SlideShare a Scribd company logo
1 of 95
หลัก สูต รกลุ่ม สาระการ
   เรีย นรู้ว ิท ยาศาสตร์
   ปีก ารศึก ษา ๒๕๕๑




โรงเรีย นบุ่ง คล้า นคร สำา นัก งานเขตพื้น ที่
      การศึก ษาหนองคาย เขต ๓
2

         อำา เภอบุ่ง คล้า จัง หวัด หนองคาย
                             สารบัญ
                                                        หน้า
สารบัญ
คุณภาพของผู้เรียน
สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานการเรียนรู้การศึกษาขั้นพื้นฐาน สาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์
มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น
     -   มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้นที่ ๓
     -   มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้นที่ ๔
โครงสร้างหลักสูตร
รายวิชากลุ่มสาระวิทยาศาสตร์
คำาอธิบายรายวิชา
หน่วยการเรียนรู้
3

                    คุณ ภาพของผู้เ รีย น

      การจัดการศึกษาวิทยาศาสตร์สำาหรับหลักสูตรการศึกษาขั้น
พื้นฐาน มุ่งหวังให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่เน้นกระบวนการ
ไปสู่การสร้างองค์ความรู้ โดยผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนทุก
ขั้นตอน     ผู้เรียนจะได้ทำากิจกรรมหลากหลาย ทั้งเป็นกลุ่มและ
เป็นรายบุคคลในการสังเกตสิ่งต่าง ๆ รอบตัว ตั้งคำาถาม หรือ
ปัญหาเกี่ยวกับสิ่งที่จะศึกษา ได้พัฒนากระบวนการคิดขั้นสูง มี
การคิดวางแผนและลงมือปฏิบัติการสำารวจตรวจสอบด้วย
กระบวนการที่หลากหลาย จากแหล่งเรียนรู้ทั้งส่วนที่เป็นสากล
และท้องถิ่น คิดและตัดสินใจเลือกข้อมูลที่เป็นประโยชน์ไปใช้ใน
การตอบคำาถาม หรือแก้ปัญหา ซึ่งจะนำาไปสู่องค์ความรู้ แนวคิด
หลักทางวิทยาศาสตร์ แล้วสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้หรือองค์ความรู้ใน
รูปแบบต่าง ๆ ให้ผู้อื่นรับรู้ กระบวนการเรียนรู้ดังกล่าวจะทำาให้ผู้
เรียนสร้างองค์ความรู้และเกิดการพัฒนาเจตคติทางวิทยาศาสตร์
คุณธรรม และค่านิยมที่ดีต่อวิทยาศาสตร์ โดยครูผู้สอนมีบทบาท
ในการวางแผนการเรียนรู้ กระตุ้น แนะนำา ช่วยเหลือให้ผู้เรียน
เกิดการเรียนรู้
      เพื่อให้การศึกษาวิทยาศาสตร์บรรลุผลตามที่มุ่งหวังไว้
จึงได้กำาหนดคุณภาพของผู้เรียนกลุ่ม วิทยาศาสตร์ที่จบการ
ศึกษาขั้นพื้นฐาน ๑๒ ชั้นปี และแต่ละช่วงชั้นไว้ดังนี้


คุณ ภาพของผู้เ รีย นวิท ยาศาสตร์ท ี่จ บหลัก สูต รการศึก ษา
    ขั้น พื้น ฐาน ๑๒ ชั้น ปี
    ๑. เข้าใจเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำารงชีวิต ความ
       หลากหลายทางชี ว ภาพ และความสั ม พั นธ์ ร ะหว่ า งสิ่ ง มี
       ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
    ๒. เข้าใจสมบัติของสารและการเปลี่ยนแปลงของสาร แรง
       และการเคลื่อนที่ พลังงาน
4

๓. เข้าใจโครงสร้างและองค์ประกอบของโลก ความสำาคัญ
  ของทรัพยากรทางธรณี ดาราศาสตร์ และอวกาศ
๔. ใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ กระบวนการแก้ปัญหา
  ในการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง ศึกษา
  ค้นคว้า สืบค้นจากแหล่งเรียนรู้หลากหลาย และจากเครือ
  ข่ายอินเทอร์เน็ต และสื่อสารความรู้ในรูปแบบต่าง ๆ ให้ผู้
  อื่นรับรู้
๕. เชื่อมโยงความรู้กับกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ นำาไป
  ใช้ในชีวิตประจำาวัน และศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม ทำาโครง
  งานวิทยาศาสตร์ หรือสร้างชิ้นงาน
๖. มีเจตคติทางวิทยาศาสตร์ หรือจิตวิทยาศาสตร์ ดังนี้
-        ความสนใจใฝ่รู้
-        ความมุ่งมั่น อดทน รอบคอบ
-        ความซื่อสัตย์ ประหยัด
-        การร่วมแสดงความคิดเห็น และยอมรับฟังความ
  คิดเห็นของผูอื่น
              ้
-        ความมีเหตุผล
-        การทำางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์
๗. มีเจตคติ คุณธรรม ค่านิยมที่ดีต่อวิทยาศาสตร์
  เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
- มีความพอใจ ความซาบซึ้ง ความสุขในการสืบเสาะ
  หาความรู้และรักที่จะเรียนรู้ต่อเนื่องตลอดชีวิต
- ตระหนักถึงความสำาคัญและประโยชน์ของวิทยาศาสตร์และ
  เทคโนโลยีที่ใช้ในการดำารงชีวิตและการประกอบอาชีพ
- ตระหนักว่าการใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมี
  ผลต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม
- แสดงความชื่นชม ยกย่องและเคารพในสิทธิของผลงานที่ผู้
  อื่นและตนเองคิดค้นขึ้น
- แสดงความซาบซึ้ง ในความงามและตระหนักถึงความ
  สำาคัญของทรัพยากรธรรมชาติและ            สิ่งแวดล้อม เข้า
5

       ร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวกับการอนุรักษ์พัฒนา
       ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและในท้อง
       ถิ่นตระหนักและยอมรับความสำาคัญของการใช้เทคโนโลยี
       ในการเรียนรู้และการทำางานต่าง ๆ

คุณ ภาพของผู้เ รีย นวิท ยาศาสตร์เ มื่อ จบช่ว งชั้น ที่ ๓ (ชั้น
    มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ ๑ - ๓)
    ผู้เรียนที่เรียนจบช่วงชั้นที่ ๓ ควรมีความรู้ ความคิด ทักษะ
กระบวนการ และจิตวิทยาศาสตร์ ดังนี้
    ๑. เข้าใจลักษณะและองค์ประกอบที่สำาคัญของสิ่งมีชีวิต
        ความสัมพันธ์ของการทำางานของระบบต่าง ๆ การ
        ถ่ายทอดทางพันธุกรรม วิวัฒนาการและความหลากหลาย
        ของสิ่งมีชีวิต            พฤติกรรมการอยู่ร่วมกันของสิ่งมี
        ชีวิต      ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในสิ่งแวดล้อม
    ๒. เข้าใจสมบัติและองค์ประกอบของสารละลาย สาร
        บริสุทธิ์ การเปลี่ยนแปลงของสารใน               รูปแบบของ
        การเปลี่ยนสถานะ การเกิดสารละลาย และการเกิด
        ปฏิกิริยาเคมี
    ๓. เข้าใจแรงเสียดทาน โมเมนต์ การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
        ในชีวิตประจำาวัน กฎการอนุรักษ์พลังงาน การถ่ายโอน
        พลังงาน สมดุลความร้อน การสะท้อน การหักเห และ
        ความเข้มของแสง
    ๔. เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณทางไฟฟ้า หลักการ
        ต่อวงจรไฟฟ้าในบ้าน การคำานวณหาพลังงานไฟฟ้า และ
        หลักการเบื้องต้นของวงจรอิเล็กทรอนิกส์
    ๕. เข้าใจกระบวนการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก แหล่ง
        ทรัพยากรธรณี ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของ
        บรรยากาศ ปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ และผลที่มีต่อสิ่ง
        ต่าง ๆ บนโลก ความสำาคัญของเทคโนโลยีอวกาศ
    ๖. เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างวิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี
        การพัฒนาและผลของการพัฒนาเทคโนโลยีต่อคุณภาพ
        ชีวิตและสิ่งแวดล้อม
    ๗. ตั้งคำาถามที่มีการกำาหนดและควบคุมตัวแปร คิดคาด
        คะเนคำาตอบหลายแนวทางวางแผน และลงมือสำารวจ
6

      ตรวจสอบ วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของข้อมูล
      และสร้างองค์ความรู้
    ๘. สื่อสารความคิด ความรู้จากผลการสำารวจตรวจสอบโดย
      การพูด เขียน จัดแสดง หรือใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
    ๙. ใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และ
      เทคโนโลยีในการดำารงชีวิต การศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม
      ทำาโครงงานหรือสร้างชิ้นงานตามความสนใจ
    ๑๐. แสดงถึงความสนใจ มุ่งมั่น รับผิดชอบ รอบคอบ และ
      ซื่อสัตย์ในการสืบเสาะหาความรู้โดยใช้เครื่องมือและวิธี
      การที่ให้ได้ผลถูกต้องเชื่อถือได้
    ๑๑. ตระหนักในคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และ
      เทคโนโลยีที่ใช้ในชีวิตประจำาวันและการประกอบอาชีพ
      แสดงความชื่นชม ยกย่องและเคารพสิทธิในผลงานของผู้
      คิดค้น
    ๑๒.แสดงถึงความซาบซึ้ง ห่วงใย มีพฤติกรรมเกี่ยวกับการ
      ใช้และรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างรู้คุณ
      ค่า มีส่วนร่วมในการพิทักษ์ ดูแลทรัพยากรธรรมชาติ
      และสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น
    ๑๓.ทำางานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ แสดงความคิดเห็น
      ของตนเองและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น


คุณ ภาพของผู้เ รีย นวิท ยาศาสตร์เ มื่อ จบช่ว งชั้น ที่ ๔ (ชั้น
    มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ ๔ - ๖)
    ผู้เรียนที่เรียนจบช่วงชั้นที่ ๔ ควรมีความรู้ ความคิด ทักษะ
กระบวนการ และจิตวิทยาศาสตร์ ดังนี้
    ๑. เข้าใจกระบวนการทำางานของเซลล์และกลไกการรักษา
        ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต เข้าใจกระบวนการถ่ายทอดทาง
        พันธุกรรม การแปรผัน มิวเทชัน วิวัฒนาการของสิ่งมี
        ชีวิต ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตและปัจจัยที่มีผลต่อการ
        อยู่รอดของสิ่งมีชีวิตใน สิ่งแวดล้อมต่างๆ
    ๒. เข้าใจกระบวนการ ความสำาคัญและผลของเทคโนโลยี
        ชีวภาพต่อคน สิ่งมีชีวิต และ              สิ่งแวดล้อม
    ๓. เข้าใจชนิดและจำานวนอนุภาคที่เป็นส่วนประกอบใน
        โครงสร้างอะตอมของธาตุ การเกิด                ปฏิกิริยาเคมี
7

  การเขียนสมการเคมี ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิด
  ปฏิกิริยาเคมี
๔. เข้าใจชนิดของแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคและสมบัติ
  ต่าง ๆ ของสารที่มีความสัมพันธ์กับแรงยึดเหนี่ยว
๕. เข้าใจชนิด สมบัติ และปฏิกิริยาที่สำาคัญของพอลิเมอร์
  และของสารชีวโมเลกุล
๖. เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณที่เกี่ยวกับการ
  เคลื่อนที่แบบต่าง ๆ คุณภาพของเสียงและการได้ยิน
  สมบัติ ประโยชน์และโทษของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
  กัมมันตภาพรังสีและพลังงานนิวเคลียร์
๗. เข้าใจกระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลกและ
  ปรากฏการณ์ทางธรณีที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
๘. เข้าใจการเกิดและวิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซี
  เอกภพ และความสำาคัญของ                เทคโนโลยีอวกาศ
๙. เข้าใจความสัมพันธ์ของความรู้วิทยาศาสตร์ ที่มีผลต่อ
  การพัฒนาเทคโนโลยีประเภทต่าง ๆ            และการพัฒนา
  เทคโนโลยีที่ส่งผลให้มีการคิดค้นความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่
  ก้าวหน้า ผลของเทคโนโลยีต่อชีวิต สังคม และสิ่ง
  แวดล้อม
๑๐. ระบุปัญหา ตั้งคำาถามที่จะสำารวจตรวจสอบ โดยมีการ
  กำาหนดความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่าง ๆ สืบค้นข้อมูล
  จากหลายแหล่ง ตั้งสมมติฐานที่เป็นไปได้หลายแนวทาง
  ตัดสินใจเลือกตรวจสอบสมมติฐานที่เป็นไปได้
๑๑. วางแผนการสำารวจตรวจสอบเพื่อแก้ปัญหาหรือตอบ
  คำาถาม วิเคราะห์ เชื่อมโยงความสัมพันธ์ของตัวแปร
  ต่าง ๆ โดยใช้สมการทางคณิตศาสตร์หรือสร้างแบบ
  จำาลองจากผลหรือความรู้ที่ได้รับจากการสำารวจตรวจสอบ
๑๒.สื่อสารความคิด ความรู้จากผลการสำารวจตรวจสอบโดย
  การพูด เขียน จัดแสดง หรือใช้             เทคโนโลยี
  สารสนเทศ
๑๓.ใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการดำารง
  ชีวิต การศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม ทำาโครงงานหรือสร้าง
  ชิ้นงานตามความสนใจ
8

๑๔.แสดงถึงความสนใจ มุ่งมั่น รับผิดชอบ รอบคอบและ
  ซื่อสัตย์ในการสืบเสาะหาความรู้          โดยใช้เครื่องมือ
  และวิธีการที่ให้ได้ผลถูกต้องเชื่อถือได้
๑๕.ตระหนักในคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
  ที่ใช้ในชีวิตประจำาวัน การประกอบอาชีพ แสดงถึงความ
  ชื่นชม ภูมิใจ ยกย่อง อ้างอิงผลงาน ชิ้นงานที่เป็นผล
  จากภูมิปัญญาท้องถิ่นและการพัฒนาเทคโนโลยีที่ทันสมัย
๑๖.แสดงถึงความซาบซึ้ง ห่วงใย มีพฤติกรรมเกี่ยวกับการ
  ใช้และรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างรู้คุณ
  ค่า เสนอตัวเองร่วมมือปฏิบัติกับชุมชนในการป้องกัน ดูแล
  ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของท้องถิ่น
๑๗.แสดงถึงความพอใจ ซาบซึ้งในการค้นพบความรู้ พบคำา
  ตอบ หรือแก้ปัญหาได้ทำางานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์
  แสดงความคิดเห็นโดยมีข้อมูลอ้างอิงและเหตุผลประกอบ
  เกี่ยวกับผลของการพัฒนาและการใช้วิทยาศาสตร์และ
  เทคโนโลยีอย่างมีคุณธรรมต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม และ
  ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น




         สาระการเรีย นรู้ว ิท ยาศาสตร์
9

      สาระการเรียนรู้ที่กำาหนดไว้นี้เป็นสาระหลักของวิทยาศาสตร์
พื้นฐาน ที่นักเรียนทุกคนต้องเรียนรู้ ประกอบด้วยส่วนที่เป็น
เนื้อหา แนวความคิดหลักวิทยาศาสตร์ และกระบวนการสาระที่
เป็นองค์ความรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ประกอบด้วย
๘ สาระหลักดังนี้

          สาระที่   ๑ : สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำารงชีวิต
          สาระที่   ๒ : ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
          สาระที่   ๓ : สารและสมบัติของสาร
          สาระที่   ๔ : แรงและการเคลื่อนที่
          สาระที่   ๕ : พลังงาน
          สาระที่   ๖ : กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก
          สาระที่   ๗ : ดาราศาสตร์และอวกาศ
          สาระที่   ๘ : ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี




     มาตรฐานการเรีย นรู้ก ารศึก ษาขั้น พื้น ฐาน
          สาระการเรีย นรู้ว ิท ยาศาสตร์
10

        มาตรฐานการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เป็น
ข้ อ กำา หนดคุ ณ ภาพของผู้ เ รี ย นด้ า นความรู้ ความคิ ด ทั ก ษะ
กระบวนการเรียนรู้ คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม ซึ่งเป็นจุดมุ่ง
หมายที่จะพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึ งประสงค์ ประกอบ
ด้วย มาตรฐานการเรีย นรู้ การศึ กษาขั้ นพื้ นฐาน สำา หรับ นักเรี ย น
ทุ กคนเมื่อ จบการศึกษาขั้ นพื้ นฐานและมาตรฐานการเรี ย นรู้ ช่ว ง
ชั้น สำาหรับนักเรียนทุกคนเมื่อจบการศึกษาในแต่ละช่วงชั้น

ม า ต ร ฐ า น ก า ร เ รีย น รู้ ก า ร ศึ ก ษ า ขั้ น พื้ น ฐ า น ข อ ง ก ลุ่ม ส า ร ะ
การเรีย นรู้ว ิท ยาศาสตร์ มีด ัง นี้
สาระที่ ๑ : สิ่ง มีช ีว ิต กับ กระบวนการดำา รงชีว ิต
มาตรฐาน ว ๑.๑ : เข้ า ใจหน่ ว ยพื้ น ฐานของสิ่ ง มี ชี วิ ต ความ
               สั ม พั น ธ์ ข องโครงสร้ า งและหน้ า ที่ ข องระบบต่ า ง ๆ
               ของสิ่งมีชีวิ ต ที่ ทำา งานสั ม พั น ธ์ กั น มี กระบวนการสื บ
               เสาะหาความรู้สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำาความรู้ไปใช้
               ในการดำารงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต
มาตรฐาน ว ๑.๒ : เข้าใจกระบวนการและความสำา คั ญ ของการ
               ถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมวิวัฒนาการของสิ่งมี
               ชี วิ ต ค ว า ม ห ล า ก ห ล า ย ท า ง ชี ว ภ า พ ก า ร ใ ช้
               เทคโนโลยีชีวภาพที่มีผลต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มี
               กระบวนการสื บ เสาะหาความรู้ แ ละจิ ต วิ ท ยาศาสตร์
               สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์
สาระที่ ๒ : ชีว ิต กับ สิ่ง แวดล้อ ม
มาตรฐาน ว ๒.๑ : เข้ า ใจสิ่ ง แวดล้ อ มในท้ อ งถิ่ น ความสั ม พั น ธ์
               ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตความสัมพันธ์ระหว่าง
               สิ่งมีชีวิตต่างๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนการสืบเสาะ
               หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และ
               นำาความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว ๒.๒ : เข้ าใจความสำา คั ญ ของทรั พ ยากรธรรมชาติ
               การใช้ทรัพยากรธรรมชาติในระดับท้องถิ่น ประเทศ
               แ ล ะ โ ล ก มี กร ะ บ ว น ก า ร สื บ เ ส า ะ ห า ค ว า ม รู้ แ ล ะ
               จิตวิทยาศาสตร์สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำาความรู้ไปใช้
               ในการจัด การทรั พ ยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้ อ ม
               ในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน
11



สาระที่ ๓ : สารและสมบัต ิข องสาร
มาตรฐาน ว ๓.๑ : เข้ า ใจสมบั ติ ข องสาร ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า ง
            สมบั ติ ข องสารกั บ โครงสร้ า งและแรงยึ ด เหนี่ ย ว
            ระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และ
            จิตวิทยาศาสตร์สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำาความรู้ไปใช้
            ประโยชน์
มาตรฐาน ว ๓.๒ : เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยน
            สถานะของสาร การเกิดสารละลายการเกิดปฏิกิริยา
            เคมี มี ก ระบวนการสื บ เสาะหาความรู้ แ ละจิ ต วิ ท ยา
            ศ าสตร์ สื่ อ ส ารสิ่ ง ที่ เ รี ย นรู้ แ ล ะนำา ความรู้ ไ ป ใช้
            ประโยชน์
สาระที่ ๔ : แรงและการเคลื่อ นที่
มาตรฐาน ว ๔.๑ : เข้าใจธรรมชาติ ของแรงแม่ เหล็ กไฟฟ้ า แรง
            โน้ ม ถ่ ว ง และแรงนิ ว เคลี ย ร์ มี ก ระบวนการสื บ เสาะ
            หาความรู้ สื่ อ สารสิ่ ง ที่ เ รี ย นรู้ แ ละนำา ความรู้ ไ ปใช้
            ประโยชน์อย่างถูกต้องและมีคุณธรรม
มาตรฐาน ว ๔.๒ : เข้ า ใจลั ก ษณะการเคลื่ อ นที่ แ บบต่ า ง ๆ ของ
            วั ต ถุ ใ นธรรมชาติ มี ก ระบวนการสื บ เสาะหาความรู้
            และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำาความรู้
            ไปใช้ประโยชน์
สาระที่ ๕ : พลัง งาน
มาตรฐาน ว ๕.๑ : เข้าใจความสั ม พั นธ์ ร ะหว่ า งพลั ง งานกั บ การ
            ดำารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงานปฏิสัมพันธ์ระหว่าง
            สารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและ
            สิ่งแวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสาร
            สิ่งที่เรียนรู้และนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์
สาระที่ ๖ : กระบวนการเปลี่ย นแปลงของโลก
มาตรฐาน ว ๖.๑ : เข้าใจกระบวนการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลก
            และภายในโลก ความสัมพันธ์ของกระบวนการต่าง ๆ
            ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และ
            สัณฐานของโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และ
            จิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำาความรู้ไป
            ใช้ประโยชน์
12

สาระที่ ๗ : ดาราศาสตร์แ ละอวกาศ
มาต รฐ าน ว ๗.๑ : เข้ า ใจวิ วั ฒ นาการข องระบบสุ ริ ย ะแล ะ
            กาแล็กซี ปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ และผลต่อสิ่ง
            มี ชี วิ ต บนโลก มี ก ระบวนการสื บ เสาะหาความรู้ แ ละ
            จิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำา ความรู้ ไป
            ใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว ๗.๒ : เข้าใจความสำาคัญของเทคโนโลยีอวกาศที่นำา
            มาใช้ในการสำา รวจอวกาศและทรั พ ยากรธรรมชาติ
            ด้านการเกษตรและการสื่อสาร มีกระบวนการสืบเสาะ
            หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และ
            นำา ความรู้ ไ ปใช้ ป ระโยชน์ อ ย่ า งมี คุ ณ ธรรมต่ อ ชี วิ ต
            และสิ่งแวดล้อม
สาระที่ ๘ : ธรรมชาติข องวิท ยาศาสตร์แ ละเทคโนโลยี
มาตรฐาน ว ๘.๑ : ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยา
            ศาสตร์ ในการสื บเสาะหาความรู้ การแก้ ปัญ หา รู้ว่ า
            ปรากฏการณ์ ท างธรรมชาติ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ส่ ว นใหญ่ มี รู ป
            แบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภาย
            ใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้น ๆ เข้าใจ
            ว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อมมี
            ความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
13




มาตรฐานการเรีย นรู้ช ่ว งชั้น ที่ ๓ สาระการเรีย นรู้
                 วิท ยาศาสตร์

                สาระที่                  มาตรฐานการเรีย นรู้ช ่ว งชั้น
           มาตรฐานที่
สาระที่ ๑ : สิ่งมีชีวิตกับ            ๑. สำารวจตรวจสอบ และอธิบาย
กระบวนการดำารงชีวิต                   ลักษณะและรูปร่างของเซลล์ต่าง ๆ
มาตรฐาน ว ๑.๑ เข้าใจหน่วยพื้น         ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสิ่งมีชีวิต
ฐานของสิ่งมีชีวิตความสัมพันธ์         หลายเซลล์        หน้าที่ของส่วน
ของโครงสร้าง และหน้าที่ของ            ประกอบของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์
ระบบต่างๆของสิ่งมีชีวิตที่ทำางาน      รวมทั้งกระบวนการที่สารผ่านเซลล์
สัมพันธ์กัน มีกระบวนการสืบเสาะ        ๒. สำารวจตรวจสอบและอธิบายปัจจัย
หาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และ   ที่จำาเป็นต้องใช้และผลที่ได้จากการ
นำาความรู้ไปใช้ในการดำารงชีวิต        สังเคราะห์ด้วยแสง ความสำาคัญของ
ของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต            กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงต่อสิ่งมี
                                      ชีวิตและ           สิ่งแวดล้อม
                                      ๓. สำารวจตรวจสอบ สืบค้นข้อมูล
                                      อภิปราย และอธิบายโครงสร้างและการ
                                      ทำางานของระบบต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิต
                                      (พืช สัตว์ และมนุษย์) การทำางานที่
                                      สัมพันธ์กันของระบบ ต่าง ๆ และนำา
                                      ความรู้ไปใช้
                                      ๔. สังเกต สำารวจตรวจสอบ วิเคราะห์
                                      และอธิบายพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิตที่
                                      ตอบสนองต่อสิ่งเร้า (แสง อุณหภูมิ นำ้า
                                      และการสัมผัส)
                                      ๕. สืบค้นข้อมูล อภิปรายและนำาเสนอ
                                      เกี่ยวกับเทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการ
                                      ขยายพันธุ์และปรับปรุงพันธุ์ เพิ่ม
                                      ผลผลิตของพืชและสัตว์ รวมทั้งผลของ
                                      การใช้เทคโนโลยีเหล่านั้นในด้าน
                                      เกษตรกรรม อุตสาหกรรม อาหาร
14

                                        และการแพทย์
                                        ๖. สำารวจตรวจสอบสารอาหารต่าง ๆ
                                        ที่รับประทานในชีวิตประจำาวัน และนำา
                                        ความรู้มาใช้ในการเลือกรับประทาน
                                        อาหารที่มีสารอาหารครบถ้วน ได้
                                        สัดส่วน เหมาะสมกับเพศและวัย
                                        ๗. สืบค้นข้อมูล อภิปรายและอธิบาย
                                        เกี่ยวกับสารเสพติด    ผลของสาร
                                        เสพติดต่อการทำางานของระบบต่างๆ
                                        ของร่างกาย และนำาเสนอแนวทางใน
                                        การป้องกันและต่อต้านสารเสพติด
                 สาระที่
                                           มาตรฐานการเรีย นรู้ช ว งชั้น
                                                                ่
            มาตรฐานที่
สาระที่ ๑ : สิ่ง มีช ว ิต กับ
                       ี                ๑. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และอธิบาย
กระบวนการดำา รงชีว ต       ิ            เกี่ยวกับสารพันธุกรรมในนิวเคลียสที่
มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจ                    ควบคุมลักษณะและกระบวนการต่างๆ
กระบวนการและความสำาคัญของ               ของเซลล์ สารพันธุกรรรมสามารถ
การถ่ายทอดลักษณะทาง                     ถ่ายทอดไปสู่ลูกหลาน และรู้ถึง
พันธุกรรมวิวัฒนาการของสิ่งมี            ประโยชน์ของการใช้ความรู้ด้าน
ชีวิต ความหลากหลายทาง                   พันธุกรรม
ชีวภาพ การใช้เทคโนโลยี                  ๒. สำารวจ สืบค้นข้อมูล และอธิบาย
ชีวภาพที่มีผลต่อมนุษย์และสิ่ง           ความหลากหลายทางชีวภาพในท้อง
แวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะ              ถิ่นที่ทำาให้สิ่งมีชีวิตดำารงชีวิตอยู่ได้
หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์              อย่างสมดุล และผลต่อการดำารงชีวิต
สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำาความรู้ไป   ของมนุษย์ ทั้งในด้านที่เป็นประโยชน์
ใช้ประโยชน์                             และโทษ โดยเฉพาะโรคที่มีผลต่อสังคม
สาระที่ ๒ : ชีว ต กับ สิ่ง แวดล้อ ม
                    ิ
มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสิ่ง                ๑. สำารวจตรวจสอบระบบนิเวศต่างๆ
แวดล้อมในท้องถิ่น ความสัมพันธ์          ในท้องถิ่น อธิบายความสัมพันธ์ของ
ระหว่างสิ่งมีชีวิตต่างๆ ในระบบ          องค์ประกอบภายในระบบนิเวศ การ
นิเวศมีกระบวนการสืบเสาะ                 ถ่ายทอดพลังงาน วัฏจักรของสารและ
หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์              การเปลี่ยนแปลงขนาดของประชากร
สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำาความรู้ไป
ใช้ประโยชน์
สาระที่๒ : ชีว ต กับ สิ่ง แวดล้อ ม
                  ิ
มาตรฐาน ว ๒.๒ เข้าใจความ                ๑. สำารวจ วิเคราะห์สภาพปัญหาสิ่ง
สำาคัญของทรัพยากรธรรมชาติใน             แวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติใน
ระดับท้องถิ่น ประเทศ และโลก นำา         ท้องถิ่น เสนอแนวคิดในการรักษา
ความรู้ไปใช้ในการจัดการ                 สมดุลของระบบนิเวศ การใช้
15

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง               ทรัพยากร ธรรมชาติอย่างยั่งยืนโดย
แวดล้อมในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน         ใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และ
                                      เทคโนโลยี รวมทั้งลงมือปฏิบัติในการ
                                      ดูแลรักษา แก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม
สาระที่ ๓ : สารและสมบัต ข อง ๑. สังเกต สำารวจตรวจสอบ วิเคราะห์
                              ิ
สาร                                   อภิปรายสมบัติต่าง ๆ ของสาร จำาแนก
มาตรฐาน ว ๓.๑. เข้าใจสมบัติ           สารออกเป็นกลุ่มตาม เนื้อสาร หรือ
ของสาร ความสัมพันธ์ระหว่าง            ขนาดของอนุภาค
สมบัติของสารกับโครงสร้างและ           ๒. สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับแบบจำาลอง
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค มี         (model) การจัดเรียงอนุภาคและการ
กระบวนการสืบเสาะหาความรู้และ เคลื่อนไหวอนุภาคของสารในสถานะ
จิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ ต่าง ๆ และใช้แบบจำาลองอธิบายสมบัติ
และนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์            และการเปลี่ยนสถานะของสาร
                                      ๓. สำารวจตรวจสอบสาร เนื้อเดียว
                                      อภิปราย และอธิบายสมบัติความเป็น
                                      กรด-เบสของสารละลาย ค่า pH ของ
                                      สารละลาย และการนำาความรู้เกี่ยวกับ
                                      กรด-เบสไปใช้ประโยชน์
             สาระที่
                                          มาตรฐานการเรีย นรู้ช ว งชั้น
                                                                   ่
         มาตรฐานที่
สาระที่ ๓ : สารและสมบัต ข อง ๔. สำารวจตรวจสอบและเปรียบเทียบ
                                ิ
สาร                                   สมบัติของสาร อธิบายองค์ประกอบ
มาตรฐาน ว ๓.๑. เข้าใจสมบัติ           สมบัติของธาตุและสารประกอบ
ของสาร ความสัมพันธ์ระหว่าง            สามารถจำาแนกและอธิบายสมบัติของ
สมบัติของสารกับโครงสร้างและ           ธาตุกัมมันตรังสี โลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค มี         และ การนำาไปใช้ประโยชน์
กระบวนการสืบเสาะหาความรู้และ ๕. สำารวจตรวจสอบและอธิบายหลัก
จิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ การแยกสารด้วยวิธีการกรอง การกลั่น
และนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์            การตกผลึก การสกัด และโครมาโท
                                      กราฟี และนำาวิธีการแยกสารไปใช้
                                      ประโยชน์ได้อย่าง เหมาะสม
สาระที่ ๓ : สารและสมบัต ข อง ๑. สังเกต สำารวจตรวจสอบ อภิปราย
                                  ิ
สาร                                   อธิบายการเปลี่ยนแปลงสมบัติ มวล
มาตรฐาน ว ๓.๒. เข้าใจหลักการ และพลังงานของสาร เมื่อสารเกิดการ
และธรรมชาติของการเปลี่ยน              ละลาย เปลี่ยนสถานะ และเกิด
สถานะของสาร การเกิด                   ปฏิกิริยาเคมี รวมทั้งวิเคราะห์ปัจจัยที่มี
สารละลาย การเกิดปฏิกิริยาเคมี มี ผลต่อการเปลี่ยนแปลงของสาร
กระบวนการสืบเสาะหาความรู้และ ๒. สำารวจตรวจสอบ เปรียบเทียบ
จิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ อภิปราย และอธิบายเกี่ยวกับหน่วยที่
16

และนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์            ใช้แสดงปริมาณของตัวละลายในตัวทำา
                                      ละลาย วิธีเตรียมสารละลายที่มีความ
                                      เข้มข้นตามหน่วยที่กำาหนด และนำาไป
                                      ใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำาวัน
                                      ๓. สังเกต สำารวจตรวจสอบ อภิปราย
                                      และอธิบายเกี่ยวกับปฏิกิริยาเคมี และ
                                      สมการเคมีของปฏิกิริยาระหว่างโลหะ
                                      กับออกซิเจน โลหะกับนำ้า โลหะกับกรด
                                      กรดกับเบส กรดกับคาร์บอเนต และนำา
                                      ความรู้เกี่ยวกับปฏิกิริยาของสารเหล่านี้
                                      ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำาวัน
                                      ๔. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และอธิบาย
                                      เกี่ยวกับผลของสารเคมี ปฏิกิริยาเคมี
                                      ต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ตระหนักถึง
                                      การใช้สารเคมีอย่างถูกต้อง คุ้มค่า
                                      ปลอดภัย รู้วิธีป้องกันและแก้ไขอย่าง
                                      ถูกวิธี
สาระที่ ๔ : แรงและการ                 ๑. อภิปรายและอธิบายได้ว่า แรงเป็น
เคลื่อ นที่                           ปริมาณเวกเตอร์        ทำาการทดลองหา
มาตรฐาน ว ๔.๑. เข้าใจ                 แรงลัพธ์ของแรงหลายแรงที่กระทำาต่อ
ธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้า           วัตถุในระนาบเดียวกัน
แรงโน้มถ่วง และแรงนิวเคลียร์ มี       ๒. สำารวจตรวจสอบ และอธิบายว่าแรง
กระบวนการสืบเสาะหาความรู้             ลัพธ์มีผลทำาให้วตถุมีความเร่งในทิศ
                                                       ั
สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำาความรู้   เดียวกับแรงลัพธ์นั้น
ไปใช้ประโยชน์อย่างถูกต้องและมี
คุณธรรม

                 สาระที่
                                         มาตรฐานการเรีย นรู้ช ว งชั้น
                                                              ่
            มาตรฐานที่
สาระที่ ๔ : แรงและการ                 ๑. สำารวจตรวจสอบ และอธิบายแรง
เคลื่อ นที่                           เสียดทานที่เกิดจากสถานการณ์ต่างๆ
มาตรฐาน ว ๔.๒. เข้าใจลักษณะ           ในเชิงคุณภาพและเสนอแนะวิธีการ
การเคลื่อนที่แบบต่างๆของวัตถุใน       เพิ่มหรือลดแรงเสียดทานเพื่อใช้
ธรรมชาติ มีกระบวนการสืบเสาะ           ประโยชน์อย่างเหมาะสม
หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์            ๒. ทดลอง และอธิบายหลักการของ
สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำาความรู้   โมเมนต์และวิเคราะห์โมเมนต์ใน
ไปใช้ประโยชน์                         สถานการณ์ต่างๆ รวมทั้งคำานวณ และ
                                      นำาความรู้ไปใช้ประโยชน์
                                      ๓. สังเกตการเคลื่อนที่แบบต่างๆ ใน
17

                                    ชีวิตประจำาวัน และอธิบายผลของแรง
                                    ที่กระทำาต่อวัตถุและลักษณะการ
                                    เคลื่อนที่ รวมทั้งการนำาไปใช้
                                    ประโยชน์
สาระที่ ๕ : พลัง งาน                ๑. สำารวจตรวจสอบ และอธิบายความ
มาตรฐาน ว ๕.๑. เข้าใจความ           หมายของงาน พลังงานศักย์โน้มถ่วง
สัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการ        พลังงานจลน์       กฎการอนุรักษ์
ดำารงชีวต การเปลี่ยนรูปพลังงาน
          ิ                         พลังงาน และการนำาไปใช้ประโยชน์
ปฏิสัมพันธ์ ระหว่างสารและ           ๒. สังเกต และวัดอุณหภูมิของสิ่งต่างๆ
พลังงาน ผลของการใช้พลังงาน          บอกได้ว่าอุณหภูมิเป็นปริมาณที่บอกถึง
ต่อสิ่งมีชีวิตและวิ่งแวดล้อม มี     ระดับ หรือสภาพความร้อนในวัตถุ
กระบวนการสืบเสาะหาความรู้           ๓. สำารวจตรวจสอบ และอธิบายการ
สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำาไปใช้   ถ่ายโอนพลังงานความร้อนโดยการนำา
ประโยชน์                            การพา การแผ่รังสี และ นำาความรู้
                                    ไปใช้ประโยชน์
                                    ๔. ทดลอง และอธิบายการดูดกลืนแสง
                                    และการคายความร้อนของวัตถุต่างๆ
                                    สืบค้นข้อมูลรวมทั้งนำาความรู้ไป
                                    ออกแบบเพื่อใช้ประโยชน์ในกิจกรรม
                                    ต่างๆ
                                    ๕. ทดลอง และอธิบายสมดุล ความ
                                    ร้อน ผลของความร้อนต่อการขยาย
                                    ตัวของวัตถุ รวมทั้งนำาไปใช้ประโยชน์
                                    ในด้านต่างๆ
                                    ๖. ทดลอง และอธิบายสมบัติ การ
                                    สะท้อน การหักเหของแสง รวมทั้งการ
                                    คำานวณปริมาณที่เกี่ยวข้อง และการนำา
                                    ความรู้ไปใช้ประโยชน์เช่น เส้นใยนำา
                                    แสง เลเซอร์
                                    ๗. อภิปรายและอธิบายได้ว่า ความ
                                    เข้มของแสงมีผลต่อนัยน์ตามนุษย์ และ
                                    มีผลต่อสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
                                    ๘. ทดลอง และอธิบายความสัมพันธ์
                                    ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแส
                                    ไฟฟ้า ความต้านทาน และคำานวณ
                                    หาปริมาณที่เกี่ยวข้อง
            สาระที่
                                       มาตรฐานการเรีย นรู้ช ว งชั้น
                                                            ่
         มาตรฐานที่
สาระที่ ๕ : พลัง งาน                ๙. สืบค้นข้อมูล และคำานวณหา
18

มาตรฐาน ว ๕.๑. เข้าใจความ             พลังงานไฟฟ้าของเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ใช้
สัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการ          ในชีวิตประจำาวัน เปรียบเทียบ และ
ดำารงชีวต การเปลี่ยนรูปพลังงาน
          ิ                           เลือกใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าได้อย่างเหมาะ
ปฏิสัมพันธ์ ระหว่างสารและ             สม
พลังงาน ผลของการใช้พลังงาน            ๑๐. สืบค้นข้อมูล และอธิบาย หลัก
ต่อสิ่งมีชีวิตและวิ่งแวดล้อม มี       การต่อวงจรไฟฟ้าในบ้าน การ
กระบวนการสืบเสาะหาความรู้             ออกแบบและติดตั้งอย่างถูกต้อง
สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำาไปใช้     ปลอดภัยและเหมาะสม รวมทั้งการนำา
ประโยชน์                              ไปใช้ประโยชน์
                                      ๑๑. สำารวจตรวจสอบ บอกสมบัติเบื้อง
                                      ต้นของชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์บางชนิด
                                      เช่น ตัวต้านทาน ไดโอดไอซี
                                      ทรานซิสเตอร์ สามารถประกอบวงจร
                                      อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น และนำาไปใช้
                                      ประโยชน์
สาระที่ ๖ : กระบวนการ                 ๑. สืบค้นข้อมูล อภิปราย เกี่ยวกับ
เปลี่ย นแปลงของโลก                    ปรากฏการณ์ทาง          ลมฟ้าอากาศ
มาตรฐาน ว ๖.๑. เข้าใจ                 แปลความหมายจากการพยากรณ์
กระบวนการต่างๆที่เกิดขึ้นบนผิว อากาศ อธิบายผลของลมฟ้าอากาศต่อ
โลกและภายในโลก ความสัมพันธ์ การดำารงชีวิตและสิ่งแวดล้อม
ของกระบวนการต่างๆ ที่มีผลต่อ          ๒. สืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ อภิปราย
การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ               และอธิบายปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นตาม
ภูมิประเทศและสัณฐานของโลก มี ธรรมชาติของโลก และกิจกรรมที่เกิด
กระบวนการสืบเสาะหาความรู้และ จากมนุษย์ มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง
จิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ อุณหภูมิของโลก ซึ่งส่งผลต่อการดำารง
และนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์            ชีวิตและสิ่งแวดล้อม
                                      ๓. สืบค้นข้อมูล สำารวจตรวจสอบ
                                      อภิปรายและอธิบาย เกี่ยวกับส่วน
                                      ประกอบของโลก และทรัพยากรธรณี
                                      ในโลก
                                      ๔. สืบค้นข้อมูล สำารวจตรวจสอบและ
                                      อธิบายปัจจัยที่มีผลต่อกระบวนการยก
                                      ตัว การยุบตัว และการคดโค้งโก่งงอ
                                      การผุพังอยู่กับที่ การกร่อน การพัดพา
                                      การทับถม และผลของกระบวนการดัง
                                      กล่าวที่ทำาให้เกิดภูมิประเทศแตกต่าง
                                      กัน
                                      ๕. สำารวจตรวจสอบ อภิปรายและ
                                      อธิบายเกี่ยวกับชั้นหน้าตัดของดิน
19

                                        สมบัติของดิน การปรับปรุงคุณภาพ
                                        ของดิน และการนำาไปใช้ประโยชน์
                                        ๖. สำารวจตรวจสอบ อภิปราย และ
                                        อธิบายเกี่ยวกับแหล่งนำ้าบนพื้นโลก
                                        แหล่งนำ้าใต้ดิน และการนำามาใช้
                                        ประโยชน์

              สาระที่
                                           มาตรฐานการเรีย นรู้ช ว งชั้น
                                                                ่
           มาตรฐานที่
สาระที่ ๖ : กระบวนการ
เปลี่ย นแปลงของโลก                      ๗. สำารวจตรวจสอบ สังเกต และ
มาตรฐาน ว ๖.๑. เข้าใจ                   อธิบายกระบวนการเกิด ลักษณะของ
กระบวนการต่างๆที่เกิดขึ้นบนผิว          องค์ประกอบ สมบัติของหินและแร่
โลกและภายในโลก ความสัมพันธ์             รวมทั้งการใช้ประโยชน์
ของกระบวนการต่างๆ ที่มีผลต่อ
การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
ภูมิประเทศและสัณฐานของโลก มี
กระบวนการสืบเสาะหาความรู้และ
จิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้
และนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์
สาระที่ ๗ : ดาราศาสตร์แ ละ              ๑. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และอธิบาย
อวกาศ                                   เกี่ยวกับปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ และ
มาตรฐาน ว ๗.๑ เข้าใจ                    ผลต่อสิ่งแวดล้อม และสิ่งมีชีวิตบน
วิวัฒนาการของระบบสุริยะและ              โลก
กาแล็กซี ปฏิสัมพันธ์ภายในระบบ           ๒. สังเกต อภิปราย และอธิบายกลุ่ม
สุริยะและผลต่อสิ่งที่มีชีวิตบนโลก       ดาวฤกษ์ และการใช้ประโยชน์จาก
มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้             ความรู้นั้น
และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่
เรียนรู้และนำาความรู้ไปใช้
ประโยชน์
มาตรฐาน ว ๗.๒. เข้าใจความ               ๑. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และอธิบาย
สำาคัญของเทคโนโลยีอวกาศที่นำา           เกี่ยวกับก้าวหน้าของเทคโนโลยีอวกาศ
มาใช้ในการสำารวจอวกาศและ                ที่ใช้ สำารวจอวกาศ วัตถุท้องฟ้า
ทรัพยากรธรรมชาติ ด้านเกษตร              สภาวะอากาศ ทรัพยากรธรรมชาติและ
และสื่อสาร สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และ    ใช้ในการสื่อสาร
นำาความรู้ไปใช้ประโยชน์อย่างมี
คุณธรรมต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สาระที่ ๘ : ธรรมชาติข อง                ๑. ตังคำาถามที่กำาหนดประเด็น หรือ
                                             ้
วิท ยาศาสตร์แ ละเทคโนโลยี               ตัวแปรที่สำาคัญในการสำารวจตรวจสอบ
20

มาตรฐาน ว ๘.๑ ใช้                     หรือศึกษาค้นคว้าเรื่องที่สนใจได้อย่าง
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และ            ครอบคลุมและเชื่อถือได้
จิตวิทยาศาสตร์ ในการสืบเสาะ           ๒. สร้างสมมติฐานที่สามารถตรวจสอบ
หาความรู้ การแก้ปัญหารู้ว่า           ได้ และวางแผนการสำารวจตรวจสอบ
ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิด          หลาย ๆ วิธี
ขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน         ๓. เลือกเทคนิควิธีการสำารวจตรวจ
สามารถอธิบายและตรวจสอบได้             สอบทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ที่
ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่    ได้ผลเที่ยงตรงและปลอดภัย โดยใช้
ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า             วัสดุและเครื่องมือที่เหมาะสม
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม           ๔. เก็บข้อมูล      จัดกระทำา ข้อมูลเชิง
และสิ่งแวดล้อมมีความเกี่ยวข้อง        ปริมาณและ        คุณภาพ
สัมพันธ์กัน                           ๕. วิเคราะห์และประเมิน ความ
                                      สอดคล้องของ ประจักษ์พยานกับข้อ
                                      สรุป ทั้งที่สนับสนุนหรือขัดแย้งกับ
                                      สมมติฐาน และความ ผิดปกติของ
                                      ข้อมูลจากการสำารวจตรวจสอบ

            สาระที่
                                         มาตรฐานการเรีย นรู้ช ่ว งชั้น
          มาตรฐานที่
สาระที่ ๘ : ธรรมชาติข อง
วิท ยาศาสตร์แ ละเทคโนโลยี
มาตรฐาน ว ๘.๑ ใช้                    ๖. สร้างแบบจำาลอง (modeling)
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์              หรือรูปแบบ (pattern
และจิตวิทยาศาสตร์ ในการสืบ           representation) ที่อธิบายผลหรือ
เสาะหาความรู้ การแก้ปัญหารู้ว่า      แสดงผลของการสำารวจตรวจสอบ
ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิด         ๗. สร้างคำาถามที่นำาไปสู่การสำารวจ
ขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน        ตรวจสอบในเรื่องที่เกี่ยวข้อง และนำา
สามารถอธิบายและตรวจสอบได้            ความรู้ที่ได้ไปใช้ในสถานการณ์ใหม่
ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่   ๘. บันทึกและอธิบายผลการสังเกต การ
ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า            สำารวจตรวจสอบ ค้นคว้าเพิ่มเติมจาก
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม          แหล่งความรู้ต่าง ๆ ให้ได้ข้อมูลที่เชื่อ
และสิ่งแวดล้อมมีความเกี่ยวข้อง       ถือได้ และยอมรับการเปลี่ยนแปลงความ
สัมพันธ์กัน                          รู้ที่ค้นพบเมื่อมีข้อมูลและประจักษ์พยาน
                                     ใหม่เพิ่มขึ้นหรือโต้แย้งจากเดิม
                                     ๙. จัดแสดงผลงาน เขียน รายงาน
                                     และ/หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด
                                     กระบวนการ และผล ของโครงงานหรือ
                                     ชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
21




มาตรฐานการเรีย นรู้ช ่ว งชั้น ที่ ๔ สาระการเรีย นรู้
                 วิท ยาศาสตร์
                    สาระที่                   มาตรฐานการเรีย นรู้ช ว ง
                                                                   ่
                 มาตรฐานที่                           ชัน
                                                        ้
สาระที่ ๑ : สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำารง
ชีวิต                                        ๑. สำารวจตรวจสอบ อภิปราย
มาตรฐาน ว ๑.๑ เข้าใจหน่วยพื้นฐานของ          และอธิบาย การรักษาดุลยภาพ
สิ่งมีชีวิตความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และ      ของเซลล์กลไกในการควบคุม
หน้าที่ของระบบต่างๆของสิ่งมีชีวิตที่         ดุลยภาพของร่างกายมนุษย์
ทำางานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการสืบเสาะ         และนำาความรู้ไปใช้ในชีวิต
หาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำาความ   และในการศึกษาหาความรู้เพิ่ม
รู้ไปใช้ในการดำารงชีวิตของตนเองและ           เติม
ดูแลสิ่งมีชีวิต
มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจกระบวนการและ             ๑. สืบค้นข้อมูล อภิปรายและ
ความสำาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทาง             อธิบายกระบวนการถ่ายทอด
พันธุกรรมวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ความ       สารพันธุกรรม การแปรผัน
หลากหลายทางชีวภาพ การใช้                     ทางพันธุกรรม การเกิดมิวเท
เทคโนโลยีชีวภาพที่มีผลต่อมนุษย์และสิ่ง       ชัน และการเกิดความหลาก
แวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้          หลายทางชีวภาพ
และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้     ๒. สืบค้นข้อมูล อภิปราย
และนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์                   อธิบายถึงประโยชน์ของ
                                             เทคโนโลยีชีวภาพความหลาก
                                             หลายของสิ่งมีชีวิตที่มีต่อสังคม
22

                                              และสิ่งแวดล้อม
                                              ๓. สร้างสถานการณ์จำาลองที่
                                              แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงปัจจัย
                                              ต่างๆ ในสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อ
                                              การอยู่รอดของสิ่งมีชีวิตแต่ละ
                                              ชนิดและการอยู่รอดของสิ่งมี
                                              ชีวิตสัมพันธ์กับความหลาก
                                              หลายของสิ่งมีชีวิต
สาระที่ ๒ : ชีว ต กับ สิ่ง แวดล้อ ม
                 ิ                            ๑. วิเคราะห์ อภิปรายและ
มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสิ่งแวดล้อมใน             อธิบายกระบวนการ
ท้องถิ่น ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิต       เปลี่ยนแปลงแทนที่ของสิ่งมี
ต่างๆ ในระบบนิเวศมีกระบวนการสืบเสาะ ชีวิต ความสำาคัญของความ
หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่ หลากหลายทางชีวภาพ ความ
เรียนรู้และนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์            หลากหลายของระบบนิเวศและ
                                              ดุลยภาพของระบบนิเวศ
สาระที่๒ : ชีว ต กับ สิ่ง แวดล้อ ม
               ิ                              ๑. สำารวจ วิเคราะห์ สภาพ
มาตรฐาน ว ๒.๒ เข้าใจความสำาคัญของ ปัญหาสิ่งแวดล้อมและการใช้
ทรัพยากรธรรมชาติในระดับท้องถิ่น               ทรัพยากรธรรมชาติในระดับ
ประเทศ และโลก นำาความรู้ไปใช้ในการ            ท้องถิ่น ระดับประเทศและระดับ
จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง                 โลกวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา
แวดล้อมในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน                 วางแผนและลงมือปฏิบัติร่วม
                                              กับชุมชนป้องกันแก้ไขปัญหา
                                              เฝ้าระวังอนุรักษ์และพัฒนา
                                              ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง
                                              แวดล้อม
             สาระที่
                                          มาตรฐานการเรีย นรู้ช ่ว งชั้น
          มาตรฐานที่
สาระที่ ๓ : สารและสมบัต ิ           ๑.สืบค้นข้อมูล อภิปรายและอธิบาย
ของสาร                              โครงสร้างอะตอมชนิดและจำานวน
มาตรฐาน ว ๓.๑. เข้าใจสมบัติ         อนุภาคมูลฐานของอะตอมจากสัญลักษณ์
ของสาร ความสัมพันธ์ระหว่าง นิวเคลียร์ของธาตุ วิเคราะห์และเปรียบ
สมบัติของสารกับโครงสร้างและ เทียบการจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค มี อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างอิเล็กตรอน
กระบวนการสืบเสาะหาความรู้           ในระดับพลังงานนอกสุดกับสมบัติของ
และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่ ธาตุและการเกิดปฏิกิริยา
เรียนรู้และนำาความรู้ไปใช้          ๒. สำารวจตรวจสอบและวิเคราะห์ข้อมูล
ประโยชน์                            เกี่ยวกับสมบัติสารประกอบ และเลข
                                    อะตอมของธาตุ อธิบายการจัดเรียงธาตุ
                                    ในตารางธาตุ และทำานายแนวโน้มของ
23

                                   สมบัติของธาตุในตารางธาตุ
                                   ๓. สำารวจตรวจสอบวิเคราะห์ข้อมูล
                                   อภิปรายและอธิบายการเกิดพันธะเคมีใน
                                   โมเลกุลหรือในโครงผลึกของสาร ความ
                                   สัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารในเรื่อง
                                   จุดเดือด จุดหลอมเหลว และสถานะกับ
                                   แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคของสารนั้น
สาระที่ ๓ : สารและสมบัต ิ          ๑.สำารวจตรวจสอบ อภิปราย และเขียน
ของสาร                             สมการของปฏิกิริยาเคมีทั่วไปที่พบใน
มาตรฐาน ว ๓.๒. เข้าใจหลัก          เคมีทั่วไปที่พบในชีวิตประจำาวัน รวมทั้ง
การและธรรมชาติของการ               สารที่จากเกิดปฏิกิริยาเคมีที่จะมีผลต่อสิ่ง
เปลี่ยนสถานะของสาร การเกิด         มีชีวตและสิ่งแวดล้อม
                                         ิ
สารละลาย การเกิดปฏิกิริยาเคมี      ๒. สำารวจตรวจสอบ อภิปราย และอธิบาย
มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้        อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ปัจจัยที่มีผล
และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่   ต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี การนำา
เรียนรู้และนำาความรู้ไปใช้         ความรู้เกี่ยวกับการควบคุมอัตราการเกิด
ประโยชน์                           ปฏิกิริยาเคมีไปใช้ประโยชน์ในชีวิต
                                   ประจำาวัน
                                   ๓. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และอธิบาย
                                   เกี่ยวกับกระบวนการและผลิตภัณฑ์จาก
                                   การแยกแก๊สธรรมชาติการกลั่นลำาดับ
                                   ส่วนนำ้ามันประจำาวัน
                                   ๓. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และอธิบาย
                                   เกี่ยวกับกระบวนการและผลิตภัณฑ์จาก
                                   การแยกแก๊สธรรมชาติการกลั่นลำาดับ
                                   ส่วนนำ้ามันดิบ ประโยชน์ของผลิตภัณฑ์
                                   ต่างๆ ที่ได้จากการกลั้นลำาดับส่วนนำ้ามัน
                                   ดิบรวมถึงอันตราย หรือมลภาวะที่อาจ
                                   เกิดขึ้นจากสารในผลิตภัณฑ์ทั้งก่อนหรือ
                                   หลังการนำาไปใช้ประโยชน์
           สาระที่
                                       มาตรฐานการเรีย นรู้ช ่ว งชั้น
         มาตรฐานที่
สาระที่ ๓ : สารและสมบัต ิ          ๔. สังเกต สำารวจ ตรวจสอบ สืบค้นข้อมูล
ของสาร                             อภิปราย อธิบายการเกิดและสมบัติของ
มาตรฐาน ว ๓.๒. เข้าใจหลัก          พอลิเมอร์ การนำาลิเมอร์ไปใช้อย่าง
การและธรรมชาติของการ               เหมาะสม
เปลี่ยนสถานะของสาร การเกิด         ๕. สืบค้นข้อมูล สำารวจตรวจสอบ
สารละลาย การเกิดปฏิกิริยาเคมี      อภิปราย และอธิบายองค์ประกอบ สมบัติ
มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้        ประโยชน์และปฏิกิริยาของ
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551
Science dep curr2551

More Related Content

What's hot

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้Mam Chongruk
 
โครงงานอิเล็ก6
โครงงานอิเล็ก6โครงงานอิเล็ก6
โครงงานอิเล็ก6Wichai Likitponrak
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตMam Chongruk
 
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 3
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 3ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 3
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 3Mam Chongruk
 
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)Kobwit Piriyawat
 
Youth project documents
Youth project documentsYouth project documents
Youth project documentsworachak11
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์Mam Chongruk
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
โครงงานอิเล็ก4
โครงงานอิเล็ก4โครงงานอิเล็ก4
โครงงานอิเล็ก4Wichai Likitponrak
 
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...Kobwit Piriyawat
 
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551Weerachat Martluplao
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-socPrachoom Rangkasikorn
 
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...Kobwit Piriyawat
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...Kobwit Piriyawat
 
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54นู๋หนึ่ง nooneung
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนnang_phy29
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 

What's hot (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
 
โครงงานอิเล็ก6
โครงงานอิเล็ก6โครงงานอิเล็ก6
โครงงานอิเล็ก6
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
 
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 3
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 3ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 3
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 3
 
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
 
Youth project documents
Youth project documentsYouth project documents
Youth project documents
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
โครงงานอิเล็ก4
โครงงานอิเล็ก4โครงงานอิเล็ก4
โครงงานอิเล็ก4
 
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
 
Stem workshop summary
Stem workshop summaryStem workshop summary
Stem workshop summary
 
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
 
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54
 
Power point นำเสนองานวิจัย
Power point นำเสนองานวิจัยPower point นำเสนองานวิจัย
Power point นำเสนองานวิจัย
 
h6ju
h6juh6ju
h6ju
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 

Similar to Science dep curr2551

การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3korakate
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3korakate
 
Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01korakate
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)Miss.Yupawan Triratwitcha
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2korakate
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ05102500
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ05102500
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8supap6259
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหาWichai Likitponrak
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนPew Juthiporn
 
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์อำนาจ ศรีทิม
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1Kiw E D
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3bussayamas1618
 
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่วิจัยบทที่
วิจัยบทที่Natmol Thedsanabun
 

Similar to Science dep curr2551 (20)

การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
 
Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
project
projectproject
project
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
 
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่วิจัยบทที่
วิจัยบทที่
 
6บทที่2
6บทที่2 6บทที่2
6บทที่2
 

Science dep curr2551

  • 1. หลัก สูต รกลุ่ม สาระการ เรีย นรู้ว ิท ยาศาสตร์ ปีก ารศึก ษา ๒๕๕๑ โรงเรีย นบุ่ง คล้า นคร สำา นัก งานเขตพื้น ที่ การศึก ษาหนองคาย เขต ๓
  • 2. 2 อำา เภอบุ่ง คล้า จัง หวัด หนองคาย สารบัญ หน้า สารบัญ คุณภาพของผู้เรียน สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ มาตรฐานการเรียนรู้การศึกษาขั้นพื้นฐาน สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น - มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้นที่ ๓ - มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้นที่ ๔ โครงสร้างหลักสูตร รายวิชากลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ คำาอธิบายรายวิชา หน่วยการเรียนรู้
  • 3. 3 คุณ ภาพของผู้เ รีย น การจัดการศึกษาวิทยาศาสตร์สำาหรับหลักสูตรการศึกษาขั้น พื้นฐาน มุ่งหวังให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่เน้นกระบวนการ ไปสู่การสร้างองค์ความรู้ โดยผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนทุก ขั้นตอน ผู้เรียนจะได้ทำากิจกรรมหลากหลาย ทั้งเป็นกลุ่มและ เป็นรายบุคคลในการสังเกตสิ่งต่าง ๆ รอบตัว ตั้งคำาถาม หรือ ปัญหาเกี่ยวกับสิ่งที่จะศึกษา ได้พัฒนากระบวนการคิดขั้นสูง มี การคิดวางแผนและลงมือปฏิบัติการสำารวจตรวจสอบด้วย กระบวนการที่หลากหลาย จากแหล่งเรียนรู้ทั้งส่วนที่เป็นสากล และท้องถิ่น คิดและตัดสินใจเลือกข้อมูลที่เป็นประโยชน์ไปใช้ใน การตอบคำาถาม หรือแก้ปัญหา ซึ่งจะนำาไปสู่องค์ความรู้ แนวคิด หลักทางวิทยาศาสตร์ แล้วสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้หรือองค์ความรู้ใน รูปแบบต่าง ๆ ให้ผู้อื่นรับรู้ กระบวนการเรียนรู้ดังกล่าวจะทำาให้ผู้ เรียนสร้างองค์ความรู้และเกิดการพัฒนาเจตคติทางวิทยาศาสตร์ คุณธรรม และค่านิยมที่ดีต่อวิทยาศาสตร์ โดยครูผู้สอนมีบทบาท ในการวางแผนการเรียนรู้ กระตุ้น แนะนำา ช่วยเหลือให้ผู้เรียน เกิดการเรียนรู้ เพื่อให้การศึกษาวิทยาศาสตร์บรรลุผลตามที่มุ่งหวังไว้ จึงได้กำาหนดคุณภาพของผู้เรียนกลุ่ม วิทยาศาสตร์ที่จบการ ศึกษาขั้นพื้นฐาน ๑๒ ชั้นปี และแต่ละช่วงชั้นไว้ดังนี้ คุณ ภาพของผู้เ รีย นวิท ยาศาสตร์ท ี่จ บหลัก สูต รการศึก ษา ขั้น พื้น ฐาน ๑๒ ชั้น ปี ๑. เข้าใจเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำารงชีวิต ความ หลากหลายทางชี ว ภาพ และความสั ม พั นธ์ ร ะหว่ า งสิ่ ง มี ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ๒. เข้าใจสมบัติของสารและการเปลี่ยนแปลงของสาร แรง และการเคลื่อนที่ พลังงาน
  • 4. 4 ๓. เข้าใจโครงสร้างและองค์ประกอบของโลก ความสำาคัญ ของทรัพยากรทางธรณี ดาราศาสตร์ และอวกาศ ๔. ใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ กระบวนการแก้ปัญหา ในการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง ศึกษา ค้นคว้า สืบค้นจากแหล่งเรียนรู้หลากหลาย และจากเครือ ข่ายอินเทอร์เน็ต และสื่อสารความรู้ในรูปแบบต่าง ๆ ให้ผู้ อื่นรับรู้ ๕. เชื่อมโยงความรู้กับกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ นำาไป ใช้ในชีวิตประจำาวัน และศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม ทำาโครง งานวิทยาศาสตร์ หรือสร้างชิ้นงาน ๖. มีเจตคติทางวิทยาศาสตร์ หรือจิตวิทยาศาสตร์ ดังนี้ - ความสนใจใฝ่รู้ - ความมุ่งมั่น อดทน รอบคอบ - ความซื่อสัตย์ ประหยัด - การร่วมแสดงความคิดเห็น และยอมรับฟังความ คิดเห็นของผูอื่น ้ - ความมีเหตุผล - การทำางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์ ๗. มีเจตคติ คุณธรรม ค่านิยมที่ดีต่อวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม - มีความพอใจ ความซาบซึ้ง ความสุขในการสืบเสาะ หาความรู้และรักที่จะเรียนรู้ต่อเนื่องตลอดชีวิต - ตระหนักถึงความสำาคัญและประโยชน์ของวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีที่ใช้ในการดำารงชีวิตและการประกอบอาชีพ - ตระหนักว่าการใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมี ผลต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม - แสดงความชื่นชม ยกย่องและเคารพในสิทธิของผลงานที่ผู้ อื่นและตนเองคิดค้นขึ้น - แสดงความซาบซึ้ง ในความงามและตระหนักถึงความ สำาคัญของทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม เข้า
  • 5. 5 ร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวกับการอนุรักษ์พัฒนา ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและในท้อง ถิ่นตระหนักและยอมรับความสำาคัญของการใช้เทคโนโลยี ในการเรียนรู้และการทำางานต่าง ๆ คุณ ภาพของผู้เ รีย นวิท ยาศาสตร์เ มื่อ จบช่ว งชั้น ที่ ๓ (ชั้น มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ ๑ - ๓) ผู้เรียนที่เรียนจบช่วงชั้นที่ ๓ ควรมีความรู้ ความคิด ทักษะ กระบวนการ และจิตวิทยาศาสตร์ ดังนี้ ๑. เข้าใจลักษณะและองค์ประกอบที่สำาคัญของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของการทำางานของระบบต่าง ๆ การ ถ่ายทอดทางพันธุกรรม วิวัฒนาการและความหลากหลาย ของสิ่งมีชีวิต พฤติกรรมการอยู่ร่วมกันของสิ่งมี ชีวิต ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในสิ่งแวดล้อม ๒. เข้าใจสมบัติและองค์ประกอบของสารละลาย สาร บริสุทธิ์ การเปลี่ยนแปลงของสารใน รูปแบบของ การเปลี่ยนสถานะ การเกิดสารละลาย และการเกิด ปฏิกิริยาเคมี ๓. เข้าใจแรงเสียดทาน โมเมนต์ การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ ในชีวิตประจำาวัน กฎการอนุรักษ์พลังงาน การถ่ายโอน พลังงาน สมดุลความร้อน การสะท้อน การหักเห และ ความเข้มของแสง ๔. เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณทางไฟฟ้า หลักการ ต่อวงจรไฟฟ้าในบ้าน การคำานวณหาพลังงานไฟฟ้า และ หลักการเบื้องต้นของวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ๕. เข้าใจกระบวนการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก แหล่ง ทรัพยากรธรณี ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของ บรรยากาศ ปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ และผลที่มีต่อสิ่ง ต่าง ๆ บนโลก ความสำาคัญของเทคโนโลยีอวกาศ ๖. เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างวิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี การพัฒนาและผลของการพัฒนาเทคโนโลยีต่อคุณภาพ ชีวิตและสิ่งแวดล้อม ๗. ตั้งคำาถามที่มีการกำาหนดและควบคุมตัวแปร คิดคาด คะเนคำาตอบหลายแนวทางวางแผน และลงมือสำารวจ
  • 6. 6 ตรวจสอบ วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของข้อมูล และสร้างองค์ความรู้ ๘. สื่อสารความคิด ความรู้จากผลการสำารวจตรวจสอบโดย การพูด เขียน จัดแสดง หรือใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ๙. ใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีในการดำารงชีวิต การศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม ทำาโครงงานหรือสร้างชิ้นงานตามความสนใจ ๑๐. แสดงถึงความสนใจ มุ่งมั่น รับผิดชอบ รอบคอบ และ ซื่อสัตย์ในการสืบเสาะหาความรู้โดยใช้เครื่องมือและวิธี การที่ให้ได้ผลถูกต้องเชื่อถือได้ ๑๑. ตระหนักในคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีที่ใช้ในชีวิตประจำาวันและการประกอบอาชีพ แสดงความชื่นชม ยกย่องและเคารพสิทธิในผลงานของผู้ คิดค้น ๑๒.แสดงถึงความซาบซึ้ง ห่วงใย มีพฤติกรรมเกี่ยวกับการ ใช้และรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างรู้คุณ ค่า มีส่วนร่วมในการพิทักษ์ ดูแลทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น ๑๓.ทำางานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ แสดงความคิดเห็น ของตนเองและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น คุณ ภาพของผู้เ รีย นวิท ยาศาสตร์เ มื่อ จบช่ว งชั้น ที่ ๔ (ชั้น มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ ๔ - ๖) ผู้เรียนที่เรียนจบช่วงชั้นที่ ๔ ควรมีความรู้ ความคิด ทักษะ กระบวนการ และจิตวิทยาศาสตร์ ดังนี้ ๑. เข้าใจกระบวนการทำางานของเซลล์และกลไกการรักษา ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต เข้าใจกระบวนการถ่ายทอดทาง พันธุกรรม การแปรผัน มิวเทชัน วิวัฒนาการของสิ่งมี ชีวิต ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตและปัจจัยที่มีผลต่อการ อยู่รอดของสิ่งมีชีวิตใน สิ่งแวดล้อมต่างๆ ๒. เข้าใจกระบวนการ ความสำาคัญและผลของเทคโนโลยี ชีวภาพต่อคน สิ่งมีชีวิต และ สิ่งแวดล้อม ๓. เข้าใจชนิดและจำานวนอนุภาคที่เป็นส่วนประกอบใน โครงสร้างอะตอมของธาตุ การเกิด ปฏิกิริยาเคมี
  • 7. 7 การเขียนสมการเคมี ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิด ปฏิกิริยาเคมี ๔. เข้าใจชนิดของแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคและสมบัติ ต่าง ๆ ของสารที่มีความสัมพันธ์กับแรงยึดเหนี่ยว ๕. เข้าใจชนิด สมบัติ และปฏิกิริยาที่สำาคัญของพอลิเมอร์ และของสารชีวโมเลกุล ๖. เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณที่เกี่ยวกับการ เคลื่อนที่แบบต่าง ๆ คุณภาพของเสียงและการได้ยิน สมบัติ ประโยชน์และโทษของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า กัมมันตภาพรังสีและพลังงานนิวเคลียร์ ๗. เข้าใจกระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลกและ ปรากฏการณ์ทางธรณีที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ๘. เข้าใจการเกิดและวิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซี เอกภพ และความสำาคัญของ เทคโนโลยีอวกาศ ๙. เข้าใจความสัมพันธ์ของความรู้วิทยาศาสตร์ ที่มีผลต่อ การพัฒนาเทคโนโลยีประเภทต่าง ๆ และการพัฒนา เทคโนโลยีที่ส่งผลให้มีการคิดค้นความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่ ก้าวหน้า ผลของเทคโนโลยีต่อชีวิต สังคม และสิ่ง แวดล้อม ๑๐. ระบุปัญหา ตั้งคำาถามที่จะสำารวจตรวจสอบ โดยมีการ กำาหนดความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่าง ๆ สืบค้นข้อมูล จากหลายแหล่ง ตั้งสมมติฐานที่เป็นไปได้หลายแนวทาง ตัดสินใจเลือกตรวจสอบสมมติฐานที่เป็นไปได้ ๑๑. วางแผนการสำารวจตรวจสอบเพื่อแก้ปัญหาหรือตอบ คำาถาม วิเคราะห์ เชื่อมโยงความสัมพันธ์ของตัวแปร ต่าง ๆ โดยใช้สมการทางคณิตศาสตร์หรือสร้างแบบ จำาลองจากผลหรือความรู้ที่ได้รับจากการสำารวจตรวจสอบ ๑๒.สื่อสารความคิด ความรู้จากผลการสำารวจตรวจสอบโดย การพูด เขียน จัดแสดง หรือใช้ เทคโนโลยี สารสนเทศ ๑๓.ใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการดำารง ชีวิต การศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม ทำาโครงงานหรือสร้าง ชิ้นงานตามความสนใจ
  • 8. 8 ๑๔.แสดงถึงความสนใจ มุ่งมั่น รับผิดชอบ รอบคอบและ ซื่อสัตย์ในการสืบเสาะหาความรู้ โดยใช้เครื่องมือ และวิธีการที่ให้ได้ผลถูกต้องเชื่อถือได้ ๑๕.ตระหนักในคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่ใช้ในชีวิตประจำาวัน การประกอบอาชีพ แสดงถึงความ ชื่นชม ภูมิใจ ยกย่อง อ้างอิงผลงาน ชิ้นงานที่เป็นผล จากภูมิปัญญาท้องถิ่นและการพัฒนาเทคโนโลยีที่ทันสมัย ๑๖.แสดงถึงความซาบซึ้ง ห่วงใย มีพฤติกรรมเกี่ยวกับการ ใช้และรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างรู้คุณ ค่า เสนอตัวเองร่วมมือปฏิบัติกับชุมชนในการป้องกัน ดูแล ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของท้องถิ่น ๑๗.แสดงถึงความพอใจ ซาบซึ้งในการค้นพบความรู้ พบคำา ตอบ หรือแก้ปัญหาได้ทำางานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ แสดงความคิดเห็นโดยมีข้อมูลอ้างอิงและเหตุผลประกอบ เกี่ยวกับผลของการพัฒนาและการใช้วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีอย่างมีคุณธรรมต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม และ ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สาระการเรีย นรู้ว ิท ยาศาสตร์
  • 9. 9 สาระการเรียนรู้ที่กำาหนดไว้นี้เป็นสาระหลักของวิทยาศาสตร์ พื้นฐาน ที่นักเรียนทุกคนต้องเรียนรู้ ประกอบด้วยส่วนที่เป็น เนื้อหา แนวความคิดหลักวิทยาศาสตร์ และกระบวนการสาระที่ เป็นองค์ความรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ประกอบด้วย ๘ สาระหลักดังนี้ สาระที่ ๑ : สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำารงชีวิต สาระที่ ๒ : ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สาระที่ ๓ : สารและสมบัติของสาร สาระที่ ๔ : แรงและการเคลื่อนที่ สาระที่ ๕ : พลังงาน สาระที่ ๖ : กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก สาระที่ ๗ : ดาราศาสตร์และอวกาศ สาระที่ ๘ : ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มาตรฐานการเรีย นรู้ก ารศึก ษาขั้น พื้น ฐาน สาระการเรีย นรู้ว ิท ยาศาสตร์
  • 10. 10 มาตรฐานการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เป็น ข้ อ กำา หนดคุ ณ ภาพของผู้ เ รี ย นด้ า นความรู้ ความคิ ด ทั ก ษะ กระบวนการเรียนรู้ คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม ซึ่งเป็นจุดมุ่ง หมายที่จะพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึ งประสงค์ ประกอบ ด้วย มาตรฐานการเรีย นรู้ การศึ กษาขั้ นพื้ นฐาน สำา หรับ นักเรี ย น ทุ กคนเมื่อ จบการศึกษาขั้ นพื้ นฐานและมาตรฐานการเรี ย นรู้ ช่ว ง ชั้น สำาหรับนักเรียนทุกคนเมื่อจบการศึกษาในแต่ละช่วงชั้น ม า ต ร ฐ า น ก า ร เ รีย น รู้ ก า ร ศึ ก ษ า ขั้ น พื้ น ฐ า น ข อ ง ก ลุ่ม ส า ร ะ การเรีย นรู้ว ิท ยาศาสตร์ มีด ัง นี้ สาระที่ ๑ : สิ่ง มีช ีว ิต กับ กระบวนการดำา รงชีว ิต มาตรฐาน ว ๑.๑ : เข้ า ใจหน่ ว ยพื้ น ฐานของสิ่ ง มี ชี วิ ต ความ สั ม พั น ธ์ ข องโครงสร้ า งและหน้ า ที่ ข องระบบต่ า ง ๆ ของสิ่งมีชีวิ ต ที่ ทำา งานสั ม พั น ธ์ กั น มี กระบวนการสื บ เสาะหาความรู้สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำาความรู้ไปใช้ ในการดำารงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต มาตรฐาน ว ๑.๒ : เข้าใจกระบวนการและความสำา คั ญ ของการ ถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมวิวัฒนาการของสิ่งมี ชี วิ ต ค ว า ม ห ล า ก ห ล า ย ท า ง ชี ว ภ า พ ก า ร ใ ช้ เทคโนโลยีชีวภาพที่มีผลต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มี กระบวนการสื บ เสาะหาความรู้ แ ละจิ ต วิ ท ยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์ สาระที่ ๒ : ชีว ิต กับ สิ่ง แวดล้อ ม มาตรฐาน ว ๒.๑ : เข้ า ใจสิ่ ง แวดล้ อ มในท้ อ งถิ่ น ความสั ม พั น ธ์ ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตความสัมพันธ์ระหว่าง สิ่งมีชีวิตต่างๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และ นำาความรู้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว ๒.๒ : เข้ าใจความสำา คั ญ ของทรั พ ยากรธรรมชาติ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติในระดับท้องถิ่น ประเทศ แ ล ะ โ ล ก มี กร ะ บ ว น ก า ร สื บ เ ส า ะ ห า ค ว า ม รู้ แ ล ะ จิตวิทยาศาสตร์สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำาความรู้ไปใช้ ในการจัด การทรั พ ยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้ อ ม ในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน
  • 11. 11 สาระที่ ๓ : สารและสมบัต ิข องสาร มาตรฐาน ว ๓.๑ : เข้ า ใจสมบั ติ ข องสาร ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า ง สมบั ติ ข องสารกั บ โครงสร้ า งและแรงยึ ด เหนี่ ย ว ระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และ จิตวิทยาศาสตร์สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ มาตรฐาน ว ๓.๒ : เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยน สถานะของสาร การเกิดสารละลายการเกิดปฏิกิริยา เคมี มี ก ระบวนการสื บ เสาะหาความรู้ แ ละจิ ต วิ ท ยา ศ าสตร์ สื่ อ ส ารสิ่ ง ที่ เ รี ย นรู้ แ ล ะนำา ความรู้ ไ ป ใช้ ประโยชน์ สาระที่ ๔ : แรงและการเคลื่อ นที่ มาตรฐาน ว ๔.๑ : เข้าใจธรรมชาติ ของแรงแม่ เหล็ กไฟฟ้ า แรง โน้ ม ถ่ ว ง และแรงนิ ว เคลี ย ร์ มี ก ระบวนการสื บ เสาะ หาความรู้ สื่ อ สารสิ่ ง ที่ เ รี ย นรู้ แ ละนำา ความรู้ ไ ปใช้ ประโยชน์อย่างถูกต้องและมีคุณธรรม มาตรฐาน ว ๔.๒ : เข้ า ใจลั ก ษณะการเคลื่ อ นที่ แ บบต่ า ง ๆ ของ วั ต ถุ ใ นธรรมชาติ มี ก ระบวนการสื บ เสาะหาความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำาความรู้ ไปใช้ประโยชน์ สาระที่ ๕ : พลัง งาน มาตรฐาน ว ๕.๑ : เข้าใจความสั ม พั นธ์ ร ะหว่ า งพลั ง งานกั บ การ ดำารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงานปฏิสัมพันธ์ระหว่าง สารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและ สิ่งแวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสาร สิ่งที่เรียนรู้และนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์ สาระที่ ๖ : กระบวนการเปลี่ย นแปลงของโลก มาตรฐาน ว ๖.๑ : เข้าใจกระบวนการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลก และภายในโลก ความสัมพันธ์ของกระบวนการต่าง ๆ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และ สัณฐานของโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และ จิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำาความรู้ไป ใช้ประโยชน์
  • 12. 12 สาระที่ ๗ : ดาราศาสตร์แ ละอวกาศ มาต รฐ าน ว ๗.๑ : เข้ า ใจวิ วั ฒ นาการข องระบบสุ ริ ย ะแล ะ กาแล็กซี ปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ และผลต่อสิ่ง มี ชี วิ ต บนโลก มี ก ระบวนการสื บ เสาะหาความรู้ แ ละ จิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำา ความรู้ ไป ใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว ๗.๒ : เข้าใจความสำาคัญของเทคโนโลยีอวกาศที่นำา มาใช้ในการสำา รวจอวกาศและทรั พ ยากรธรรมชาติ ด้านการเกษตรและการสื่อสาร มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และ นำา ความรู้ ไ ปใช้ ป ระโยชน์ อ ย่ า งมี คุ ณ ธรรมต่ อ ชี วิ ต และสิ่งแวดล้อม สาระที่ ๘ : ธรรมชาติข องวิท ยาศาสตร์แ ละเทคโนโลยี มาตรฐาน ว ๘.๑ : ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยา ศาสตร์ ในการสื บเสาะหาความรู้ การแก้ ปัญ หา รู้ว่ า ปรากฏการณ์ ท างธรรมชาติ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ส่ ว นใหญ่ มี รู ป แบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภาย ใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้น ๆ เข้าใจ ว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อมมี ความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
  • 13. 13 มาตรฐานการเรีย นรู้ช ่ว งชั้น ที่ ๓ สาระการเรีย นรู้ วิท ยาศาสตร์ สาระที่ มาตรฐานการเรีย นรู้ช ่ว งชั้น มาตรฐานที่ สาระที่ ๑ : สิ่งมีชีวิตกับ ๑. สำารวจตรวจสอบ และอธิบาย กระบวนการดำารงชีวิต ลักษณะและรูปร่างของเซลล์ต่าง ๆ มาตรฐาน ว ๑.๑ เข้าใจหน่วยพื้น ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสิ่งมีชีวิต ฐานของสิ่งมีชีวิตความสัมพันธ์ หลายเซลล์ หน้าที่ของส่วน ของโครงสร้าง และหน้าที่ของ ประกอบของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ ระบบต่างๆของสิ่งมีชีวิตที่ทำางาน รวมทั้งกระบวนการที่สารผ่านเซลล์ สัมพันธ์กัน มีกระบวนการสืบเสาะ ๒. สำารวจตรวจสอบและอธิบายปัจจัย หาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และ ที่จำาเป็นต้องใช้และผลที่ได้จากการ นำาความรู้ไปใช้ในการดำารงชีวิต สังเคราะห์ด้วยแสง ความสำาคัญของ ของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงต่อสิ่งมี ชีวิตและ สิ่งแวดล้อม ๓. สำารวจตรวจสอบ สืบค้นข้อมูล อภิปราย และอธิบายโครงสร้างและการ ทำางานของระบบต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิต (พืช สัตว์ และมนุษย์) การทำางานที่ สัมพันธ์กันของระบบ ต่าง ๆ และนำา ความรู้ไปใช้ ๔. สังเกต สำารวจตรวจสอบ วิเคราะห์ และอธิบายพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิตที่ ตอบสนองต่อสิ่งเร้า (แสง อุณหภูมิ นำ้า และการสัมผัส) ๕. สืบค้นข้อมูล อภิปรายและนำาเสนอ เกี่ยวกับเทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการ ขยายพันธุ์และปรับปรุงพันธุ์ เพิ่ม ผลผลิตของพืชและสัตว์ รวมทั้งผลของ การใช้เทคโนโลยีเหล่านั้นในด้าน เกษตรกรรม อุตสาหกรรม อาหาร
  • 14. 14 และการแพทย์ ๖. สำารวจตรวจสอบสารอาหารต่าง ๆ ที่รับประทานในชีวิตประจำาวัน และนำา ความรู้มาใช้ในการเลือกรับประทาน อาหารที่มีสารอาหารครบถ้วน ได้ สัดส่วน เหมาะสมกับเพศและวัย ๗. สืบค้นข้อมูล อภิปรายและอธิบาย เกี่ยวกับสารเสพติด ผลของสาร เสพติดต่อการทำางานของระบบต่างๆ ของร่างกาย และนำาเสนอแนวทางใน การป้องกันและต่อต้านสารเสพติด สาระที่ มาตรฐานการเรีย นรู้ช ว งชั้น ่ มาตรฐานที่ สาระที่ ๑ : สิ่ง มีช ว ิต กับ ี ๑. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และอธิบาย กระบวนการดำา รงชีว ต ิ เกี่ยวกับสารพันธุกรรมในนิวเคลียสที่ มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจ ควบคุมลักษณะและกระบวนการต่างๆ กระบวนการและความสำาคัญของ ของเซลล์ สารพันธุกรรรมสามารถ การถ่ายทอดลักษณะทาง ถ่ายทอดไปสู่ลูกหลาน และรู้ถึง พันธุกรรมวิวัฒนาการของสิ่งมี ประโยชน์ของการใช้ความรู้ด้าน ชีวิต ความหลากหลายทาง พันธุกรรม ชีวภาพ การใช้เทคโนโลยี ๒. สำารวจ สืบค้นข้อมูล และอธิบาย ชีวภาพที่มีผลต่อมนุษย์และสิ่ง ความหลากหลายทางชีวภาพในท้อง แวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะ ถิ่นที่ทำาให้สิ่งมีชีวิตดำารงชีวิตอยู่ได้ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ อย่างสมดุล และผลต่อการดำารงชีวิต สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำาความรู้ไป ของมนุษย์ ทั้งในด้านที่เป็นประโยชน์ ใช้ประโยชน์ และโทษ โดยเฉพาะโรคที่มีผลต่อสังคม สาระที่ ๒ : ชีว ต กับ สิ่ง แวดล้อ ม ิ มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสิ่ง ๑. สำารวจตรวจสอบระบบนิเวศต่างๆ แวดล้อมในท้องถิ่น ความสัมพันธ์ ในท้องถิ่น อธิบายความสัมพันธ์ของ ระหว่างสิ่งมีชีวิตต่างๆ ในระบบ องค์ประกอบภายในระบบนิเวศ การ นิเวศมีกระบวนการสืบเสาะ ถ่ายทอดพลังงาน วัฏจักรของสารและ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ การเปลี่ยนแปลงขนาดของประชากร สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำาความรู้ไป ใช้ประโยชน์ สาระที่๒ : ชีว ต กับ สิ่ง แวดล้อ ม ิ มาตรฐาน ว ๒.๒ เข้าใจความ ๑. สำารวจ วิเคราะห์สภาพปัญหาสิ่ง สำาคัญของทรัพยากรธรรมชาติใน แวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติใน ระดับท้องถิ่น ประเทศ และโลก นำา ท้องถิ่น เสนอแนวคิดในการรักษา ความรู้ไปใช้ในการจัดการ สมดุลของระบบนิเวศ การใช้
  • 15. 15 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง ทรัพยากร ธรรมชาติอย่างยั่งยืนโดย แวดล้อมในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน ใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี รวมทั้งลงมือปฏิบัติในการ ดูแลรักษา แก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม สาระที่ ๓ : สารและสมบัต ข อง ๑. สังเกต สำารวจตรวจสอบ วิเคราะห์ ิ สาร อภิปรายสมบัติต่าง ๆ ของสาร จำาแนก มาตรฐาน ว ๓.๑. เข้าใจสมบัติ สารออกเป็นกลุ่มตาม เนื้อสาร หรือ ของสาร ความสัมพันธ์ระหว่าง ขนาดของอนุภาค สมบัติของสารกับโครงสร้างและ ๒. สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับแบบจำาลอง แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค มี (model) การจัดเรียงอนุภาคและการ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้และ เคลื่อนไหวอนุภาคของสารในสถานะ จิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ ต่าง ๆ และใช้แบบจำาลองอธิบายสมบัติ และนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์ และการเปลี่ยนสถานะของสาร ๓. สำารวจตรวจสอบสาร เนื้อเดียว อภิปราย และอธิบายสมบัติความเป็น กรด-เบสของสารละลาย ค่า pH ของ สารละลาย และการนำาความรู้เกี่ยวกับ กรด-เบสไปใช้ประโยชน์ สาระที่ มาตรฐานการเรีย นรู้ช ว งชั้น ่ มาตรฐานที่ สาระที่ ๓ : สารและสมบัต ข อง ๔. สำารวจตรวจสอบและเปรียบเทียบ ิ สาร สมบัติของสาร อธิบายองค์ประกอบ มาตรฐาน ว ๓.๑. เข้าใจสมบัติ สมบัติของธาตุและสารประกอบ ของสาร ความสัมพันธ์ระหว่าง สามารถจำาแนกและอธิบายสมบัติของ สมบัติของสารกับโครงสร้างและ ธาตุกัมมันตรังสี โลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค มี และ การนำาไปใช้ประโยชน์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้และ ๕. สำารวจตรวจสอบและอธิบายหลัก จิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ การแยกสารด้วยวิธีการกรอง การกลั่น และนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์ การตกผลึก การสกัด และโครมาโท กราฟี และนำาวิธีการแยกสารไปใช้ ประโยชน์ได้อย่าง เหมาะสม สาระที่ ๓ : สารและสมบัต ข อง ๑. สังเกต สำารวจตรวจสอบ อภิปราย ิ สาร อธิบายการเปลี่ยนแปลงสมบัติ มวล มาตรฐาน ว ๓.๒. เข้าใจหลักการ และพลังงานของสาร เมื่อสารเกิดการ และธรรมชาติของการเปลี่ยน ละลาย เปลี่ยนสถานะ และเกิด สถานะของสาร การเกิด ปฏิกิริยาเคมี รวมทั้งวิเคราะห์ปัจจัยที่มี สารละลาย การเกิดปฏิกิริยาเคมี มี ผลต่อการเปลี่ยนแปลงของสาร กระบวนการสืบเสาะหาความรู้และ ๒. สำารวจตรวจสอบ เปรียบเทียบ จิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ อภิปราย และอธิบายเกี่ยวกับหน่วยที่
  • 16. 16 และนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ใช้แสดงปริมาณของตัวละลายในตัวทำา ละลาย วิธีเตรียมสารละลายที่มีความ เข้มข้นตามหน่วยที่กำาหนด และนำาไป ใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำาวัน ๓. สังเกต สำารวจตรวจสอบ อภิปราย และอธิบายเกี่ยวกับปฏิกิริยาเคมี และ สมการเคมีของปฏิกิริยาระหว่างโลหะ กับออกซิเจน โลหะกับนำ้า โลหะกับกรด กรดกับเบส กรดกับคาร์บอเนต และนำา ความรู้เกี่ยวกับปฏิกิริยาของสารเหล่านี้ ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำาวัน ๔. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และอธิบาย เกี่ยวกับผลของสารเคมี ปฏิกิริยาเคมี ต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ตระหนักถึง การใช้สารเคมีอย่างถูกต้อง คุ้มค่า ปลอดภัย รู้วิธีป้องกันและแก้ไขอย่าง ถูกวิธี สาระที่ ๔ : แรงและการ ๑. อภิปรายและอธิบายได้ว่า แรงเป็น เคลื่อ นที่ ปริมาณเวกเตอร์ ทำาการทดลองหา มาตรฐาน ว ๔.๑. เข้าใจ แรงลัพธ์ของแรงหลายแรงที่กระทำาต่อ ธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้า วัตถุในระนาบเดียวกัน แรงโน้มถ่วง และแรงนิวเคลียร์ มี ๒. สำารวจตรวจสอบ และอธิบายว่าแรง กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ลัพธ์มีผลทำาให้วตถุมีความเร่งในทิศ ั สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำาความรู้ เดียวกับแรงลัพธ์นั้น ไปใช้ประโยชน์อย่างถูกต้องและมี คุณธรรม สาระที่ มาตรฐานการเรีย นรู้ช ว งชั้น ่ มาตรฐานที่ สาระที่ ๔ : แรงและการ ๑. สำารวจตรวจสอบ และอธิบายแรง เคลื่อ นที่ เสียดทานที่เกิดจากสถานการณ์ต่างๆ มาตรฐาน ว ๔.๒. เข้าใจลักษณะ ในเชิงคุณภาพและเสนอแนะวิธีการ การเคลื่อนที่แบบต่างๆของวัตถุใน เพิ่มหรือลดแรงเสียดทานเพื่อใช้ ธรรมชาติ มีกระบวนการสืบเสาะ ประโยชน์อย่างเหมาะสม หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ ๒. ทดลอง และอธิบายหลักการของ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำาความรู้ โมเมนต์และวิเคราะห์โมเมนต์ใน ไปใช้ประโยชน์ สถานการณ์ต่างๆ รวมทั้งคำานวณ และ นำาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ๓. สังเกตการเคลื่อนที่แบบต่างๆ ใน
  • 17. 17 ชีวิตประจำาวัน และอธิบายผลของแรง ที่กระทำาต่อวัตถุและลักษณะการ เคลื่อนที่ รวมทั้งการนำาไปใช้ ประโยชน์ สาระที่ ๕ : พลัง งาน ๑. สำารวจตรวจสอบ และอธิบายความ มาตรฐาน ว ๕.๑. เข้าใจความ หมายของงาน พลังงานศักย์โน้มถ่วง สัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการ พลังงานจลน์ กฎการอนุรักษ์ ดำารงชีวต การเปลี่ยนรูปพลังงาน ิ พลังงาน และการนำาไปใช้ประโยชน์ ปฏิสัมพันธ์ ระหว่างสารและ ๒. สังเกต และวัดอุณหภูมิของสิ่งต่างๆ พลังงาน ผลของการใช้พลังงาน บอกได้ว่าอุณหภูมิเป็นปริมาณที่บอกถึง ต่อสิ่งมีชีวิตและวิ่งแวดล้อม มี ระดับ หรือสภาพความร้อนในวัตถุ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ๓. สำารวจตรวจสอบ และอธิบายการ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำาไปใช้ ถ่ายโอนพลังงานความร้อนโดยการนำา ประโยชน์ การพา การแผ่รังสี และ นำาความรู้ ไปใช้ประโยชน์ ๔. ทดลอง และอธิบายการดูดกลืนแสง และการคายความร้อนของวัตถุต่างๆ สืบค้นข้อมูลรวมทั้งนำาความรู้ไป ออกแบบเพื่อใช้ประโยชน์ในกิจกรรม ต่างๆ ๕. ทดลอง และอธิบายสมดุล ความ ร้อน ผลของความร้อนต่อการขยาย ตัวของวัตถุ รวมทั้งนำาไปใช้ประโยชน์ ในด้านต่างๆ ๖. ทดลอง และอธิบายสมบัติ การ สะท้อน การหักเหของแสง รวมทั้งการ คำานวณปริมาณที่เกี่ยวข้อง และการนำา ความรู้ไปใช้ประโยชน์เช่น เส้นใยนำา แสง เลเซอร์ ๗. อภิปรายและอธิบายได้ว่า ความ เข้มของแสงมีผลต่อนัยน์ตามนุษย์ และ มีผลต่อสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ๘. ทดลอง และอธิบายความสัมพันธ์ ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแส ไฟฟ้า ความต้านทาน และคำานวณ หาปริมาณที่เกี่ยวข้อง สาระที่ มาตรฐานการเรีย นรู้ช ว งชั้น ่ มาตรฐานที่ สาระที่ ๕ : พลัง งาน ๙. สืบค้นข้อมูล และคำานวณหา
  • 18. 18 มาตรฐาน ว ๕.๑. เข้าใจความ พลังงานไฟฟ้าของเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ใช้ สัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการ ในชีวิตประจำาวัน เปรียบเทียบ และ ดำารงชีวต การเปลี่ยนรูปพลังงาน ิ เลือกใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าได้อย่างเหมาะ ปฏิสัมพันธ์ ระหว่างสารและ สม พลังงาน ผลของการใช้พลังงาน ๑๐. สืบค้นข้อมูล และอธิบาย หลัก ต่อสิ่งมีชีวิตและวิ่งแวดล้อม มี การต่อวงจรไฟฟ้าในบ้าน การ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ออกแบบและติดตั้งอย่างถูกต้อง สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำาไปใช้ ปลอดภัยและเหมาะสม รวมทั้งการนำา ประโยชน์ ไปใช้ประโยชน์ ๑๑. สำารวจตรวจสอบ บอกสมบัติเบื้อง ต้นของชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์บางชนิด เช่น ตัวต้านทาน ไดโอดไอซี ทรานซิสเตอร์ สามารถประกอบวงจร อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น และนำาไปใช้ ประโยชน์ สาระที่ ๖ : กระบวนการ ๑. สืบค้นข้อมูล อภิปราย เกี่ยวกับ เปลี่ย นแปลงของโลก ปรากฏการณ์ทาง ลมฟ้าอากาศ มาตรฐาน ว ๖.๑. เข้าใจ แปลความหมายจากการพยากรณ์ กระบวนการต่างๆที่เกิดขึ้นบนผิว อากาศ อธิบายผลของลมฟ้าอากาศต่อ โลกและภายในโลก ความสัมพันธ์ การดำารงชีวิตและสิ่งแวดล้อม ของกระบวนการต่างๆ ที่มีผลต่อ ๒. สืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ อภิปราย การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ และอธิบายปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นตาม ภูมิประเทศและสัณฐานของโลก มี ธรรมชาติของโลก และกิจกรรมที่เกิด กระบวนการสืบเสาะหาความรู้และ จากมนุษย์ มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง จิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ อุณหภูมิของโลก ซึ่งส่งผลต่อการดำารง และนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ชีวิตและสิ่งแวดล้อม ๓. สืบค้นข้อมูล สำารวจตรวจสอบ อภิปรายและอธิบาย เกี่ยวกับส่วน ประกอบของโลก และทรัพยากรธรณี ในโลก ๔. สืบค้นข้อมูล สำารวจตรวจสอบและ อธิบายปัจจัยที่มีผลต่อกระบวนการยก ตัว การยุบตัว และการคดโค้งโก่งงอ การผุพังอยู่กับที่ การกร่อน การพัดพา การทับถม และผลของกระบวนการดัง กล่าวที่ทำาให้เกิดภูมิประเทศแตกต่าง กัน ๕. สำารวจตรวจสอบ อภิปรายและ อธิบายเกี่ยวกับชั้นหน้าตัดของดิน
  • 19. 19 สมบัติของดิน การปรับปรุงคุณภาพ ของดิน และการนำาไปใช้ประโยชน์ ๖. สำารวจตรวจสอบ อภิปราย และ อธิบายเกี่ยวกับแหล่งนำ้าบนพื้นโลก แหล่งนำ้าใต้ดิน และการนำามาใช้ ประโยชน์ สาระที่ มาตรฐานการเรีย นรู้ช ว งชั้น ่ มาตรฐานที่ สาระที่ ๖ : กระบวนการ เปลี่ย นแปลงของโลก ๗. สำารวจตรวจสอบ สังเกต และ มาตรฐาน ว ๖.๑. เข้าใจ อธิบายกระบวนการเกิด ลักษณะของ กระบวนการต่างๆที่เกิดขึ้นบนผิว องค์ประกอบ สมบัติของหินและแร่ โลกและภายในโลก ความสัมพันธ์ รวมทั้งการใช้ประโยชน์ ของกระบวนการต่างๆ ที่มีผลต่อ การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศและสัณฐานของโลก มี กระบวนการสืบเสาะหาความรู้และ จิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์ สาระที่ ๗ : ดาราศาสตร์แ ละ ๑. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และอธิบาย อวกาศ เกี่ยวกับปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ และ มาตรฐาน ว ๗.๑ เข้าใจ ผลต่อสิ่งแวดล้อม และสิ่งมีชีวิตบน วิวัฒนาการของระบบสุริยะและ โลก กาแล็กซี ปฏิสัมพันธ์ภายในระบบ ๒. สังเกต อภิปราย และอธิบายกลุ่ม สุริยะและผลต่อสิ่งที่มีชีวิตบนโลก ดาวฤกษ์ และการใช้ประโยชน์จาก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ความรู้นั้น และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่ เรียนรู้และนำาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ มาตรฐาน ว ๗.๒. เข้าใจความ ๑. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และอธิบาย สำาคัญของเทคโนโลยีอวกาศที่นำา เกี่ยวกับก้าวหน้าของเทคโนโลยีอวกาศ มาใช้ในการสำารวจอวกาศและ ที่ใช้ สำารวจอวกาศ วัตถุท้องฟ้า ทรัพยากรธรรมชาติ ด้านเกษตร สภาวะอากาศ ทรัพยากรธรรมชาติและ และสื่อสาร สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และ ใช้ในการสื่อสาร นำาความรู้ไปใช้ประโยชน์อย่างมี คุณธรรมต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม สาระที่ ๘ : ธรรมชาติข อง ๑. ตังคำาถามที่กำาหนดประเด็น หรือ ้ วิท ยาศาสตร์แ ละเทคโนโลยี ตัวแปรที่สำาคัญในการสำารวจตรวจสอบ
  • 20. 20 มาตรฐาน ว ๘.๑ ใช้ หรือศึกษาค้นคว้าเรื่องที่สนใจได้อย่าง กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และ ครอบคลุมและเชื่อถือได้ จิตวิทยาศาสตร์ ในการสืบเสาะ ๒. สร้างสมมติฐานที่สามารถตรวจสอบ หาความรู้ การแก้ปัญหารู้ว่า ได้ และวางแผนการสำารวจตรวจสอบ ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิด หลาย ๆ วิธี ขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน ๓. เลือกเทคนิควิธีการสำารวจตรวจ สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ สอบทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ที่ ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ ได้ผลเที่ยงตรงและปลอดภัย โดยใช้ ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วัสดุและเครื่องมือที่เหมาะสม วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม ๔. เก็บข้อมูล จัดกระทำา ข้อมูลเชิง และสิ่งแวดล้อมมีความเกี่ยวข้อง ปริมาณและ คุณภาพ สัมพันธ์กัน ๕. วิเคราะห์และประเมิน ความ สอดคล้องของ ประจักษ์พยานกับข้อ สรุป ทั้งที่สนับสนุนหรือขัดแย้งกับ สมมติฐาน และความ ผิดปกติของ ข้อมูลจากการสำารวจตรวจสอบ สาระที่ มาตรฐานการเรีย นรู้ช ่ว งชั้น มาตรฐานที่ สาระที่ ๘ : ธรรมชาติข อง วิท ยาศาสตร์แ ละเทคโนโลยี มาตรฐาน ว ๘.๑ ใช้ ๖. สร้างแบบจำาลอง (modeling) กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หรือรูปแบบ (pattern และจิตวิทยาศาสตร์ ในการสืบ representation) ที่อธิบายผลหรือ เสาะหาความรู้ การแก้ปัญหารู้ว่า แสดงผลของการสำารวจตรวจสอบ ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิด ๗. สร้างคำาถามที่นำาไปสู่การสำารวจ ขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน ตรวจสอบในเรื่องที่เกี่ยวข้อง และนำา สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ความรู้ที่ได้ไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ ๘. บันทึกและอธิบายผลการสังเกต การ ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า สำารวจตรวจสอบ ค้นคว้าเพิ่มเติมจาก วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม แหล่งความรู้ต่าง ๆ ให้ได้ข้อมูลที่เชื่อ และสิ่งแวดล้อมมีความเกี่ยวข้อง ถือได้ และยอมรับการเปลี่ยนแปลงความ สัมพันธ์กัน รู้ที่ค้นพบเมื่อมีข้อมูลและประจักษ์พยาน ใหม่เพิ่มขึ้นหรือโต้แย้งจากเดิม ๙. จัดแสดงผลงาน เขียน รายงาน และ/หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผล ของโครงงานหรือ ชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
  • 21. 21 มาตรฐานการเรีย นรู้ช ่ว งชั้น ที่ ๔ สาระการเรีย นรู้ วิท ยาศาสตร์ สาระที่ มาตรฐานการเรีย นรู้ช ว ง ่ มาตรฐานที่ ชัน ้ สาระที่ ๑ : สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำารง ชีวิต ๑. สำารวจตรวจสอบ อภิปราย มาตรฐาน ว ๑.๑ เข้าใจหน่วยพื้นฐานของ และอธิบาย การรักษาดุลยภาพ สิ่งมีชีวิตความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และ ของเซลล์กลไกในการควบคุม หน้าที่ของระบบต่างๆของสิ่งมีชีวิตที่ ดุลยภาพของร่างกายมนุษย์ ทำางานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการสืบเสาะ และนำาความรู้ไปใช้ในชีวิต หาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำาความ และในการศึกษาหาความรู้เพิ่ม รู้ไปใช้ในการดำารงชีวิตของตนเองและ เติม ดูแลสิ่งมีชีวิต มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจกระบวนการและ ๑. สืบค้นข้อมูล อภิปรายและ ความสำาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทาง อธิบายกระบวนการถ่ายทอด พันธุกรรมวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ความ สารพันธุกรรม การแปรผัน หลากหลายทางชีวภาพ การใช้ ทางพันธุกรรม การเกิดมิวเท เทคโนโลยีชีวภาพที่มีผลต่อมนุษย์และสิ่ง ชัน และการเกิดความหลาก แวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ หลายทางชีวภาพ และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ ๒. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์ อธิบายถึงประโยชน์ของ เทคโนโลยีชีวภาพความหลาก หลายของสิ่งมีชีวิตที่มีต่อสังคม
  • 22. 22 และสิ่งแวดล้อม ๓. สร้างสถานการณ์จำาลองที่ แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงปัจจัย ต่างๆ ในสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อ การอยู่รอดของสิ่งมีชีวิตแต่ละ ชนิดและการอยู่รอดของสิ่งมี ชีวิตสัมพันธ์กับความหลาก หลายของสิ่งมีชีวิต สาระที่ ๒ : ชีว ต กับ สิ่ง แวดล้อ ม ิ ๑. วิเคราะห์ อภิปรายและ มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสิ่งแวดล้อมใน อธิบายกระบวนการ ท้องถิ่น ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิต เปลี่ยนแปลงแทนที่ของสิ่งมี ต่างๆ ในระบบนิเวศมีกระบวนการสืบเสาะ ชีวิต ความสำาคัญของความ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่ หลากหลายทางชีวภาพ ความ เรียนรู้และนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์ หลากหลายของระบบนิเวศและ ดุลยภาพของระบบนิเวศ สาระที่๒ : ชีว ต กับ สิ่ง แวดล้อ ม ิ ๑. สำารวจ วิเคราะห์ สภาพ มาตรฐาน ว ๒.๒ เข้าใจความสำาคัญของ ปัญหาสิ่งแวดล้อมและการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติในระดับท้องถิ่น ทรัพยากรธรรมชาติในระดับ ประเทศ และโลก นำาความรู้ไปใช้ในการ ท้องถิ่น ระดับประเทศและระดับ จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง โลกวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา แวดล้อมในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน วางแผนและลงมือปฏิบัติร่วม กับชุมชนป้องกันแก้ไขปัญหา เฝ้าระวังอนุรักษ์และพัฒนา ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง แวดล้อม สาระที่ มาตรฐานการเรีย นรู้ช ่ว งชั้น มาตรฐานที่ สาระที่ ๓ : สารและสมบัต ิ ๑.สืบค้นข้อมูล อภิปรายและอธิบาย ของสาร โครงสร้างอะตอมชนิดและจำานวน มาตรฐาน ว ๓.๑. เข้าใจสมบัติ อนุภาคมูลฐานของอะตอมจากสัญลักษณ์ ของสาร ความสัมพันธ์ระหว่าง นิวเคลียร์ของธาตุ วิเคราะห์และเปรียบ สมบัติของสารกับโครงสร้างและ เทียบการจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค มี อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างอิเล็กตรอน กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ในระดับพลังงานนอกสุดกับสมบัติของ และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่ ธาตุและการเกิดปฏิกิริยา เรียนรู้และนำาความรู้ไปใช้ ๒. สำารวจตรวจสอบและวิเคราะห์ข้อมูล ประโยชน์ เกี่ยวกับสมบัติสารประกอบ และเลข อะตอมของธาตุ อธิบายการจัดเรียงธาตุ ในตารางธาตุ และทำานายแนวโน้มของ
  • 23. 23 สมบัติของธาตุในตารางธาตุ ๓. สำารวจตรวจสอบวิเคราะห์ข้อมูล อภิปรายและอธิบายการเกิดพันธะเคมีใน โมเลกุลหรือในโครงผลึกของสาร ความ สัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารในเรื่อง จุดเดือด จุดหลอมเหลว และสถานะกับ แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคของสารนั้น สาระที่ ๓ : สารและสมบัต ิ ๑.สำารวจตรวจสอบ อภิปราย และเขียน ของสาร สมการของปฏิกิริยาเคมีทั่วไปที่พบใน มาตรฐาน ว ๓.๒. เข้าใจหลัก เคมีทั่วไปที่พบในชีวิตประจำาวัน รวมทั้ง การและธรรมชาติของการ สารที่จากเกิดปฏิกิริยาเคมีที่จะมีผลต่อสิ่ง เปลี่ยนสถานะของสาร การเกิด มีชีวตและสิ่งแวดล้อม ิ สารละลาย การเกิดปฏิกิริยาเคมี ๒. สำารวจตรวจสอบ อภิปราย และอธิบาย มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ปัจจัยที่มีผล และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่ ต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี การนำา เรียนรู้และนำาความรู้ไปใช้ ความรู้เกี่ยวกับการควบคุมอัตราการเกิด ประโยชน์ ปฏิกิริยาเคมีไปใช้ประโยชน์ในชีวิต ประจำาวัน ๓. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และอธิบาย เกี่ยวกับกระบวนการและผลิตภัณฑ์จาก การแยกแก๊สธรรมชาติการกลั่นลำาดับ ส่วนนำ้ามันประจำาวัน ๓. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และอธิบาย เกี่ยวกับกระบวนการและผลิตภัณฑ์จาก การแยกแก๊สธรรมชาติการกลั่นลำาดับ ส่วนนำ้ามันดิบ ประโยชน์ของผลิตภัณฑ์ ต่างๆ ที่ได้จากการกลั้นลำาดับส่วนนำ้ามัน ดิบรวมถึงอันตราย หรือมลภาวะที่อาจ เกิดขึ้นจากสารในผลิตภัณฑ์ทั้งก่อนหรือ หลังการนำาไปใช้ประโยชน์ สาระที่ มาตรฐานการเรีย นรู้ช ่ว งชั้น มาตรฐานที่ สาระที่ ๓ : สารและสมบัต ิ ๔. สังเกต สำารวจ ตรวจสอบ สืบค้นข้อมูล ของสาร อภิปราย อธิบายการเกิดและสมบัติของ มาตรฐาน ว ๓.๒. เข้าใจหลัก พอลิเมอร์ การนำาลิเมอร์ไปใช้อย่าง การและธรรมชาติของการ เหมาะสม เปลี่ยนสถานะของสาร การเกิด ๕. สืบค้นข้อมูล สำารวจตรวจสอบ สารละลาย การเกิดปฏิกิริยาเคมี อภิปราย และอธิบายองค์ประกอบ สมบัติ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ประโยชน์และปฏิกิริยาของ