SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
Download to read offline
สถิติเบื ้องต้ น
คณิตศาสตร์ พื ้นฐาน 4 ค33102
     ชันมัธยมศึกษาปี ที่ 5
       ้

   โรงเรี ยนหนองซนพิทยาคม
     กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ คณิตศาสตร์ By krudaly
1.ระเบียบวิชาทางสถิติ หมายถึงข้ อใด

   ก.การรวบรวม การนาเสนอ และการวิเคราะห์ ข้อมูล
   ข.การรวบรวม การนาเสนอ และการตีความหมาย
ข้ อมูล
   ค.การรวบรวมการนาเสนอและการวิเคราะห์ หรื อ
ตีความหมายข้ อมูล
   ง.การรวบรวมการนาเสนอและการวิเคราะห์ และการ
ตีความหมายข้ อมูล
2.ในการศึกษาเกียวกับความสู งของนักศึกษาชายในมหาวิทยาลัย
                  ่
แห่ งหนึ่ง ดังนั้นนักศึกษาชายทั้งหมดของมหาวิทยาลัยแห่ งนั้น
จึงถือว่ าเป็ นอะไร
ก. ตัวอย่ าง
ข. ประชากร
ค. ข่ าวสาร
ง. พารามิเตอร์
3.ตัวแปรใดทีเ่ ป็ นตัวแปรคุณภาพ
ก.   นาหนัก
       ้
ข.   ความสู ง
ค.   จังหวัดทีเ่ กิด
ง.   จานวนนักเรียนทีตดบุหรี่
                     ่ ิ
4.ข้ อมูลเกียวกับจานวนบทในหนังสื อคณิตศาสตร์
                 ่

 ก ทะเบียน หรือ สั งเกต
ข ทะเบียน หรือ สารวจ
ค ทดลอง หรือ สารวจ
ง ทดลอง หรือ สั งเกต
ความหมายของสถิติ

ข้ อมูลสถิตหรือข้ อมูล หมายถึง ข้อเท็จจริ งของเรื่ องใดเรื่ อง
            ิ
หนึ่งที่เราสนใจจะศึกษา ซึ่ งอาจจะเป็ นตัวเลขหรื อข้อความก็
ได้
- จานวนคนที่เป็ นโรคหัวใจในแต่ละเดือน
- ปริ มาณการส่งออกข้าวของประเทศไทยในปี นี้เพิมขึ้นจากปี
                                                     ่
ที่แล้ว
ประเภทของสถิตศาสตร์ แบ่ งได้ เป็ น 2 ประเภทใหญ่ ๆ ได้ แก่
              ิ

             1. สถิตเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)
                      ิ
เป็ นสถิติที่บรรยายถึงคุณลักษณะของสิ่งที่กาลังต้ องการศึกษา ว่าด้ วย
การสรุปข้ อมูลแต่ละชุดที่เราสนใจ ค่าวัดแนวโน้ มสูสวนกลาง (ค่าเฉลี่ย
                                                    ่ ่
เลขคณิต , มัธยฐาน , ฐานนิยม) ค่าวัดการกระจายข้ อมูล ( ส่วน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน, พิสย)    ั
             2. สถิตเชิงอนุมาน (Inferential Statistics) เป็ น
                    ิ
สถิติที่ศกษาข้ อมูลที่เป็ นกลุมตัวอย่างเพียงกลุมเดียว จากข้ อมูลของ
         ึ                    ่                ่
ประชากรทังหมด ้
คาศัพท์ ท่ เกี่ยวข้ องกับ สถิติ
                      ี
              1. ประชากร (population) หมายถึง กลุมที่มีลกษณะที่เรา
                                                                 ่     ั
สนใจ หรื อกลุมที่เราต้ องการจะศึกษาหาข้ อมูลที่เกี่ยวข้ อง เปรี ยบเหมือนเอกภพสัมพัทธ์
               ่
ในเรื่ องเซต
              2. กลุ่มตัวอย่ าง (sample) หมายถึง ส่วนหนึงของกลุมประชากรที่
                                                                   ่       ่
เราสนใจ ในกรณีที่กลุมประชากรที่จะศึกษานันเป็ นกลุมขนาดใหญ่ เกินความสามารถ
                       ่                     ้         ่
หรื อความจาเป็ นที่ต้องการ หรื อเพื่อประหยัดในด้ านงบประมาณและเวลา สามารถ
ศึกษาข้ อมูลเพียงบางส่วนของกลุมประชากรได้
                                 ่
             3. ค่ าพารามิเตอร์ หมายถึง ค่าต่างๆที่คานวณมาจากกลุม            ่
ประชากร จะถือเป็ นค่าคงตัว กล่าวคือ คานวณกี่ครังๆก็จะไม่เปลี่ยนแปลง
                                                     ้
             4. ค่ าสถิต หมายถึง ค่าต่างๆที่คานวณมาจากกลุมตัวอย่าง จะเป็ นค่าที่
                                                                     ่
เปลี่ยนแปลงได้ ตจามกลุมตัวอย่างที่เลือกสุมมา จึงถือว่าเป็ นค่าตัวแปรสุม
                         ่               ่                               ่
5. ตัวแปร ในทางสถิติ หมายถึง ลักษณะบางอย่างที่เรา
สนใจ ค่าของตัวแปร อาจอยูในรูปข้ อความ หรื อตัวเลขก็ได้
                           ่
   6. ค่ าที่เป็ นไปได้ หมายถึง ค่าของตัวแปรที่อาจจะเกิดขึ ้นได้ จริ ง
   7. ค่ าจากการสังเกต หมายถึง ค่าที่เก็บรวบรวมได้ มาจริ งๆ
การจาแนกข้ อมูล

1.ข้ อมูลที่จาแนกตามลักษณะของข้ อมูล แบ่งเป็ น 2 ประเภท
1.1 ข้ อมูลเชิงปริ มาณ คือข้ อมูลที่ใช้ แทนขนาดหรื อปริ มาณวัด
ออกมาเป็ นค่าตัวเลขที่สามารถนามาใช้ เปรี ยบเทียบขนาดได้
โดยตรง
1.2 ข้ อมูลเชิงคุณภาพ คือข้ อมูลที่ไม่สามารถวัดออกมาเป็ น
ค่าตัวเลขโดยตรงได้ แต่วดออกมาในเชิงคุณภาพได้ เช่น เพศ
                         ั
ของสมาชิกในครอบครัว ซึงการวิเคราะห์ข้อมูลประเภทนี ้ ส่วน
                           ่
ใหญ่ทาโดยการนับจานวนจาแนกตามลักษณะเชิงคุณภาพ
แบ่ งประเภทข้ อมูลตามระดับการวัด สามารถแบ่ งออกได้ เป็ น 4

    1 ข้ อมูลระดับนามบัญญัติ (Nominal Scale) หมายถึง ข้ อมูล
ที่แบ่งเป็ นกลุมเป็ นพวก เช่น เพศ อาชีพ ศาสนา ผิวสี ฯลฯ ไม่สามารถ
              ่
นามาจัดลาดับ หรื อนามาคานวณได้
    2 ข้ อมูลระดับอันดับ (Ordinal Scale) หมายถึง ข้ อมูลที่
สามารถแบ่งเป็ นกลุมได้ แล้ วยังสามารถบอกอันดับที่ของความแตกต่าง
                      ่
ได้ แต่ไม่สามารถบอกระยะห่างของอันดับที่แน่นนอนได้ หรื อไม่สามารถ
เปรี ยบเทียบได้ วาอันดับที่จดนันมีความแตกต่างกันของระยะห่างเท่าใด
                  ่          ั ้
เช่น อันดับที่ของการสอบของนักศึกษา อันดับที่ของผู้เข้ าประกวด
นางสาวไทย ฯลฯ
3 ข้ อมูลระดับอันตรภาค (Interval Scale) หมายถึง
ข้ อมูลที่มีช่วงห่าง หรื อระยะห่างเท่าๆกัน สามารถวัดค่าได้ แต่เป็ น
ข้ อมูลที่ไม่มีศนย์แท้ เช่น อุณหภูมิ คะแนนสอบ ระดับผลการเรี ยน
                 ู
ฯลฯ
    4 ข้ อมูลระดับอัตราส่ วน (Ratio Scale) หมายถึง
ข้ อมูลที่มีมาตราวัดหรื อระดับการวัดที่สงที่สด คือ นอกจาก
                                            ู ุ
สามารถแบ่งกลุมได้ จัดอันดับได้ มีช่วงห่างของข้ อมูลเท่าๆกัน
                   ่
แล้ ว ยังเป็ นข้ อมูลที่มีศนย์แท้ เช่น น ้าหนัก ส่วนสูง ระยะทาง
                           ู
รายได้ จานวนต่างๆ ฯลฯ
2. ข้ อมูลจาแนกตามวิธีการเก็บรวบรวม

    2.1 ข้ อมูลปฐมภูมิ คือ ข้ อมูลที่ได้ จากการรวบรวมจาก
ผู้ที่ให้ ข้อมูลหรื อแหล่งที่มาโดยตรง
   1 การสามะโน คือ การเก็บรวบรวมข้ อมูลจากทุกหน่วยของ
ประชากรที่ต้องการศึกษา
   2 การสารวจจากกลุมตัวอย่าง คือ การเก็บรวบรวมข้ อมูลที่
                             ่
ประกอบด้ วยตัวแทนจากทุกลักษณะของประชากรที่ต้องการ
ศึกษา
ในทางปฏิบัติ ไม่ ว่าจะทาการสามะโนหรือการสารวจนิยมปฏิบัติ
อยู่ 5 วิธี คือ

    1. การสัมภาษณ์ นิยมใช้ กนมาก เพราะจะได้ คาตอบ
                                ั
ทันที นอกจากนี ้หากผู้ตอบไม่เข้ าใจก็สามารถอธิบายเพิ่มเติมได้ แต่ผ้ ู
สัมภาษณ์ต้องซื่อสัตย์ และเข้ าใจจุดมุงหมายของการเก็บข้ อมูลอย่าง
                                      ่
แท้ จริง
    2. การแจกแบบสอบถาม วิธีนี ้ประหยัดเวลาและค่าใช้ จ่าย
มาก สะดวกและสบายใจต่อการตอบแบบสอบถาม แต่ก็มีข้อเสียหลาย
ประการ เช่น ต้ องใช้ ในเฉพาะผที่มีการศึกษา มีไปรษณีย์ไปถึง คาถาม
ต้ องชัดเจน อาจจะไม่ได้ รับคืนตามเวลาหรื อจานวนที่ต้องการ จึงต้ องส่ง
แบบสอบถามออกไปเป็ นจานวนมากๆ หรื อไปแจกและเก็บด้ วยตนเอง
3. การสอบถามทางโทรศัพท์ เป็ นวิธีที่ง่าย เสียค่าใช้ จ่ายน้ อย ต้ อง
เป็ นการสัมภาษณ์อย่างสันๆ ตอบได้ ทนทีโดยไม่ต้องเสียเวลาค้ นหา
                             ้            ั
หลักฐาน ใช้ ได้ เฉพาะส่วนที่มีโทรศัพท์เท่านัน  ้
    4. การสังเกต เป็ นข้ อมูลที่ได้ จากการสังเกตแล้ วบันทึกสิงที่เราสนใจ
                                                             ่
เอาไว้ ต้ องใช้ การสังเกตเป็ นช่วงๆของเวลาอย่างต่อเนื่องกัน ข้ อมูลจะ
น่าเชื่อถือได้ มากน้ อยขึ ้นอยูกบความเข้ าใจและความชานาญของผู้
                               ่ ั
สังเกต เช่น ข้ อมูลเกี่ยวกับการใช้ บริการต่างๆ เช่น บริการรถ
โดยสาร การบริการสหกรณ์ ความหนาแน่นของการใช้ ถนนสายต่างๆ เป็ น
ต้ น วิธีนี ้นิยมใช้ ประกอบกับการเก็บข้ อมูลวิธีอื่นๆ
    5. การทดลอง เป็ นการเก็บรวบรวมข้ อมูลที่มีการทดลอง ซึงมักจะ   ่
ใช้ เวลาในการทดลองนานๆ ทาซ ้าๆ
2.2 ข้ อมูลทุตยภูมิ คือ ข้ อมูลที่ต้องเก็บรวบรวมจากผู้ที่ให้ ข้อมูลคือ
                ิ
แหล่งที่มาโดยตรง แต่ได้ จากข้ อมูลที่มีผ้ อื่นเก็บรวบรวมไว้ แล้ ว
                                          ู

 วิธีการเก็บรวบรวมข้ อมูลทุตยภูมิ
                            ิ

 แหล่งที่มาของข้ อมูลทุตยภูมิที่สาคัญมีอยู่ 2 แหล่ง คือ
                          ิ
1. รายงานต่างๆของหน่วยราชการและองค์การของรัฐบาล เช่น ทะเบียน
ประวัตบคลากร ประวัตคนไข้ ทะเบียนนักเรี ยนนักศึกษา เป็ นต้ น
      ิ ุ               ิ
2. รายงานและบทความจากหนังสือ หรื อรายงานจากหน่วยงาน
เอกชน ซึงจะมีการพิมพ์เผยแพร่เฉพาะในส่วนของข้ อมูลที่เผยแพร่ได้ ในรูป
           ่
ของรายงานต่างๆ
ปั ญหาในการใช้ ข้อมูล
ปั ญหาในการใช้ ข้อมูลทุติภมิ การใช้ ข้อมูลทุตติยภูมิมกจะมีปัญหาเกี่ยวกับเรื่ องต่างๆ
                           ู                         ั
ดังต่อไปนี ้
1 ความถูกต้ องเชื่อถือได้ ของข้ อมูล
2 ความทันสมัยของข้ อมูล
3 การขาดหายไปของข้ อมูลบางรายการ
ปั ญหาในการใช้ ข้อมูลปฐมภูมิ มักจะมีปัญหาเกี่ยวกับเรื่ องต่างๆ ดังต่อไปนี ้
1 ไม่ทราบว่าจะใช้ วิธีเลือกตัวอย่างหรื อวิธีการวางแผนการทดลองแบบใดจึงจะ
เหมาะสม
2 ไม่ทราบว่าจะประเมินความถูกต้ องเชื่อถือได้ ของข้ อมูลที่เก็บรวบรวมมาได้ อย่างไร
3 ไม่ทราบว่าจะวิเคราะห์ข้อมูลอย่างไรในกรณีข้อมูลที่รวบรวมได้ ไม่ครบถ้ วนหรื อขาด
หายไปมากเนื่องจากไม่ได้ รับความร่วมมือจากผู้ให้ ข้อมูล

More Related Content

What's hot

1 สถิติ (statistics)
1 สถิติ (statistics)1 สถิติ (statistics)
1 สถิติ (statistics)noinasang
 
เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1
เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1
เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1Nut Yuthapong
 
Statistics sampling
Statistics samplingStatistics sampling
Statistics samplingSomchith Sps
 
New Media Ecosystem & Role of Data Journalism
New Media Ecosystem & Role of Data JournalismNew Media Ecosystem & Role of Data Journalism
New Media Ecosystem & Role of Data JournalismSarinee Achavanuntakul
 
Population
PopulationPopulation
Populationkungfoy
 
ความหมายของสถิติ
ความหมายของสถิติความหมายของสถิติ
ความหมายของสถิติNumber Utopie
 
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่างประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง0804900158
 
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางAon Narinchoti
 
รถไฟฟ้ามาหานะเธอ
รถไฟฟ้ามาหานะเธอรถไฟฟ้ามาหานะเธอ
รถไฟฟ้ามาหานะเธอWiparat Khangate
 
การสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นการสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นJiraprapa Suwannajak
 
สืบค้นหนังสือราชการ 6 เมนูย่อย
สืบค้นหนังสือราชการ 6 เมนูย่อยสืบค้นหนังสือราชการ 6 เมนูย่อย
สืบค้นหนังสือราชการ 6 เมนูย่อยphotnew
 
สาระการเรียนรู้และมาตรฐานตัวชี้วัด
สาระการเรียนรู้และมาตรฐานตัวชี้วัดสาระการเรียนรู้และมาตรฐานตัวชี้วัด
สาระการเรียนรู้และมาตรฐานตัวชี้วัดOranee Seelopa
 
แนะแนวการหาหัวข้อ เทคนิคขั้นสูงในการสืบค้นข้อมูล แหล่งหาข้อมูลเกี่ยวกับการทำว...
แนะแนวการหาหัวข้อ เทคนิคขั้นสูงในการสืบค้นข้อมูล แหล่งหาข้อมูลเกี่ยวกับการทำว...แนะแนวการหาหัวข้อ เทคนิคขั้นสูงในการสืบค้นข้อมูล แหล่งหาข้อมูลเกี่ยวกับการทำว...
แนะแนวการหาหัวข้อ เทคนิคขั้นสูงในการสืบค้นข้อมูล แหล่งหาข้อมูลเกี่ยวกับการทำว...ประพันธ์ เวารัมย์
 
Questionare
QuestionareQuestionare
Questionarepingkung
 

What's hot (19)

1 สถิติ (statistics)
1 สถิติ (statistics)1 สถิติ (statistics)
1 สถิติ (statistics)
 
เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1
เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1
เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1
 
Statistics sampling
Statistics samplingStatistics sampling
Statistics sampling
 
New Media Ecosystem & Role of Data Journalism
New Media Ecosystem & Role of Data JournalismNew Media Ecosystem & Role of Data Journalism
New Media Ecosystem & Role of Data Journalism
 
Population
PopulationPopulation
Population
 
ความหมายของสถิติ
ความหมายของสถิติความหมายของสถิติ
ความหมายของสถิติ
 
statistics
statisticsstatistics
statistics
 
Chapt3
Chapt3Chapt3
Chapt3
 
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่างประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
 
วิธีการสุ่มตัวอย่างและการเก็บรวบรวมข้อมูล
วิธีการสุ่มตัวอย่างและการเก็บรวบรวมข้อมูลวิธีการสุ่มตัวอย่างและการเก็บรวบรวมข้อมูล
วิธีการสุ่มตัวอย่างและการเก็บรวบรวมข้อมูล
 
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
 
Research10 sample selection
Research10 sample selectionResearch10 sample selection
Research10 sample selection
 
06
0606
06
 
รถไฟฟ้ามาหานะเธอ
รถไฟฟ้ามาหานะเธอรถไฟฟ้ามาหานะเธอ
รถไฟฟ้ามาหานะเธอ
 
การสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นการสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็น
 
สืบค้นหนังสือราชการ 6 เมนูย่อย
สืบค้นหนังสือราชการ 6 เมนูย่อยสืบค้นหนังสือราชการ 6 เมนูย่อย
สืบค้นหนังสือราชการ 6 เมนูย่อย
 
สาระการเรียนรู้และมาตรฐานตัวชี้วัด
สาระการเรียนรู้และมาตรฐานตัวชี้วัดสาระการเรียนรู้และมาตรฐานตัวชี้วัด
สาระการเรียนรู้และมาตรฐานตัวชี้วัด
 
แนะแนวการหาหัวข้อ เทคนิคขั้นสูงในการสืบค้นข้อมูล แหล่งหาข้อมูลเกี่ยวกับการทำว...
แนะแนวการหาหัวข้อ เทคนิคขั้นสูงในการสืบค้นข้อมูล แหล่งหาข้อมูลเกี่ยวกับการทำว...แนะแนวการหาหัวข้อ เทคนิคขั้นสูงในการสืบค้นข้อมูล แหล่งหาข้อมูลเกี่ยวกับการทำว...
แนะแนวการหาหัวข้อ เทคนิคขั้นสูงในการสืบค้นข้อมูล แหล่งหาข้อมูลเกี่ยวกับการทำว...
 
Questionare
QuestionareQuestionare
Questionare
 

Similar to สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง

02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัยKruBeeKa
 
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศกระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศsupimon1956
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Nattanan Rassameepak
 
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศการวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศsupimon1956
 
Chapter4 lecture
Chapter4 lectureChapter4 lecture
Chapter4 lecturesupimon1956
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7supap6259
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยอรุณศรี
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยอรุณศรี
 
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์ทับทิม เจริญตา
 
การสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นการสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นRungnapha Thophorm
 
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...Weerachat Martluplao
 
ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำsliderubtumproject.com
 

Similar to สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง (20)

02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
 
Is5 ลงมือเขียน
Is5 ลงมือเขียนIs5 ลงมือเขียน
Is5 ลงมือเขียน
 
123
123123
123
 
123
123123
123
 
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศกระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
 
74 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่1_เนื้อหา
74 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่1_เนื้อหา74 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่1_เนื้อหา
74 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่1_เนื้อหา
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศการวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการ
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
Chapter4 lecture
Chapter4 lectureChapter4 lecture
Chapter4 lecture
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
 
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
 
การสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นการสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็น
 
7บทที่3
7บทที่3 7บทที่3
7บทที่3
 
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
 
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
 
ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslide
 

สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง

  • 1. สถิติเบื ้องต้ น คณิตศาสตร์ พื ้นฐาน 4 ค33102 ชันมัธยมศึกษาปี ที่ 5 ้ โรงเรี ยนหนองซนพิทยาคม กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ คณิตศาสตร์ By krudaly
  • 2. 1.ระเบียบวิชาทางสถิติ หมายถึงข้ อใด ก.การรวบรวม การนาเสนอ และการวิเคราะห์ ข้อมูล ข.การรวบรวม การนาเสนอ และการตีความหมาย ข้ อมูล ค.การรวบรวมการนาเสนอและการวิเคราะห์ หรื อ ตีความหมายข้ อมูล ง.การรวบรวมการนาเสนอและการวิเคราะห์ และการ ตีความหมายข้ อมูล
  • 3. 2.ในการศึกษาเกียวกับความสู งของนักศึกษาชายในมหาวิทยาลัย ่ แห่ งหนึ่ง ดังนั้นนักศึกษาชายทั้งหมดของมหาวิทยาลัยแห่ งนั้น จึงถือว่ าเป็ นอะไร ก. ตัวอย่ าง ข. ประชากร ค. ข่ าวสาร ง. พารามิเตอร์
  • 4. 3.ตัวแปรใดทีเ่ ป็ นตัวแปรคุณภาพ ก. นาหนัก ้ ข. ความสู ง ค. จังหวัดทีเ่ กิด ง. จานวนนักเรียนทีตดบุหรี่ ่ ิ
  • 5. 4.ข้ อมูลเกียวกับจานวนบทในหนังสื อคณิตศาสตร์ ่ ก ทะเบียน หรือ สั งเกต ข ทะเบียน หรือ สารวจ ค ทดลอง หรือ สารวจ ง ทดลอง หรือ สั งเกต
  • 6. ความหมายของสถิติ ข้ อมูลสถิตหรือข้ อมูล หมายถึง ข้อเท็จจริ งของเรื่ องใดเรื่ อง ิ หนึ่งที่เราสนใจจะศึกษา ซึ่ งอาจจะเป็ นตัวเลขหรื อข้อความก็ ได้ - จานวนคนที่เป็ นโรคหัวใจในแต่ละเดือน - ปริ มาณการส่งออกข้าวของประเทศไทยในปี นี้เพิมขึ้นจากปี ่ ที่แล้ว
  • 7. ประเภทของสถิตศาสตร์ แบ่ งได้ เป็ น 2 ประเภทใหญ่ ๆ ได้ แก่ ิ 1. สถิตเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ิ เป็ นสถิติที่บรรยายถึงคุณลักษณะของสิ่งที่กาลังต้ องการศึกษา ว่าด้ วย การสรุปข้ อมูลแต่ละชุดที่เราสนใจ ค่าวัดแนวโน้ มสูสวนกลาง (ค่าเฉลี่ย ่ ่ เลขคณิต , มัธยฐาน , ฐานนิยม) ค่าวัดการกระจายข้ อมูล ( ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน, พิสย) ั 2. สถิตเชิงอนุมาน (Inferential Statistics) เป็ น ิ สถิติที่ศกษาข้ อมูลที่เป็ นกลุมตัวอย่างเพียงกลุมเดียว จากข้ อมูลของ ึ ่ ่ ประชากรทังหมด ้
  • 8. คาศัพท์ ท่ เกี่ยวข้ องกับ สถิติ ี 1. ประชากร (population) หมายถึง กลุมที่มีลกษณะที่เรา ่ ั สนใจ หรื อกลุมที่เราต้ องการจะศึกษาหาข้ อมูลที่เกี่ยวข้ อง เปรี ยบเหมือนเอกภพสัมพัทธ์ ่ ในเรื่ องเซต 2. กลุ่มตัวอย่ าง (sample) หมายถึง ส่วนหนึงของกลุมประชากรที่ ่ ่ เราสนใจ ในกรณีที่กลุมประชากรที่จะศึกษานันเป็ นกลุมขนาดใหญ่ เกินความสามารถ ่ ้ ่ หรื อความจาเป็ นที่ต้องการ หรื อเพื่อประหยัดในด้ านงบประมาณและเวลา สามารถ ศึกษาข้ อมูลเพียงบางส่วนของกลุมประชากรได้ ่ 3. ค่ าพารามิเตอร์ หมายถึง ค่าต่างๆที่คานวณมาจากกลุม ่ ประชากร จะถือเป็ นค่าคงตัว กล่าวคือ คานวณกี่ครังๆก็จะไม่เปลี่ยนแปลง ้ 4. ค่ าสถิต หมายถึง ค่าต่างๆที่คานวณมาจากกลุมตัวอย่าง จะเป็ นค่าที่ ่ เปลี่ยนแปลงได้ ตจามกลุมตัวอย่างที่เลือกสุมมา จึงถือว่าเป็ นค่าตัวแปรสุม ่ ่ ่
  • 9. 5. ตัวแปร ในทางสถิติ หมายถึง ลักษณะบางอย่างที่เรา สนใจ ค่าของตัวแปร อาจอยูในรูปข้ อความ หรื อตัวเลขก็ได้ ่ 6. ค่ าที่เป็ นไปได้ หมายถึง ค่าของตัวแปรที่อาจจะเกิดขึ ้นได้ จริ ง 7. ค่ าจากการสังเกต หมายถึง ค่าที่เก็บรวบรวมได้ มาจริ งๆ
  • 10. การจาแนกข้ อมูล 1.ข้ อมูลที่จาแนกตามลักษณะของข้ อมูล แบ่งเป็ น 2 ประเภท 1.1 ข้ อมูลเชิงปริ มาณ คือข้ อมูลที่ใช้ แทนขนาดหรื อปริ มาณวัด ออกมาเป็ นค่าตัวเลขที่สามารถนามาใช้ เปรี ยบเทียบขนาดได้ โดยตรง 1.2 ข้ อมูลเชิงคุณภาพ คือข้ อมูลที่ไม่สามารถวัดออกมาเป็ น ค่าตัวเลขโดยตรงได้ แต่วดออกมาในเชิงคุณภาพได้ เช่น เพศ ั ของสมาชิกในครอบครัว ซึงการวิเคราะห์ข้อมูลประเภทนี ้ ส่วน ่ ใหญ่ทาโดยการนับจานวนจาแนกตามลักษณะเชิงคุณภาพ
  • 11. แบ่ งประเภทข้ อมูลตามระดับการวัด สามารถแบ่ งออกได้ เป็ น 4 1 ข้ อมูลระดับนามบัญญัติ (Nominal Scale) หมายถึง ข้ อมูล ที่แบ่งเป็ นกลุมเป็ นพวก เช่น เพศ อาชีพ ศาสนา ผิวสี ฯลฯ ไม่สามารถ ่ นามาจัดลาดับ หรื อนามาคานวณได้ 2 ข้ อมูลระดับอันดับ (Ordinal Scale) หมายถึง ข้ อมูลที่ สามารถแบ่งเป็ นกลุมได้ แล้ วยังสามารถบอกอันดับที่ของความแตกต่าง ่ ได้ แต่ไม่สามารถบอกระยะห่างของอันดับที่แน่นนอนได้ หรื อไม่สามารถ เปรี ยบเทียบได้ วาอันดับที่จดนันมีความแตกต่างกันของระยะห่างเท่าใด ่ ั ้ เช่น อันดับที่ของการสอบของนักศึกษา อันดับที่ของผู้เข้ าประกวด นางสาวไทย ฯลฯ
  • 12. 3 ข้ อมูลระดับอันตรภาค (Interval Scale) หมายถึง ข้ อมูลที่มีช่วงห่าง หรื อระยะห่างเท่าๆกัน สามารถวัดค่าได้ แต่เป็ น ข้ อมูลที่ไม่มีศนย์แท้ เช่น อุณหภูมิ คะแนนสอบ ระดับผลการเรี ยน ู ฯลฯ 4 ข้ อมูลระดับอัตราส่ วน (Ratio Scale) หมายถึง ข้ อมูลที่มีมาตราวัดหรื อระดับการวัดที่สงที่สด คือ นอกจาก ู ุ สามารถแบ่งกลุมได้ จัดอันดับได้ มีช่วงห่างของข้ อมูลเท่าๆกัน ่ แล้ ว ยังเป็ นข้ อมูลที่มีศนย์แท้ เช่น น ้าหนัก ส่วนสูง ระยะทาง ู รายได้ จานวนต่างๆ ฯลฯ
  • 13. 2. ข้ อมูลจาแนกตามวิธีการเก็บรวบรวม 2.1 ข้ อมูลปฐมภูมิ คือ ข้ อมูลที่ได้ จากการรวบรวมจาก ผู้ที่ให้ ข้อมูลหรื อแหล่งที่มาโดยตรง 1 การสามะโน คือ การเก็บรวบรวมข้ อมูลจากทุกหน่วยของ ประชากรที่ต้องการศึกษา 2 การสารวจจากกลุมตัวอย่าง คือ การเก็บรวบรวมข้ อมูลที่ ่ ประกอบด้ วยตัวแทนจากทุกลักษณะของประชากรที่ต้องการ ศึกษา
  • 14. ในทางปฏิบัติ ไม่ ว่าจะทาการสามะโนหรือการสารวจนิยมปฏิบัติ อยู่ 5 วิธี คือ 1. การสัมภาษณ์ นิยมใช้ กนมาก เพราะจะได้ คาตอบ ั ทันที นอกจากนี ้หากผู้ตอบไม่เข้ าใจก็สามารถอธิบายเพิ่มเติมได้ แต่ผ้ ู สัมภาษณ์ต้องซื่อสัตย์ และเข้ าใจจุดมุงหมายของการเก็บข้ อมูลอย่าง ่ แท้ จริง 2. การแจกแบบสอบถาม วิธีนี ้ประหยัดเวลาและค่าใช้ จ่าย มาก สะดวกและสบายใจต่อการตอบแบบสอบถาม แต่ก็มีข้อเสียหลาย ประการ เช่น ต้ องใช้ ในเฉพาะผที่มีการศึกษา มีไปรษณีย์ไปถึง คาถาม ต้ องชัดเจน อาจจะไม่ได้ รับคืนตามเวลาหรื อจานวนที่ต้องการ จึงต้ องส่ง แบบสอบถามออกไปเป็ นจานวนมากๆ หรื อไปแจกและเก็บด้ วยตนเอง
  • 15. 3. การสอบถามทางโทรศัพท์ เป็ นวิธีที่ง่าย เสียค่าใช้ จ่ายน้ อย ต้ อง เป็ นการสัมภาษณ์อย่างสันๆ ตอบได้ ทนทีโดยไม่ต้องเสียเวลาค้ นหา ้ ั หลักฐาน ใช้ ได้ เฉพาะส่วนที่มีโทรศัพท์เท่านัน ้ 4. การสังเกต เป็ นข้ อมูลที่ได้ จากการสังเกตแล้ วบันทึกสิงที่เราสนใจ ่ เอาไว้ ต้ องใช้ การสังเกตเป็ นช่วงๆของเวลาอย่างต่อเนื่องกัน ข้ อมูลจะ น่าเชื่อถือได้ มากน้ อยขึ ้นอยูกบความเข้ าใจและความชานาญของผู้ ่ ั สังเกต เช่น ข้ อมูลเกี่ยวกับการใช้ บริการต่างๆ เช่น บริการรถ โดยสาร การบริการสหกรณ์ ความหนาแน่นของการใช้ ถนนสายต่างๆ เป็ น ต้ น วิธีนี ้นิยมใช้ ประกอบกับการเก็บข้ อมูลวิธีอื่นๆ 5. การทดลอง เป็ นการเก็บรวบรวมข้ อมูลที่มีการทดลอง ซึงมักจะ ่ ใช้ เวลาในการทดลองนานๆ ทาซ ้าๆ
  • 16. 2.2 ข้ อมูลทุตยภูมิ คือ ข้ อมูลที่ต้องเก็บรวบรวมจากผู้ที่ให้ ข้อมูลคือ ิ แหล่งที่มาโดยตรง แต่ได้ จากข้ อมูลที่มีผ้ อื่นเก็บรวบรวมไว้ แล้ ว ู วิธีการเก็บรวบรวมข้ อมูลทุตยภูมิ ิ แหล่งที่มาของข้ อมูลทุตยภูมิที่สาคัญมีอยู่ 2 แหล่ง คือ ิ 1. รายงานต่างๆของหน่วยราชการและองค์การของรัฐบาล เช่น ทะเบียน ประวัตบคลากร ประวัตคนไข้ ทะเบียนนักเรี ยนนักศึกษา เป็ นต้ น ิ ุ ิ 2. รายงานและบทความจากหนังสือ หรื อรายงานจากหน่วยงาน เอกชน ซึงจะมีการพิมพ์เผยแพร่เฉพาะในส่วนของข้ อมูลที่เผยแพร่ได้ ในรูป ่ ของรายงานต่างๆ
  • 17. ปั ญหาในการใช้ ข้อมูล ปั ญหาในการใช้ ข้อมูลทุติภมิ การใช้ ข้อมูลทุตติยภูมิมกจะมีปัญหาเกี่ยวกับเรื่ องต่างๆ ู ั ดังต่อไปนี ้ 1 ความถูกต้ องเชื่อถือได้ ของข้ อมูล 2 ความทันสมัยของข้ อมูล 3 การขาดหายไปของข้ อมูลบางรายการ ปั ญหาในการใช้ ข้อมูลปฐมภูมิ มักจะมีปัญหาเกี่ยวกับเรื่ องต่างๆ ดังต่อไปนี ้ 1 ไม่ทราบว่าจะใช้ วิธีเลือกตัวอย่างหรื อวิธีการวางแผนการทดลองแบบใดจึงจะ เหมาะสม 2 ไม่ทราบว่าจะประเมินความถูกต้ องเชื่อถือได้ ของข้ อมูลที่เก็บรวบรวมมาได้ อย่างไร 3 ไม่ทราบว่าจะวิเคราะห์ข้อมูลอย่างไรในกรณีข้อมูลที่รวบรวมได้ ไม่ครบถ้ วนหรื อขาด หายไปมากเนื่องจากไม่ได้ รับความร่วมมือจากผู้ให้ ข้อมูล