SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
Download to read offline
ทาความรู้จักโปรแกรม Illustrator
Illustrator เป็นโปรแกรมที่ทางานด้านกราฟิกตัวหนึ่ง ซึ่งเน้นการสร้างชิ้นงานจากการวาดเป็นหลัก
ซึ่งเป็นที่นิยมสาหรับนักออกแบบทั้งหลายที่นาไปใช้ในงานด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นงานสิ่งพิมพ์ , เสื้อผ้า ,
เว็บเพจ , ออกแบบฉลากและผลิตภัณฑ์ หรือ งานโฆษณาต่างๆ ซึ่งจะเห็นว่าความสามารถของโปรแกรม
Illustrator นั้น เปรียบเหมือนกับผ้าใบผืนใหญ่ที่ใช้วาดภาพ โดยที่โปรแกรมจะเตรียมอุปกรณ์ต่าง ๆ ไว้ให้
ไม่ว่าจะเป็นดินสอสี , แปรงพู่กัน , ไม้บรรทัด , ยางลบ และ อุปกรณ์อื่น ๆ ไว้ให้เรียบร้อย จากนั้นก็ขึ้นอยู่กับ
จินตนาการในการออกแบบ และการวาดภาพของเราเองที่จะขีดเขียน หรือระบายภาพต่างๆออกมา
จุดเด่นของโปรแกรม Illustrator CS5
ภาพที่ได้จากโปรแกรมจะเป็นกราฟิกประเภทเวคเตอร์ที่มีลักษณะเป็นลายเส้น ภาพที่ได้จึงมีความ
คมชัด ไฟล์ที่ได้จากการทางานโปรแกรม Illustrator สามารถใช้งานร่วมกับโปรแกรมกราฟิกอื่น ๆ ได้เช่น
InDesign , Photoshop , Flash เป็นต้น สาหรับเวอร์ชั่น CS5 นี้ได้มีการพัฒนาความสามารถในหลายๆส่วน
ไม่ว่าจะเป็นการสร้างอาร์ตบอร์ดหลายๆแผ่นในไฟล์เดียวกัน , การไล่โทนสีเกรเดียนท์แบบโปร่งใส ,
เครื่องมือ Blob Brush ที่ช่วยให้วาดรูปทรงอิสระได้อย่างง่ายๆ , การปรับแต่งสี , เส้นและเอฟเฟ็คต์ต่างๆที่ทา
ได้บนพาเนล Appearance ที่สะดวกขึ้น และอื่นๆอีกมากมาย ซึ่งจะได้ศึกษาต่อในบทต่อๆไป
รู้จักกับประเภทไฟล์กราฟิก
งานกราฟิกที่ใช้ในคอมพิวเตอร์จะถูกแบ่งประเภทไฟล์ภาพตามการสร้างเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ
ด้วยกัน คือภาพแบบที่เรียกว่า Vector Graphics และภาพ Bitmap Images ซึ่งข้อแตกต่างระหว่างไฟล์ภาพทั้ง
สองประเภทจะมีผลตั้งแต่การสร้าง , การแก้ไข , การนาเข้าไฟล์ภาพ (Import) และการนาภาพที่สร้างจาก
โปรแกรมไปใช้กับโปรแกรมอื่น ๆ (Export) ความสามารถในการปรับแต่งเอฟเฟ็คต์ หรือลูกเล่นของไฟล์
กราฟิกแต่ละประเภทก็ต่างกันออกไป บางคาสั่งสามารถใช้ได้กับไฟล์ประเภทเวคเตอร์หรือบางคาสั่ง
สามารถใช้ได้เฉพาะไฟล์ประเภทบิทแมพ ซึ่งเราจะมาทาความรู้จักกับไฟล์กราฟิกทั้ง 2 ประเภท ดังนี้
เริ่มต้นใช้งานโปรแกรม Illustrator CS5
2
Vector Graphics
ภาพแบบเวคเตอร์ เป็นภาพที่สร้างด้วยส่วนประกอบของเส้นในลักษณะต่าง ๆ และคุณสมบัติ
เกี่ยวกับสีของเส้นนั้น ๆ ซึ่งสร้างจากการคานวณทางคณิตศาสตร์ เช่น ภาพดอกไม้ ก็จะถูกสร้างด้วยจุดของ
เส้นโค้ง และเส้นตรงหลาย ๆ จุด
Bitmap Images
ภาพแบบบิทแมพ หรืออาจจะเรียกว่าภาพแบบราสเตอร์ (Raster) ก็ได้ เป็นภาพที่เกิดจากจุดสีที่
เรียกว่าพิกเซล (pixels) ซึ่งเรียกต่อกันเป็นรูปร่างบนพื้นที่ ที่มีลักษณะเป็นตาราง (กริด) แต่ละพิกเซลจะมีค่า
ของตาแหน่งและค่าสีของตัวเอง ภาพหนึ่งภาพจะประกอบด้วยพิกเซลหลาย ๆ พิกเซลรวมกัน
ภาพ Vector
ภาพ Bitmap
3
การเรียกใช้งานโปรแกรม Adobe Illustrator CS5
เมื่อเปิดโปรแกรมแล้วจะปรากฏหน้าต่างต้อนรับ (Welcome Screen) ของโปรแกรมขึ้นมา ดังนี้
คลิกเมาส์ที่ปุ่ม Start เลือก All Programs
 คลิกเลือกที่ Adobe Illustrator CS5
คลิกเลือกโฟลเดอร์ Adobe Master Collection CS5
 เลือกรูปแบบการทางาน โดย
Open a Recent Item : ส่วนของไฟล์
ที่เคยเปิดใช้งานล่าสุดไล่ลาดับลงไป
Create New : ส่วนของการสร้างไฟล์
งานใหม่ขึ้นมา
 หากไม่ต้องการให้หน้านี้เปิดขึ้นมาอีกในครั้งต่อไป ให้คลิก  ในกรอบสี่เหลี่ยม
 ในกรณีที่ไม่ต้องการใช้งานหน้าต่างนี้ ให้คลิกที่ เพื่อปิดหน้าต่างนี้ไป
4
ส่วนประกอบของหน้าต่างโปรแกรม Adobe Illustrator CS5
โดยส่วนประกอบหลักๆในการทางานมีดังนี้
เมนูบาร์ (Menu Bar)
เมนูบาร์ จะประกอบด้วยเมนูคาสั่งที่ใช้จัดการกับไฟล์, ทางานกับภาพและปรับออปชั่นต่างๆ โดย
เมนูเหล่านี้มีเมนูย่อยๆให้เลือกใช้งานได้อีก
คอนโทรลพาเนล (Control Panel)
เป็นส่วนที่ใช้ในการปรับแต่งการทางานของเครื่องมือต่างๆ ซึ่งรายละเอียดในคอนโทรลพาเนลจะ
เปลี่ยนไปตามการเลือกเครื่องมือ หรือ เลือกออบเจ็คในขณะนั้น เช่น หากเลือกออบเจ็คทั่วไปคอนโทรล
พาเนลจะแสดงออปชั่นการกาหนดสี , ขนาดของพื้นที่และเส้น แต่ถ้าหากเลือกออบเจ็คที่เป็นตัวอักษรก็จะ
แสดงออปชั่นที่เกี่ยวกับการกาหนดรูปแบบตัวอักษร เป็นต้น
Toolbox
Status Bar
พื้นที่ทางานหรืออาร์ตบอร์ด
Manu Bar Control Panel
เปิด Adobe Bridge
พื้นเตรียมงาน
(Scratch Area)
พาเนลต่างๆ
การจัดเรียงอาร์ตบอร์ด
Title Bar
5
กล่องเครื่องมือ (Toolbox)
กล่องเครื่องมือ ประกอบด้วยเครื่องมือต่าง ๆ ที่จาเป็นต่อการทางานและมีจานวนมาก ดังนั้นจึงมีการ
รวมเครื่องมือบางอย่างไว้ในปุ่มเดียวกันเป็นกลุ่มๆ ซึ่งจะมีรูป อยู่ที่มุมขวาล่างของปุ่มเครื่องมือ เพื่อแสดง
ว่ายังมีเครื่องมืออื่นซ่อนอยู่ด้วย ซึ่งถ้าหากต้องการเลือกเครื่องมือที่ซ่อนอยู่ในกลุ่มนั้น ให้คลิกเมาส์ที่ปุ่ม
เครื่องมือนั้นค้างไว้แล้วลากเมาส์ไปชี้ที่เครื่องมืออื่นๆที่ต้องการ ดังนี้
นอกจากนี้ยังสามารถดึงเครื่องมือที่ซ่อนอยู่ออกมาเป็นแถบกลุ่มเครื่องมือใหม่ก็ได้ ดังนี้
 คลิกเมาส์ค้างไว้
 เลื่อนเมาส์มาชี้ที่เครื่องมือ
อื่นที่ต้องการ แล้วปล่อยเมาส์
 คลิกเมาส์ค้างไว้
 เลื่อนเมาส์มาชี้ที่รูปลูกศร
(Tearoff) แล้วปล่อยเมาส์
 โปรแกรมจะดึงเครื่องมือทั้งหมดออกมาให้
 คลิกในกรณีที่ต้องการปิดแถบเครื่องมือนั้นๆ
6
โดยเครื่องมือต่างๆใน Toolbox มีดังนี้
พาเนลต่าง ๆ
พาเนล (Panel) คือ กรอบหน้าต่างย่อยๆ ที่มีคาสั่งและเครื่องมือในการจัดการ , ตรวจสอบค่า และ
ปรับแต่งองค์ประกอบต่างๆของออบเจ็ค ซึ่งเครื่องมือเหล่านี้จะถูกจัดแบ่งไว้เป็นหมวดหมู่ เช่น พาเนล
Color ใช้กาหนดสี , พาเนล Stroke ใช้ปรับขนาดและรูปแบบเส้น , พาเนล Align จัดตาแหน่งวัตถุ เป็นต้น
บางพาเนลที่มักใช้งานร่วมกันจะถูกจัดไว้ในกลุ่มเดียวกัน เช่น พาเนล Color และ พาเนล Color Guid แต่
พาเนลนั้นจะไม่ถูกเปิดขึ้นมาให้ทุกๆพาเนล ดังนั้นหากต้องการเรียกใช้งานพาเนลที่ไม่ได้ถูกเปิดอยู่
จะต้องทาการเปิดพาเนลขึ้นมาใช้งานเอง ซึ่งวิธีการใช้งานพาเนลมีรายละเอียดดังนี้
ปรับวินโดว์เป็นโหมดเต็มจอแบบมีเมนูบาร์
Direct Selection Tool
Lasso Tool
Type Tool
Rectangle Tool
Pencil Tool
Scale Tool
Free Transform Tool
Eraser Tool
Gradient Tool
Blend Tool
Slice Tool
Zoom Tool
เลือกใช้สีแบบไล่โทน
ไม่ใช้สีใด ๆ
สีเส้น (Stroke)
สลับสีพื้นและเส้น
Column Graph Tool
Perspective Tool
Blob Brush Tool
Line Segment Tool
Shape Builder Tool
Selection Tool
ฮซซซฮ: VMagic Wand Tool
Pen Tool
Paintbrush Tool
Rotate Tool
Width Tool
Mesh Tool
Eyedropper Tool
Artboard Tool
Hand Tool
สีพื้น (Fill)
ปรับสีพื้นและเส้นเป็นค่าเริ่มต้น (ขาว/ดา)
เลือกใช้สีแบบทึบ
Symbol Sprayer Tool
เลือกรูปแบบการวาด
7
วิธีการเรียกเปิดพาเนลต่างๆ
วิธีการเรียกใช้คาสั่งของพาเนล
ในแต่ละพาเนลจะมีคาสั่งที่ใช้ปรับแต่งการทางานที่ต่างกันไป ซึ่งสามารถคลิกปุ่ม ที่มุมบน
ขวามือเพื่อเลือกใช้งานแต่ละคาสั่งได้ ดังนี้
 คลิกเมนู Window
 เลื่อนเมาส์มาคลิกที่ชื่อ
พาเนลที่ต้องการเปิดใช้งาน
พาเนลที่ไม่ได้เปิดอยู่
พาเนลที่ถูกเปิดอยู่
ข้อสังเกต พาเนลที่เปิดอยู่นั้น ที่หน้าชื่อพาเนลจะมีเครื่องหมาย  อยู่ส่วนพาเนล
ใดที่ไม่มีเครื่องหมาย  อยู่ด้านหน้า แสดงว่าพาเนลนั้นไม่ได้เปิดอยู่นั่นเอง
 คลิกเพื่อเปิดรายการคาสั่ง
 คาสั่งต่างๆของพาเนลนั้นๆ
8
วิธีการย่อ/ขยายพาเนล
โดยปกติพาเนลจะถูกย่อเอาไว้ และหากต้องการเขยายพาเนลออกมาเพื่อความสะดวกในการ
เลือกใช้เครื่องมือต่างๆก็จะต้องขยายพาเนลออกมา หรือถ้าหากต้องการเพิ่มพื้นที่ในการทางานก็สามารถย่อ
พาเนลลงให้กลับไปแสดงเป็นรูปไอคอนได้ และเมื่อต้องการใช้งานพาเนลใดก็ให้เปิดขึ้นมาทางานเฉพาะ
พาเนลนั้นๆ ดังนี้
Tip…
เมื่อกดปุ่ม จะเป็นการซ่อน/แสดง คอนโทรลพาเนล , ทูลบ็อกซ์ และพาเนล หรือ
เมื่อกดปุ่ม + จะเป็นการซ่อน/แสดงเฉพาะพาเนล
Tab
Shift Tab
 คลิกที่ (Expand Panels) เพื่อขยายพาเนลออกมา  คลิกที่ (Collapse to Icons) เพื่อย่อพาเนลลงไป
9
การจัดการเกี่ยวกับไฟล์
การสร้างไฟล์ใหม่
วิธีที่ 1 คลิกที่รูปแบบ Print Document ในหน้า Welcome Screen เพื่อสร้างไฟล์สาหรับงานพิมพ์
วิธีที่ 2 เลือกที่เมนู File แล้วเลือกคาสั่ง New
จากนั้นจะปรากฏไดอะล็อกซ์บล็อกสาหรับกาหนดรายละเอียดของอาร์ตบอร์ดขึ้นมาให้ โดย
รูปแบบการสร้างอาร์ตบอร์ดมีอยู่ 2 รูป แบบด้วยกัน คือ
1. การสร้างอาร์ตบอร์ดแบบหน้าเดียว มีวิธีดังนี้
 ตั้งชื่อไฟล์
 เลือกโปรไฟล์มาตรฐาน
 เลือกขนาดอาร์ตบอร์ดที่
ต้องการ หรืออาจกาหนดขนาด
ความกว้าง และ ความสูงเองก็ได้
 เลือกการวางแนวอาร์ตบอร์ดระหว่างแนวตั้ง และ แนวนอน
 เมื่อกาหนดค่าต่างๆเสร็จแล้วคลิก OK
 โปรแกรมจะสร้าง
อาร์ตบอร์ดขึ้นมาให้
10
2. การสร้างอาร์ตบอร์ดแบบหลายอาร์ตบอร์ด มีวิธีดังนี้
 ตั้งชื่อไฟล์
 กาหนดจานวนอาร์ตบอร์ด
 เลือกขนาดอาร์ตบอร์ดที่
ต้องการ หรืออาจกาหนดขนาด
ความกว้าง และ ความสูงเองก็ได้
 เลือกการวางแนวอาร์ตบอร์ดระหว่างแนวตั้ง และ แนวนอน
 กาหนดการ
จัดเรียงอาร์ตบอร์ด
 โปรแกรมจะสร้างอาร์ตบอร์ดขึ้นมาให้ตามจานวนที่กาหนด
 กาหนดระยะห่างระหว่าง
อาร์ตบอร์ดแต่ละหน้า
 กาหนดจานวน
แถว หรือ คอลัมน์  คลิก OK
11
การจัดการอาร์ตบอร์ดด้วยพาเนล Artboards
พาเนล Artboards นี้เป็นคุณสมบัติใหม่ในเวอร์ชั่น CS5 ที่จะช่วยให้สร้างและจัดการอาร์ตบอร์ดได้
สะดวกมากขึ้น ดังนี้
การเพิ่มอาร์ตบอร์ด
ในกรณีที่ต้องการเพิ่มอาร์ตบอร์ดใหม่ขึ้นมาในไฟล์เดิมสามารถทาได้ดังนี้
ใช้เลื่อนลาดับชั้นอาร์ตบอร์ด
สร้างอาร์ตบอร์ดใหม่
คัดลอกอาร์ตบอร์ด
ลบอาร์ตบอร์ด
ลบอาร์ตบอร์ดที่ไม่มีชิ้นงาน
แปลงออบเจ็คเป็นอาร์ตบอร์ด
กาหนดออปชั่นของอาร์ตบอร์ด
จัดตาแหน่งอาร์ตบอร์ด
 คลิกเครื่องมือ
Artboard
 คลิกปุ่ม New Artboard  คลิกวาง Artboard ในตาแหน่งที่ต้องการ
12
 คลิกเลือกเครื่องมืออื่นๆ เพื่อเป็นการเสร็จสิ้นการสร้างอารต์บอร์ด
 จะได้อารต์บอร์ดใหม่ขึ้นมาอีก 1 อาร์ตบอร์ด
Note ในขั้นตอนที่ 2 ของการสร้างอาร์ตบอร์ดนั้น ไม่จาเป็นต้องคลิกที่ปุ่ม New Artboard
ก็ได้ แต่สามารถคลิกลากเพื่อสร้างอาร์ตบอร์ดใหม่ได้เช่นกัน ดังรูป
 คลิกลากให้ได้ขนาดที่ต้องการแล้วปล่อยเมาส์
13
การเปลี่ยนโหมดสี
หลังจากที่ได้สร้างไฟล์ไปแล้วแต่ต้องการเปลี่ยนโหมดสีก็สามารถทาได้ แต่การเปลี่ยนโหมดสีอาจ
ทาให้สีต่างๆที่ใช้ในอาร์ตเวิร์คผิดเพี้ยนไป ดังนั้นจึงควรกาหนดโหมดสีให้ถูกต้องตั้งแต่เริ่มสร้างงาน
อย่างไรก็ตามการเปลี่ยนโหมดสีสามารถทาได้ดังนี้
 คลิกเมนู File
 เลื่อนเมาส์มาที่คาสั่ง
Document Color Mode
 คลิกเลือกโหมดสีที่ต้องการ
ข้อสังเกต
โหมดสีที่เลือกใช้งานอยู่จะมีเครื่องหมาย  อยู่ด้านหน้าชื่อโหมดสีนั้น
14
การบันทึกไฟล์
ขณะที่กาลังทางาน หรือ หลังจากที่ทางานเสร็จเรียบร้อยแล้ว จะต้องบันทึกอาร์ตเวิร์คเก็บไว้เป็น
ไฟล์ เพื่อให้สามารถนากลับมาแก้ไข หรือ ใช้งานต่อไปในภายหลังได้ โดยมีขั้นตอนการบันทึกดังนี้
 คลิกเมนู File
 เลือกคาสั่ง Save
 เลือกตาแหน่งที่เก็บไฟล์
 เลือกประเภท หรือ ฟอร์แมตของไฟล์ โดยปกติไฟล์จะเป็น *. AI
 ตั้งชื่อไฟล์
 คลิกที่ปุ่ม Save
15
จากนั้นโปรแกรมจะแสดงหน้าต่างการกาหนดออปชั่นของไฟล์ที่จะบันทึก ดังนี้
กรณีที่ต้องการบันทึกเป็นเวอร์ชั่นเก่า
ให้คลิกเปลี่ยนเป็นเวอร์ชั่นที่ต้องการ
ให้ไฟล์มีคุณสมบัติแบบ PDF
บีบให้ไฟล์มีขนาดเล็กลง
บันทึกข้อมูลเกี่ยวกับระบบสีที่ใช้กับไฟล์
 กาหนดค่าต่างๆตามต้องการ  คลิกที่ปุ่ม OK
เลือกเพื่อฝังไฟล์ภาพบิทแมพไปด้วย
บันทึกโดยแยกแต่ละอาร์ตบอร์ดเป็นคนละไฟล์
Note นอกจากการใช้คาสั่ง Save เพื่อบันทึกไฟล์แล้ว ยังสามารถใช้คาสั่งอื่นๆได้อีก ดังนี้
 File > Save As ใช้บันทึกไฟล์เป็นชื่ออื่น หรือ ฟอร์แมตอื่นๆ หลังจากใช้คาสั่งแล้วจะเป็นการ
ทางานกับไฟล์ใหม่ทันที
 File > Save a Copy ใช้บันทึกไฟล์เป็นชื่ออื่น หรือ ฟอร์แมตอื่นๆ แต่หลังจากใช้คาสั่งแล้ว
จะเป็นการทางานกับไฟล์ต่อ
 File > Save as Template ใช้บันทึกอาร์ตเวิร์คให้เป็นเทมเพลต
 File > Save for Web & Devices ใช้บันทึกอาร์ตเวิร์คให้เป็นเว็บเพจ หรือ เป็นไฟล์รูปภาพ
 File > Save Selected Slices ใช้บันทึกเป็นภาพที่ได้จากการใช้เครื่องมือ Slice Selection
เฉพาะส่วนที่เลือกไว้
16
การเปิดไฟล์
หากต้องการเปิดไฟล์เก่าที่ได้บันทึกไว้แล้วขึ้นมาปรับปรุงหรือแก้ไขสามารถทาได้ดังนี้
 คลิกเมนู File
 คลิกคาสั่ง Open
 เลือกตาแหน่งที่เก็บไฟล์
 คลิกที่ปุ่ม Open
 คลิกที่ไฟล์ที่ต้องการ
แสดงภาพตัวอย่างของไฟล์ที่เลือก
17
การปิดไฟล์
เมื่อจบการทางานแล้ว และต้องการปิดไฟล์ที่กาลังถูกเปิดอยู่สามารถทาได้โดย
 คลิกเมนู File
 คลิกคาสั่ง Close
Note นอกจากการใช้คาสั่ง Close เพื่อปิดไฟล์แล้ว ยังสามารถคลิกที่ปุ่ม ของไฟล์นั้นได้ทันที ดังนี้
คลิกเพื่อปิดไฟล์
18
การนาไฟล์ภาพบิทแมพมาใช้งาน
Illustrator เป็นโปรแกรมที่ทางานกับภาพแบบเวคเตอร์เป็นหลัก แต่ก็สามารถนาภาพแบบบิทแมพ
เข้ามาใช้งานร่วมกับภาพเวคเตอร์ได้ด้วยเช่นกัน ซึ่งสามารถทาได้ดังนี้
 คลิกเมนู File
 เลื่อนเมาส์มาคลิกที่คาสั่ง Place
 เลือกตาแหน่งที่เก็บภาพ  เลือกภาพ
 กาหนดคุณสมบัติต่างๆโดย
Link คือ เชื่อมต่อกับไฟล์ภาพต้นฉบับ
Template คือ กาหนดให้ภาพวางเป็นเทมเพลตเลเยอร์
Replace คือ วางภาพแทนที่ภาพเดิมที่ได้เลือกไว้
 คลิกปุ่ม Place
 ลักษณะของภาพบิทแมพที่วางบนอาร์ตบอร์ด
19
การพิมพ์ภาพ
ในการพิมพ์ภาพนั้นสามารถทาได้โดยเลือกรูปแบบของการพิมพ์อาร์ตเวิร์คอาร์ตเวิร์คจะต้องวางอยู่
ในพื้นที่ของการพิมพ์ (Page Tiling) ซึ่งขอบเขตนี้จะแสดงเป็นเส้นประสีดาโดยทาตามขั้นตอนดังนี้
 คลิกเมนู File
 กาหนดข้อมูลเกี่ยวกับเครื่องพิมพ์ เลือกหัวข้อในการพิมพ์
 กาหนดคุณสมบัติการพิมพ์
แสดงภาพตัวอย่าง
 คลิกคาสั่ง Print
 คลิกคาสั่ง Print
20
มุมมองวินโดว์โปรแกรม
เราสามารถกาหนดมุมมองของวินโดว์โปรแกรมเพื่อให้เหมาะสม และสะดวกต่อการทางาน โดย
คลิกกลุ่มเครื่องมือ Screen Mode จากทูลบ็อกซ์ เพื่อสลับไปยังมุมมองต่างๆ ซึ่งมีให้เลือกดังนี้
Normal Screen Mode จะแสดงส่วนประกอบทุกอย่างได้ทั้งหมดเหมือนกับขณะที่เปิด
โปรแกรมครั้งแรก โดยทูลบ็อกซ์, พาเนลและหน้าต่างไฟล์ยังยึดติดกับหน้าต่างโปรแกรม
Full Screen Mode with Menu Bar จะแสดงวินโดว์เต็มหน้าจอ โดยตัดส่วนที่เป็น
ไตเติลบาร์ของโปรแกรมและทาสก์บาร์ของ Windows ออกเพื่อเพิ่มพื้นที่ทางานมากขึ้น
Full Screen Mode จะแสดงส่วนประกอบเหมือน Full Screen Mode with Menu Bar
และจะไม่แสดงส่วนของเมนูบาร์ด้วย เพื่อให้มีพื้นที่ทางานมากที่สุด
คลิกที่ไอคอนแล้วเลือก
มุมมองที่ต้องการ
Tip…
การสลับไปยังมุมมองต่างๆอย่างรวดเร็ว ทาได้โดยการกดคีย์ ที่แป้นพิมพ์F
21
ย่อ / ขยายการมอง
ในการวาดส่วนประกอบของภาพที่มีขนาดเล็ก เช่น ขนตาหรือขนคิ้วนั้นจาเป็นต้องขยาย
การมองภาพ (Zoom in)เพื่อให้วาดรายละเอียดและปรับแต่งส่วนต่างๆ ได้ง่ายขึ้น การย่อ/ขยายหรือการซูม
สามารถทาได้หลายวิธีดังนี้
ย่อ / ขยายด้วยเครื่องมือ Zoom
 คลิกเครื่องมือ Zoom
 คลิกลากบริเวณที่จะซูม
 ผลลัพธ์ที่ได้
22
ย่อ/ขยายด้วยพาเนล Navigator
การซูมด้วยพาเนล Navigator จะช่วยให้ได้อัตราการซูมที่แน่นอน และสามารถเลื่อนดูส่วนที่
ต้องการได้โดยจะแสดงภาพตัวอย่างและมีกรอบสีแดงบอกให้รู้ว่าขณะนั้นส่วนใดของภาพที่กาลังถูกซูมอยู่
ซึ่งหากพาเนล Navigator ไม่ถูกเปิดอยู่ก็ให้ไปเปิดพาเนลนี้ขึ้นมาก่อน และเมื่อเปิดขึ้นมาแล้ววิธีการซูมจาก
พาเนล Navigator สามารถทาได้หลายวิธี โดยมีรายละเอียดดังนี้
วิธีการเปิดพาเนล Navigator วิธีการซูมด้วยพาเนล Navigator
กาหนดค่า
เปอร์เซ็นต์
ที่ต้องการ
คลิกย่อ คลิกขยาย
คลิกลากสไลเดอร์
เพื่อย่อ/ขยาย
คลิกลากภายในกรอบเพื่อเลื่อนตาแหน่งการซูม คลิกที่เมนู Window
 เลื่อนเมาส์มาคลิกที่ Navigator
Tip… การย่อ/ขยายภาพอย่างรวดเร็วสามารถทาได้โดยการใช้คีย์ลัดบนแป้นพิมพ์ ดังนี้
+ เพื่อขยาย + เพื่อให้อาร์ตบอร์ดพอดีหน้าต่าง
+ เพื่อย่อ + เพื่อให้แสดงภาพขนาดเท่าจริง (100%)
Ctrl + Ctrl 0
Ctrl - Ctrl 1
23
เลื่อนดูภาพด้วยเครื่องมือ Hand
ในกรณีที่ซูมขยายจนภาพมีขนาดใหญ่เกินกว่าขนาดหน้าต่าง ก็จะทาให้บางส่วนของภาพถูกซ่อนไว้
ซึ่งเราสามารถใช้เครื่องมือ Hand ในการจับภาพแล้วเลื่อนดูภาพในส่วนอื่นได้ โดยมีขั้นตอนดังนี้
 คลิกเครื่องมือ
Hand บน Tool Box
 คลิกเมาส์แล้วลากไปยังตาแหน่งอื่นเพื่อดู บริเวณภาพที่ต้องการ
Tip…
ขณะที่กาลังใช้เครื่องมืออื่นๆ อยู่ เราสามารถสลับไปใช้เครื่องมือ Hand ชั่วคราวได้
โดยกดปุ่ม ค้างไว้ เมาส์พอยเตอร์จะเปลี่ยนเป็นรูป เพื่อให้เลื่อนดูส่วนต่างๆ ของ
ภาพได้ จากนั้นเมื่อปล่อยปุ่ม เมาส์พอยเตอร์ก็จะเปลี่ยนกลับไปเป็นเครื่องมือเดิม
Space
Space
24
แถบไม้บรรทัด (Ruler)
ประโยชน์ของไม้บรรทัด คือ ทาให้สามารถวัดและกาหนดตาแหน่งของวัตถุต่างๆ ได้แม่นยาขึ้น เรา
สามารถแสดงแถบไม้บรรทัดได้โดย
ซึ่งเลื่อนเมาส์ไปในตาแหน่งต่างๆ จะเห็นว่ามีเส้นประปรากฏบนไม้บรรทัดทั้งแนวตั้งและ
แนวนอนเคลื่อนที่ไปตามตาแหน่งของเมาส์ ดังนั้นจึงสามารถดูตาแหน่งที่เมาส์ชี้อยู่ได้จากแถบไม้บรรทัด
นอกจากนี้ยังสามารถดูตาแหน่งวัตถุและตาแหน่งของเมาส์ได้จากพาเนล Info โดยสามารถเรียก
พาเนล Info ได้โดยเลือกเมนูคาสั่ง Window > Info จะเป็นการเปิดพาเนลขึ้นมา ดังนี้
แสดงตาแหน่งของเมาส์ในค่าแกน X และแกน Y บนไม้บรรทัด
 คลิกที่เมนู View  เลื่อนมาที่ Rulers แล้วคลิกที่คาสั่ง Show Rulers
25
การเปลี่ยนหน่วยวัดของไม้บรรทัด
เมื่อโปรแกรมแสดงแถบไม้บรรทัดแล้ว ก็สามารถเปลี่ยนหน่วยวัดบนไม้บรรทัดได้ ดังนี้
ตัวอย่าง
 คลิกขวาที่แถบไม้บรรทัดจะปรากฏกรอบตัวเลือกหน่วยวัด
 คลิกเลือกหน่วยวัดที่ต้องการ
หน่วยเป็น Inches
หน่วยเป็น Pixels
26
เส้น Grid, Guide
การใช้เส้น Grid
เส้นกริด (Grid) คือ ตารางสมมติที่แสดงขึ้นเพื่อช่วยในการวาดและการจัดวางวัตถุได้อย่างแม่นยา
โดยมีลักษณะเป็นตารางสีเทาที่มีระยะห่างแต่ละช่วงเท่าๆ กันตามหน่วยวัดของไม้บรรทัด โดยมี
รายละเอียดดังนี้
1. การแสดงเส้นกริดทาได้โดยคลิกเลือกเมนูคาสั่งView เลือกคาสั่ง Show Grid
2. หากต้องการยกเลิกการแสดงเส้นกริดเลือกเมนูคาสั่ง View เลือกคาสั่ง Hide Grid
3. การกาหนดให้วัตถุอยู่ติดกับเส้นกริดโดยอัตโนมัติเมื่อทาการย้ายตาแหน่งของวัตถุนั้นคลิกเลือก
เมนูคาสั่ง View เลือกคาสั่ง Snap to Grid และเมื่อต้องการยกเลิกการให้วัตถุอยู่ติดกับเส้นกริด
ให้เลือกคาสั่งเดิมอีกครั้ง
เส้นกริดแสดงด้วยเส้นตารางสีเทา
27
การใช้เส้น Guide
เส้นไกด์ (Guide) คือเส้นที่ช่วยในการกะระยะและตาแหน่งเพื่อจัดวางวัตถุเช่นเดียวกับเส้นกริด แต่
เส้นไกด์นี้สามารถสร้าง และจัดวางไปยังตาแหน่งต่างๆ ได้เอง ทั้งแนวตั้ง และแนวนอน โดยปกติแล้วจะต้อง
มีการแสดงแถบไม้บรรทัดก่อนจึงจะสามารถสร้างเส้นไกด์ได้ โดยมีรายละเอียดดังนี้
1. สร้างเส้นไกด์ คลิกลากเมาส์ออกจากแถบบรรทัดตามแนวตั้งหรือแนวนอนที่ต้องการ
2. สร้างเส้นไกด์เป็นรูปทรงอิสระ นอกจากเส้นไกด์ที่เป็นเส้นตรงแล้ว ยังสามารถสร้างเส้นไกด์
เป็นรูปทรงใดๆก็ได้ โดยวาดและเลือกรูปทรงนั้น แล้วคลิกเมนู View เลื่อนเมาส์มาที่ Guides
เลือกคาสั่ง Make Guides
3. ซ่อนเส้นไกด์ หากต้องการยกเลิกการแสดงเส้นไกด์ให้ใช้เมนูคาสั่ง View เลื่อนเมาส์มาที่
Guides เลือกคาสั่ง Hide Guides
4. ล็อคเส้นไกด์ เพื่อไม่ให้เส้นไกด์มรการเปลี่ยนตาแหน่ง ให้คลิกเมนู View เลื่อนเมาส์มาที่
Guides เลือกคาสั่ง Lock Guides
5. ลบเส้นไกด์ หากต้องการลบเส้นไกด์บางเส้นออก ให้ใช้เครื่องมือ คลิกเลือกเส้นไกด์ที่
ต้องการลบแล้วกดคีย์ Delete
6. ลบเส้นไกด์ทั้งหมด หากต้องการลบเส้นไกด์ทั้งหมดให้คลิกเมนู View เลื่อนเมาส์มาที่ Guides
เลือกคาสั่งClear Guides
เส้นไกด์ที่สร้างแล้ว
 คลิกลากจากแถบไม้บรรทัดไปยังตาแหน่งที่ต้องการแล้วปล่อยเมาส์
28
การใช้ Smart Guide
สมาร์ทไกด์ (Smart Guide) เป็นเส้นไกด์ที่ปรากฏขึ้นอัตโนมัติ ซึ่งจะอานวยความสะดวกใน
การเลือก , วาดภาพ และ วางวัตถุ ซึ่งเมื่อเลื่อนเมาส์มาวางไว้เหนือวัตถุชิ้นใด ก็จะแสดงโครงร่างและ
ส่วนประกอบของเส้น Path นอกจากนี้ยังบอกรายละเอียดต่างๆไม่ว่าจะเป็นองศา , จุดตัดเส้น หรือ แนวของ
วัตถุ (เมื่อเทียบกับวัตถุใกล้เคียง) ทาให้การวาดมีความแม่นยามากขึ้น โดยมีรายละเอียดดังนี้
1. การแสดงสมาร์ทไกด์ทาโดย คลิกเมนู View แล้วคลิกที่คาสั่ง Smart Guides
2. การยกเลิกสมาร์ทไกด์ทาโดย คลิกเมนู View แล้วคลิกที่คาสั่ง Smart Guides ซ้าอีกครั้ง
แสดงโครงร่างและจุดแองเคอร์
เมื่อเลื่อนเมาส์ไปอยู่เหนือวัตถุ
แสดงองศาและสถานะของเส้น
ขณะวาด หรือ ย้ายตาแหน่งวัตถุ

More Related Content

What's hot

คู่มือการใช้งาน Google drawing
คู่มือการใช้งาน Google drawingคู่มือการใช้งาน Google drawing
คู่มือการใช้งาน Google drawingYing Hc
 
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ศุภชัย พุทธรักษ์
 
โปรเเกรมIllustratorพื้นฐาน
โปรเเกรมIllustratorพื้นฐานโปรเเกรมIllustratorพื้นฐาน
โปรเเกรมIllustratorพื้นฐานFaith Heart
 
คู่มือ SketchUp
คู่มือ SketchUpคู่มือ SketchUp
คู่มือ SketchUpPiyaboon Nilkaew
 
การออกแบบแอพพลิเคชั่นด้วย Adobe XD
การออกแบบแอพพลิเคชั่นด้วย Adobe XDการออกแบบแอพพลิเคชั่นด้วย Adobe XD
การออกแบบแอพพลิเคชั่นด้วย Adobe XDDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
คู่มือ Revit สำหรับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ Revit สำหรับงานสถาปัตยกรรมคู่มือ Revit สำหรับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ Revit สำหรับงานสถาปัตยกรรมPiyaboon Nilkaew
 
คู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUp
คู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUpคู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUp
คู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUpSKETCHUP HOME
 
Profile builder เบื้องต้น
Profile builder เบื้องต้นProfile builder เบื้องต้น
Profile builder เบื้องต้นchupol bamrungchok
 
คู่มือการใช้งาน Photoshop cs
คู่มือการใช้งาน Photoshop csคู่มือการใช้งาน Photoshop cs
คู่มือการใช้งาน Photoshop cssurachet179
 
ใบความรู้ที่ 12 เครื่องมือเฮ็กซากอนและเครื่องมือแอร์โรวร์
ใบความรู้ที่ 12 เครื่องมือเฮ็กซากอนและเครื่องมือแอร์โรวร์ใบความรู้ที่ 12 เครื่องมือเฮ็กซากอนและเครื่องมือแอร์โรวร์
ใบความรู้ที่ 12 เครื่องมือเฮ็กซากอนและเครื่องมือแอร์โรวร์ณัฐพล บัวพันธ์
 
ส่วนประกอบต่างๆ ของโปรแกรม Paint
ส่วนประกอบต่างๆ ของโปรแกรม Paintส่วนประกอบต่างๆ ของโปรแกรม Paint
ส่วนประกอบต่างๆ ของโปรแกรม PaintBenjapeon Jantakhot
 
โปรแกรม Paint
โปรแกรม Paintโปรแกรม Paint
โปรแกรม Paintguestf00501
 

What's hot (20)

Illustrator stickerline
Illustrator stickerlineIllustrator stickerline
Illustrator stickerline
 
คู่มือการใช้งาน Google drawing
คู่มือการใช้งาน Google drawingคู่มือการใช้งาน Google drawing
คู่มือการใช้งาน Google drawing
 
Auto cad all
Auto cad allAuto cad all
Auto cad all
 
วัตถุObject
วัตถุObjectวัตถุObject
วัตถุObject
 
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
โปรเเกรมIllustratorพื้นฐาน
โปรเเกรมIllustratorพื้นฐานโปรเเกรมIllustratorพื้นฐาน
โปรเเกรมIllustratorพื้นฐาน
 
สร้างรูป 3 d
สร้างรูป 3 dสร้างรูป 3 d
สร้างรูป 3 d
 
คู่มือ SketchUp
คู่มือ SketchUpคู่มือ SketchUp
คู่มือ SketchUp
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 
การออกแบบแอพพลิเคชั่นด้วย Adobe XD
การออกแบบแอพพลิเคชั่นด้วย Adobe XDการออกแบบแอพพลิเคชั่นด้วย Adobe XD
การออกแบบแอพพลิเคชั่นด้วย Adobe XD
 
คู่มือ Revit สำหรับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ Revit สำหรับงานสถาปัตยกรรมคู่มือ Revit สำหรับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ Revit สำหรับงานสถาปัตยกรรม
 
คู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUp
คู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUpคู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUp
คู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUp
 
Photoshop cs3
Photoshop cs3Photoshop cs3
Photoshop cs3
 
Profile builder เบื้องต้น
Profile builder เบื้องต้นProfile builder เบื้องต้น
Profile builder เบื้องต้น
 
คู่มือการใช้งาน Photoshop cs
คู่มือการใช้งาน Photoshop csคู่มือการใช้งาน Photoshop cs
คู่มือการใช้งาน Photoshop cs
 
ใบความรู้ที่ 12 เครื่องมือเฮ็กซากอนและเครื่องมือแอร์โรวร์
ใบความรู้ที่ 12 เครื่องมือเฮ็กซากอนและเครื่องมือแอร์โรวร์ใบความรู้ที่ 12 เครื่องมือเฮ็กซากอนและเครื่องมือแอร์โรวร์
ใบความรู้ที่ 12 เครื่องมือเฮ็กซากอนและเครื่องมือแอร์โรวร์
 
Lesson6
Lesson6Lesson6
Lesson6
 
ส่วนประกอบต่างๆ ของโปรแกรม Paint
ส่วนประกอบต่างๆ ของโปรแกรม Paintส่วนประกอบต่างๆ ของโปรแกรม Paint
ส่วนประกอบต่างๆ ของโปรแกรม Paint
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
โปรแกรม Paint
โปรแกรม Paintโปรแกรม Paint
โปรแกรม Paint
 

Similar to Lesson1

แนะนำ Adobe photo shop 7
แนะนำ Adobe photo shop 7แนะนำ Adobe photo shop 7
แนะนำ Adobe photo shop 7chaiwat vichianchai
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop cs
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop csความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop cs
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop csไกรลาศ จิบจันทร์
 
การใช้งาน Illustrator
การใช้งาน Illustratorการใช้งาน Illustrator
การใช้งาน IllustratorWatcharaporn Tinkul
 
Photoshop cs
Photoshop csPhotoshop cs
Photoshop csnoismart
 
ใบความรู้ที่ 1รู้จักโฟโต้ชอป
ใบความรู้ที่ 1รู้จักโฟโต้ชอปใบความรู้ที่ 1รู้จักโฟโต้ชอป
ใบความรู้ที่ 1รู้จักโฟโต้ชอปNimanong Nim
 
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6Khon Kaen University
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5Kubgife Yrc
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5Kubgife Yrc
 
Lesson 7 การใช้เครื่องมือวาดภาพ
Lesson 7 การใช้เครื่องมือวาดภาพLesson 7 การใช้เครื่องมือวาดภาพ
Lesson 7 การใช้เครื่องมือวาดภาพErrorrrrr
 
โครงงานประเภท5
โครงงานประเภท5โครงงานประเภท5
โครงงานประเภท5Yong Panupun
 
ใบงานที่ 5 โครงงานพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานพัฒนาเครื่องมือใบงานที่ 5 โครงงานพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานพัฒนาเครื่องมือPreeyaporn Wannamanee
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5Superior Painty
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5Fluofern
 

Similar to Lesson1 (20)

แนะนำ Adobe photo shop 7
แนะนำ Adobe photo shop 7แนะนำ Adobe photo shop 7
แนะนำ Adobe photo shop 7
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop cs
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop csความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop cs
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop cs
 
5
55
5
 
การใช้งาน Illustrator
การใช้งาน Illustratorการใช้งาน Illustrator
การใช้งาน Illustrator
 
Photoshop cs
Photoshop csPhotoshop cs
Photoshop cs
 
ใบความรู้ที่ 1รู้จักโฟโต้ชอป
ใบความรู้ที่ 1รู้จักโฟโต้ชอปใบความรู้ที่ 1รู้จักโฟโต้ชอป
ใบความรู้ที่ 1รู้จักโฟโต้ชอป
 
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
 
Lesson2
Lesson2Lesson2
Lesson2
 
การใช้โปรแกรม Paint
การใช้โปรแกรม Paintการใช้โปรแกรม Paint
การใช้โปรแกรม Paint
 
How to sai
How to saiHow to sai
How to sai
 
K5
K5K5
K5
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
K5
K5K5
K5
 
Lesson 7 การใช้เครื่องมือวาดภาพ
Lesson 7 การใช้เครื่องมือวาดภาพLesson 7 การใช้เครื่องมือวาดภาพ
Lesson 7 การใช้เครื่องมือวาดภาพ
 
โครงงานประเภท5
โครงงานประเภท5โครงงานประเภท5
โครงงานประเภท5
 
ใบงานที่ 5 โครงงานพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานพัฒนาเครื่องมือใบงานที่ 5 โครงงานพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานพัฒนาเครื่องมือ
 
ใบงานที่5
ใบงานที่5ใบงานที่5
ใบงานที่5
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 

More from krunueng1

ใบความรู้ที่10 การสร้างและประยุกต์ใช้แมโคร
ใบความรู้ที่10 การสร้างและประยุกต์ใช้แมโครใบความรู้ที่10 การสร้างและประยุกต์ใช้แมโคร
ใบความรู้ที่10 การสร้างและประยุกต์ใช้แมโครkrunueng1
 
ใบความรู้ที่8 การตกแต่งฟอร์ม (Form) และรายงาน (Report)
ใบความรู้ที่8 การตกแต่งฟอร์ม (Form) และรายงาน (Report)ใบความรู้ที่8 การตกแต่งฟอร์ม (Form) และรายงาน (Report)
ใบความรู้ที่8 การตกแต่งฟอร์ม (Form) และรายงาน (Report)krunueng1
 
ใบความรู้ที่ 7 การสร้างรายงาน (Report)
ใบความรู้ที่ 7 การสร้างรายงาน (Report)ใบความรู้ที่ 7 การสร้างรายงาน (Report)
ใบความรู้ที่ 7 การสร้างรายงาน (Report)krunueng1
 
ใบความรู้ที่ 6 การสร้างแบบฟอร์ม (Form)อย่างง่าย
ใบความรู้ที่ 6 การสร้างแบบฟอร์ม (Form)อย่างง่ายใบความรู้ที่ 6 การสร้างแบบฟอร์ม (Form)อย่างง่าย
ใบความรู้ที่ 6 การสร้างแบบฟอร์ม (Form)อย่างง่ายkrunueng1
 
ใบความรู้ที่ 6 การสร้าง Query เพื่อคัดเลือกข้อมูล
ใบความรู้ที่ 6 การสร้าง Query เพื่อคัดเลือกข้อมูลใบความรู้ที่ 6 การสร้าง Query เพื่อคัดเลือกข้อมูล
ใบความรู้ที่ 6 การสร้าง Query เพื่อคัดเลือกข้อมูลkrunueng1
 
ใบความรู้ที่5 ตาราง Table
ใบความรู้ที่5 ตาราง  Tableใบความรู้ที่5 ตาราง  Table
ใบความรู้ที่5 ตาราง Tablekrunueng1
 
ใบความรู้ที่5 ตาราง Table
ใบความรู้ที่5 ตาราง  Tableใบความรู้ที่5 ตาราง  Table
ใบความรู้ที่5 ตาราง Tablekrunueng1
 
แนะนำการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Microsoft Access 2010
แนะนำการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Microsoft Access 2010แนะนำการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Microsoft Access 2010
แนะนำการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Microsoft Access 2010krunueng1
 

More from krunueng1 (20)

ใบความรู้ที่10 การสร้างและประยุกต์ใช้แมโคร
ใบความรู้ที่10 การสร้างและประยุกต์ใช้แมโครใบความรู้ที่10 การสร้างและประยุกต์ใช้แมโคร
ใบความรู้ที่10 การสร้างและประยุกต์ใช้แมโคร
 
ใบความรู้ที่8 การตกแต่งฟอร์ม (Form) และรายงาน (Report)
ใบความรู้ที่8 การตกแต่งฟอร์ม (Form) และรายงาน (Report)ใบความรู้ที่8 การตกแต่งฟอร์ม (Form) และรายงาน (Report)
ใบความรู้ที่8 การตกแต่งฟอร์ม (Form) และรายงาน (Report)
 
ใบความรู้ที่ 7 การสร้างรายงาน (Report)
ใบความรู้ที่ 7 การสร้างรายงาน (Report)ใบความรู้ที่ 7 การสร้างรายงาน (Report)
ใบความรู้ที่ 7 การสร้างรายงาน (Report)
 
ใบความรู้ที่ 6 การสร้างแบบฟอร์ม (Form)อย่างง่าย
ใบความรู้ที่ 6 การสร้างแบบฟอร์ม (Form)อย่างง่ายใบความรู้ที่ 6 การสร้างแบบฟอร์ม (Form)อย่างง่าย
ใบความรู้ที่ 6 การสร้างแบบฟอร์ม (Form)อย่างง่าย
 
ใบความรู้ที่ 6 การสร้าง Query เพื่อคัดเลือกข้อมูล
ใบความรู้ที่ 6 การสร้าง Query เพื่อคัดเลือกข้อมูลใบความรู้ที่ 6 การสร้าง Query เพื่อคัดเลือกข้อมูล
ใบความรู้ที่ 6 การสร้าง Query เพื่อคัดเลือกข้อมูล
 
ใบความรู้ที่5 ตาราง Table
ใบความรู้ที่5 ตาราง  Tableใบความรู้ที่5 ตาราง  Table
ใบความรู้ที่5 ตาราง Table
 
ใบความรู้ที่5 ตาราง Table
ใบความรู้ที่5 ตาราง  Tableใบความรู้ที่5 ตาราง  Table
ใบความรู้ที่5 ตาราง Table
 
แนะนำการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Microsoft Access 2010
แนะนำการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Microsoft Access 2010แนะนำการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Microsoft Access 2010
แนะนำการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Microsoft Access 2010
 
Lesson8
Lesson8Lesson8
Lesson8
 
Lesson7
Lesson7Lesson7
Lesson7
 
Lesson5
Lesson5Lesson5
Lesson5
 
Lesson4
Lesson4Lesson4
Lesson4
 
Lesson3
Lesson3Lesson3
Lesson3
 
Lesson9
Lesson9Lesson9
Lesson9
 
Lesson8
Lesson8Lesson8
Lesson8
 
Lesson7
Lesson7Lesson7
Lesson7
 
Lesson6
Lesson6Lesson6
Lesson6
 
Lesson5
Lesson5Lesson5
Lesson5
 
Lesson6
Lesson6Lesson6
Lesson6
 
Lesson4
Lesson4Lesson4
Lesson4
 

Lesson1

  • 1. ทาความรู้จักโปรแกรม Illustrator Illustrator เป็นโปรแกรมที่ทางานด้านกราฟิกตัวหนึ่ง ซึ่งเน้นการสร้างชิ้นงานจากการวาดเป็นหลัก ซึ่งเป็นที่นิยมสาหรับนักออกแบบทั้งหลายที่นาไปใช้ในงานด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นงานสิ่งพิมพ์ , เสื้อผ้า , เว็บเพจ , ออกแบบฉลากและผลิตภัณฑ์ หรือ งานโฆษณาต่างๆ ซึ่งจะเห็นว่าความสามารถของโปรแกรม Illustrator นั้น เปรียบเหมือนกับผ้าใบผืนใหญ่ที่ใช้วาดภาพ โดยที่โปรแกรมจะเตรียมอุปกรณ์ต่าง ๆ ไว้ให้ ไม่ว่าจะเป็นดินสอสี , แปรงพู่กัน , ไม้บรรทัด , ยางลบ และ อุปกรณ์อื่น ๆ ไว้ให้เรียบร้อย จากนั้นก็ขึ้นอยู่กับ จินตนาการในการออกแบบ และการวาดภาพของเราเองที่จะขีดเขียน หรือระบายภาพต่างๆออกมา จุดเด่นของโปรแกรม Illustrator CS5 ภาพที่ได้จากโปรแกรมจะเป็นกราฟิกประเภทเวคเตอร์ที่มีลักษณะเป็นลายเส้น ภาพที่ได้จึงมีความ คมชัด ไฟล์ที่ได้จากการทางานโปรแกรม Illustrator สามารถใช้งานร่วมกับโปรแกรมกราฟิกอื่น ๆ ได้เช่น InDesign , Photoshop , Flash เป็นต้น สาหรับเวอร์ชั่น CS5 นี้ได้มีการพัฒนาความสามารถในหลายๆส่วน ไม่ว่าจะเป็นการสร้างอาร์ตบอร์ดหลายๆแผ่นในไฟล์เดียวกัน , การไล่โทนสีเกรเดียนท์แบบโปร่งใส , เครื่องมือ Blob Brush ที่ช่วยให้วาดรูปทรงอิสระได้อย่างง่ายๆ , การปรับแต่งสี , เส้นและเอฟเฟ็คต์ต่างๆที่ทา ได้บนพาเนล Appearance ที่สะดวกขึ้น และอื่นๆอีกมากมาย ซึ่งจะได้ศึกษาต่อในบทต่อๆไป รู้จักกับประเภทไฟล์กราฟิก งานกราฟิกที่ใช้ในคอมพิวเตอร์จะถูกแบ่งประเภทไฟล์ภาพตามการสร้างเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ ด้วยกัน คือภาพแบบที่เรียกว่า Vector Graphics และภาพ Bitmap Images ซึ่งข้อแตกต่างระหว่างไฟล์ภาพทั้ง สองประเภทจะมีผลตั้งแต่การสร้าง , การแก้ไข , การนาเข้าไฟล์ภาพ (Import) และการนาภาพที่สร้างจาก โปรแกรมไปใช้กับโปรแกรมอื่น ๆ (Export) ความสามารถในการปรับแต่งเอฟเฟ็คต์ หรือลูกเล่นของไฟล์ กราฟิกแต่ละประเภทก็ต่างกันออกไป บางคาสั่งสามารถใช้ได้กับไฟล์ประเภทเวคเตอร์หรือบางคาสั่ง สามารถใช้ได้เฉพาะไฟล์ประเภทบิทแมพ ซึ่งเราจะมาทาความรู้จักกับไฟล์กราฟิกทั้ง 2 ประเภท ดังนี้ เริ่มต้นใช้งานโปรแกรม Illustrator CS5
  • 2. 2 Vector Graphics ภาพแบบเวคเตอร์ เป็นภาพที่สร้างด้วยส่วนประกอบของเส้นในลักษณะต่าง ๆ และคุณสมบัติ เกี่ยวกับสีของเส้นนั้น ๆ ซึ่งสร้างจากการคานวณทางคณิตศาสตร์ เช่น ภาพดอกไม้ ก็จะถูกสร้างด้วยจุดของ เส้นโค้ง และเส้นตรงหลาย ๆ จุด Bitmap Images ภาพแบบบิทแมพ หรืออาจจะเรียกว่าภาพแบบราสเตอร์ (Raster) ก็ได้ เป็นภาพที่เกิดจากจุดสีที่ เรียกว่าพิกเซล (pixels) ซึ่งเรียกต่อกันเป็นรูปร่างบนพื้นที่ ที่มีลักษณะเป็นตาราง (กริด) แต่ละพิกเซลจะมีค่า ของตาแหน่งและค่าสีของตัวเอง ภาพหนึ่งภาพจะประกอบด้วยพิกเซลหลาย ๆ พิกเซลรวมกัน ภาพ Vector ภาพ Bitmap
  • 3. 3 การเรียกใช้งานโปรแกรม Adobe Illustrator CS5 เมื่อเปิดโปรแกรมแล้วจะปรากฏหน้าต่างต้อนรับ (Welcome Screen) ของโปรแกรมขึ้นมา ดังนี้ คลิกเมาส์ที่ปุ่ม Start เลือก All Programs  คลิกเลือกที่ Adobe Illustrator CS5 คลิกเลือกโฟลเดอร์ Adobe Master Collection CS5  เลือกรูปแบบการทางาน โดย Open a Recent Item : ส่วนของไฟล์ ที่เคยเปิดใช้งานล่าสุดไล่ลาดับลงไป Create New : ส่วนของการสร้างไฟล์ งานใหม่ขึ้นมา  หากไม่ต้องการให้หน้านี้เปิดขึ้นมาอีกในครั้งต่อไป ให้คลิก  ในกรอบสี่เหลี่ยม  ในกรณีที่ไม่ต้องการใช้งานหน้าต่างนี้ ให้คลิกที่ เพื่อปิดหน้าต่างนี้ไป
  • 4. 4 ส่วนประกอบของหน้าต่างโปรแกรม Adobe Illustrator CS5 โดยส่วนประกอบหลักๆในการทางานมีดังนี้ เมนูบาร์ (Menu Bar) เมนูบาร์ จะประกอบด้วยเมนูคาสั่งที่ใช้จัดการกับไฟล์, ทางานกับภาพและปรับออปชั่นต่างๆ โดย เมนูเหล่านี้มีเมนูย่อยๆให้เลือกใช้งานได้อีก คอนโทรลพาเนล (Control Panel) เป็นส่วนที่ใช้ในการปรับแต่งการทางานของเครื่องมือต่างๆ ซึ่งรายละเอียดในคอนโทรลพาเนลจะ เปลี่ยนไปตามการเลือกเครื่องมือ หรือ เลือกออบเจ็คในขณะนั้น เช่น หากเลือกออบเจ็คทั่วไปคอนโทรล พาเนลจะแสดงออปชั่นการกาหนดสี , ขนาดของพื้นที่และเส้น แต่ถ้าหากเลือกออบเจ็คที่เป็นตัวอักษรก็จะ แสดงออปชั่นที่เกี่ยวกับการกาหนดรูปแบบตัวอักษร เป็นต้น Toolbox Status Bar พื้นที่ทางานหรืออาร์ตบอร์ด Manu Bar Control Panel เปิด Adobe Bridge พื้นเตรียมงาน (Scratch Area) พาเนลต่างๆ การจัดเรียงอาร์ตบอร์ด Title Bar
  • 5. 5 กล่องเครื่องมือ (Toolbox) กล่องเครื่องมือ ประกอบด้วยเครื่องมือต่าง ๆ ที่จาเป็นต่อการทางานและมีจานวนมาก ดังนั้นจึงมีการ รวมเครื่องมือบางอย่างไว้ในปุ่มเดียวกันเป็นกลุ่มๆ ซึ่งจะมีรูป อยู่ที่มุมขวาล่างของปุ่มเครื่องมือ เพื่อแสดง ว่ายังมีเครื่องมืออื่นซ่อนอยู่ด้วย ซึ่งถ้าหากต้องการเลือกเครื่องมือที่ซ่อนอยู่ในกลุ่มนั้น ให้คลิกเมาส์ที่ปุ่ม เครื่องมือนั้นค้างไว้แล้วลากเมาส์ไปชี้ที่เครื่องมืออื่นๆที่ต้องการ ดังนี้ นอกจากนี้ยังสามารถดึงเครื่องมือที่ซ่อนอยู่ออกมาเป็นแถบกลุ่มเครื่องมือใหม่ก็ได้ ดังนี้  คลิกเมาส์ค้างไว้  เลื่อนเมาส์มาชี้ที่เครื่องมือ อื่นที่ต้องการ แล้วปล่อยเมาส์  คลิกเมาส์ค้างไว้  เลื่อนเมาส์มาชี้ที่รูปลูกศร (Tearoff) แล้วปล่อยเมาส์  โปรแกรมจะดึงเครื่องมือทั้งหมดออกมาให้  คลิกในกรณีที่ต้องการปิดแถบเครื่องมือนั้นๆ
  • 6. 6 โดยเครื่องมือต่างๆใน Toolbox มีดังนี้ พาเนลต่าง ๆ พาเนล (Panel) คือ กรอบหน้าต่างย่อยๆ ที่มีคาสั่งและเครื่องมือในการจัดการ , ตรวจสอบค่า และ ปรับแต่งองค์ประกอบต่างๆของออบเจ็ค ซึ่งเครื่องมือเหล่านี้จะถูกจัดแบ่งไว้เป็นหมวดหมู่ เช่น พาเนล Color ใช้กาหนดสี , พาเนล Stroke ใช้ปรับขนาดและรูปแบบเส้น , พาเนล Align จัดตาแหน่งวัตถุ เป็นต้น บางพาเนลที่มักใช้งานร่วมกันจะถูกจัดไว้ในกลุ่มเดียวกัน เช่น พาเนล Color และ พาเนล Color Guid แต่ พาเนลนั้นจะไม่ถูกเปิดขึ้นมาให้ทุกๆพาเนล ดังนั้นหากต้องการเรียกใช้งานพาเนลที่ไม่ได้ถูกเปิดอยู่ จะต้องทาการเปิดพาเนลขึ้นมาใช้งานเอง ซึ่งวิธีการใช้งานพาเนลมีรายละเอียดดังนี้ ปรับวินโดว์เป็นโหมดเต็มจอแบบมีเมนูบาร์ Direct Selection Tool Lasso Tool Type Tool Rectangle Tool Pencil Tool Scale Tool Free Transform Tool Eraser Tool Gradient Tool Blend Tool Slice Tool Zoom Tool เลือกใช้สีแบบไล่โทน ไม่ใช้สีใด ๆ สีเส้น (Stroke) สลับสีพื้นและเส้น Column Graph Tool Perspective Tool Blob Brush Tool Line Segment Tool Shape Builder Tool Selection Tool ฮซซซฮ: VMagic Wand Tool Pen Tool Paintbrush Tool Rotate Tool Width Tool Mesh Tool Eyedropper Tool Artboard Tool Hand Tool สีพื้น (Fill) ปรับสีพื้นและเส้นเป็นค่าเริ่มต้น (ขาว/ดา) เลือกใช้สีแบบทึบ Symbol Sprayer Tool เลือกรูปแบบการวาด
  • 7. 7 วิธีการเรียกเปิดพาเนลต่างๆ วิธีการเรียกใช้คาสั่งของพาเนล ในแต่ละพาเนลจะมีคาสั่งที่ใช้ปรับแต่งการทางานที่ต่างกันไป ซึ่งสามารถคลิกปุ่ม ที่มุมบน ขวามือเพื่อเลือกใช้งานแต่ละคาสั่งได้ ดังนี้  คลิกเมนู Window  เลื่อนเมาส์มาคลิกที่ชื่อ พาเนลที่ต้องการเปิดใช้งาน พาเนลที่ไม่ได้เปิดอยู่ พาเนลที่ถูกเปิดอยู่ ข้อสังเกต พาเนลที่เปิดอยู่นั้น ที่หน้าชื่อพาเนลจะมีเครื่องหมาย  อยู่ส่วนพาเนล ใดที่ไม่มีเครื่องหมาย  อยู่ด้านหน้า แสดงว่าพาเนลนั้นไม่ได้เปิดอยู่นั่นเอง  คลิกเพื่อเปิดรายการคาสั่ง  คาสั่งต่างๆของพาเนลนั้นๆ
  • 8. 8 วิธีการย่อ/ขยายพาเนล โดยปกติพาเนลจะถูกย่อเอาไว้ และหากต้องการเขยายพาเนลออกมาเพื่อความสะดวกในการ เลือกใช้เครื่องมือต่างๆก็จะต้องขยายพาเนลออกมา หรือถ้าหากต้องการเพิ่มพื้นที่ในการทางานก็สามารถย่อ พาเนลลงให้กลับไปแสดงเป็นรูปไอคอนได้ และเมื่อต้องการใช้งานพาเนลใดก็ให้เปิดขึ้นมาทางานเฉพาะ พาเนลนั้นๆ ดังนี้ Tip… เมื่อกดปุ่ม จะเป็นการซ่อน/แสดง คอนโทรลพาเนล , ทูลบ็อกซ์ และพาเนล หรือ เมื่อกดปุ่ม + จะเป็นการซ่อน/แสดงเฉพาะพาเนล Tab Shift Tab  คลิกที่ (Expand Panels) เพื่อขยายพาเนลออกมา  คลิกที่ (Collapse to Icons) เพื่อย่อพาเนลลงไป
  • 9. 9 การจัดการเกี่ยวกับไฟล์ การสร้างไฟล์ใหม่ วิธีที่ 1 คลิกที่รูปแบบ Print Document ในหน้า Welcome Screen เพื่อสร้างไฟล์สาหรับงานพิมพ์ วิธีที่ 2 เลือกที่เมนู File แล้วเลือกคาสั่ง New จากนั้นจะปรากฏไดอะล็อกซ์บล็อกสาหรับกาหนดรายละเอียดของอาร์ตบอร์ดขึ้นมาให้ โดย รูปแบบการสร้างอาร์ตบอร์ดมีอยู่ 2 รูป แบบด้วยกัน คือ 1. การสร้างอาร์ตบอร์ดแบบหน้าเดียว มีวิธีดังนี้  ตั้งชื่อไฟล์  เลือกโปรไฟล์มาตรฐาน  เลือกขนาดอาร์ตบอร์ดที่ ต้องการ หรืออาจกาหนดขนาด ความกว้าง และ ความสูงเองก็ได้  เลือกการวางแนวอาร์ตบอร์ดระหว่างแนวตั้ง และ แนวนอน  เมื่อกาหนดค่าต่างๆเสร็จแล้วคลิก OK  โปรแกรมจะสร้าง อาร์ตบอร์ดขึ้นมาให้
  • 10. 10 2. การสร้างอาร์ตบอร์ดแบบหลายอาร์ตบอร์ด มีวิธีดังนี้  ตั้งชื่อไฟล์  กาหนดจานวนอาร์ตบอร์ด  เลือกขนาดอาร์ตบอร์ดที่ ต้องการ หรืออาจกาหนดขนาด ความกว้าง และ ความสูงเองก็ได้  เลือกการวางแนวอาร์ตบอร์ดระหว่างแนวตั้ง และ แนวนอน  กาหนดการ จัดเรียงอาร์ตบอร์ด  โปรแกรมจะสร้างอาร์ตบอร์ดขึ้นมาให้ตามจานวนที่กาหนด  กาหนดระยะห่างระหว่าง อาร์ตบอร์ดแต่ละหน้า  กาหนดจานวน แถว หรือ คอลัมน์  คลิก OK
  • 11. 11 การจัดการอาร์ตบอร์ดด้วยพาเนล Artboards พาเนล Artboards นี้เป็นคุณสมบัติใหม่ในเวอร์ชั่น CS5 ที่จะช่วยให้สร้างและจัดการอาร์ตบอร์ดได้ สะดวกมากขึ้น ดังนี้ การเพิ่มอาร์ตบอร์ด ในกรณีที่ต้องการเพิ่มอาร์ตบอร์ดใหม่ขึ้นมาในไฟล์เดิมสามารถทาได้ดังนี้ ใช้เลื่อนลาดับชั้นอาร์ตบอร์ด สร้างอาร์ตบอร์ดใหม่ คัดลอกอาร์ตบอร์ด ลบอาร์ตบอร์ด ลบอาร์ตบอร์ดที่ไม่มีชิ้นงาน แปลงออบเจ็คเป็นอาร์ตบอร์ด กาหนดออปชั่นของอาร์ตบอร์ด จัดตาแหน่งอาร์ตบอร์ด  คลิกเครื่องมือ Artboard  คลิกปุ่ม New Artboard  คลิกวาง Artboard ในตาแหน่งที่ต้องการ
  • 12. 12  คลิกเลือกเครื่องมืออื่นๆ เพื่อเป็นการเสร็จสิ้นการสร้างอารต์บอร์ด  จะได้อารต์บอร์ดใหม่ขึ้นมาอีก 1 อาร์ตบอร์ด Note ในขั้นตอนที่ 2 ของการสร้างอาร์ตบอร์ดนั้น ไม่จาเป็นต้องคลิกที่ปุ่ม New Artboard ก็ได้ แต่สามารถคลิกลากเพื่อสร้างอาร์ตบอร์ดใหม่ได้เช่นกัน ดังรูป  คลิกลากให้ได้ขนาดที่ต้องการแล้วปล่อยเมาส์
  • 13. 13 การเปลี่ยนโหมดสี หลังจากที่ได้สร้างไฟล์ไปแล้วแต่ต้องการเปลี่ยนโหมดสีก็สามารถทาได้ แต่การเปลี่ยนโหมดสีอาจ ทาให้สีต่างๆที่ใช้ในอาร์ตเวิร์คผิดเพี้ยนไป ดังนั้นจึงควรกาหนดโหมดสีให้ถูกต้องตั้งแต่เริ่มสร้างงาน อย่างไรก็ตามการเปลี่ยนโหมดสีสามารถทาได้ดังนี้  คลิกเมนู File  เลื่อนเมาส์มาที่คาสั่ง Document Color Mode  คลิกเลือกโหมดสีที่ต้องการ ข้อสังเกต โหมดสีที่เลือกใช้งานอยู่จะมีเครื่องหมาย  อยู่ด้านหน้าชื่อโหมดสีนั้น
  • 14. 14 การบันทึกไฟล์ ขณะที่กาลังทางาน หรือ หลังจากที่ทางานเสร็จเรียบร้อยแล้ว จะต้องบันทึกอาร์ตเวิร์คเก็บไว้เป็น ไฟล์ เพื่อให้สามารถนากลับมาแก้ไข หรือ ใช้งานต่อไปในภายหลังได้ โดยมีขั้นตอนการบันทึกดังนี้  คลิกเมนู File  เลือกคาสั่ง Save  เลือกตาแหน่งที่เก็บไฟล์  เลือกประเภท หรือ ฟอร์แมตของไฟล์ โดยปกติไฟล์จะเป็น *. AI  ตั้งชื่อไฟล์  คลิกที่ปุ่ม Save
  • 15. 15 จากนั้นโปรแกรมจะแสดงหน้าต่างการกาหนดออปชั่นของไฟล์ที่จะบันทึก ดังนี้ กรณีที่ต้องการบันทึกเป็นเวอร์ชั่นเก่า ให้คลิกเปลี่ยนเป็นเวอร์ชั่นที่ต้องการ ให้ไฟล์มีคุณสมบัติแบบ PDF บีบให้ไฟล์มีขนาดเล็กลง บันทึกข้อมูลเกี่ยวกับระบบสีที่ใช้กับไฟล์  กาหนดค่าต่างๆตามต้องการ  คลิกที่ปุ่ม OK เลือกเพื่อฝังไฟล์ภาพบิทแมพไปด้วย บันทึกโดยแยกแต่ละอาร์ตบอร์ดเป็นคนละไฟล์ Note นอกจากการใช้คาสั่ง Save เพื่อบันทึกไฟล์แล้ว ยังสามารถใช้คาสั่งอื่นๆได้อีก ดังนี้  File > Save As ใช้บันทึกไฟล์เป็นชื่ออื่น หรือ ฟอร์แมตอื่นๆ หลังจากใช้คาสั่งแล้วจะเป็นการ ทางานกับไฟล์ใหม่ทันที  File > Save a Copy ใช้บันทึกไฟล์เป็นชื่ออื่น หรือ ฟอร์แมตอื่นๆ แต่หลังจากใช้คาสั่งแล้ว จะเป็นการทางานกับไฟล์ต่อ  File > Save as Template ใช้บันทึกอาร์ตเวิร์คให้เป็นเทมเพลต  File > Save for Web & Devices ใช้บันทึกอาร์ตเวิร์คให้เป็นเว็บเพจ หรือ เป็นไฟล์รูปภาพ  File > Save Selected Slices ใช้บันทึกเป็นภาพที่ได้จากการใช้เครื่องมือ Slice Selection เฉพาะส่วนที่เลือกไว้
  • 16. 16 การเปิดไฟล์ หากต้องการเปิดไฟล์เก่าที่ได้บันทึกไว้แล้วขึ้นมาปรับปรุงหรือแก้ไขสามารถทาได้ดังนี้  คลิกเมนู File  คลิกคาสั่ง Open  เลือกตาแหน่งที่เก็บไฟล์  คลิกที่ปุ่ม Open  คลิกที่ไฟล์ที่ต้องการ แสดงภาพตัวอย่างของไฟล์ที่เลือก
  • 17. 17 การปิดไฟล์ เมื่อจบการทางานแล้ว และต้องการปิดไฟล์ที่กาลังถูกเปิดอยู่สามารถทาได้โดย  คลิกเมนู File  คลิกคาสั่ง Close Note นอกจากการใช้คาสั่ง Close เพื่อปิดไฟล์แล้ว ยังสามารถคลิกที่ปุ่ม ของไฟล์นั้นได้ทันที ดังนี้ คลิกเพื่อปิดไฟล์
  • 18. 18 การนาไฟล์ภาพบิทแมพมาใช้งาน Illustrator เป็นโปรแกรมที่ทางานกับภาพแบบเวคเตอร์เป็นหลัก แต่ก็สามารถนาภาพแบบบิทแมพ เข้ามาใช้งานร่วมกับภาพเวคเตอร์ได้ด้วยเช่นกัน ซึ่งสามารถทาได้ดังนี้  คลิกเมนู File  เลื่อนเมาส์มาคลิกที่คาสั่ง Place  เลือกตาแหน่งที่เก็บภาพ  เลือกภาพ  กาหนดคุณสมบัติต่างๆโดย Link คือ เชื่อมต่อกับไฟล์ภาพต้นฉบับ Template คือ กาหนดให้ภาพวางเป็นเทมเพลตเลเยอร์ Replace คือ วางภาพแทนที่ภาพเดิมที่ได้เลือกไว้  คลิกปุ่ม Place  ลักษณะของภาพบิทแมพที่วางบนอาร์ตบอร์ด
  • 19. 19 การพิมพ์ภาพ ในการพิมพ์ภาพนั้นสามารถทาได้โดยเลือกรูปแบบของการพิมพ์อาร์ตเวิร์คอาร์ตเวิร์คจะต้องวางอยู่ ในพื้นที่ของการพิมพ์ (Page Tiling) ซึ่งขอบเขตนี้จะแสดงเป็นเส้นประสีดาโดยทาตามขั้นตอนดังนี้  คลิกเมนู File  กาหนดข้อมูลเกี่ยวกับเครื่องพิมพ์ เลือกหัวข้อในการพิมพ์  กาหนดคุณสมบัติการพิมพ์ แสดงภาพตัวอย่าง  คลิกคาสั่ง Print  คลิกคาสั่ง Print
  • 20. 20 มุมมองวินโดว์โปรแกรม เราสามารถกาหนดมุมมองของวินโดว์โปรแกรมเพื่อให้เหมาะสม และสะดวกต่อการทางาน โดย คลิกกลุ่มเครื่องมือ Screen Mode จากทูลบ็อกซ์ เพื่อสลับไปยังมุมมองต่างๆ ซึ่งมีให้เลือกดังนี้ Normal Screen Mode จะแสดงส่วนประกอบทุกอย่างได้ทั้งหมดเหมือนกับขณะที่เปิด โปรแกรมครั้งแรก โดยทูลบ็อกซ์, พาเนลและหน้าต่างไฟล์ยังยึดติดกับหน้าต่างโปรแกรม Full Screen Mode with Menu Bar จะแสดงวินโดว์เต็มหน้าจอ โดยตัดส่วนที่เป็น ไตเติลบาร์ของโปรแกรมและทาสก์บาร์ของ Windows ออกเพื่อเพิ่มพื้นที่ทางานมากขึ้น Full Screen Mode จะแสดงส่วนประกอบเหมือน Full Screen Mode with Menu Bar และจะไม่แสดงส่วนของเมนูบาร์ด้วย เพื่อให้มีพื้นที่ทางานมากที่สุด คลิกที่ไอคอนแล้วเลือก มุมมองที่ต้องการ Tip… การสลับไปยังมุมมองต่างๆอย่างรวดเร็ว ทาได้โดยการกดคีย์ ที่แป้นพิมพ์F
  • 21. 21 ย่อ / ขยายการมอง ในการวาดส่วนประกอบของภาพที่มีขนาดเล็ก เช่น ขนตาหรือขนคิ้วนั้นจาเป็นต้องขยาย การมองภาพ (Zoom in)เพื่อให้วาดรายละเอียดและปรับแต่งส่วนต่างๆ ได้ง่ายขึ้น การย่อ/ขยายหรือการซูม สามารถทาได้หลายวิธีดังนี้ ย่อ / ขยายด้วยเครื่องมือ Zoom  คลิกเครื่องมือ Zoom  คลิกลากบริเวณที่จะซูม  ผลลัพธ์ที่ได้
  • 22. 22 ย่อ/ขยายด้วยพาเนล Navigator การซูมด้วยพาเนล Navigator จะช่วยให้ได้อัตราการซูมที่แน่นอน และสามารถเลื่อนดูส่วนที่ ต้องการได้โดยจะแสดงภาพตัวอย่างและมีกรอบสีแดงบอกให้รู้ว่าขณะนั้นส่วนใดของภาพที่กาลังถูกซูมอยู่ ซึ่งหากพาเนล Navigator ไม่ถูกเปิดอยู่ก็ให้ไปเปิดพาเนลนี้ขึ้นมาก่อน และเมื่อเปิดขึ้นมาแล้ววิธีการซูมจาก พาเนล Navigator สามารถทาได้หลายวิธี โดยมีรายละเอียดดังนี้ วิธีการเปิดพาเนล Navigator วิธีการซูมด้วยพาเนล Navigator กาหนดค่า เปอร์เซ็นต์ ที่ต้องการ คลิกย่อ คลิกขยาย คลิกลากสไลเดอร์ เพื่อย่อ/ขยาย คลิกลากภายในกรอบเพื่อเลื่อนตาแหน่งการซูม คลิกที่เมนู Window  เลื่อนเมาส์มาคลิกที่ Navigator Tip… การย่อ/ขยายภาพอย่างรวดเร็วสามารถทาได้โดยการใช้คีย์ลัดบนแป้นพิมพ์ ดังนี้ + เพื่อขยาย + เพื่อให้อาร์ตบอร์ดพอดีหน้าต่าง + เพื่อย่อ + เพื่อให้แสดงภาพขนาดเท่าจริง (100%) Ctrl + Ctrl 0 Ctrl - Ctrl 1
  • 23. 23 เลื่อนดูภาพด้วยเครื่องมือ Hand ในกรณีที่ซูมขยายจนภาพมีขนาดใหญ่เกินกว่าขนาดหน้าต่าง ก็จะทาให้บางส่วนของภาพถูกซ่อนไว้ ซึ่งเราสามารถใช้เครื่องมือ Hand ในการจับภาพแล้วเลื่อนดูภาพในส่วนอื่นได้ โดยมีขั้นตอนดังนี้  คลิกเครื่องมือ Hand บน Tool Box  คลิกเมาส์แล้วลากไปยังตาแหน่งอื่นเพื่อดู บริเวณภาพที่ต้องการ Tip… ขณะที่กาลังใช้เครื่องมืออื่นๆ อยู่ เราสามารถสลับไปใช้เครื่องมือ Hand ชั่วคราวได้ โดยกดปุ่ม ค้างไว้ เมาส์พอยเตอร์จะเปลี่ยนเป็นรูป เพื่อให้เลื่อนดูส่วนต่างๆ ของ ภาพได้ จากนั้นเมื่อปล่อยปุ่ม เมาส์พอยเตอร์ก็จะเปลี่ยนกลับไปเป็นเครื่องมือเดิม Space Space
  • 24. 24 แถบไม้บรรทัด (Ruler) ประโยชน์ของไม้บรรทัด คือ ทาให้สามารถวัดและกาหนดตาแหน่งของวัตถุต่างๆ ได้แม่นยาขึ้น เรา สามารถแสดงแถบไม้บรรทัดได้โดย ซึ่งเลื่อนเมาส์ไปในตาแหน่งต่างๆ จะเห็นว่ามีเส้นประปรากฏบนไม้บรรทัดทั้งแนวตั้งและ แนวนอนเคลื่อนที่ไปตามตาแหน่งของเมาส์ ดังนั้นจึงสามารถดูตาแหน่งที่เมาส์ชี้อยู่ได้จากแถบไม้บรรทัด นอกจากนี้ยังสามารถดูตาแหน่งวัตถุและตาแหน่งของเมาส์ได้จากพาเนล Info โดยสามารถเรียก พาเนล Info ได้โดยเลือกเมนูคาสั่ง Window > Info จะเป็นการเปิดพาเนลขึ้นมา ดังนี้ แสดงตาแหน่งของเมาส์ในค่าแกน X และแกน Y บนไม้บรรทัด  คลิกที่เมนู View  เลื่อนมาที่ Rulers แล้วคลิกที่คาสั่ง Show Rulers
  • 25. 25 การเปลี่ยนหน่วยวัดของไม้บรรทัด เมื่อโปรแกรมแสดงแถบไม้บรรทัดแล้ว ก็สามารถเปลี่ยนหน่วยวัดบนไม้บรรทัดได้ ดังนี้ ตัวอย่าง  คลิกขวาที่แถบไม้บรรทัดจะปรากฏกรอบตัวเลือกหน่วยวัด  คลิกเลือกหน่วยวัดที่ต้องการ หน่วยเป็น Inches หน่วยเป็น Pixels
  • 26. 26 เส้น Grid, Guide การใช้เส้น Grid เส้นกริด (Grid) คือ ตารางสมมติที่แสดงขึ้นเพื่อช่วยในการวาดและการจัดวางวัตถุได้อย่างแม่นยา โดยมีลักษณะเป็นตารางสีเทาที่มีระยะห่างแต่ละช่วงเท่าๆ กันตามหน่วยวัดของไม้บรรทัด โดยมี รายละเอียดดังนี้ 1. การแสดงเส้นกริดทาได้โดยคลิกเลือกเมนูคาสั่งView เลือกคาสั่ง Show Grid 2. หากต้องการยกเลิกการแสดงเส้นกริดเลือกเมนูคาสั่ง View เลือกคาสั่ง Hide Grid 3. การกาหนดให้วัตถุอยู่ติดกับเส้นกริดโดยอัตโนมัติเมื่อทาการย้ายตาแหน่งของวัตถุนั้นคลิกเลือก เมนูคาสั่ง View เลือกคาสั่ง Snap to Grid และเมื่อต้องการยกเลิกการให้วัตถุอยู่ติดกับเส้นกริด ให้เลือกคาสั่งเดิมอีกครั้ง เส้นกริดแสดงด้วยเส้นตารางสีเทา
  • 27. 27 การใช้เส้น Guide เส้นไกด์ (Guide) คือเส้นที่ช่วยในการกะระยะและตาแหน่งเพื่อจัดวางวัตถุเช่นเดียวกับเส้นกริด แต่ เส้นไกด์นี้สามารถสร้าง และจัดวางไปยังตาแหน่งต่างๆ ได้เอง ทั้งแนวตั้ง และแนวนอน โดยปกติแล้วจะต้อง มีการแสดงแถบไม้บรรทัดก่อนจึงจะสามารถสร้างเส้นไกด์ได้ โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1. สร้างเส้นไกด์ คลิกลากเมาส์ออกจากแถบบรรทัดตามแนวตั้งหรือแนวนอนที่ต้องการ 2. สร้างเส้นไกด์เป็นรูปทรงอิสระ นอกจากเส้นไกด์ที่เป็นเส้นตรงแล้ว ยังสามารถสร้างเส้นไกด์ เป็นรูปทรงใดๆก็ได้ โดยวาดและเลือกรูปทรงนั้น แล้วคลิกเมนู View เลื่อนเมาส์มาที่ Guides เลือกคาสั่ง Make Guides 3. ซ่อนเส้นไกด์ หากต้องการยกเลิกการแสดงเส้นไกด์ให้ใช้เมนูคาสั่ง View เลื่อนเมาส์มาที่ Guides เลือกคาสั่ง Hide Guides 4. ล็อคเส้นไกด์ เพื่อไม่ให้เส้นไกด์มรการเปลี่ยนตาแหน่ง ให้คลิกเมนู View เลื่อนเมาส์มาที่ Guides เลือกคาสั่ง Lock Guides 5. ลบเส้นไกด์ หากต้องการลบเส้นไกด์บางเส้นออก ให้ใช้เครื่องมือ คลิกเลือกเส้นไกด์ที่ ต้องการลบแล้วกดคีย์ Delete 6. ลบเส้นไกด์ทั้งหมด หากต้องการลบเส้นไกด์ทั้งหมดให้คลิกเมนู View เลื่อนเมาส์มาที่ Guides เลือกคาสั่งClear Guides เส้นไกด์ที่สร้างแล้ว  คลิกลากจากแถบไม้บรรทัดไปยังตาแหน่งที่ต้องการแล้วปล่อยเมาส์
  • 28. 28 การใช้ Smart Guide สมาร์ทไกด์ (Smart Guide) เป็นเส้นไกด์ที่ปรากฏขึ้นอัตโนมัติ ซึ่งจะอานวยความสะดวกใน การเลือก , วาดภาพ และ วางวัตถุ ซึ่งเมื่อเลื่อนเมาส์มาวางไว้เหนือวัตถุชิ้นใด ก็จะแสดงโครงร่างและ ส่วนประกอบของเส้น Path นอกจากนี้ยังบอกรายละเอียดต่างๆไม่ว่าจะเป็นองศา , จุดตัดเส้น หรือ แนวของ วัตถุ (เมื่อเทียบกับวัตถุใกล้เคียง) ทาให้การวาดมีความแม่นยามากขึ้น โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1. การแสดงสมาร์ทไกด์ทาโดย คลิกเมนู View แล้วคลิกที่คาสั่ง Smart Guides 2. การยกเลิกสมาร์ทไกด์ทาโดย คลิกเมนู View แล้วคลิกที่คาสั่ง Smart Guides ซ้าอีกครั้ง แสดงโครงร่างและจุดแองเคอร์ เมื่อเลื่อนเมาส์ไปอยู่เหนือวัตถุ แสดงองศาและสถานะของเส้น ขณะวาด หรือ ย้ายตาแหน่งวัตถุ