแต้มสีสันให้ภาพYui Janjira Ketsakorn
 
ใบความรู้ที่ 2เครื่องมือตแต่งภาพ
ใบความรู้ที่ 2เครื่องมือตแต่งภาพใบความรู้ที่ 2เครื่องมือตแต่งภาพ
ใบความรู้ที่ 2เครื่องมือตแต่งภาพNimanong Nim
 
ใบความรู้ที่ 2เครื่องมือตกแต่งภาพ
ใบความรู้ที่ 2เครื่องมือตกแต่งภาพใบความรู้ที่ 2เครื่องมือตกแต่งภาพ
ใบความรู้ที่ 2เครื่องมือตกแต่งภาพNimanong Nim
 
ใบความรู้ที่ 1รู้จักโฟโต้ชอป
ใบความรู้ที่ 1รู้จักโฟโต้ชอปใบความรู้ที่ 1รู้จักโฟโต้ชอป
ใบความรู้ที่ 1รู้จักโฟโต้ชอปNimanong Nim
 
การเน้นภาพในจุดที่ต้องการ
การเน้นภาพในจุดที่ต้องการการเน้นภาพในจุดที่ต้องการ
การเน้นภาพในจุดที่ต้องการNimanong Nim
 
Still image
Still imageStill image
Still imagejibbie23
 
4.โมเดลสี
4.โมเดลสี4.โมเดลสี
4.โมเดลสีPakornkrits
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop cs
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop csความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop cs
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop csไกรลาศ จิบจันทร์
 
Photoshop cs
Photoshop csPhotoshop cs
Photoshop csnoismart
 
ใบความรู้หย่วยที่5การตกแต่งสีพื้น
ใบความรู้หย่วยที่5การตกแต่งสีพื้นใบความรู้หย่วยที่5การตกแต่งสีพื้น
ใบความรู้หย่วยที่5การตกแต่งสีพื้นBee Saruta
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกราฟิกความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกราฟิกainam29
 

Similar to Lesson3 (20)

ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การใช้เครื่องมือในการปรับแต่งสี
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การใช้เครื่องมือในการปรับแต่งสีใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การใช้เครื่องมือในการปรับแต่งสี
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การใช้เครื่องมือในการปรับแต่งสี
 
โหมดสี
โหมดสีโหมดสี
โหมดสี
 
หน่วยที่ 4 แต่งแต้มสีสันให้ภาพ
หน่วยที่ 4 แต่งแต้มสีสันให้ภาพหน่วยที่ 4 แต่งแต้มสีสันให้ภาพ
หน่วยที่ 4 แต่งแต้มสีสันให้ภาพ
 
ใบความรู้ที่ 2เครื่องมือตแต่งภาพ
ใบความรู้ที่ 2เครื่องมือตแต่งภาพใบความรู้ที่ 2เครื่องมือตแต่งภาพ
ใบความรู้ที่ 2เครื่องมือตแต่งภาพ
 
ใบความรู้ที่ 2เครื่องมือตกแต่งภาพ
ใบความรู้ที่ 2เครื่องมือตกแต่งภาพใบความรู้ที่ 2เครื่องมือตกแต่งภาพ
ใบความรู้ที่ 2เครื่องมือตกแต่งภาพ
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
ใบความรู้ที่ 1รู้จักโฟโต้ชอป
ใบความรู้ที่ 1รู้จักโฟโต้ชอปใบความรู้ที่ 1รู้จักโฟโต้ชอป
ใบความรู้ที่ 1รู้จักโฟโต้ชอป
 
การเน้นภาพในจุดที่ต้องการ
การเน้นภาพในจุดที่ต้องการการเน้นภาพในจุดที่ต้องการ
การเน้นภาพในจุดที่ต้องการ
 
Still image
Still imageStill image
Still image
 
Lesson 4 2
Lesson 4 2Lesson 4 2
Lesson 4 2
 
4.โมเดลสี
4.โมเดลสี4.โมเดลสี
4.โมเดลสี
 
บทที่ 6 ภาพนิ่ง
บทที่ 6 ภาพนิ่งบทที่ 6 ภาพนิ่ง
บทที่ 6 ภาพนิ่ง
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop cs
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop csความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop cs
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop cs
 
Lesson4
Lesson4Lesson4
Lesson4
 
Photoshop cs
Photoshop csPhotoshop cs
Photoshop cs
 
การออกแบบทำไวนิล
การออกแบบทำไวนิลการออกแบบทำไวนิล
การออกแบบทำไวนิล
 
Pwpdata5.8+
Pwpdata5.8+Pwpdata5.8+
Pwpdata5.8+
 
Pwpdata5.8+
Pwpdata5.8+Pwpdata5.8+
Pwpdata5.8+
 
ใบความรู้หย่วยที่5การตกแต่งสีพื้น
ใบความรู้หย่วยที่5การตกแต่งสีพื้นใบความรู้หย่วยที่5การตกแต่งสีพื้น
ใบความรู้หย่วยที่5การตกแต่งสีพื้น
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกราฟิกความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกราฟิก
 

More from krunueng1

ใบความรู้ที่10 การสร้างและประยุกต์ใช้แมโคร
ใบความรู้ที่10 การสร้างและประยุกต์ใช้แมโครใบความรู้ที่10 การสร้างและประยุกต์ใช้แมโคร
ใบความรู้ที่10 การสร้างและประยุกต์ใช้แมโครkrunueng1
 
ใบความรู้ที่8 การตกแต่งฟอร์ม (Form) และรายงาน (Report)
ใบความรู้ที่8 การตกแต่งฟอร์ม (Form) และรายงาน (Report)ใบความรู้ที่8 การตกแต่งฟอร์ม (Form) และรายงาน (Report)
ใบความรู้ที่8 การตกแต่งฟอร์ม (Form) และรายงาน (Report)krunueng1
 
ใบความรู้ที่ 7 การสร้างรายงาน (Report)
ใบความรู้ที่ 7 การสร้างรายงาน (Report)ใบความรู้ที่ 7 การสร้างรายงาน (Report)
ใบความรู้ที่ 7 การสร้างรายงาน (Report)krunueng1
 
ใบความรู้ที่ 6 การสร้างแบบฟอร์ม (Form)อย่างง่าย
ใบความรู้ที่ 6 การสร้างแบบฟอร์ม (Form)อย่างง่ายใบความรู้ที่ 6 การสร้างแบบฟอร์ม (Form)อย่างง่าย
ใบความรู้ที่ 6 การสร้างแบบฟอร์ม (Form)อย่างง่ายkrunueng1
 
ใบความรู้ที่ 6 การสร้าง Query เพื่อคัดเลือกข้อมูล
ใบความรู้ที่ 6 การสร้าง Query เพื่อคัดเลือกข้อมูลใบความรู้ที่ 6 การสร้าง Query เพื่อคัดเลือกข้อมูล
ใบความรู้ที่ 6 การสร้าง Query เพื่อคัดเลือกข้อมูลkrunueng1
 
ใบความรู้ที่5 ตาราง Table
ใบความรู้ที่5 ตาราง  Tableใบความรู้ที่5 ตาราง  Table
ใบความรู้ที่5 ตาราง Tablekrunueng1
 
ใบความรู้ที่5 ตาราง Table
ใบความรู้ที่5 ตาราง  Tableใบความรู้ที่5 ตาราง  Table
ใบความรู้ที่5 ตาราง Tablekrunueng1
 
แนะนำการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Microsoft Access 2010
แนะนำการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Microsoft Access 2010แนะนำการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Microsoft Access 2010
แนะนำการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Microsoft Access 2010krunueng1
 

More from krunueng1 (20)

ใบความรู้ที่10 การสร้างและประยุกต์ใช้แมโคร
ใบความรู้ที่10 การสร้างและประยุกต์ใช้แมโครใบความรู้ที่10 การสร้างและประยุกต์ใช้แมโคร
ใบความรู้ที่10 การสร้างและประยุกต์ใช้แมโคร
 
ใบความรู้ที่8 การตกแต่งฟอร์ม (Form) และรายงาน (Report)
ใบความรู้ที่8 การตกแต่งฟอร์ม (Form) และรายงาน (Report)ใบความรู้ที่8 การตกแต่งฟอร์ม (Form) และรายงาน (Report)
ใบความรู้ที่8 การตกแต่งฟอร์ม (Form) และรายงาน (Report)
 
ใบความรู้ที่ 7 การสร้างรายงาน (Report)
ใบความรู้ที่ 7 การสร้างรายงาน (Report)ใบความรู้ที่ 7 การสร้างรายงาน (Report)
ใบความรู้ที่ 7 การสร้างรายงาน (Report)
 
ใบความรู้ที่ 6 การสร้างแบบฟอร์ม (Form)อย่างง่าย
ใบความรู้ที่ 6 การสร้างแบบฟอร์ม (Form)อย่างง่ายใบความรู้ที่ 6 การสร้างแบบฟอร์ม (Form)อย่างง่าย
ใบความรู้ที่ 6 การสร้างแบบฟอร์ม (Form)อย่างง่าย
 
ใบความรู้ที่ 6 การสร้าง Query เพื่อคัดเลือกข้อมูล
ใบความรู้ที่ 6 การสร้าง Query เพื่อคัดเลือกข้อมูลใบความรู้ที่ 6 การสร้าง Query เพื่อคัดเลือกข้อมูล
ใบความรู้ที่ 6 การสร้าง Query เพื่อคัดเลือกข้อมูล
 
ใบความรู้ที่5 ตาราง Table
ใบความรู้ที่5 ตาราง  Tableใบความรู้ที่5 ตาราง  Table
ใบความรู้ที่5 ตาราง Table
 
ใบความรู้ที่5 ตาราง Table
ใบความรู้ที่5 ตาราง  Tableใบความรู้ที่5 ตาราง  Table
ใบความรู้ที่5 ตาราง Table
 
แนะนำการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Microsoft Access 2010
แนะนำการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Microsoft Access 2010แนะนำการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Microsoft Access 2010
แนะนำการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Microsoft Access 2010
 
Lesson8
Lesson8Lesson8
Lesson8
 
Lesson7
Lesson7Lesson7
Lesson7
 
Lesson6
Lesson6Lesson6
Lesson6
 
Lesson5
Lesson5Lesson5
Lesson5
 
Lesson4
Lesson4Lesson4
Lesson4
 
Lesson2
Lesson2Lesson2
Lesson2
 
Lesson1
Lesson1Lesson1
Lesson1
 
Lesson9
Lesson9Lesson9
Lesson9
 
Lesson8
Lesson8Lesson8
Lesson8
 
Lesson7
Lesson7Lesson7
Lesson7
 
Lesson6
Lesson6Lesson6
Lesson6
 
Lesson5
Lesson5Lesson5
Lesson5
 

Lesson3

  • 1. สีเป็นส่วนสาคัญอีกส่วนหนึ่งในการวาดภาพ การเลือกใช้สีที่เหมาะสมกับการนาไปใช้งาน ก็จะทาให้ ได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง ซึ่งในบทนี้จะศึกษาการทางานที่เกี่ยวกับสีตั้งแต่ทาความรู้จักกับโหมดสี , การตั้งโหมดสี , เทคนิกการใช้สีและปรับแต่งสีแต่ละประเภทไม่ว่าจะเป็นสีแบบทึบ , การปรับสีให้โปร่งใส , การใส่สีแบบเกรเดียนท์ เป็นต้น ทาความรู้จักกับโหมดสี โหมดสี (Color Mode) คือวิธีการกาหนดค่าสีที่จัดเก็บในไฟล์รูปภาพ โดยยึดหลักการมองเห็นสีใน โมเดลสีต่างๆ สาหรับโหมดสีใน Illustrator แบ่งออกเป็น 5 โหมด ดังนี้ โหมด RGB ใช้หลักการของโมเดล RGB โดยมีการกาหนดค่าความเข้มข้นของสีแดง เขียว และน้า เงินที่มาผสมกันในแต่ละพิกเซลเป็นค่าตั้งแต่ 0-255 ภาพที่เกิดจากโหมด RGB จะเป็นการซ้อนสีหลัก 3 ชั้น และ สามารถมองทะลุผ่าน 3 สีนี้จนกลายเป็นภาพ ซึ่งเรียกชั้นของสีเหล่านี้ว่า “Channel” โดยปกติสีทั่วไปในการ แสดงผลจะมีถึง 16.7 ล้านสี หรือ 224 โหมด CMYK ใช้หลักการของโมเดล CMYK โดยมีการกาหนดค่าสีจากเปอร์เซ็นต์ความเข้มข้นของ สีแต่ละสีที่มาผสมกัน เช่น สี Bright Red เกิดจาก C = 2% M = 93% Y = 90% K = 0% (หรือสีขาว) โหมด HSB ใช้หลักการของโมเดล HSB โดยมีค่า 3 ค่าที่ต้องกาหนดคือ Hue เป็นวงล้อสี ซึ่งแต่ละสี จะแตกต่างกันตามคามยาวของคลื่นแสงที่มากระทบวัตถุและสะท้อนกลับมาที่ตาของเรา, Saturation เป็น ตัวกาหนดความเข้มความจางของสี และ Brightness เป็นตัวกาหนดความมืด และความสว่างของสี โหมด Grayscale การไล่เฉดสีเทา จะประกอบด้วยสีทั้งหมด 256 สี โดยไล่จากสีขาวสีเทาไปเรื่อยจน ท้ายสุดคือสีดา ใช้พื้นที่ในการเก็บข้อมูล 8 บิต โหมด Web Safe RGB การแสดงสีบนเว็บเพจ ใช้หลักการผสมสีเช่นเดียวกับโหมด RGB แต่จะเป็น การกาหนดสีเพื่อใช้งานในภาษา HTML เช่น #000000 เป็นสีดา, #FF0000 เป็นสีแดง จะสามารถแสดงความ กว้างของแต่ละสีได้เพียง 216 สี (00-FF) ซึ่งน้อยกว่าโหมด RGB ทั่วไป ดังนั้น หากเราสร้างภาพกราฟิกสาหรับ แสดงผลบนเว็บก็ควรใช้โหมดสี Web Safe RGB เพื่อป้องกันการเกิดความผิดเพี้ยน เติมสีสันให้กับภาพ
  • 2. 56 การเปลี่ยนโหมดสี เราสามารถเปลี่ยนโหมดสีที่จะใช้ ได้จากการเลือกเมนูจากพาเนล Color โดยคลิก จากนั้นเลือก โหมดสีที่ต้องการ เติมสีให้วัตถุ (Fill Color) สาหรับการกาหนดสีให้กับวัตถุนั้นมีอยู่ด้วยกันหลายวิธี เช่น กาหนดจากพาเนล Color , Color Picker , พาเนล Swatch , หรือพาเนล Gradient เป็นต้น ซึ่งสามารถเลือกใช้แต่ละวิธีได้ตามความจาเป็นและความถนัด เติมสีพื้นและสีเส้นจากพาเนล Color หลังจากที่แสดงพาเนล Color แล้ว เราจะมาเติมสีให้กับวัตถุกันตามขั้นตอน ดังนี้ ผลที่ได้จากการเปลี่ยนสีเส้น ผลที่ได้จากการเปลี่ยนสีพื้น  เลือกโหมดสีตามต้องการ โดยโหมดสีที่เลือกจะมี เครื่องหมาย อยู่ข้างหน้า  คลิก  คลิกเลือกวัตถุ  คลิกเลือก สีเส้น สีพื้น  คลิกลากแถบสีหลัก แต่ละสีของโมเดล หรือ... คลิกเลือกสีจากแถบสี
  • 3. 57 เติมสีพื้นและสีเส้นจาก Color Picker การเติมสียังสามารถใช้ Color Picker ในการกาหนดสีพื้นและสีเส้นได้โดยคลิกเลือกจากแถบแยกสีหรือ ป้อนตัวเลขค่าสีเอง นอกจากนี้แล้วยังสามารถเปลี่ยนและเลือกสีในโมเดลต่างๆ ได้ด้วย โดยมีขั้นตอนดังนี้  ดับเบิลคลิกสีพื้น( Fill) หรือ สีเส้น( Stroke ) ภาพก่อนเปลี่ยนสี ภาพที่ได้หลังจากเปลี่ยนสี  คลิกเลือกวัตถุ ตัวอย่างสีเดิม ตัวอย่างสีใหม่ เตือนว่าอยู่นอก ขอบเขตสี CMYK คลิกเพื่อเลือกสี CMYK ที่ใกล้เคียง ค่าสีในรูปรหัสสีสาหรับเว็บเพจให้แสดงเฉพาะสีที่ เหมาะสาหรับใช้บนเว็บ  คลิกเลือกสี  เลื่อน เพื่อเลือกค่าสีขององค์ประกอบแรก  คลิก OK
  • 4. 58 เติมสีพื้นและสีเส้นด้วยเครื่องมือในทูลบ็อกซ์ ในการเลือกสีเพื่อนาไปใช้ตกแต่งภาพนั้น สีที่เลือกจะปรากฏในช่อง Fill และ Stroke ซึ่งเราสามารถใช้ เครื่องมืออื่นบนทูลบอกซ์ที่อยู่ใกล้เคียง ในการสลับหรือเปลี่ยนแปลงสีใหม่ได้ดังนี้ คลิกที่ปุ่ม เพื่อสลับค่าระหว่างสีพื้นกับสีเส้น คลิกที่ปุ่ม เพื่อกลับไปใช้สีเริ่มต้น (Default color) คือ พื้นสีขาวและเส้นสีดา คลิกที่ปุ่ม (Gradient) เพื่อเติมสีแบบไล่โทน คลิกที่ปุ่ม (None) ไม่ต้องการเติมสีใดๆ คลิกที่ปุ่ม จะกลับมาใช้สีทึบ (Solid) หลังจากที่ใช้สีแบบไล่โทนหรือไม่เติมสีใดๆ เติมสีพื้นและสีเส้นจากพาเนล Swatches สีที่มีในพาเนล Swatches นั้นเป็นสีสาเร็จที่โปรแกรมได้เตรียมไว้ให้แล้วเป็นชุดๆ ซึ่งมีทั้งหมด 3 แบบ คือ สีแบบทึบ , แบบไล่โทนและลวดลายพื้น (Pattern) ซึ่งผู้เรียนสามารถกาหนดสีต่างๆ เหล่านี้ให้จากพาเนล Swatches ก่อนอื่นผู้เรียนจะต้องเปิดพาเนล Swatches ขึ้นมาใช้งานโดยเลือกเมนูคาสั่ง Windows เลือกพาเนล Swatches จะปรากฏพาเนลที่มีการกาหนดรูปแบบ ต่าง ๆดังนี้ ในพาเนล Swatches สามารถที่จะเปลี่ยนเป็นมุมมองต่างๆ เพื่อให้สามารถทางานได้อย่างสะดวกขึ้น โดยคลิกปุ่ม แล้วเลือกรูปแบบต่างๆ ดังนี้ แสดงเมนูของพาเนล ลบสีออกจากพาเนลเปิดไลบรารีสี (Libraries Manu) แสดงแบบสีแบบต่างๆ (Show Swatch Kinds Menu) แก้ไขข้อมูลสีหรือข้อมูลชุดสี (Swatch Options) แสดงชุดสีใหม่ (New Color Group) สร้างสีใหม่เพิ่ม (New Swatch) ไม่ใช้สีใดๆ ชุดสี
  • 5. 59 สาหรับขั้นตอนในการเติมสีจากพาเนล Swatches มีดังนี้ * ถ้าหากไม่เลือกวัตถุก่อนที่จะเลือกสี ให้คลิกลากสีที่ต้องการเปลี่ยนจากพาเนลแล้วไปปล่อยที่วัตถุได้ รูปภาพจะเปลี่ยนสีตามที่เลือก สร้างสีใหม่ในพาเนล Swatches  คลิกวัตถุ  คลิกเลือกสี ภาพที่ได้จากการเปลี่ยนสี  คลิก New Swatch  ทาการผสมสี ใหม่ คลิกลากมาปล่อยที่ถังขยะ สีใหม่ที่ได้ คลิกปุ่ม OK คลิกที่สีใหม่ค้างไว้แล้วลากไปปล่อยที่วัตถุ หากต้องการลบสีใน Swatchesให้ คลิกลากสีมาปล่อยที่ปุ่มถังขยะ
  • 6. 60 สร้าง Pattern ใหม่ในพาเนล Swatches นอกจากการสร้างสีใหม่ตามวิธีข้างต้นแล้ว ผู้เรียนยังสามารถทาการสร้าง Pattern ไว้ใช้งานได้อีกด้วย โดยมีขั้นตอนดังนี้ คลิกเลือกออบเจ็ค คลิกเมนู Edit > Define Pattern  ตั้งชื่อ Pattern แล้วคลิก OK  จะปรากฏ Pattern ใหม่ขึ้นมาต่อท้ายของเดิม ผลลัพธ์ของการใช้งาน Pattern
  • 7. 61 เติมสีพื้นแบบไล่โทนด้วยพาเนล Gradient การเติมสีแบบไล่โทนจะช่วยให้ภาพดูมีมิติและมีความสวยงามมากขึ้น ซึ่งจะเป็นการไล่ระดับสี จากสีหนึ่งไปยังอีกสีหนึ่ง โดยใช้ทิศทางการไล่อยู่สองทาง คือ การไล่แบบแนวตรงและแบบวงกลม และจะ ทางานร่วมกับเครื่องมือ Gradient และพาเนล Gradient โดยเลือกพาเนล Gradient มาไว้บนโปรแกรมโดยคลิก เลือกเมนูคาสั่ง Windows เลือกคาสั่ง Gradient ซึ่งจะมีส่วนประกอบของพาเนลดังนี้ ขั้นตอนการเติมสีแบบ Gradient มีดังนี้ 1. คลิกเลือกวัตถุที่ต้องการเติมสีแบบ Gradient 2. คลิกที่ปุ่ม (Gradient) บน Toolbox เพื่อเติมสีแบบไล่โทน 3. คลิกเลือก Type ในพาเนล Gradient เพื่อกาหนดรูปแบบการไล่สี 4. ระบุองศาการเอียงของสีที่ช่อง Angle 5. ดับเบิ้ลคลิกที่จุดสี จะปรากฏหน้าต่างของสีขึ้นมา จากนั้นเลือกสีที่ต้องการ 6. คลิกลากปุ่ม เพื่อกาหนดตาแหน่งของจุด หรือป้อนค่าตัวเลขที่ช่อง Location หลังจากนั้นให้คลิกจุดสีที่เหลือ แล้วทาซ้าในขั้นตอนที่ 5 และ 6 7. เปลี่ยนศูนย์กลางของการไล่ระหว่างสี 2 สี ได้โดยคลิกลากที่ปุ่ม หรือ คลิกที่ปุ่มแล้วใส่ค่าที่ ช่อง Location ก็ได้เช่นเดียวกัน ทิศทางการไล่สี ซึ่งมี 2 แบบ คือ Linear : แบบแนวตรง Radial : แบบวงกลม ตัวอย่างสี องศาการเอียงของสีแบบ Linear จุดสีแต่ละจุด ตาแหน่งของจุดสีที่เลือกอยู่ ศูนย์กลางของการไล่สีระหว่างจุดสี 2 จุด ค่าความโปร่งใสของสี
  • 8. 62 การเพิ่มจานวนจุดสี หากต้องการไล่โทนสีให้มากกว่าที่มีอยู่ ให้คลิกเลือกวัตถุที่ต้องการเพิ่มจานวนจุดสีหลังทาตามขั้นตอนดังนี้ วิธีที่ 1 จากพาเนล Gradient       ภาพที่ได้ คลิกเพิ่มจุดจากแถบด้านล่าง สังเกตเมาส์จะเป็นรูป จุดสีที่เพิ่มแล้ว เลือกสีใหม่ โดยการผสมสี
  • 9. 63 วิธีที่ 2 จากพาเนล Swatches การลดจานวนจุดสี เมื่อทาการเพิ่มจานวนไปแล้ว และต้องการลดจานวนจุดสีบางจุดที่ไม่ต้องการออกไปจากวัตถุ สามารถ ทาได้ดังนี้ การคัดลอกจุดสี สาหรับสีบางสีที่ต้องการใช้หลายตาแหน่ง สามารถคัดลอกจากจุดเดิมไปยังจุดสีใหม่ได้ โดยที่ไม่ต้อง ผสมสีใหม่ โดยคีย์ Alt บนแป้นพิมพ์ค้างไว้แล้วคลิกลากจุดสีต้นแบบออกไปวางยังตาแหน่งใหม่จะเห็นว่า จุดสีที่เพิ่มขึ้นมาจะมีสีเดียวกับจุดสีที่เป็นต้นฉบับ ดังภาพ  คลิกสีจากพาเนล Swatches ค้างไว้  ลากไปปล่อยที่แถบสีในพาเนล Gradient จุดสีที่เพิ่มขึ้น คลิกลากจุดสีนั้นออกจากพาเนล คลิกปุ่ม Alt ค้างไว้ แล้วลากจากจุดสีต้นแบบออกไป ออกไปวาง
  • 10. 64 สร้าง Gradient ใหม่ในพาเนล Swatches หากต้องการเก็บสี Gradient ที่สร้างขึ้นเองไว้ใช้งานในครั้งต่อไปก็สามารถทาได้โดยเก็บไว้ในพาเนล Swatches โดยมีขั้นตอนคือ ปรับแต่งทิศทางและการกระจายของสีด้วยเครื่องมือ Gradient หลังจากกาหนดสีแบบไล่โทนให้กับวัตถุไม่ว่าจะเป็นแบบแนวตรง หรือ แบบรัศมีวงกลมก็ตาม เรา สามารถเปลี่ยนจุดศูนย์กลาง ทิศทาง และระยะการกระจายตัวของสีเหล่านี้ได้ใหม่ตามต้องการ ดังนี้  คลิกที่เครื่องมือ Gradient เลือกวัตถุ สีใหม่ที่เพิ่มขึ้น  จะปรากฏแถบการไล่สีขึ้น ให้คลิกที่ จุดสีแล้วลากเปลี่ยนตาแหน่งได้ทันที  อาจหมุน , ย่อ หรือ ขยาย แถบสีด้วยก็ได้  เมื่อปรับค่าเสร็จแล้ว คลิกที่เครื่องมืออื่นๆ 1 ครั้ง คลิกลากจากตัวอย่างสี ที่พาเนล Gradient ค้างไว้  นาไปปล่อยในช่องสีที่ ว่างของพาเนล Swatches ผลลัพธ์ที่ได้
  • 11. 65 เติมสีและเส้นด้วยพาเนล Graphic Styles Style เป็นชุดรูปแบบสีและเส้นรวมทั้งมีกราฟิกพิเศษ เช่น การเติมเงา , การไล่โทนสีแบบหลอดไฟ นีออน , ทาขอบแบบหยัก , สีพื้นแบบลายเส้น เป็นต้น ซึ่งส่วนใหญ่เป็นการดึงคุณสมบัติของ Filter และ Effect เข้ามาใช้ โดยโปรแกรมจะรวบรวมและเก็บไว้เป็นหมวดๆ อยู่ใน Graphic Style Libraries ซึ่งวิธีการเปิดพาเนล Graphic Styles ทาได้โดยคลิกที่เมนูคาสั่ง Window เลือกคาสั่ง Graphic Styles โดยมีรายละเอียดดังนี้ วิธีการใช้งานสไตล์ (Style) วิธีการเปิดใช้ไลบรารีสไตล์ (Style Libraries)  คลิกเลือกวัตถุ  คลิกเลือก Style ยกเลิกการใช้ Style Style ที่โปรแกรมมีมาให้ ตัดการเชื่อมโยงระหว่างวัตถุกับ Style สร้าง Style ใหม่ ลบ Styleเปิดไลบรารีสไตล์ แสดงเมนูของพาเนล  คลิกที่ปุ่ม เพื่อเปิดไลบรารี  คลิกชื่อ Style อื่นๆ  Style ที่เลือกจะถูกเปิดขึ้น ผลลัพธ์ที่ได้
  • 12. 66 ดูดสีจากวัตถุอื่นด้วยเครื่องมือ Eyedropper Eyedropper เป็นการเลือกใช้สีอีกวิธีหนึ่ง โดยจะทาการเลือกสีพื้น , สีและรูปแบบเส้น , ความโปร่งใส รวมไปถึงรูปแบบของฟอนต์จากวัตถุต้นแบบมาใช้ และยังสามารถเลือกสีจากภาพบิทแมพมาใช้งานได้ด้วย ซึ่ง จะทาให้ภาพวาดมีสีสันที่เหมือนจริง โดยมีวิธีการใช้งานดังนี้ เทสีให้ภาพด้วยเครื่องมือ Live Paint Bucket Live Paint Bucket ใช้ในการเติมสีให้ชิ้นวัตถุที่มีการแบ่งพื้นที่ออกเป็นส่วนๆด้วยเส้น Path หรือด้วย วัตถุอื่นที่ซ้อนทับกันอยู่ โดยไม่ต้องเลือกวัตถุไว้ก่อน ซึ่งสามารถเทสีลงไปได้เลยทันที โดยมีขั้นตอนดังนี้  เลือกกลุ่มของวัตถุ คลิกที่เครื่องมือ Live Paint Bucket  คลิกที่เครื่องมือ Eyedropper  คลิกเลือกวัตถุที่จะเติมสี หรือ เปลี่ยนสี ผลลัพธ์ที่ได้  ไปคลิกเลือกสีบนวัตถุต้นแบบ ( สีต้นฉบับ )  เลือกสีที่ต้องการ คลิกเติมสีในส่วนที่ต้องการ  สีจะถูกเติมเฉพาะส่วนที่มีเส้นpath ตัดกัน ซึ่งจะไม่เติมทั้งชิ้นของวัตถุ ผลลัพธ์ที่ได้เมื่อเปลี่ยนสี แตะเติมสีส่วนอื่นๆจนครบ สามารถเปลี่ยนเป็นสีอื่นๆสีได้โดย การคลิกปุ่มลูกศรที่แป้นพิมพ์
  • 13. 67 เติมสีแบบไล่โทนสีโดยใช้ Gradient Mesh สาหรับการไล่โทนสีแบบ Gradient โดยใช้พาเนล Gradient นั้นเป็นการไล่สีตามแนวทีมีให้ คือ แนว ตรง (Linear) หรือเป็นวงกลม (Radial) เท่านั้น อย่างไรก็ตามการวาดภาพที่มีแสงเงาแบบซับซ้อนหรือภาพแบบ เหมือนจริงนั้น การไล่โทนสีแบบนี้อาจไม่เพียงพอ เนื่องจากทิศทางของเงาหรือโทนสีนั้นไม่ได้เป็นเส้นตรงหรือ เป็นวงกลมเสมอไป ดังนั้นหากต้องการวาดภาพในลักษณะนี้แล้วก็ควรใช้การเติมสีแบบ Gradient Mesh การเติมสีแบบนี้จะเป็นการเติมสีแบบอิสระเหมือนกับการใช้พู่กันระบายสี ทั้งนี้ก่อนอื่นจะต้องสร้างตา ข่ายสาหรับเป็นโครงสร้างในการเติมสีก่อน ซึ่งจะเป็นเส้นตารางในแนวตั้งและแนวนอน โดยการเติมสีนั้นจะ เติมจากจุดตัดของเส้น โดยแต่ละจุดก็จะเก็บคุณสมบัติสีของตัวเองและเมื่อเติมสีให้กับจุดสีก็จะทาการกระจาย ออกไปพร้อมๆ กับไล่โทนไปหาสีที่จุดอื่นบริเวณรอบๆ การกระจายของสีนั้นจะขึ้นอยู่กับจานวนของเส้นตาข่าย หากเส้นมีน้อยระยะห่างแต่ละจุดมากก็จะทา ให้สีกระจายได้ในวงกว้างดังภาพด้านซ้าย แต่หากจานวนตาข่ายมีมากระยะห่างในแต่ละจุดก็จะน้อย จึงทาให้สี กระจายได้ในวงแคบๆ ดังภาพด้านขวา การสร้างตาข่ายด้วยเครื่องมือ Mesh การสร้างตาข่ายด้วยเครื่องมือ Mesh เป็นการสร้างตาข่ายแบบอิสระ โดยสร้างจุดตัดของเส้นในแนวตั้ง และแนวนอนตามการคลิกตรงตาแหน่งบนวัตถุ โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. คลิกที่เครื่องมือ Mesh บน Toolbox โดยเมาส์จะเปลี่ยนเป็นรูป 2. ใช้เมาส์รูป คลิกตรงตาแหน่งบนวัตถุที่ต้องการให้เป็นจุดสี   ตาข่ายที่ได้เมื่อคลิกในตาแหน่งต่าง ๆ เส้นตาข่ายมีน้อยทาให้สีกระจายในวงกว้าง เส้นตาข่ายมีมากทาให้สีกระจายในวงแคบ
  • 14. 68 สร้างตาข่ายด้วยคาสั่ง Create Gradient Mesh เป็นการสร้างตาข่ายโดยแบ่งออกเป็นช่องแถวและคอลัมน์ที่มีขนาดเท่าๆ กัน และมีลักษณะของเส้นตา ข่ายที่แปรเปลี่ยนไปตามรูปทรงของวัตถุ ซึ่งมีขั้นตอนในการสร้างดังนี้ 1. คลิกเลือกวัตถุ 2. คลิกเมนูคาสั่ง Object เลือกคาสั่ง Create Gradient Mesh… 3. กาหนดรายละเอียดของตาข่าย ดังนี้ Rows กาหนดจานวนแถว Columns กาหนดจานวนคอลัมน์ Appearances เลือกรูปแบบการไล่โทนสี Flat กาหนดให้ไม่มีการเปลี่ยนแปลงสีใดๆ To Center ปรับการไล่โทนสีโดยใช้สีสว่างจากจุดกลางวัตถุ To Edge ปรับการไล่โทนสีโดยใช้สีสว่างจากขอบด้านนอก Highlight กาหนดความสว่างของโทนสี เมื่อเลือกรูปแบบการไล่แบบ To Center หรือ To Edge 4. คลิกปุ่ม TIP : เพื่อให้ง่ายในการกาหนดสีในจุดต่อไป ก่อนการสร้างตาข่ายควรกาหนดสี พื้นเป็นสีโดยรวมของวัตถุไว้ก่อน เช่นต้องการวาดดอกไม้สีชมพูก็ให้กาหนดสีพื้น เป็นสีชมพูไว้ก่อน ในขณะที่สร้างตาข่ายหากคลิกเปลี่ยนที่พื้นวัตถุ ก็จะเป็นการเติมสีนั้นให้กับ จุดใหม่ทันที และหลังจากสร้างตาข่ายแล้วสีของเส้น (Stroke) จะถูกยกเลิกไป
  • 15. 69 เติมสีให้กับจุดสี หลังจากสร้างตาข่ายแล้วยังสามารถเติมสีให้กับจุดตัดของเส้นตาข่ายดังนี้ 1. คลิกเลือกจุดสีด้วยเครื่องมือ Direct Selection หรือเครื่องมือ Lasso ในกรณีที่ต้องการ เลือกหลายจุดพร้อมๆ กัน กดคีย์ Shift ค้างไว้ขณะคลิกลากเพื่อเพิ่มกลุ่มของจุดสีในบริเวณอื่นๆ 2. คลิกกาหนดสีจากพาเนล Swatches , Color หรือ Color Guide หากเป็นการวาดภาพตามต้นแบบ เราสามารถใช้เครื่องมือ Eyedropper ดูดสีจากภาพต้นแบบมา ใช้ได้ ซึ่งจะทาให้ภาพมีความเหมือนจริงมากขึ้น     ตาข่ายที่สร้างขึ้น
  • 16. 70 กาหนดความโปร่งใสของสีด้วยพาเนล Transparency การปรับแต่งความโปร่งใสจะส่งผลให้วัตถุนั้นมีความจางลงจนมองเห็นวัตถุอื่นที่อยู่ด้านหลังได้ โดย ค่า Opacity ที่ 100 % จะทาให้สีวัตถุทึบที่สุด ในขณะที่ค่า Opacity ที่ 0 % วัตถุจะโปร่งจนมองไม่เห็น ซึ่งการ ปรับค่าความโปร่งใสจะต้องทาที่พาเนล Transparency ดังนี้   ภาพที่ได้เมื่อเติมสีให้กับจุดสีที่เลือกไว้ ภาพที่ได้เมื่อเติมสีให้กับจุดสีอื่นๆ ต่อไป เลือกออบเจ็ค กาหนดเปอร์เซ็นต์ความโปร่งใส ผลลัพธ์ที่ได้