SlideShare a Scribd company logo
1 of 42
Download to read offline
1
คู่มือการจัดการปัญหา
ฝุ่นละอองและเขม่าควัน
สาหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กองตรวจมลพิษ
กรมควบคุมมลพิษ
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
คำนำ
การดาเนินการแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียนจากประชาชนกรณีฝุ่นละอองและเขม่าควันมีวิธีการตรวจวัด
ตามมาตรฐานหลายประเภทขึ้นอยู่กับประเภทของแหล่งกาเนิดมลพิษ เช่น โรงงานอุตสาหกรรม โรงสีข้าว
เตาเผาศพ ท่าเรือ และเรือขนส่งสินค้า เป็นต้น ซึ่งกิจการดังกล่าวถูกกาหนดให้เป็นกิจการที่เป็นอันตราย
ต่อสุขภาพตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 และเป็นแหล่งกาเนิดมลพิษตามพระราชบัญญัติ
ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 การประกอบกิจการเหล่านี้หากไม่มีการบริหาร
จัดการที่ดีพอ หรือ ไม่มีการป้องกันควบคุมและบาบัดมลพิษอย่างถูกต้อง ย่อมก่อให้เกิดปัญหาส่งผลกระทบต่อ
สุขภาพอนามัยต่อประชาชน ชุมชนบริเวณใกล้เคียง เป็นสาเหตุให้เกิดการร้องเรียนจากประชาชน
กรมควบคุมมลพิษ จึงได้จัดทาคู่มือ เรื่อง การจัดการปัญหาฝุ่นละอองและเขม่าควันสาหรับองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อให้องค์กรปกครองท้องถิ่นตลอดจนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องใช้เป็นแนวทางในการดาเนินงาน
ตรวจสอบและแก้ไขเรื่องร้องเรียนปัญหาฝุ่นละอองและเขม่าควัน และเป็นประโยชน์ในการแก้ไขบรรเทาปัญหา
ความเดือดร้อนให้กับประชาชนที่ได้รับผลกระทบได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิผลต่อไป
กองตรวจมลพิษ
กรมควบคุมมลพิษ
สำรบัญ
หน้ำ
1. สถานการณ์ปัญหาฝุ่นละอองและเขม่าควัน 1
2. การตรวจสอบเรื่องร้องเรียน และการตรวจวัดฝุ่นละอองและเขม่าควัน 4
3. การตรวจวัดปริมาณฝุ่นละอองและการตรวจวัดความทึบแสง 6
4. กฎหมายที่เกี่ยวข้องในการควบคุมฝุ่นละออง 14
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก : มาตรฐานที่ใช้อ้างอิงในการดาเนินการตรวจวัดความเข้มข้นของฝุ่นละออง
จากปล่องระบาย 18
ภาคผนวก ข : มาตรฐานที่ใช้อ้างอิงในการดาเนินการกรณีฝุ่นละอองจากท่าเรือ
จากเรือที่มีการขนถ่ายสินค้าระหว่างกันหรือจากโรงบด ย่อย หรือโม่หิน 20
ภาคผนวก ค : มาตรฐานที่ใช้อ้างอิงในการดาเนินการกรณีฝุ่นละอองในพื้นที่ร้องเรียน
หรือขอบรั้วของสถานประกอบการ 21
ภาคผนวก ง : มาตรฐานที่ใช้อ้างอิงในการดาเนินการกรณีการตรวจวัดความทึบแสง
โดยวิธีของริงเกิลมานน์ 22
ภาคผนวก จ : ข้อมูลติดต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 23
- 1 -
1. สถำนกำรณ์ปัญหำฝุ่นละอองและเขม่ำควัน
ปัญหาฝุ่นละอองและเขม่าควันเป็นปัญหาที่สาคัญของประเทศไทย ซึ่งก่อให้เกิดผลกระทบในหลายมิติ
โดยเฉพาะมิติสุขภาพอนามัยและสิ่งแวดล้อม รวมไปถึงมิติเศรษฐกิจและสังคม ในช่วงสามปีที่ผ่านมาประเทศไทย
ประสบปัญหามลพิษทางฝุ่นละออง โดยเฉพาะฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) ในพื้นที่
กรุงเทพมหานครและปริมณฑล มีสาเหตุมาจากการจราจรขนส่ง อุตสาหกรรม และการเผาในที่โล่ง ซึ่งรัฐบาล
ได้ให้ความสาคัญกับการแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองและ PM2.5 โดยจัดทาแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนวาระแห่งชาติ
การแก้ไขปัญหามลพิษด้านฝุ่นละออง แผนเฉพาะกิจเพื่อการแก้ไขปัญหามลพิษด้านฝุ่นละออง 12 มาตรการ
และขับเคลื่อนแผนเฉพาะกิจเพื่อการแก้ไขปัญหามลพิษด้านฝุ่นละออง ปี 2565 การเปิดศูนย์แก้ไขปัญหามลพิษ
ทางอากาศ เพื่อติดตามสถานการณ์ และหารือมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศ การตรวจสอบ
ตรวจจับรถยนต์ควันดา เพื่อแก้ไขปัญหาฝุ่นละออง PM2.5 กาหนด/ปรับปรุงค่ามาตรฐานการระบายมลพิษทาง
อากาศจากแหล่งกาเนิดมลพิษ และการติดตั้งสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศ 77 สถานี ใน 46 จังหวัด และในปี
2565 มีเป้าหมายติดตั้งเพิ่มเติมอีก 10 สถานี ใน 10 จังหวัด ทั้งนี้ จากสถิติเรื่องร้องเรียนปัญหามลพิษ
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (ระหว่างเดือนตุลาคม 2563 - เดือนกันยายน 2564) พบว่ามีประชาชนแจ้ง
ร้องเรียนปัญหามลพิษจากฝุ่นละอองและเขม่าควันมายังกรมควบคุมมลพิษเป็นอันดับที่ 2 (อันดับที่ 1 คือ
ปัญหากลิ่นเหม็นรบกวน) ส่วนใหญ่มีสาเหตุมาจากสถานประกอบการและโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งการดาเนินการ
แก้ไขปัญหาดังกล่าวต้องประสานการดาเนินการร่วมกันจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที ในการแก้ไขปัญหา
ที่เกิดขึ้นเพื่อบรรเทาความเดือดร้อนให้กับประชาชน
1.1 แหล่งกำเนิดฝุ่นละอองและเขม่ำควัน
ฝุ่นละออง (Particulate Matter) หมายถึง อนุภาคของแข็งหรือหยดละอองของเหลวที่แขวนลอย
ในบรรยากาศ ซึ่งมีขนาดแตกต่างกันตั้งแต่ 100 ไมครอนลงมา เกิดขึ้นได้เองตามธรรมชาติ และเกิดจากกิจกรรมต่างๆ
ของมนุษย์ บางชนิดมีขนาดใหญ่จนมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า เช่น ฝุ่นจากโรงโม่หิน ฝุ่นจากโรงไม้ แต่บางชนิดมีขนาด
เล็กมากจนมองไม่เห็น ซึ่งฝุ่นละอองขนาดเล็กมีผลกระทบอย่างมากต่อสุขภาพของประชาชนฝุ่นละอองขนาดเล็ก
แบ่งย่อยออกได้เป็น 2 ชนิด คือ ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) และฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน
(PM10) PM10 และ PM2.5 ประกอบด้วยคาว่า PM ที่ย่อมาจาก Particulate Matters เป็นคาเรียกค่ามาตรฐาน
ของฝุ่นละอองขนาดเล็กที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ส่วนตัวเลข 10 หรือ 2.5 นั้น มาจากขนาดของเส้นผ่าน
ศูนย์กลางฝุ่นละอองมีหน่วยเป็นไมครอน หรือไมโครเมตร (106
) ดังนั้น PM2.5 ก็คือ ฝุ่นละอองขนาดเส้นผ่าน
ศูนย์กลางไม่เกิน 2.5 ไมครอน มีขนาดเล็กประมาณ 1 ใน 25 ส่วนเส้นผ่าศูนย์กลางของเส้นผม หากฝุ่นละออง PM2.5
ล่องลอยอยู่ในอากาศปริมาณมากจะเห็นท้องฟ้าเป็นสีหม่น หรือเกิดเป็นหมอกควัน
1
ที่มำ : United States Environmental Protection Agency
ปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็กในประเทศไทยมีสาเหตุมาจากปัจจัยที่ควบคุมได้และปัจจัยควบคุมไม่ได้ ดังนี้
ปัจจัยที่ควบคุมได้ ปัจจัยที่ควบคุมไม่ได้
กิจกรรมมนุษย์ :
• การเผาในที่โล่ง เช่น เผาเศษวัสดุการเกษตร เผาขยะ
• การจราจร
• การเผาไหม้เชื้อเพลิงอุตสาหกรรม ได้แก่ น้ามันเตา
ถ่านหิน ฟืน
• กระบวนการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม
• การก่อสร้างอาคาร
• การสูบบุหรี่
• การใช้เตาปิ้งย่างที่ทาให้เกิดควัน
• สถานประกอบการต่าง ๆ เช่น อู่ซ่อมรถ พ่นสีรถ
สภาพทางอุตุนิยมวิทยา :
• อากาศเย็นและแห้งความกดอากาศสูง
• สภาพอากาศนิ่ง ทาให้ฝุ่นละอองขนาดเล็ก
ไม่แพร่กระจาย ฝุ่นละอองแขวนลอยได้นาน
• กระแสลมพัดผ่านตามธรรมชาติทาให้เกิดฝุ่น
เช่น ดิน ทราย เขม่าควันจากไฟป่า ภูเขาไฟ
ระเบิด ฝุ่นเกลือจากทะเล เป็นต้น
ทั้งนี้ สาเหตุของฝุ่นละอองขนาดเล็กมีความแตกต่างกันตามแหล่งกาเนิดในแต่ละพื้นที่ ดังนี้
1) พื้นที่ภาคเหนือ มักเกิดจากปัญหาไฟป่าและการลักลอบเผาในที่โล่ง เช่น การเผาเศษวัชพืช
การเผาเศษวัสดุทางการเกษตรประกอบกับภูมิประเทศที่มีลักษณะเป็นแอ่งกระทะและมีภูเขาล้อมรอบซึ่งในช่วง
หน้าแล้งอากาศแห้ง ความกดอากาศสูง ทาให้เกิดสภาวะอากาศปิด ความรุนแรงของปัญหาจึงเพิ่มขึ้น
2) พื้นที่ในเมืองใหญ่ เช่น กรุงเทพมหานคร ปริมณฑล และเมืองหลักในภูมิภาคต่าง ๆ
มีแหล่งกาเนิดหลักมาจากรถยนต์ที่วิ่งบนท้องถนน และเครื่องยนต์ที่เผาไหม้ไม่สมบูรณ์ รวมถึงการติดเครื่องยนต์
ขณะจอดอยู่กับที่ โดยเฉพาะในช่วงที่การจราจรหนาแน่นและติดขัด ทาให้เกิดการสะสมตัวของมลพิษทางอากาศ
ในปริมาณมาก
2
3) พื้นที่ภาคใต้ เกิดจากไฟไหม้ป่าพรุหรือมลพิษข้ามแดนนอกจากนี้ยังเกิดจากการเผาไหม้
ต่าง ๆ ในบ้านเรือนหรือกิจกรรมชุมชน เช่น การจุดเตาถ่านในบ้านเรือนการปิ้งหรือย่างอาหาร รวมถึงปฏิกิริยา
เคมีในอากาศ เช่น ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) ออกไซต์ของไนโตรเจน (NOX) และสารอินทรีย์ระเหยง่าย
(VOCs) ทาปฏิกิริยากับสารอื่นในอากาศเกิดเป็นฝุ่นละเอียดได้
สาหรับการร้องเรียนปัญหาฝุ่นละอองและเขม่าควันจากประชาชนที่พบเห็นได้บ่อยครั้งส่วนใหญ่มี
สาเหตุจากกิจกรรมดังต่อไปนี้
1) สาเหตุหลัก ได้แก่ สถานประกอบการ โรงงานอุตสาหกรรม การก่อสร้าง และการจราจร
2) สาเหตุรอง ได้แก่ กิจกรรมทางการเกษตร การเผาไหม้ในครัวเรือน และเพลิงไหม้
การบด ย่อยหิน โรงงานอุตสาหกรรม
การเผาไหม้ ลานตากมันสาปะหลัง
ภาพที่ 1 ตัวอย่างของแหล่งกาเนิดฝุ่นละออง
1.2 ผลกระทบของฝุ่นละอองและเขม่ำควัน
1) ผลกระทบต่อสุขภำพ ทาให้ส่งผลกระทบต่อทัศนวิสัยและการมองเห็น การไอ การจาม ระคายเคือง
ต่อระบบทางเดินหายใจ เป็นต้น โดยในสภาวะปกติ ร่างกายมนุษย์สามารถดักฝุ่นละอองขนาดใหญ่ได้โดยขนจมูก
หรือเยื่อเมือกในลาคอหรือหลอดลม ร่างกายจะมีกลไกการขับออกโดยการไอ หรือจาม ฝุ่นละอองขนาดเล็ก
จะส่งผลกระทบต่อสุขภาพมากขึ้นที่สุด โดยจะสามารถผ่านเข้าไปจับเกาะที่ถุงลมปอด อาจเกิดการสะสม
และก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพในภายหลัง
2) ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม โดยฝุ่นละอองจะปิดบังแสงอาทิตย์และปิดปากใบทาให้พืช
สังเคราะห์แสงได้น้อยลง หรือเป็นอุปสรรคต่อการผสมเกษรดอกไม้ ผลกระทบต่อแหล่งน้าเนื่องจากฝุ่นละออง
เป็นอุปสรรคต่อการสังเคราะห์แสงของพืชน้าหรือฝุ่นละอองที่เป็นสารอินทรีย์มีการย่อยสลายในน้าทาให้แหล่งน้า
มีความสกปรกเพิ่มขึ้น
3
2. กำรตรวจสอบเรื่องร้องเรียน และกำรตรวจวัดฝุ่นละอองและเขม่ำควัน
การดาเนินการแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียนของเจ้าหน้าที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อช่วยเหลือ
ประชาชนที่ได้รับความเดือดร้อน ใช้แนวทางตามพระราชกฤษฎีการว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ
บ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 และประกาศคณะกรรมการการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
เรื่อง แนวทางในการจัดบริการสาธารณะขององค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล และองค์การบริหารส่วนตาบล
โดยมีแนวทางการดาเนินการแก้ไขปัญหา ดังนี้
1) กรณีเรื่องร้องเรียนเข้าข่ายเป็นกิจการที่อันตรายต่อสุขภาพ หรือเหตุราคาญตามพระราชบัญญัติ
การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีอานาจที่ดาเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริง และ
พิจารณาแนวทางแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนได้โดยตรง ซึ่งเจ้าพนักงานท้องถิ่น หรือเจ้าพนักงานสาธารณสุข
ดาเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริง พิจารณาแนวทางแก้ไขปัญหา และให้ข้อเสนอแนะตามพระราชบัญญัติ
การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 เพื่อแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนจนสามารถหาข้อยุติได้ และแจ้งผลการดาเนินการ
ให้ผู้ร้องเรียนทราบ
2) กรณีเรื่องร้องเรียนไม่เข้าข่ายเป็นอันตรายต่อสุขภาพ และเหตุราคาญ ตามพระราชบัญญัติ
การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประสานไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กรมควบคุมมลพิษ
กรมโรงงานอุตสาหกรรม สานักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 1 - 16 กรมอนามัย สานักงานอุตสาหกรรมจังหวัด
ศูนย์อนามัยที่ 1 - 16 สานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
เพื่อดาเนินการเข้าร่วมตรวจสอบข้อเท็จจริงตามอานาจหน้าที่ พร้อมติดตามผลการดาเนินการข้อยุติ และแจ้ง
ผลการดาเนินการให้กับผู้ร้องเรียนทราบ
นอกจากนี้ ในการดาเนินการแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียน ควรให้ผู้ที่เกี่ยวข้องหรือคู่กรณีได้รับทราบ
ข้อเท็จจริงและพยานหลักฐานอย่างเพียงพอ รวมทั้งเปิดโอกาสให้มีการโต้แย้งแสดงพยานหลักฐานอย่างเพียงพอ
ก่อนที่จะมีคาวินิจฉัยหรือสั่งการเกี่ยวกับเรื่องนั้น โดยเฉพาะเรื่องที่ต้องใช้กระบวนการพิจารณาทางปกครอง
เพื่อมีคาสั่งทางปกครอง รวมทั้งจะต้องถือปฏิบัติตามกฎหมายวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองในส่วนที่
เกี่ยวข้องด้วย
4
ภำพแสดงแนวทำงกำรตรวจสอบเรื่องร้องเรียนด้ำนฝุ่นละอองและเขม่ำควัน
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
5
ประชำชนผู้ได้รับ
ผลกระทบ
เจ้ำพนักงำน
ท้องถิ่น
หน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง อำทิ
- อสจ. ทสจ. สสภ. สสจ. เป็นต้น
ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ร่วมตรวจสอบ
แจ้งเรื่องร้องเรียน
ตรวจสอบข้อเท็จจริง/
ตรวจวัดฝุ่นละออง
ไม่เข้ำข่ำยกิจกำรที่เป็นอันตรำย
ต่อสุขภำพ
ตำม พรบ.กำรสำธำรณสุข
พ.ศ. 2535
เข้ำข่ำยกิจกำรที่เป็นอันตรำยต่อ
สุขภำพ และเป็นเหตุรำคำญตำม
พรบ.กำรสำธำรณสุข
พ.ศ. 2535
ผลกำรตรวจวัดเกินค่ำมำตรฐำนที่กฎหมำย
กำหนด
ผลกำรตรวจวัดเป็นไปตำม
ค่ำมำตรฐำนที่กฎหมำย
กำหนด
ยุติเรื่อง
แจ้งผล
กำรดำเนินงำนให้
ผู้ร้องเรียนทรำบ
แจ้งหน่วยงำนในกำรอนุมัติ
อนุญำต ให้ทรำบและ
ดำเนินกำรตำมอำนำจ
หน้ำที่
เจ้ำพนักงำนท้องถิ่น ให้คำแนะนำและออก
คำสั่งให้สถำนประกอบกำรปรับปรุงแก้ไข
ภำยในเวลำที่กำหนด
ตรวจติดตำมหลังครบกำหนด
ระยะเวลำคำสั่ง
ผลกำรตรวจวัดเกินค่ำ
มำตรฐำนที่กฎหมำยกำหนด
เจ้ำพนักงำนท้องถิ่นดำเนินกำร
ตำมอำนำจหน้ำที่
เจ้ำพนักงำนท้องถิ่น
ติดตำมผล
กำรดำเนินกำร
แจ้งผลกำรดำเนินงำนให้ผู้
ร้องเรียนทรำบ
3. กำรตรวจวัดปริมำณฝุ่นละอองและกำรตรวจวัดควำมทึบแสง
การจัดการเรื่องร้องเรียนกรณีฝุ่นละอองและเขม่าควัน มีวิธีการตรวจวัดตามมาตรฐาน แบ่งออกเป็น
4 ประเภท ได้แก่
3.1 กำรตรวจวัดปริมำณฝุ่นละอองจำกปล่องระบำยของโรงงำน ได้แก่ การตรวจวัดปริมาณฝุ่นละออง
จากโรงงานทั่วไป โรงงานผลิตเหล็ก โรงไฟฟ้า โรงโม่หิน โรงงานผลิตปูนซิเมนต์ เตาเผามูลฝอย โรงแยกก๊าซ
และโรงกลั่นน้ามัน ในการดาเนินการกรณีนี้ผู้ดาเนินการต้องมีห้องปฏิบัติการในการเตรียมเครื่องมือ อุปกรณ์
สาหรับการตรวจวัด เครื่องชั่ง เครื่องอบ และกระบวนการทาความสะอาดอุปกรณ์ทั้งก่อนและหลังการ
ดาเนินการ และรถยนต์สาหรับการปฏิบัติการภาคสนาม และการขนอุปกรณ์เครื่องมือ
3.1.1 อุปกรณ์และเครื่องมือหลักในกำรตรวจวัด ประกอบด้วย
1) ชุดเก็บตัวอย่าง ได้แก่ หัวเก็บตัวอย่าง ท่อชักตัวอย่าง ท่อวัดความเร็วลมในปล่อง
เกจวัดค่าความแตกต่างของความดัน และฐานรองแผ่นกรอง อุปกรณ์ให้ความร้อนกระดาษกรอง อุปกรณ์วัด
อุณหภูมิ ชุดควบแน่น ระบบเครื่องตรวจวัด
2) บารอมิเตอร์
3) อุปกรณ์หาความหนาแน่นของอากาศ
4) กระดาษกรอง
5) สารดูดความชื้นและตู้อบกระดาษกรอง
6) เครื่องชั่งน้าหนัก
7) สารเคมี ได้แก่ อะซิโตน แคลเซียมซัลเฟตแอนไฮไดร ซิลิกาเจล น้ากลั่น น้าแข็งบด
และไขข้นซิลิโคน
3.1.2 ขั้นตอนกำรดำเนินกำรตรวจวัด
การตรวจวัดปริมาณฝุ่นละอองที่ระบายออกจากปล่องเป็นการเก็บตัวอย่างฝุ่นละอองด้วยวิธี
Determination of Particulate Emissions from Stationary Sources (อาจมีการเก็บตัวอย่างก๊าซซัลเฟอร์
ไดออกไซด์ และไนโตรเจนออกไซด์ในคราวเดียวกัน) โดยการคานวณหาปริมาณฝุ่นละอองที่ระบายเทียบกับ
ปริมาณอากาศที่ระบายออกจากปล่อง
6
ระบบบำบัดฝุ่นละออง
แบบไฟฟ้ำสถิตย์
ฝุ่นละอองฟุ้งกระจำยจำก
กำรเทข้ำวเปลือก
กำรตรวจวัดฝุ่นละออง
จำกปล่องระบำยอำกำศ
3.1.2.1 ออกแบบวิธีการเก็บและวิเคราะห์ตัวอย่างอากาศเสียจากปล่องระบายอากาศ โดยการ
กาหนดปล่องที่จะเก็บตัวอย่าง เลือกวิธีการเก็บ ปริมาตรอากาศ และเลือกการวิเคราะห์ตัวอย่างจากปล่องให้ตรงกับ
ประเภทของมลพิษที่ปล่อยออกจากกระบวนการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรมหรือตรงตามวัตถุประสงค์ รวมทั้ง
พิจารณากฎหมายที่เกี่ยวข้อง (ถ้ามี) เพื่อให้สามารถรับรองผลการตรวจวัดและสร้างความน่าเชื่อถือได้
3.1.2.2 ประสานกับโรงงานอุตสาหกรรมเพื่อให้จัดเตรียมข้อมูลสถานที่ และอานวยความสะดวก
ในการเก็บตัวอย่างอากาศจากปล่องระบายอากาศ
3.1.2.3 เตรียมความพร้อมของเครื่องมือและอุปกรณ์ในการเก็บตัวอย่างอากาศเสียจากปล่อง
ระบายอากาศ ปรับเทียบความถูกต้องของเครื่องมือและอุปกรณ์ และเตรียมบันทึกผลการเก็บตัวอย่าง พร้อมทั้ง
โปรแกรมและอุปกรณ์ที่ใช้คานวณผล
3.1.2.4 ดาเนินการเก็บตัวอย่างอากาศเสียจากปล่องระบายอากาศ จดบันทึกข้อมูลต่าง ๆ
ตามที่ระบุไว้ในแบบบันทึกข้อมูลและตรวจสอบอัตราการรั่วไหลของชุดเก็บตัวอย่าง และเมื่อเก็บตัวอย่างแล้วเสร็จ
ให้ทาความสะอาดและเก็บรักษาตัวอย่างเพื่อในไปวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการต่อไป
ทั้งนี้ สามารถศึกษารายละเอียดขั้นตอนการตรวจวัดมลพิษทางอากาศจากปล่องระบาย
อากาศเสียเพิ่มเติมในคู่มือการตรวจวัดมลพิษทางอากาศจากปล่องปล่อยทิ้งอากาศเสีย เล่มที่ 1 และ เล่มที่ 2
ตาม QR Code ดังต่อไปนี้
7
คู่มือกำรตรวจวัดมลพิษทำงอำกำศ
จำกปล่องปล่อยทิ้งอำกำศเสีย เล่มที่ 1
คู่มือกำรตรวจวัดมลพิษทำงอำกำศ
จำกปล่องปล่อยทิ้งอำกำศเสีย เล่มที่ 2
3.2 กำรตรวจวัดฝุ่นละอองจำกท่ำเรือ จำกเรือที่มีกำรขนถ่ำยสินค้ำระหว่ำงกัน หรือจำกโรงบด ย่อย
หรือโม่หิน โดยวิธี Opacity method
แหล่งกาเนิดมลพิษที่สามารถตรวจสอบกรณีนี้ ได้แก่ ท่าเรือ และเรือที่มีการขนถ่ายสินค้าระหว่างกัน
โรงงานบด ย่อย หรือโม่หิน
3.2.1 เครื่องมือและอุปกรณ์ในกำรตรวจวัด ได้แก่ เครื่องวัดความทึบแสง” (Smoke Opacity Meter)
เป็นเครื่องมือวัดคาความทึบแสงที่ใช้หลักการส่งผานของลาแสง (Transmissometry) จากแหลงกาเนิดแสง
(Light Source) ที่มีชวงความยาวคลื่นแสงเฉพาะผานฝุนละอองเขาสูอุปกรณรับแสง (Light Detector) แลววัดคา
ความเขมของแสงที่ลดลงเทียบกับความเขมของแสงทั้งหมดจากแหลงกาเนิดแสง โดยคุณลักษณะของเครื่องวัด
ความทึบแสงเป็นดังนี้
3.2.1.1 หัววัด (Sensor Head) เปนแบบที่ใชวัดคาความทึบแสงของฝุนละอองที่แหล่งกาเนิด
ฝุ่นละอองโดยตรง โดยไมผานการชักตัวอยาง (Full Flow)
3.2.1.2 แหลงกาเนิดแสง (Light Source) ตองเปนหลอดไฟฟาชนิดขดลวด (Incandescent
Lamp) ที่มีอุณหภูมิสีในชวง 2,800 ถึง 3,250 เคลวิน หรือไดโอดที่เปลงแสงสีเขียว (Green Light Emitting
Diode; LED) ซึ่งใหคาสเปกตรัมสูงสุด ในชวงความยาวคลื่น 550 ถึง 570 นาโนเมตร
3.2.1.3 อุปกรณรับแสง (Light Detector) ตองเปนโฟโต้เซล (Photocell) หรือโฟโตไดโอด
(Photodiode) ที่สามารถตอบสนองตอแสงที่ให้คาสเปกตรัมสูงสุดในช่วงความยาวคลื่น 550 ถึง 570 นาโนเมตร
3.2.2 ขั้นตอนกำรดำเนินกำรกำรตรวจวัด
3.2.2.1 การติดตั้งเครื่องวัดความทึบแสงให้เลือกบริเวณที่มีฝุ่นละอองฟุ้งกระจายออกสู
บรรยากาศมากที่สุด โดยจะต้องอยูในตาแหน่งใต้ลม กรณี (ก) ท่าเรือมีระบบรวบรวมฝุ่นละออง จุดตรวจวัด
ต้องอยู่ห่างจากขอบนอกสุดของระบบรวบรวม ฝุ่นละออง 1 เมตร และ (ข) ท่าเรือไม่มีระบบรวบรวมฝุ่นละออง
จุดตรวจวัดต้องอยู่ห่างจากจุดที่มีกระบวนการขนถ่าย สินค้า เช่น สายพานลาเลียง หรือขอบของโกรก 1 เมตร
3.2.2.2 ทาการตรวจวัดคาความทึบแสงสูงสุด จานวน 10 ครั้ง โดยการตรวจวัดแต่ละครั้ง
จะต้องเป็นจุดเดิมและจะต้องมีฝุ่นละอองฟุ้งกระจายเกิดขึ้นในขณะที่ตรวจวัดด้วย
ภำพหัววัดค่ำควำมทึบแสง ภำพเครื่องวัดค่ำควำมทึบแสง
8
3.2.2.3 บันทึกผลการตรวจวัด และระยะทางเดินแสงของเครื่องวัดความทึบแสง
3.2.2.4 ทาการตรวจสอบเครื่องวัดความทึบแสงอีกครั้งหนึ่ง โดยนาเครื่องวัดความทึบแสงไป
ตรวจวัดในบริเวณที่อากาศไม่มีฝุ่นละออง ซึ่งเครื่องวัดความทึบแสง จะต้องอ่านค่าร้อยละของความทึบแสงได้
เท่ากับ 0 ± 1.0 หากมีค่าเกินกว่าที่กาหนดไว้ให้ตรวจวัด หรือ เปลี่ยนเครื่องวัดความทึบแสงใหม่
3.2.2.5 คานวณค่าความทึบแสงของฝุ่นละอองในแต่ละจุดตรวจวัด
กำรตรวจวัดฝุ่นละอองจำกโรงโม่หิน
กำรตรวจวัดฝุ่นละอองขณะกำลังถ่ำยเทสินค้ำลงเรือ
3.3 กำรตรวจวัดฝุ่นละอองในพื้นที่ร้องเรียนหรือขอบรั้วของสถำนประกอบกำร
แหล่งกาเนิดมลพิษที่สามารถตรวจสอบกรณีนี้ ได้แก่ โรงสีข้าว เรื่องร้องเรียนทั่วไป หรือการตรวจวัดใน
พื้นที่อ้างอิงต่างๆ โดยมีเครื่องการตรวจวัดปริมาณฝุ่นละอองรวมในบรรยากาศ (Total Suspended Particulate :
TSP) และฝุ่นละอองขนาดเล็กที่มีอนุภาคไม่เกิน 10 ไมครอน (PM10)
3.3.1เครื่องมือและอุปกรณ์ในกำรตรวจวัดปริมำณฝุ่นละอองรวมในบรรยำกำศ (Total Suspended
Particulate :TSP)
3.3.1.1เครื่องเก็บตัวอย่างฝุ่นละอองในบรรยากาศ (High Volume Air Sampler) ประกอบด้วย
มอเตอร์สาหรับดูดอากาศ เครื่องบันทึกอัตราการไหลของอากาศ กระดาษกราฟวงกลมสาหรับบันทึกอัตราการไหล
ของอากาศ อุปกรณ์ควบคุมอัตราการไหลของอากาศ และอุปกรณ์ตั้งเวลาเปิด-ปิดเครื่องเก็บตัวอย่าง
3.3.1.2 อุปกรณ์อื่นๆ ได้แก่ มานอมิเตอร์น้า และบารอมิเตอร์
3.3.1.3 เครื่องมืออื่นๆ ได้แก่ เครื่องชั่งที่มีความละเอียดไม่น้อยกว่า 0.1 มิลลิกรัม ตู้ดูดความชื้น
สารดูดความชื้น คีมคีบปากแบน ถุงมือไวนิล ไม่มีแป้ง ถุงพลาสติกซิป ซองกระดาษสีน้าตาล เครื่องประทับหมายเลข
กระดาษกรอง และกระดาษกรองใยแก้ว ขนาด 810 นิ้วที่มีประสิทธิภาพในการกรองฝุ่นละอองขนาด 0.3 ไมครอน
ได้อย่างน้อย ร้อยละ 99
9
3.3.2 เครื่องมือและอุปกรณ์ในกำรตรวจวัดปริมำณฝุ่นละอองขนำดเล็กที่มีอนุภำคไม่เกิน 10
ไมครอน (PM10)
3.3.2.1 เครื่องมือที่ใชตรวจวัดฝุนละอองขนาดเล็กที่มีอนุภาคไม่เกิน 10 ไมครอน (PM10) มีหลักการ
ทางานเช่นเดียวกับเก็บตัวอย่างฝุ่นละอองในบรรยากาศ (High Volume Air Sampler) แต่มีหัวคัดขนาดฝุ่นละออง
ขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน และกระดาษกรองที่ใช้เป็นกระดาษกรองใยหิน และสามารถตรวจวัดหาคาเฉลี่ยของฝุน
ละอองขนาดเล็กที่มีอนุภาคไม่เกิน 10 ไมครอน (PM10) จากโรงสีขาวที่ฟุ้งกระจายออกสูบรรยากาศไดอย่างตอเนื่อง
โดยใชระบบกราวิเมตริก (Gravimetric) ระบบเบตาเร (Beta Ray) ระบบเทปเปอ อิลิเมน ออสซิเลติ้ง ไมโครบา
ลานซ Tapered Element Oscillating Microbalance) หรือระบบอื่นที่กรมควบคุมมลพิษเห็นชอบ
3.3.2.2 เครื่องมือที่ใช้ในการตรวจวัดฝุนละอองฟุงกระจายจากโรงสีขาวบริเวณจุดตรวจวัด
เหนือลม และจุดตรวจวัดใตลมตองเปนเครื่องมือชนิดเดียวกัน
3.3.2.3 เครื่องมืออื่นๆ ได้แก่ เครื่องชั่งที่มีความละเอียดไม่น้อยกว่า 0.1 มิลลิกรัม ตู้ดูดความชื้น
สารดูดความชื้น คีมคีบปากแบน ถุงมือไวนิล ไม่มีแป้ง ถุงพลาสติกซิป ซองกระดาษสีน้าตาล เครื่องประทับ
หมายเลขกระดาษกรอง และกระดาษกรองใยหิน ขนาด 810 นิ้ว ที่มีประสิทธิภาพในการกรองฝุ่นละออง
ขนาดเล็กที่มีขนาดขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน
เครื่องวัดปริมำณฝุ่นละอองรวมในบรรยำกำศ (TSP)
เครื่องวัดปริมำณฝุ่นละอองขนำดเล็กที่มีขนำดขนำดไม่เกิน 10 ไมครอน (PM10)
10
3.3.3 ขั้นตอนกำรตรวจวัด
3.3.3.1 นาแผนกระดาษกรองที่จะใชกับเครื่องมือตรวจวัดฝุนละอองใหนามาชั่งน้าหนักและจด
บันทึกไวกอนการติดตั้งกับเครื่องมือตรวจวัด
3.3.3.2 การตรวจวัดทิศทางลม ตั้งเครื่องตรวจวัดบริเวณเหนือลม และใต้ลม จากแหล่งที่ทาการ
ตรวจวัด
3.3.3.3ใช้เครื่องเก็บตัวอย่างอากาศดูดอากาศในบรรยากาศดวยอัตราการไหลคงที่เขาทางช่องที่ไดรับ
การออกแบบไวเปนพิเศษ เพื่อใหสามารถคัดขนาดของฝุนละอองขนาดไมเกิน 100 ไมครอน (TSP) หรือ 10 ไมครอน
(PM10)ที่แขวนลอยในบรรยากาศ และรวบรวมไวบนกระดาษกรอง ตลอดชวงการเก็บตัวอย่างตามมาตรฐานที่กาหนด
3.3.3.4 ชั่งน้าหนักกระดาษกรองภายหลังจากเก็บตัวอย่าง แล้วนามาคานวณปริมาณฝุ่นละออง
รวมต่อปริมาตรอากาศไหลจะได้หน่วยเป็นน้าหนักฝุ่นละอองต่อปริมาตรอากาศ
ทั้งนี้ สามารถศึกษารายละเอียดขั้นตอนการตรวจวัดฝุ่นละอองในบรรยากาศเพิ่มเติมในคู่มือ
การตรวจวัดฝุ่นละอองในบรรยากาศ ตาม QR Code ดังต่อไปนี้
11
กำรตั้งเครื่องวัดปริมำณฝุ่นละอองขนำดเล็ก (PM10) และเครื่องวัดปริมำณฝุ่นละอองรวมในบรรยำกำศ (TSP)
คู่มือกำรตรวจวัดฝุ่นละออง
ในบรรยำกำศ
3.4 กำรตรวจวัดควำมทึบแสงโดยวิธีของริงเกิลมำนน์ (Ringlemann Chart)
แหล่งกาเนิดมลพิษที่สามารถตรวจสอบกรณีนี้ ได้แก่ โรงสีข้าวที่ใช้หม้อไอน้า เตาเผามูลฝอย และ
เตาเผาศพ โดยจะใช้เจ้าหน้าที่ในการตรวจวัดอย่างน้อย 3 คน
3.4.1 เครื่องมือและอุปกรณ์ในกำรตรวจวัด
3.4.1.1 แผนภูมิเขม่าควันของริงเกิลมานน์ (Ringlemann Chart)
3.4.1.2 นาฬิกาจับเวลา แบบบันทึกผลการตรวจวัด
3.4.2 ขั้นตอนกำรตรวจวัด
หลักการตรวจวัดความทึบแสงโดยวิธีของริงเกิลมานน์ (Ringlemann Chart) เป็นการเปรียบเทียบสี
ของเขม่าควันที่ระบายออกจากปากปล่องกับแผนภูมิเขม่าควันของริงเกิลมานน์โดยการมองทะลุช่องแล้วเปรียบเทียบ
สีตามระยะเวลาที่กาหนด โดยมีขั้นตอนการตรวจวัด ดังนี้
3.4.2.1 การเตรียมสถานที่ และเวลาตรวจวัด เนี่องจากเป็นการตรวจวัดกรณีนี้สามารถดาเนินการ
ได้ ในบางช่วงเวลา ดังนี้
1) กรณีเป็นปล่องระบายจากโรงสีข้าว หรือเตาเผามูลฝอยสามารถตรวจวัดได้ในช่วงเช้าหรือบ่าย
ซึ่งมีองค์ประกอบที่สาคัญคือตาแหน่งของดวงอาทิตย์และทิศทางลม โดยผู้ตรวจวัดต้องยืนหันหลังให้ดวงอาทิตย์ และ
แนวตรวจวัดต้องขวางทิศทางลม
2) กรณีตรวจวัดเตาเผาศพ ต้องประสานวัดหรือผู้ดาเนินการเตาเผาศพ ถึงวัน เวลาที่มีการเผาศพ
โดยการเตรียมการตรวจวัดทุกอย่างต้องแล้วเสร็จก่อนมีพิธีการเผาศพ และต้องดาเนินการตรวจวัดอย่างเงียบ ๆ
ซ่อนเร้นเท่าที่สามารถกระทาได้ เพื่อหลีกเลี่ยงการสงสัยของประชาชนผู้มาร่วมพิธีเผาศพ
3.4.2.2 ผู้ทาการตรวจวัด 2 คน ยืนห่างจากปากปล่องเป็นระยะทางไม่น้อยกว่า 3 เท่าของ
ความสูงปล่อง (ไม่เกิน 400 เมตร) และให้ดวงอาทิตย์อยู่ด้านหลังของผู้ตรวจวัดภายในรัศมี 140 องศา
3.4.2.3 บันทึกผลการตรวจวัดค่าความทึบแสงลงในแบบบันทึกทุก 15 วินาที
3.4.2.4 ภายหลังตรวจวัดแต่ละเซ็ท ให้ผู้ตรวจวัดคานวณหาค่าความทึบแสงเฉลี่ย แล้ว
เปรียบเทียบความเที่ยงตรงของการตรวจวัด โดยนาผลค่าความทึบแสงเฉลี่ยของผู้ตรวจวัดทั้ง 2 คน มาหาค่า
ความแตกต่าง หากมีค่าความแตกต่างมากกว่า 3 ให้ทาการตรวจวัดใหม่
12
ปล่องระบำยควันจำกเตำเผำศพ กำรตรวจวัดค่ำควำมทึบแสง โดยวิธีของริงเกิลมำนน์
3.4.2.5หากผลการเปรียบเทียบมีค่าความแตกต่างไม่เกิน 3 ให้นาค่าความทึบแสงของผู้ตรวจวัดทั้ง 2 คน
มาหาค่าเฉลี่ย เพื่อเปรียบเทียบกับมาตรฐานที่กาหนด
3.5 กำรดำเนินกำรภำยหลังกำรตรวจสอบ
การตรวจสอบหรือการตรวจวัดค่ามลพิษเป็นเพียงหนึ่งในขั้นตอนของกระบวนการแก้ไขปัญหามลพิษ
หรือเหตุร้องเรียน การตรวจสอบและหาข้อมูลที่เกี่ยวข้องจะทราบถึงสาเหตุ แหล่งที่มา หรือกระบวนการที่ก่อให้เกิด
ฝุ่นละออง และประสิทธิภาพของระบบรวบรวมและบาบัดอากาศเสีย รวมถึงสภาพการณ์ต่างๆ ที่ก่อให้เกิดฝุ่นละออง
และเมื่อผลทราบผลตรวจวัดค่ามลพิษแล้ว มีข้อเสนอแนะในการดาเนินการ ดังนี้
1) กรณีผลการตรวจสอบมีค่าเป็นไปตามมาตรฐานอาจมีการแจ้งแหล่งกาเนิดมลพิษว่าผลการตรวจวัด
มีค่าเป็นไปตามมาตรฐานที่กาหนด แต่ไม่ได้รับรองว่าผลการตรวจวัดจะเป็นไปตามมาตรฐานตลอดเวลา และต้อง
แจ้งผลการตรวจสอบให้ผู้ร้องเรียนรับทราบผลดาเนินการ หรือหากค่าที่วัดได้ใกล้เคียงค่ามาตรฐาน อาจมีการขอ
ความร่วมมือให้แหล่งกาเนิดมลพิษปรับปรุงดูแลให้ลดค่ามลพิษให้น้อยลงกว่าเดิมได้
2) กรณีผลการตรวจสอบมีค่าไม่เป็นไปตามมาตรฐานให้เจ้าพนักงานส่วนท้องถิ่น มีหนังสือแจ้งผลการ
ตรวจสอบให้แหล่งกาเนิดมลพิษทราบพร้อมระบุว่าค่าใดไม่เป็นไปตามมาตรฐานใด และแจ้งให้ดาเนินการ
ปรับปรุงแก้ไขประกอบการตรวจสอบทางกายภาพ โดยกาหนดระยะเวลาดาเนินการปรับปรุงแก้ไขและ
ดาเนินการทางกฎหมายตามอานาจหน้าที่ และต้องระบุวิธีการโต้แย้งสิทธิให้แหล่งกาเนิดมลพิษนั้นทราบด้วย
3) กรณีแหล่งกาเนิดมลพิษที่เป็นโรงงานอุตสาหกรรม ท่าเรือ หรือการขนถ่ายสินค้าระหว่างเรือ ควรแจ้ง
เจ้าพนักงานตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน กรมเจ้าท่า กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งหรือหน่วยงานที่
เกี่ยวข้องในการอนุมัติ อนุญาต ให้ทราบและดาเนินการตามอานาจหน้าที่ต่อไป
4) กรณีแหล่งกาเนิดมลพิษที่เป็นเตาเผามูลฝอย หรือเตาเผาศพ พนักงานท้องถิ่นมีอานาจในการสั่งการให้
ปรับปรุงหรือดาเนินการอื่นๆ ตามอานาจหน้าที่การตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535
13
แผ่นแผนภูมิเขม่ำควันของริงเกิลมำนน์
4. กฎหมำยที่เกี่ยวข้องในกำรควบคุมฝุ่นละออง
1) พระรำชบัญญัติส่งเสริมและรักษำคุณภำพสิ่งแวดล้อมแห่งชำติ พ.ศ. 2535
มำตรำ 55 ให้รัฐมนตรีโดยคาแนะนาของคณะกรรมการควบคุมมลพิษ และโดยความเห็นชอบ
ของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ มีอานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากาหนดมาตรฐานควบคุมมลพิษ
จากแหล่งกาเนิด สาหรับควบคุมการระบายน้าทิ้ง การปล่อยทิ้งอากาศเสีย การปล่อยทิ้งของเสีย หรือมลพิษอื่นใด
จากแหล่งกาเนิดออกสู่สิ่งแวดล้อมเพื่อรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมให้ได้มาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมตามที่
กาหนดไว้ในพระราชบัญญัตินี้
มำตรำ 56 ในกรณีที่มีการกาหนดมาตรฐานเกี่ยวกับการระบายน้าทิ้ง การปล่อยทิ้งอากาศเสีย
การปล่อยทิ้งของเสีย หรือมลพิษอื่นใดจากแหล่งกาเนิดออกสู่สิ่งแวดล้อมโดยอาศัยอานาจตามกฎหมายอื่น
และมาตรฐานดังกล่าวไม่ต่ากว่ามาตรฐานควบคุมมลพิษจากแหล่งกาเนิดที่รัฐมนตรีประกาศกาหนดตามมาตรา 55
ให้มาตรฐานดังกล่าวมีผลใช้บังคับต่อไปตามที่กาหนดไว้ในกฎหมายนั้น แต่ถ้ามาตรฐานดังกล่าวต่ากว่า
มาตรฐานควบคุมมลพิษจากแหล่งกาเนิดที่รัฐมนตรีประกาศกาหนดตามมาตรา 55 ให้ส่วนราชการที่มีอานาจ
ตามกฎหมายนั้นแก้ไขให้เป็นไปตามมาตรฐานควบคุมมลพิษจากแหล่งกาเนิด ในกรณีที่มีอุปสรรคไม่อาจ
ดาเนินการ เช่นว่านั้นได้ ให้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติเป็นผู้ชี้ขาด เมื่อมีคาชี้ขาดเป็นประการใดให้
ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องดาเนินการตามคาชี้ขาดนั้น
มำตรำ 57 ในกรณีที่มีกฎหมายอื่นบัญญัติให้อานาจส่วนราชการใดกาหนดมาตรฐานควบคุม
มลพิษจากแหล่งกาเนิดในเรื่องใดไว้ แต่ส่วนราชการนั้นไม่ใช้อานาจตามกฎหมายกาหนดมาตรฐานดังกล่าว
ให้รัฐมนตรีโดยคาแนะ นาของคณะกรรมการควบคุมมลพิษ และโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ
สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ มีอานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากาหนดมาตรฐานควบคุมมลพิษจากแหล่งกาเนิดใน
เรื่องนั้นได้ และให้ถือว่าเป็นมาตรฐานตามกฎหมายในเรื่องนั้นด้วย
มำตรำ 58 ในกรณีที่เห็นสมควร ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดมีอานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษา
กาหนดมาตรฐานควบคุมมลพิษจากแหล่งกาเนิดสูงกว่ามาตรฐานควบคุมมลพิษจากแหล่งกาเนิดที่กาหนดตาม
มาตรา 55 หรือมาตรฐานซึ่งกาหนดตามกฎหมายอื่น และมีผลใช้บังคับตามมาตรา 56 เป็นพิเศษ สาหรับในเขต
ควบคุมมลพิษตามมาตรา 59
มำตรำ 68 ให้คณะรัฐมนตรีโดยคาแนะนาของคณะกรรมการควบคุมมลพิษมีอานาจประกาศใน
ราชกิจจานุเบกษากาหนดประเภทของแหล่งกาเนิดมลพิษที่จะต้องถูกควบคุมการปล่อยอากาศเสีย รังสี หรือ
มลพิษอื่นใดที่อยู่ในสภาพเป็นควัน ไอ ก๊าซ เขม่า ฝุ่นละออง เถ้าถ่าน หรือมลพิษอากาศ ในรูปแบบใดออกสู่
บรรยากาศไม่เกินมาตรฐานควบคุมมลพิษจากแหล่งกาเนิดที่กาหนดตามมาตรา 55 หรือมาตรฐานที่ส่วน
ราชการใดกาหนด โดยอาศัยอานาจตามกฎหมายอื่นหรือมาตรฐานนั้นยังมีผลใช้บังคับตามมาตรา 56 หรือ
มาตรฐานที่ผู้ว่าราชการจังหวัดกาหนดเป็นพิเศษสาหรับเขตควบคุมมลพิษตามมาตรา 58
14
2) พระรำชบัญญัติโรงงำน พ.ศ. 2535
มำตรำ 8 เพื่อประโยชน์ในการควบคุมการประกอบกิจการโรงงานให้รัฐมนตรีมีอานาจออก
กฎกระทรวงเพื่อให้โรงงานจาพวกใดจาพวกหนึ่งหรือทุกจาพวกตามมาตรา 7 ต้องปฏิบัติตามในเรื่องดังต่อไปนี้
(5) กาหนดมาตรฐานและวิธีการควบคุม การปล่อยของเสีย มลพิษหรือสิ่งใด ๆ ที่มี
ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมซึ่งเกิดขึ้นจากการประกอบกิจการโรงงาน
มำตรำ 12 ผู้ประกอบกิจการโรงงานจาพวกที่ 3 ต้องได้รับใบอนุญาตจากผู้อนุญาต และต้อง
ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดในกฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา 8 ประกาศของรัฐมนตรีที่ออกตาม
กฎกระทรวงดังกล่าวและประกาศของรัฐมนตรีที่ออกตามมาตรา 32
ห้ำมมิให้ผู้ใดตั้งโรงงำนก่อนได้รับใบอนุญำต
มาตรา 45 ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามกฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา 8 (1) (2) (3) (4) (5)
หรือ (8) หรือประกาศของรัฐมนตรีที่ออกตามกฎกระทรวงดังกล่าว ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองแสนบาท
มาตรา 50 ผู้ใดประกอบกิจการโรงงานจาพวกที่ 3 ต้องได้รับใบอนุญาตจากผู้อนุญาตตาม
มาตรา 12 วรรคหนึ่ง หรือตั้งโรงงานโดยไม่ได้รับใบอนุญาตตามมาตรา 12 วรรคสอง ต้องระวางโทษจาคุกไม่
เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสองแสนบาท
3) พระรำชบัญญัติกำรสำธำรณสุข พ.ศ. 2535
มำตรำ 10 ให้คณะกรรมการมีอานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
(3) คาแนะนาต่อรัฐมนตรีในการออกกฎกระทรวง และต่อราชการส่วนท้องถิ่นใน
การออกข้อกาหนดของท้องถิ่น
มำตรำ 25 ในกรณีที่มีเหตุอันอาจก่อให้เกิดความเดือดร้อนแก่ผู้ที่อยู่อาศัยในบริเวณใกล้เคียง
หรือผู้ต้องประสบเหตุนั้น ดังต่อไปนี้ ถือว่าเป็นเหตุราคาญ
(3) อาคารอันเป็นที่อยู่ของคนหรือสัตว์ โรงงานหรือสถานที่ประกอบการใดไม่มีการ
ระบายอากาศ การระบายน้า การกาจัดสิ่งปฏิกูล หรือการควบคุมสารเป็นพิษหรือมีแต่ไม่มีการควบคุมให้
ปราศจากกลิ่นเหม็นหรือละอองสารเป็นพิษอย่างพอเพียงจนเป็นเหตุให้เสื่อมหรืออาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพ
(4) การกระทาใดๆอันเป็นเหตุให้เกิดกลิ่น แสง รังสี เสียง ความร้อน สิ่งมีพิษ ความ
สั่นสะเทือน ฝุ่น ละออง เขม่า เถ้า หรือกรณีอื่นใด จนเป็นเหตุให้เสื่อม หรืออาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพ
มำตรำ 26 กาหนดให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นมีอานาจห้ามผู้ใดผู้หนึ่งมิให้ก่อเหตุราคาญ ในที่หรือ
ทางสาธารณะหรือสถานที่เอกชน รวมทั้งการระงับเหตุราคาญด้วย ตลอดทั้งการดูแล ปรับปรุง บารุงรักษา
บรรดาถนน ทางบก ทางน้า รางระบายน้า คู คลอง และสถานที่ต่างๆ ในเขตของตนให้ปราศจากเหตุราคาญ
ในการนี้ ให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นมีอานาจออกคาสั่งเป็นหนังสือเพื่อระงับ กาจัดและควบคุมเหตุราคาญต่าง ๆ ได้
15
มำตรำ 27 ในกรณีที่มีเหตุราคาญเกิดขึ้น หรืออาจเกิดขึ้นในที่หรือสาธารณะ ให้เจ้าพนักงาน
ท้องถิ่นมีอานาจออกคาสั่งเป็นหนังสือให้บุคคลซึ่งเป็นต้นเหตุหรือเกี่ยวข้องกับการก่อหรืออาจก่อให้เกิดเหตุ
ราคาญนั้น ระงับ หรือป้องกันเหตุราคาญภายในเวลาอันสมควรตามที่ระบุไว้ในคาสั่ง และถ้าเห็นสมควรจะให้
กระทาโดยวิธีใดเพื่อระงับ หรือป้องกันเหตุราคาญนั้น หรือสมควรกาหนดวิธีการเพื่อป้องกันมิให้มีเหตุราคาญ
เกิดขึ้นอีกในอนาคต ให้ระบุไว้ในคาสั่งได้
ในกรณีที่ปรากฏแก่เจ้าพนักงานท้องถิ่นว่า ไม่มีการปฏิบัติตามตามคาสั่งของเจ้า
พนักงานท้องถิ่น ตามวรรคหนึ่ง และเหตุราคาญที่เกิดขึ้นอาจเกิดอันตรายอย่างร้ายแรงต่อสุขภาพ ให้เจ้า
พนักงานท้องถิ่นระงับเหตุราคาญนั้น และอาจจัดการตามความจาเป็น เพื่อป้องกันมิให้เกิดเหตุราคาญนั้นขึ้นอีก
โดยบุคคล ซึ่งเป็นต้นเหตุหรือเกี่ยวข้องกับก่อหรืออาจก่อให้เกิดเหตุราคาญต้องเป็นผู้เสียค่าใช้จ่ายสาหรับการ
จัดการนั้น
มำตรำ 28 ในกรณีที่มีเหตุราคาญเกิดขึ้นในสถานที่เอกชนให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นมีอานาจออก
คาสั่งเป็นหนังสือให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองสถานที่นั้นระงับเหตุภายในระยะเวลาอันสมควรตามที่ระบุไว้ใน
คาสั่งและถ้าเห็นว่าสมควรจะให้กระทาโดยวิธีใดเพื่อระงับเหตุราคาญนั้น หรือสมควรกาหนดวิธีการเพื่อป้องกัน
มิให้มีเหตุราคาญเกิดขึ้นในอนาคต ให้ระบุไว้ในคาสั่งได้
ในกรณีที่ไม่ปฏิบัติตามคาสั่งของเจ้าพนักงานท้องถิ่น ให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นมี
อานาจระงับเหตุราคาญนั้นและอาจจัดการตามความจาเป็น เพื่อป้องกันมิให้มีเหตุราคาญเกิดขึ้นอีก และถ้าเหตุ
ราคาญเกิดขึ้นจากการกระทา การละเลย หรือการยินยอมของเจ้าของหรือผู้ครอบครองสถานที่นั้น เจ้าของหรือ
ผู้ครอบครองสถานที่ดังกล่าวต้องเป็นผู้เสียค่าใช้จ่ายสาหรับการนั้น
ในกรณีที่ปรากฏแก่เจ้าพนักงานท้องถิ่นว่าเหตุราคาญที่เกิดขึ้นในสถานที่เอกชนอาจ
เกิดอันตรายอย่างร้ายแรงต่อสุขภาพหรือมีผลกระทบต่อสภาวะความเป็นอยู่ที่เหมาะสมกับการดารงชีพของ
ประชาชน เจ้าพนักงานท้องถิ่นจะออกคาสั่งเป็นหนังสือห้ามมิให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองใช้หรือยินยอมให้
บุคคลใดใช้สถานที่นั้นทั้งหมดหรือบางส่วน จนกว่าจะเป็นที่พอใจแก่เจ้าพนักงานท้องถิ่นว่าได้มีการระงับเหตุ
ราคาญนั้นแล้วก็ได้
มำตรำ 31 ให้รัฐมนตรีโดยคาแนะนาของคณะกรรมการมีอานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษา
กาหนดให้กิจการใดเป็นกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
มำตรำ 32 เพื่อประโยชน์ในการกากับดูแลการประกอบกิจการที่ประกาศตามมาตรา 31 ให้
ราชการส่วนท้องถิ่นมีอานาจออกข้อกาหนดของท้องถิ่นดังต่อไป
(1) กาหนดประเภทของกิจการตามมาตรา ๓๑ บางกิจการหรือทุกกิจการให้เป็น
กิจการที่ต้องมีการควบคุมภายในท้องถิ่นนั้น
(2) กาหนดหลักเกณฑ์และเงื่อนไขทั่วไปสาหรับให้ผู้ดาเนินกิจการตาม (1) ปฏิบัติ
เกี่ยวกับการดูแลสภาพหรือสุขลักษณะของสถานที่ที่ใช้ดาเนินกิจการและมาตรการป้องกันอันตรายต่อสุขภาพ
16
มำตรำ 74 ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคาสั่งของเจ้าพนักงานท้องถิ่น ตามมาตรา 27 วรรคหนึ่ง หรือ
มาตรา 28 วรรคหนึ่ง หรือวรรคสาม โดยไม่มีเหตุหรือข้อแก้ตัวอันสมควร หรือขัดขวางการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้า
พนักงานท้องถิ่นตามมาตรา 27 วรรคสอง หรือมาตรา 28 วรรคสอง ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือ
ปรับไม่เกิน 2,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
ทั้งนี้ คณะกรรมการสาธารณสุขในคราวประชุม ครั้งที่ 120-6/2562 เมื่อวันที่ 26 กันยายน 2562
มีมติให้ออกคาแนะนาคณะกรรมการสาธารณสุข เรื่อง การควบคุมป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพจากฝุ่นละออง
พ.ศ. 2562 เพื่อป้องกันควบคุมดูแลมิให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนและสร้างภาวะความเป็นอยู่ที่
เหมาะสมของประชาชน ซึ่งประกอบด้วยแนวทางการควบคุมฝุ่นละอองจากแหล่งกาเนิดประเภทการประกอบ
กิจการ แนวทาง การควบคุมเหตุราคาญและพื้นที่ควบคุมเหตุราคาญจากฝุ่นละออง และแนวทางการป้องกัน
ผลกระทบต่อสุขภาพจากฝุ่นละอองของราชการส่วนท้องถิ่น รายละเอียดตาม QR Code ดังต่อไปนี้
17
คำแนะนำคณะกรรมกำรสำธำรณสุข
เรื่อง กำรควบคุมป้องกันผลกระทบต่อสุขภำพ
จำกฝุ่นละออง พ.ศ. 2562
ภำคผนวก ก.
มำตรฐำนที่ใช้อ้ำงอิงในกำรดำเนินกำรตรวจวัดควำมเข้มข้นของฝุ่นละอองจำกปล่องระบำยอำกำศ
1. ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดให้ โรงงานอุตสาหกรรมเป็น
แหล่งกาเนิดมลพิษที่จะต้องถูกควบคุมการปล่อยทิ้งอากาศเสียออกสู่บรรยากาศ
2. ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดมาตรฐานควบคุมการปล่อยทิ้ง
อากาศเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม
3. ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดให้โรงงานปูนซีเมนต์ที่ใช้ของเสีย
เป็นแหล่งเชื้อเพลิงหรือเป็นวัตถุดิบในการผลิต เป็นแหล่งกาเนิดมลพิษที่จะต้องควบคุมการปล่อยทิ้งอากาศเสีย
ออกสู่บรรยากาศ
4. ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดมาตรฐานควบคุมการปล่อยทิ้ง
อากาศเสียจากโรงงานปูนซีเมนต์ที่ใช้ของเสียเป็นเชื้อเพลิงหรือเป็นวัตถุดิบในการผลิต
5. ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดให้โรงงานปูนซีเมนต์เป็น
แหล่งกาเนิดมลพิษที่จะต้องถูกควบคุมการปล่อยทิ้งอากาศเสียออกสู่บรรยากาศ
6. ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดมาตรฐานควบคุมการปล่อยทิ้ง
อากาศเสียจากโรงงานปูนซีเมนต์
7. ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดมาตรฐานควบคุมการปล่อยทิ้ง
อากาศเสียจากเตาเผามูลฝอยติดเชื้อ
8. ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2542) เรื่อง การกาหนด
มาตรฐานควบคุมการปล่อยทิ้งอากาศเสียจากโรงไฟฟ้าเก่า
9. ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดให้โรงไฟฟ้าเป็น
แหล่งกาเนิดมลพิษที่จะต้องถูกควบคุมการปล่อยทิ้งอากาศเสียออกสู่สิ่งแวดล้อม
10. ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดมาตรฐานควบคุมการ
ปล่อยทิ้งอากาศเสียจากโรงไฟฟ้า
11. ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดมาตรฐานควบคุมการ
ปล่อยทิ้งอากาศเสียจากโรงงานเหล็ก
12. ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดให้เตาเผามูลฝอยติดเชื้อเป็น
แหล่งกาเนิดมลพิษที่จะต้องถูกควบคุมการปล่อยทิ้งอากาศเสียออกสู่บรรยากาศ
13. ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดให้โรงงานเหล็กเป็น
แหล่งกาเนิดมลพิษที่จะต้องถูกควบคุมการปล่อยทิ้งอากาศเสียออกสู่บรรยากาศ
14. ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2544) เรื่อง กาหนดให้
โรงไฟฟ้าแม่เมาะเป็นแหล่งกาเนิดมลพิษที่จะต้องถูกควบคุมการปล่อยทิ้งอากาศเสียออกสู่บรรยากาศ
18
15. ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2544) เรื่อง กาหนด
มาตรฐานควบคุมการปล่อยทิ้งอากาศเสียจากโรงไฟฟ้าแม่เมาะ
16. ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กาหนดค่าปริมาณของสารเจือปนในอากาศที่ระบายออก
จากโรงแยกก๊าซธรรมชาติ พ.ศ. 2559
17. ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กาหนดค่าปริมาณของสารเจือปนในอากาศที่ระบายออก
จากโรงงาน พ.ศ. 2549
18. ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กาหนดค่าปริมาณของสารเจือปนในอากาศที่ระบายออก
จากโรงงาน กรณีการใช้น้ามันใช้แล้วที่ผ่านกระบวนการปรับคุณภาพและเชื้อเพลิงสังเคราะห์ เป็นเชื้อเพลิงใน
เตาอุตสาหกรรม พ.ศ. 2548
19. ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่อง เครื่องวัดและวิธีการตรวจวัดค่าเฉลี่ยของก๊าซหรือฝุ่นละอองใน
บรรยากาศโดยทั่วไประบบอื่นหรือวิธีอื่นที่กรมควบคุมมลพิษเห็นชอบ
19
ภำคผนวก ข
มำตรฐำนที่ใช้อ้ำงอิงในกำรดำเนินกำรกรณีฝุ่นละอองจำกท่ำเรือ จำกเรือที่มีกำรขนถ่ำยสินค้ำระหว่ำงกัน
หรือจำกโรงบด ย่อย หรือโม่หิน
1. ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดมาตรฐานค่าความทึบแสงของ
ฝุ่นละอองฟุ้งกระจายจากเรือที่มีการขนถ่ายสินค้าระหว่างกัน
2. ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดให้โรงโม่ บด หรือย่อยหิน
เป็นแหล่งกาเนิดมลพิษที่จะต้องถูกควบคุมการปล่อยฝุ่นละอองออกสู่บรรยากาศ
3. ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดมาตรฐานควบคุม
การปล่อยฝุ่นละออง จากโรงโม่ บด หรือย่อยหิน
4. ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดให้ท่าเรือบางประเภทเป็น
แหล่งกาเนิดมลพิษที่จะต้องถูกควบคุมการปล่อยทิ้งอากาศเสียสู่บรรยากาศ
5. ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดมาตรฐานค่าความทึบแสงของ
ฝุ่นละอองฟุ้งกระจายจากท่าเรือ
6. ประกาศคณะกรรมการควบคุมมลพิษ เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการตรวจวัดฝุ่นละออง
ฟุ้งกระจายจากท่าเรือด้วยเครื่องวัดความทึบแสง
7. ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการตรวจวัดค่าความทึบแสงของฝุ่นละอองฟุ้ง
กระจายจากเรือ ที่มีการขนถ่ายสินค้าระหว่างกัน
20
ภำคผนวก ค
มำตรฐำนที่ใช้อ้ำงอิงในกำรดำเนินกำรกรณีฝุ่นละอองในพื้นที่ร้องเรียนหรือขอบรั้วของสถำนประกอบกำร
1. ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 24 (พ.ศ. 2547) เรื่อง กาหนดมาตรฐาน
คุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป
2. ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 28 (พ.ศ. 2550) เรื่อง กาหนดมาตรฐาน
คุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป
3.ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดมาตรฐานฝุ่นละออง
ฟุ้งกระจายจากโรงสีข้าว
4. ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดให้โรงสีข้าวทุกประเภทเป็น
แหล่งกาเนิดมลพิษที่จะต้องถูกควบคุมการปลอยทิ้งอากาศเสียออกสู่บรรยากาศ
5. ประกาศคณะกรรมการควบคุมมลพิษ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ เครื่องมือที่ใช้ในการตรวจวัดและจุด
ตรวจวัดฝุ่นละอองฟุ้งกระจายจากโรงสีข้าว
6. ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่อง เครื่องวัดและวิธีตรวจวัดค่าเฉลี่ยของก๊าซหรือฝุ่นละออง
ในบรรยากาศโดยทั่วไประบบอื่นหรือวิธีอื่นที่กรมควบคุมมลพิษเห็นชอบ
21
ภำคผนวก ง
มำตรฐำนที่ใช้อ้ำงอิงในกำรดำเนินกำรกรณีกำรตรวจวัดควำมทึบแสงโดยวิธีของริงเกิลมำนน์
1. ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดให้เตาเผาศพเป็นแหล่งกาเนิด
มลพิษที่จะต้องถูกควบคุมการปล่อยทิ้งอากาศเสียออกสู่สิ่งแวดล้อม
2.. ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดมาตรฐานค่าความทึบแสงจาก
ปล่องปล่อยทิ้งอากาศเสีย ของโรงสีข้าวที่ใช้หม้อไอน้า
3. ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดให้สถานประกอบกิจการ
ที่ใช้หม้อไอน้าเป็นแหล่งกาเนิดมลพิษที่ต้องถูกควบคุมการปล่อยทิ้งอากาศเสียออกสู่บรรยากาศ
4. ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดมาตรฐานค่าความทึบแสงของ
เขม่าควันจากสถานประกอบกิจการที่ใช้หม้อไอน้า
5. ประกาศคณะกรรมการควบคุมมลพิษ เรื่อง แบบบันทึกผลการตรวจวัดค่าความทึบแสง และแบบ
สรุปผลการตรวจวัดค่าความทึบแสงของเขม่าควัน จากปล่องปล่อยทิ้งอากาศเสียของเตาเผามูลฝอย รวมทั้ง
ลักษณะ และหน่วยวัด ค่าความทึบแสงของแผนภูมิเขม่าควันของริงเกิลมานน์
6. ประกาศคณะกรรมการควบคุมมลพิษ เรื่อง วิธีการตรวจวัด ลักษณะและหน่วยวัด
การคานวณ เปรียบเทียบ แบบบันทึก และการรายงานผล การตรวจวัดค่าความทึบแสงของเขม่าควันจากสถาน
ประกอบกิจการที่ใช้หม้อไอน้า
7. ประกาศคณะกรรมการควบคุมมลพิษ เรื่อง วิธีการตรวจวัด ลักษณะและหนวยวัด การคานวณ
เปรียบเทียบ แบบบันทึกและการรายงานผลคาความทึบแสงของเขมาควันจากปลองปลอยทิ้งอากาศเสียของ
โรงสีข้าวที่ใชหม้อไอน้า
8. ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่อง วิธีการตรวจวัด ลักษณะและหนวยวัด การคานวณ เปรียบเทียบ
แบบบันทึก และการรายงานผลการตรวจวัดคาความทึบแสงของเขมาควันจากปลองเตาเผาศพ
22
คู่มือการจัดการปัญหาฝุ่นละออง
คู่มือการจัดการปัญหาฝุ่นละออง
คู่มือการจัดการปัญหาฝุ่นละออง
คู่มือการจัดการปัญหาฝุ่นละออง
คู่มือการจัดการปัญหาฝุ่นละออง
คู่มือการจัดการปัญหาฝุ่นละออง
คู่มือการจัดการปัญหาฝุ่นละออง
คู่มือการจัดการปัญหาฝุ่นละออง
คู่มือการจัดการปัญหาฝุ่นละออง
คู่มือการจัดการปัญหาฝุ่นละออง
คู่มือการจัดการปัญหาฝุ่นละออง
คู่มือการจัดการปัญหาฝุ่นละออง
คู่มือการจัดการปัญหาฝุ่นละออง
คู่มือการจัดการปัญหาฝุ่นละออง
คู่มือการจัดการปัญหาฝุ่นละออง
คู่มือการจัดการปัญหาฝุ่นละออง
คู่มือการจัดการปัญหาฝุ่นละออง

More Related Content

What's hot

โครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิลโครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิลพัน พัน
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อkrupornpana55
 
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่างBest practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่างsomdetpittayakom school
 
หลักสูตร Is ม.ต้น.56doc
หลักสูตร Is ม.ต้น.56docหลักสูตร Is ม.ต้น.56doc
หลักสูตร Is ม.ต้น.56dockrupornpana55
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
แนะนำโรงเรียน.Ppt
แนะนำโรงเรียน.Pptแนะนำโรงเรียน.Ppt
แนะนำโรงเรียน.Pptอ๋อ จ้า
 
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdfแบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdfSophinyaDara
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)Thitaree Samphao
 
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศsomdetpittayakom school
 
PA1ครูไม่มีวิทยฐานะ2.pdf
PA1ครูไม่มีวิทยฐานะ2.pdfPA1ครูไม่มีวิทยฐานะ2.pdf
PA1ครูไม่มีวิทยฐานะ2.pdfNick Ky
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย Thitaree Samphao
 
การใช้แมลงน้ำเป็นดัชนีชี้วัด
การใช้แมลงน้ำเป็นดัชนีชี้วัดการใช้แมลงน้ำเป็นดัชนีชี้วัด
การใช้แมลงน้ำเป็นดัชนีชี้วัดMiss.Yupawan Triratwitcha
 
Minibook932Group10
Minibook932Group10Minibook932Group10
Minibook932Group10Don Tanadon
 
นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]
นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]
นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]อบต. เหล่าโพนค้อ
 
ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์Rapheephan Phola
 

What's hot (20)

โครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิลโครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิล
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
เนื้อหาสารและสมบัติของสาร
เนื้อหาสารและสมบัติของสารเนื้อหาสารและสมบัติของสาร
เนื้อหาสารและสมบัติของสาร
 
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่างBest practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
 
หลักสูตร Is ม.ต้น.56doc
หลักสูตร Is ม.ต้น.56docหลักสูตร Is ม.ต้น.56doc
หลักสูตร Is ม.ต้น.56doc
 
โควาเลนต์
โควาเลนต์โควาเลนต์
โควาเลนต์
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
Rubber : ยาง
Rubber : ยางRubber : ยาง
Rubber : ยาง
 
ก.ค.ศ.2
ก.ค.ศ.2ก.ค.ศ.2
ก.ค.ศ.2
 
แนะนำโรงเรียน.Ppt
แนะนำโรงเรียน.Pptแนะนำโรงเรียน.Ppt
แนะนำโรงเรียน.Ppt
 
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdfแบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)
 
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
 
PA1ครูไม่มีวิทยฐานะ2.pdf
PA1ครูไม่มีวิทยฐานะ2.pdfPA1ครูไม่มีวิทยฐานะ2.pdf
PA1ครูไม่มีวิทยฐานะ2.pdf
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
การใช้แมลงน้ำเป็นดัชนีชี้วัด
การใช้แมลงน้ำเป็นดัชนีชี้วัดการใช้แมลงน้ำเป็นดัชนีชี้วัด
การใช้แมลงน้ำเป็นดัชนีชี้วัด
 
Minibook932Group10
Minibook932Group10Minibook932Group10
Minibook932Group10
 
นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]
นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]
นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]
 
ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์
 

More from Kitipan Kitbamroong Ph.D. CISA

เล่ม (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ ปี 66-70 (22ส.ค.65)_comment
เล่ม (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ ปี 66-70 (22ส.ค.65)_commentเล่ม (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ ปี 66-70 (22ส.ค.65)_comment
เล่ม (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ ปี 66-70 (22ส.ค.65)_commentKitipan Kitbamroong Ph.D. CISA
 
Mid-century, Long-term Low Greenhouse Gas Emission Development Strategy
Mid-century, Long-term Low Greenhouse Gas Emission Development StrategyMid-century, Long-term Low Greenhouse Gas Emission Development Strategy
Mid-century, Long-term Low Greenhouse Gas Emission Development StrategyKitipan Kitbamroong Ph.D. CISA
 
สวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญ
สวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญสวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญ
สวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญKitipan Kitbamroong Ph.D. CISA
 
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิตการวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิตKitipan Kitbamroong Ph.D. CISA
 
ระบบการผลิตแบบเป็นงวด
ระบบการผลิตแบบเป็นงวดระบบการผลิตแบบเป็นงวด
ระบบการผลิตแบบเป็นงวดKitipan Kitbamroong Ph.D. CISA
 
การครวจสอบสินค้าคงคลัง
การครวจสอบสินค้าคงคลังการครวจสอบสินค้าคงคลัง
การครวจสอบสินค้าคงคลังKitipan Kitbamroong Ph.D. CISA
 
Pathways to Net Zero: The Impact of Clean Energy Research
Pathways to Net Zero: The Impact of Clean Energy ResearchPathways to Net Zero: The Impact of Clean Energy Research
Pathways to Net Zero: The Impact of Clean Energy ResearchKitipan Kitbamroong Ph.D. CISA
 
รายงานสถานการณ์คุณภาพสิ่งแวดล้อม | State of environment quality 2021
รายงานสถานการณ์คุณภาพสิ่งแวดล้อม | State of environment quality 2021รายงานสถานการณ์คุณภาพสิ่งแวดล้อม | State of environment quality 2021
รายงานสถานการณ์คุณภาพสิ่งแวดล้อม | State of environment quality 2021Kitipan Kitbamroong Ph.D. CISA
 
รายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย | Thailand state of pollution report 2021
รายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย | Thailand state of pollution report 2021รายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย | Thailand state of pollution report 2021
รายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย | Thailand state of pollution report 2021Kitipan Kitbamroong Ph.D. CISA
 

More from Kitipan Kitbamroong Ph.D. CISA (20)

WeGuardSummary
WeGuardSummaryWeGuardSummary
WeGuardSummary
 
Genia Solution
Genia SolutionGenia Solution
Genia Solution
 
เล่ม (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ ปี 66-70 (22ส.ค.65)_comment
เล่ม (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ ปี 66-70 (22ส.ค.65)_commentเล่ม (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ ปี 66-70 (22ส.ค.65)_comment
เล่ม (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ ปี 66-70 (22ส.ค.65)_comment
 
BMA flood drainage report 2022
BMA flood drainage report 2022BMA flood drainage report 2022
BMA flood drainage report 2022
 
BMA flood drainage plan 2022
BMA flood drainage plan 2022BMA flood drainage plan 2022
BMA flood drainage plan 2022
 
Mid-century, Long-term Low Greenhouse Gas Emission Development Strategy
Mid-century, Long-term Low Greenhouse Gas Emission Development StrategyMid-century, Long-term Low Greenhouse Gas Emission Development Strategy
Mid-century, Long-term Low Greenhouse Gas Emission Development Strategy
 
สวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญ
สวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญสวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญ
สวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญ
 
Clean Technology
Clean TechnologyClean Technology
Clean Technology
 
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิตการวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
 
งานระหว่าการผลิต
งานระหว่าการผลิตงานระหว่าการผลิต
งานระหว่าการผลิต
 
ระบบการผลิตแบบเป็นงวด
ระบบการผลิตแบบเป็นงวดระบบการผลิตแบบเป็นงวด
ระบบการผลิตแบบเป็นงวด
 
การครวจสอบสินค้าคงคลัง
การครวจสอบสินค้าคงคลังการครวจสอบสินค้าคงคลัง
การครวจสอบสินค้าคงคลัง
 
Circular economy to Zero Waste
Circular economy to Zero WasteCircular economy to Zero Waste
Circular economy to Zero Waste
 
TCAC2022
TCAC2022TCAC2022
TCAC2022
 
THAILAND THIRD BIENNIAL UPDATE REPORT
THAILAND THIRD BIENNIAL UPDATE REPORTTHAILAND THIRD BIENNIAL UPDATE REPORT
THAILAND THIRD BIENNIAL UPDATE REPORT
 
Pathways to Net Zero: The Impact of Clean Energy Research
Pathways to Net Zero: The Impact of Clean Energy ResearchPathways to Net Zero: The Impact of Clean Energy Research
Pathways to Net Zero: The Impact of Clean Energy Research
 
รายงานสถานการณ์คุณภาพสิ่งแวดล้อม | State of environment quality 2021
รายงานสถานการณ์คุณภาพสิ่งแวดล้อม | State of environment quality 2021รายงานสถานการณ์คุณภาพสิ่งแวดล้อม | State of environment quality 2021
รายงานสถานการณ์คุณภาพสิ่งแวดล้อม | State of environment quality 2021
 
รายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย | Thailand state of pollution report 2021
รายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย | Thailand state of pollution report 2021รายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย | Thailand state of pollution report 2021
รายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย | Thailand state of pollution report 2021
 
Enabling Asia to Stabilise the Climate
Enabling Asia to Stabilise the ClimateEnabling Asia to Stabilise the Climate
Enabling Asia to Stabilise the Climate
 
KBank Public-Low Carbon and Sustainable Business
KBank Public-Low Carbon and Sustainable BusinessKBank Public-Low Carbon and Sustainable Business
KBank Public-Low Carbon and Sustainable Business
 

คู่มือการจัดการปัญหาฝุ่นละออง

  • 2. คำนำ การดาเนินการแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียนจากประชาชนกรณีฝุ่นละอองและเขม่าควันมีวิธีการตรวจวัด ตามมาตรฐานหลายประเภทขึ้นอยู่กับประเภทของแหล่งกาเนิดมลพิษ เช่น โรงงานอุตสาหกรรม โรงสีข้าว เตาเผาศพ ท่าเรือ และเรือขนส่งสินค้า เป็นต้น ซึ่งกิจการดังกล่าวถูกกาหนดให้เป็นกิจการที่เป็นอันตราย ต่อสุขภาพตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 และเป็นแหล่งกาเนิดมลพิษตามพระราชบัญญัติ ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 การประกอบกิจการเหล่านี้หากไม่มีการบริหาร จัดการที่ดีพอ หรือ ไม่มีการป้องกันควบคุมและบาบัดมลพิษอย่างถูกต้อง ย่อมก่อให้เกิดปัญหาส่งผลกระทบต่อ สุขภาพอนามัยต่อประชาชน ชุมชนบริเวณใกล้เคียง เป็นสาเหตุให้เกิดการร้องเรียนจากประชาชน กรมควบคุมมลพิษ จึงได้จัดทาคู่มือ เรื่อง การจัดการปัญหาฝุ่นละอองและเขม่าควันสาหรับองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อให้องค์กรปกครองท้องถิ่นตลอดจนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องใช้เป็นแนวทางในการดาเนินงาน ตรวจสอบและแก้ไขเรื่องร้องเรียนปัญหาฝุ่นละอองและเขม่าควัน และเป็นประโยชน์ในการแก้ไขบรรเทาปัญหา ความเดือดร้อนให้กับประชาชนที่ได้รับผลกระทบได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิผลต่อไป กองตรวจมลพิษ กรมควบคุมมลพิษ
  • 3. สำรบัญ หน้ำ 1. สถานการณ์ปัญหาฝุ่นละอองและเขม่าควัน 1 2. การตรวจสอบเรื่องร้องเรียน และการตรวจวัดฝุ่นละอองและเขม่าควัน 4 3. การตรวจวัดปริมาณฝุ่นละอองและการตรวจวัดความทึบแสง 6 4. กฎหมายที่เกี่ยวข้องในการควบคุมฝุ่นละออง 14 ภาคผนวก ภาคผนวก ก : มาตรฐานที่ใช้อ้างอิงในการดาเนินการตรวจวัดความเข้มข้นของฝุ่นละออง จากปล่องระบาย 18 ภาคผนวก ข : มาตรฐานที่ใช้อ้างอิงในการดาเนินการกรณีฝุ่นละอองจากท่าเรือ จากเรือที่มีการขนถ่ายสินค้าระหว่างกันหรือจากโรงบด ย่อย หรือโม่หิน 20 ภาคผนวก ค : มาตรฐานที่ใช้อ้างอิงในการดาเนินการกรณีฝุ่นละอองในพื้นที่ร้องเรียน หรือขอบรั้วของสถานประกอบการ 21 ภาคผนวก ง : มาตรฐานที่ใช้อ้างอิงในการดาเนินการกรณีการตรวจวัดความทึบแสง โดยวิธีของริงเกิลมานน์ 22 ภาคผนวก จ : ข้อมูลติดต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 23
  • 4. - 1 - 1. สถำนกำรณ์ปัญหำฝุ่นละอองและเขม่ำควัน ปัญหาฝุ่นละอองและเขม่าควันเป็นปัญหาที่สาคัญของประเทศไทย ซึ่งก่อให้เกิดผลกระทบในหลายมิติ โดยเฉพาะมิติสุขภาพอนามัยและสิ่งแวดล้อม รวมไปถึงมิติเศรษฐกิจและสังคม ในช่วงสามปีที่ผ่านมาประเทศไทย ประสบปัญหามลพิษทางฝุ่นละออง โดยเฉพาะฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) ในพื้นที่ กรุงเทพมหานครและปริมณฑล มีสาเหตุมาจากการจราจรขนส่ง อุตสาหกรรม และการเผาในที่โล่ง ซึ่งรัฐบาล ได้ให้ความสาคัญกับการแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองและ PM2.5 โดยจัดทาแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนวาระแห่งชาติ การแก้ไขปัญหามลพิษด้านฝุ่นละออง แผนเฉพาะกิจเพื่อการแก้ไขปัญหามลพิษด้านฝุ่นละออง 12 มาตรการ และขับเคลื่อนแผนเฉพาะกิจเพื่อการแก้ไขปัญหามลพิษด้านฝุ่นละออง ปี 2565 การเปิดศูนย์แก้ไขปัญหามลพิษ ทางอากาศ เพื่อติดตามสถานการณ์ และหารือมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศ การตรวจสอบ ตรวจจับรถยนต์ควันดา เพื่อแก้ไขปัญหาฝุ่นละออง PM2.5 กาหนด/ปรับปรุงค่ามาตรฐานการระบายมลพิษทาง อากาศจากแหล่งกาเนิดมลพิษ และการติดตั้งสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศ 77 สถานี ใน 46 จังหวัด และในปี 2565 มีเป้าหมายติดตั้งเพิ่มเติมอีก 10 สถานี ใน 10 จังหวัด ทั้งนี้ จากสถิติเรื่องร้องเรียนปัญหามลพิษ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (ระหว่างเดือนตุลาคม 2563 - เดือนกันยายน 2564) พบว่ามีประชาชนแจ้ง ร้องเรียนปัญหามลพิษจากฝุ่นละอองและเขม่าควันมายังกรมควบคุมมลพิษเป็นอันดับที่ 2 (อันดับที่ 1 คือ ปัญหากลิ่นเหม็นรบกวน) ส่วนใหญ่มีสาเหตุมาจากสถานประกอบการและโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งการดาเนินการ แก้ไขปัญหาดังกล่าวต้องประสานการดาเนินการร่วมกันจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที ในการแก้ไขปัญหา ที่เกิดขึ้นเพื่อบรรเทาความเดือดร้อนให้กับประชาชน 1.1 แหล่งกำเนิดฝุ่นละอองและเขม่ำควัน ฝุ่นละออง (Particulate Matter) หมายถึง อนุภาคของแข็งหรือหยดละอองของเหลวที่แขวนลอย ในบรรยากาศ ซึ่งมีขนาดแตกต่างกันตั้งแต่ 100 ไมครอนลงมา เกิดขึ้นได้เองตามธรรมชาติ และเกิดจากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ บางชนิดมีขนาดใหญ่จนมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า เช่น ฝุ่นจากโรงโม่หิน ฝุ่นจากโรงไม้ แต่บางชนิดมีขนาด เล็กมากจนมองไม่เห็น ซึ่งฝุ่นละอองขนาดเล็กมีผลกระทบอย่างมากต่อสุขภาพของประชาชนฝุ่นละอองขนาดเล็ก แบ่งย่อยออกได้เป็น 2 ชนิด คือ ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) และฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน (PM10) PM10 และ PM2.5 ประกอบด้วยคาว่า PM ที่ย่อมาจาก Particulate Matters เป็นคาเรียกค่ามาตรฐาน ของฝุ่นละอองขนาดเล็กที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ส่วนตัวเลข 10 หรือ 2.5 นั้น มาจากขนาดของเส้นผ่าน ศูนย์กลางฝุ่นละอองมีหน่วยเป็นไมครอน หรือไมโครเมตร (106 ) ดังนั้น PM2.5 ก็คือ ฝุ่นละอองขนาดเส้นผ่าน ศูนย์กลางไม่เกิน 2.5 ไมครอน มีขนาดเล็กประมาณ 1 ใน 25 ส่วนเส้นผ่าศูนย์กลางของเส้นผม หากฝุ่นละออง PM2.5 ล่องลอยอยู่ในอากาศปริมาณมากจะเห็นท้องฟ้าเป็นสีหม่น หรือเกิดเป็นหมอกควัน 1
  • 5. ที่มำ : United States Environmental Protection Agency ปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็กในประเทศไทยมีสาเหตุมาจากปัจจัยที่ควบคุมได้และปัจจัยควบคุมไม่ได้ ดังนี้ ปัจจัยที่ควบคุมได้ ปัจจัยที่ควบคุมไม่ได้ กิจกรรมมนุษย์ : • การเผาในที่โล่ง เช่น เผาเศษวัสดุการเกษตร เผาขยะ • การจราจร • การเผาไหม้เชื้อเพลิงอุตสาหกรรม ได้แก่ น้ามันเตา ถ่านหิน ฟืน • กระบวนการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม • การก่อสร้างอาคาร • การสูบบุหรี่ • การใช้เตาปิ้งย่างที่ทาให้เกิดควัน • สถานประกอบการต่าง ๆ เช่น อู่ซ่อมรถ พ่นสีรถ สภาพทางอุตุนิยมวิทยา : • อากาศเย็นและแห้งความกดอากาศสูง • สภาพอากาศนิ่ง ทาให้ฝุ่นละอองขนาดเล็ก ไม่แพร่กระจาย ฝุ่นละอองแขวนลอยได้นาน • กระแสลมพัดผ่านตามธรรมชาติทาให้เกิดฝุ่น เช่น ดิน ทราย เขม่าควันจากไฟป่า ภูเขาไฟ ระเบิด ฝุ่นเกลือจากทะเล เป็นต้น ทั้งนี้ สาเหตุของฝุ่นละอองขนาดเล็กมีความแตกต่างกันตามแหล่งกาเนิดในแต่ละพื้นที่ ดังนี้ 1) พื้นที่ภาคเหนือ มักเกิดจากปัญหาไฟป่าและการลักลอบเผาในที่โล่ง เช่น การเผาเศษวัชพืช การเผาเศษวัสดุทางการเกษตรประกอบกับภูมิประเทศที่มีลักษณะเป็นแอ่งกระทะและมีภูเขาล้อมรอบซึ่งในช่วง หน้าแล้งอากาศแห้ง ความกดอากาศสูง ทาให้เกิดสภาวะอากาศปิด ความรุนแรงของปัญหาจึงเพิ่มขึ้น 2) พื้นที่ในเมืองใหญ่ เช่น กรุงเทพมหานคร ปริมณฑล และเมืองหลักในภูมิภาคต่าง ๆ มีแหล่งกาเนิดหลักมาจากรถยนต์ที่วิ่งบนท้องถนน และเครื่องยนต์ที่เผาไหม้ไม่สมบูรณ์ รวมถึงการติดเครื่องยนต์ ขณะจอดอยู่กับที่ โดยเฉพาะในช่วงที่การจราจรหนาแน่นและติดขัด ทาให้เกิดการสะสมตัวของมลพิษทางอากาศ ในปริมาณมาก 2
  • 6. 3) พื้นที่ภาคใต้ เกิดจากไฟไหม้ป่าพรุหรือมลพิษข้ามแดนนอกจากนี้ยังเกิดจากการเผาไหม้ ต่าง ๆ ในบ้านเรือนหรือกิจกรรมชุมชน เช่น การจุดเตาถ่านในบ้านเรือนการปิ้งหรือย่างอาหาร รวมถึงปฏิกิริยา เคมีในอากาศ เช่น ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) ออกไซต์ของไนโตรเจน (NOX) และสารอินทรีย์ระเหยง่าย (VOCs) ทาปฏิกิริยากับสารอื่นในอากาศเกิดเป็นฝุ่นละเอียดได้ สาหรับการร้องเรียนปัญหาฝุ่นละอองและเขม่าควันจากประชาชนที่พบเห็นได้บ่อยครั้งส่วนใหญ่มี สาเหตุจากกิจกรรมดังต่อไปนี้ 1) สาเหตุหลัก ได้แก่ สถานประกอบการ โรงงานอุตสาหกรรม การก่อสร้าง และการจราจร 2) สาเหตุรอง ได้แก่ กิจกรรมทางการเกษตร การเผาไหม้ในครัวเรือน และเพลิงไหม้ การบด ย่อยหิน โรงงานอุตสาหกรรม การเผาไหม้ ลานตากมันสาปะหลัง ภาพที่ 1 ตัวอย่างของแหล่งกาเนิดฝุ่นละออง 1.2 ผลกระทบของฝุ่นละอองและเขม่ำควัน 1) ผลกระทบต่อสุขภำพ ทาให้ส่งผลกระทบต่อทัศนวิสัยและการมองเห็น การไอ การจาม ระคายเคือง ต่อระบบทางเดินหายใจ เป็นต้น โดยในสภาวะปกติ ร่างกายมนุษย์สามารถดักฝุ่นละอองขนาดใหญ่ได้โดยขนจมูก หรือเยื่อเมือกในลาคอหรือหลอดลม ร่างกายจะมีกลไกการขับออกโดยการไอ หรือจาม ฝุ่นละอองขนาดเล็ก จะส่งผลกระทบต่อสุขภาพมากขึ้นที่สุด โดยจะสามารถผ่านเข้าไปจับเกาะที่ถุงลมปอด อาจเกิดการสะสม และก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพในภายหลัง 2) ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม โดยฝุ่นละอองจะปิดบังแสงอาทิตย์และปิดปากใบทาให้พืช สังเคราะห์แสงได้น้อยลง หรือเป็นอุปสรรคต่อการผสมเกษรดอกไม้ ผลกระทบต่อแหล่งน้าเนื่องจากฝุ่นละออง เป็นอุปสรรคต่อการสังเคราะห์แสงของพืชน้าหรือฝุ่นละอองที่เป็นสารอินทรีย์มีการย่อยสลายในน้าทาให้แหล่งน้า มีความสกปรกเพิ่มขึ้น 3
  • 7. 2. กำรตรวจสอบเรื่องร้องเรียน และกำรตรวจวัดฝุ่นละอองและเขม่ำควัน การดาเนินการแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียนของเจ้าหน้าที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อช่วยเหลือ ประชาชนที่ได้รับความเดือดร้อน ใช้แนวทางตามพระราชกฤษฎีการว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 และประกาศคณะกรรมการการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เรื่อง แนวทางในการจัดบริการสาธารณะขององค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล และองค์การบริหารส่วนตาบล โดยมีแนวทางการดาเนินการแก้ไขปัญหา ดังนี้ 1) กรณีเรื่องร้องเรียนเข้าข่ายเป็นกิจการที่อันตรายต่อสุขภาพ หรือเหตุราคาญตามพระราชบัญญัติ การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีอานาจที่ดาเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริง และ พิจารณาแนวทางแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนได้โดยตรง ซึ่งเจ้าพนักงานท้องถิ่น หรือเจ้าพนักงานสาธารณสุข ดาเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริง พิจารณาแนวทางแก้ไขปัญหา และให้ข้อเสนอแนะตามพระราชบัญญัติ การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 เพื่อแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนจนสามารถหาข้อยุติได้ และแจ้งผลการดาเนินการ ให้ผู้ร้องเรียนทราบ 2) กรณีเรื่องร้องเรียนไม่เข้าข่ายเป็นอันตรายต่อสุขภาพ และเหตุราคาญ ตามพระราชบัญญัติ การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประสานไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กรมควบคุมมลพิษ กรมโรงงานอุตสาหกรรม สานักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 1 - 16 กรมอนามัย สานักงานอุตสาหกรรมจังหวัด ศูนย์อนามัยที่ 1 - 16 สานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด สานักงานสาธารณสุขจังหวัด เพื่อดาเนินการเข้าร่วมตรวจสอบข้อเท็จจริงตามอานาจหน้าที่ พร้อมติดตามผลการดาเนินการข้อยุติ และแจ้ง ผลการดาเนินการให้กับผู้ร้องเรียนทราบ นอกจากนี้ ในการดาเนินการแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียน ควรให้ผู้ที่เกี่ยวข้องหรือคู่กรณีได้รับทราบ ข้อเท็จจริงและพยานหลักฐานอย่างเพียงพอ รวมทั้งเปิดโอกาสให้มีการโต้แย้งแสดงพยานหลักฐานอย่างเพียงพอ ก่อนที่จะมีคาวินิจฉัยหรือสั่งการเกี่ยวกับเรื่องนั้น โดยเฉพาะเรื่องที่ต้องใช้กระบวนการพิจารณาทางปกครอง เพื่อมีคาสั่งทางปกครอง รวมทั้งจะต้องถือปฏิบัติตามกฎหมายวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองในส่วนที่ เกี่ยวข้องด้วย 4
  • 8. ภำพแสดงแนวทำงกำรตรวจสอบเรื่องร้องเรียนด้ำนฝุ่นละอองและเขม่ำควัน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 5 ประชำชนผู้ได้รับ ผลกระทบ เจ้ำพนักงำน ท้องถิ่น หน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง อำทิ - อสจ. ทสจ. สสภ. สสจ. เป็นต้น ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ร่วมตรวจสอบ แจ้งเรื่องร้องเรียน ตรวจสอบข้อเท็จจริง/ ตรวจวัดฝุ่นละออง ไม่เข้ำข่ำยกิจกำรที่เป็นอันตรำย ต่อสุขภำพ ตำม พรบ.กำรสำธำรณสุข พ.ศ. 2535 เข้ำข่ำยกิจกำรที่เป็นอันตรำยต่อ สุขภำพ และเป็นเหตุรำคำญตำม พรบ.กำรสำธำรณสุข พ.ศ. 2535 ผลกำรตรวจวัดเกินค่ำมำตรฐำนที่กฎหมำย กำหนด ผลกำรตรวจวัดเป็นไปตำม ค่ำมำตรฐำนที่กฎหมำย กำหนด ยุติเรื่อง แจ้งผล กำรดำเนินงำนให้ ผู้ร้องเรียนทรำบ แจ้งหน่วยงำนในกำรอนุมัติ อนุญำต ให้ทรำบและ ดำเนินกำรตำมอำนำจ หน้ำที่ เจ้ำพนักงำนท้องถิ่น ให้คำแนะนำและออก คำสั่งให้สถำนประกอบกำรปรับปรุงแก้ไข ภำยในเวลำที่กำหนด ตรวจติดตำมหลังครบกำหนด ระยะเวลำคำสั่ง ผลกำรตรวจวัดเกินค่ำ มำตรฐำนที่กฎหมำยกำหนด เจ้ำพนักงำนท้องถิ่นดำเนินกำร ตำมอำนำจหน้ำที่ เจ้ำพนักงำนท้องถิ่น ติดตำมผล กำรดำเนินกำร แจ้งผลกำรดำเนินงำนให้ผู้ ร้องเรียนทรำบ
  • 9. 3. กำรตรวจวัดปริมำณฝุ่นละอองและกำรตรวจวัดควำมทึบแสง การจัดการเรื่องร้องเรียนกรณีฝุ่นละอองและเขม่าควัน มีวิธีการตรวจวัดตามมาตรฐาน แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ 3.1 กำรตรวจวัดปริมำณฝุ่นละอองจำกปล่องระบำยของโรงงำน ได้แก่ การตรวจวัดปริมาณฝุ่นละออง จากโรงงานทั่วไป โรงงานผลิตเหล็ก โรงไฟฟ้า โรงโม่หิน โรงงานผลิตปูนซิเมนต์ เตาเผามูลฝอย โรงแยกก๊าซ และโรงกลั่นน้ามัน ในการดาเนินการกรณีนี้ผู้ดาเนินการต้องมีห้องปฏิบัติการในการเตรียมเครื่องมือ อุปกรณ์ สาหรับการตรวจวัด เครื่องชั่ง เครื่องอบ และกระบวนการทาความสะอาดอุปกรณ์ทั้งก่อนและหลังการ ดาเนินการ และรถยนต์สาหรับการปฏิบัติการภาคสนาม และการขนอุปกรณ์เครื่องมือ 3.1.1 อุปกรณ์และเครื่องมือหลักในกำรตรวจวัด ประกอบด้วย 1) ชุดเก็บตัวอย่าง ได้แก่ หัวเก็บตัวอย่าง ท่อชักตัวอย่าง ท่อวัดความเร็วลมในปล่อง เกจวัดค่าความแตกต่างของความดัน และฐานรองแผ่นกรอง อุปกรณ์ให้ความร้อนกระดาษกรอง อุปกรณ์วัด อุณหภูมิ ชุดควบแน่น ระบบเครื่องตรวจวัด 2) บารอมิเตอร์ 3) อุปกรณ์หาความหนาแน่นของอากาศ 4) กระดาษกรอง 5) สารดูดความชื้นและตู้อบกระดาษกรอง 6) เครื่องชั่งน้าหนัก 7) สารเคมี ได้แก่ อะซิโตน แคลเซียมซัลเฟตแอนไฮไดร ซิลิกาเจล น้ากลั่น น้าแข็งบด และไขข้นซิลิโคน 3.1.2 ขั้นตอนกำรดำเนินกำรตรวจวัด การตรวจวัดปริมาณฝุ่นละอองที่ระบายออกจากปล่องเป็นการเก็บตัวอย่างฝุ่นละอองด้วยวิธี Determination of Particulate Emissions from Stationary Sources (อาจมีการเก็บตัวอย่างก๊าซซัลเฟอร์ ไดออกไซด์ และไนโตรเจนออกไซด์ในคราวเดียวกัน) โดยการคานวณหาปริมาณฝุ่นละอองที่ระบายเทียบกับ ปริมาณอากาศที่ระบายออกจากปล่อง 6 ระบบบำบัดฝุ่นละออง แบบไฟฟ้ำสถิตย์ ฝุ่นละอองฟุ้งกระจำยจำก กำรเทข้ำวเปลือก กำรตรวจวัดฝุ่นละออง จำกปล่องระบำยอำกำศ
  • 10. 3.1.2.1 ออกแบบวิธีการเก็บและวิเคราะห์ตัวอย่างอากาศเสียจากปล่องระบายอากาศ โดยการ กาหนดปล่องที่จะเก็บตัวอย่าง เลือกวิธีการเก็บ ปริมาตรอากาศ และเลือกการวิเคราะห์ตัวอย่างจากปล่องให้ตรงกับ ประเภทของมลพิษที่ปล่อยออกจากกระบวนการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรมหรือตรงตามวัตถุประสงค์ รวมทั้ง พิจารณากฎหมายที่เกี่ยวข้อง (ถ้ามี) เพื่อให้สามารถรับรองผลการตรวจวัดและสร้างความน่าเชื่อถือได้ 3.1.2.2 ประสานกับโรงงานอุตสาหกรรมเพื่อให้จัดเตรียมข้อมูลสถานที่ และอานวยความสะดวก ในการเก็บตัวอย่างอากาศจากปล่องระบายอากาศ 3.1.2.3 เตรียมความพร้อมของเครื่องมือและอุปกรณ์ในการเก็บตัวอย่างอากาศเสียจากปล่อง ระบายอากาศ ปรับเทียบความถูกต้องของเครื่องมือและอุปกรณ์ และเตรียมบันทึกผลการเก็บตัวอย่าง พร้อมทั้ง โปรแกรมและอุปกรณ์ที่ใช้คานวณผล 3.1.2.4 ดาเนินการเก็บตัวอย่างอากาศเสียจากปล่องระบายอากาศ จดบันทึกข้อมูลต่าง ๆ ตามที่ระบุไว้ในแบบบันทึกข้อมูลและตรวจสอบอัตราการรั่วไหลของชุดเก็บตัวอย่าง และเมื่อเก็บตัวอย่างแล้วเสร็จ ให้ทาความสะอาดและเก็บรักษาตัวอย่างเพื่อในไปวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการต่อไป ทั้งนี้ สามารถศึกษารายละเอียดขั้นตอนการตรวจวัดมลพิษทางอากาศจากปล่องระบาย อากาศเสียเพิ่มเติมในคู่มือการตรวจวัดมลพิษทางอากาศจากปล่องปล่อยทิ้งอากาศเสีย เล่มที่ 1 และ เล่มที่ 2 ตาม QR Code ดังต่อไปนี้ 7 คู่มือกำรตรวจวัดมลพิษทำงอำกำศ จำกปล่องปล่อยทิ้งอำกำศเสีย เล่มที่ 1 คู่มือกำรตรวจวัดมลพิษทำงอำกำศ จำกปล่องปล่อยทิ้งอำกำศเสีย เล่มที่ 2
  • 11. 3.2 กำรตรวจวัดฝุ่นละอองจำกท่ำเรือ จำกเรือที่มีกำรขนถ่ำยสินค้ำระหว่ำงกัน หรือจำกโรงบด ย่อย หรือโม่หิน โดยวิธี Opacity method แหล่งกาเนิดมลพิษที่สามารถตรวจสอบกรณีนี้ ได้แก่ ท่าเรือ และเรือที่มีการขนถ่ายสินค้าระหว่างกัน โรงงานบด ย่อย หรือโม่หิน 3.2.1 เครื่องมือและอุปกรณ์ในกำรตรวจวัด ได้แก่ เครื่องวัดความทึบแสง” (Smoke Opacity Meter) เป็นเครื่องมือวัดคาความทึบแสงที่ใช้หลักการส่งผานของลาแสง (Transmissometry) จากแหลงกาเนิดแสง (Light Source) ที่มีชวงความยาวคลื่นแสงเฉพาะผานฝุนละอองเขาสูอุปกรณรับแสง (Light Detector) แลววัดคา ความเขมของแสงที่ลดลงเทียบกับความเขมของแสงทั้งหมดจากแหลงกาเนิดแสง โดยคุณลักษณะของเครื่องวัด ความทึบแสงเป็นดังนี้ 3.2.1.1 หัววัด (Sensor Head) เปนแบบที่ใชวัดคาความทึบแสงของฝุนละอองที่แหล่งกาเนิด ฝุ่นละอองโดยตรง โดยไมผานการชักตัวอยาง (Full Flow) 3.2.1.2 แหลงกาเนิดแสง (Light Source) ตองเปนหลอดไฟฟาชนิดขดลวด (Incandescent Lamp) ที่มีอุณหภูมิสีในชวง 2,800 ถึง 3,250 เคลวิน หรือไดโอดที่เปลงแสงสีเขียว (Green Light Emitting Diode; LED) ซึ่งใหคาสเปกตรัมสูงสุด ในชวงความยาวคลื่น 550 ถึง 570 นาโนเมตร 3.2.1.3 อุปกรณรับแสง (Light Detector) ตองเปนโฟโต้เซล (Photocell) หรือโฟโตไดโอด (Photodiode) ที่สามารถตอบสนองตอแสงที่ให้คาสเปกตรัมสูงสุดในช่วงความยาวคลื่น 550 ถึง 570 นาโนเมตร 3.2.2 ขั้นตอนกำรดำเนินกำรกำรตรวจวัด 3.2.2.1 การติดตั้งเครื่องวัดความทึบแสงให้เลือกบริเวณที่มีฝุ่นละอองฟุ้งกระจายออกสู บรรยากาศมากที่สุด โดยจะต้องอยูในตาแหน่งใต้ลม กรณี (ก) ท่าเรือมีระบบรวบรวมฝุ่นละออง จุดตรวจวัด ต้องอยู่ห่างจากขอบนอกสุดของระบบรวบรวม ฝุ่นละออง 1 เมตร และ (ข) ท่าเรือไม่มีระบบรวบรวมฝุ่นละออง จุดตรวจวัดต้องอยู่ห่างจากจุดที่มีกระบวนการขนถ่าย สินค้า เช่น สายพานลาเลียง หรือขอบของโกรก 1 เมตร 3.2.2.2 ทาการตรวจวัดคาความทึบแสงสูงสุด จานวน 10 ครั้ง โดยการตรวจวัดแต่ละครั้ง จะต้องเป็นจุดเดิมและจะต้องมีฝุ่นละอองฟุ้งกระจายเกิดขึ้นในขณะที่ตรวจวัดด้วย ภำพหัววัดค่ำควำมทึบแสง ภำพเครื่องวัดค่ำควำมทึบแสง
  • 12. 8 3.2.2.3 บันทึกผลการตรวจวัด และระยะทางเดินแสงของเครื่องวัดความทึบแสง 3.2.2.4 ทาการตรวจสอบเครื่องวัดความทึบแสงอีกครั้งหนึ่ง โดยนาเครื่องวัดความทึบแสงไป ตรวจวัดในบริเวณที่อากาศไม่มีฝุ่นละออง ซึ่งเครื่องวัดความทึบแสง จะต้องอ่านค่าร้อยละของความทึบแสงได้ เท่ากับ 0 ± 1.0 หากมีค่าเกินกว่าที่กาหนดไว้ให้ตรวจวัด หรือ เปลี่ยนเครื่องวัดความทึบแสงใหม่ 3.2.2.5 คานวณค่าความทึบแสงของฝุ่นละอองในแต่ละจุดตรวจวัด กำรตรวจวัดฝุ่นละอองจำกโรงโม่หิน กำรตรวจวัดฝุ่นละอองขณะกำลังถ่ำยเทสินค้ำลงเรือ 3.3 กำรตรวจวัดฝุ่นละอองในพื้นที่ร้องเรียนหรือขอบรั้วของสถำนประกอบกำร แหล่งกาเนิดมลพิษที่สามารถตรวจสอบกรณีนี้ ได้แก่ โรงสีข้าว เรื่องร้องเรียนทั่วไป หรือการตรวจวัดใน พื้นที่อ้างอิงต่างๆ โดยมีเครื่องการตรวจวัดปริมาณฝุ่นละอองรวมในบรรยากาศ (Total Suspended Particulate : TSP) และฝุ่นละอองขนาดเล็กที่มีอนุภาคไม่เกิน 10 ไมครอน (PM10) 3.3.1เครื่องมือและอุปกรณ์ในกำรตรวจวัดปริมำณฝุ่นละอองรวมในบรรยำกำศ (Total Suspended Particulate :TSP) 3.3.1.1เครื่องเก็บตัวอย่างฝุ่นละอองในบรรยากาศ (High Volume Air Sampler) ประกอบด้วย มอเตอร์สาหรับดูดอากาศ เครื่องบันทึกอัตราการไหลของอากาศ กระดาษกราฟวงกลมสาหรับบันทึกอัตราการไหล ของอากาศ อุปกรณ์ควบคุมอัตราการไหลของอากาศ และอุปกรณ์ตั้งเวลาเปิด-ปิดเครื่องเก็บตัวอย่าง 3.3.1.2 อุปกรณ์อื่นๆ ได้แก่ มานอมิเตอร์น้า และบารอมิเตอร์ 3.3.1.3 เครื่องมืออื่นๆ ได้แก่ เครื่องชั่งที่มีความละเอียดไม่น้อยกว่า 0.1 มิลลิกรัม ตู้ดูดความชื้น สารดูดความชื้น คีมคีบปากแบน ถุงมือไวนิล ไม่มีแป้ง ถุงพลาสติกซิป ซองกระดาษสีน้าตาล เครื่องประทับหมายเลข กระดาษกรอง และกระดาษกรองใยแก้ว ขนาด 810 นิ้วที่มีประสิทธิภาพในการกรองฝุ่นละอองขนาด 0.3 ไมครอน ได้อย่างน้อย ร้อยละ 99
  • 13. 9 3.3.2 เครื่องมือและอุปกรณ์ในกำรตรวจวัดปริมำณฝุ่นละอองขนำดเล็กที่มีอนุภำคไม่เกิน 10 ไมครอน (PM10) 3.3.2.1 เครื่องมือที่ใชตรวจวัดฝุนละอองขนาดเล็กที่มีอนุภาคไม่เกิน 10 ไมครอน (PM10) มีหลักการ ทางานเช่นเดียวกับเก็บตัวอย่างฝุ่นละอองในบรรยากาศ (High Volume Air Sampler) แต่มีหัวคัดขนาดฝุ่นละออง ขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน และกระดาษกรองที่ใช้เป็นกระดาษกรองใยหิน และสามารถตรวจวัดหาคาเฉลี่ยของฝุน ละอองขนาดเล็กที่มีอนุภาคไม่เกิน 10 ไมครอน (PM10) จากโรงสีขาวที่ฟุ้งกระจายออกสูบรรยากาศไดอย่างตอเนื่อง โดยใชระบบกราวิเมตริก (Gravimetric) ระบบเบตาเร (Beta Ray) ระบบเทปเปอ อิลิเมน ออสซิเลติ้ง ไมโครบา ลานซ Tapered Element Oscillating Microbalance) หรือระบบอื่นที่กรมควบคุมมลพิษเห็นชอบ 3.3.2.2 เครื่องมือที่ใช้ในการตรวจวัดฝุนละอองฟุงกระจายจากโรงสีขาวบริเวณจุดตรวจวัด เหนือลม และจุดตรวจวัดใตลมตองเปนเครื่องมือชนิดเดียวกัน 3.3.2.3 เครื่องมืออื่นๆ ได้แก่ เครื่องชั่งที่มีความละเอียดไม่น้อยกว่า 0.1 มิลลิกรัม ตู้ดูดความชื้น สารดูดความชื้น คีมคีบปากแบน ถุงมือไวนิล ไม่มีแป้ง ถุงพลาสติกซิป ซองกระดาษสีน้าตาล เครื่องประทับ หมายเลขกระดาษกรอง และกระดาษกรองใยหิน ขนาด 810 นิ้ว ที่มีประสิทธิภาพในการกรองฝุ่นละออง ขนาดเล็กที่มีขนาดขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน เครื่องวัดปริมำณฝุ่นละอองรวมในบรรยำกำศ (TSP) เครื่องวัดปริมำณฝุ่นละอองขนำดเล็กที่มีขนำดขนำดไม่เกิน 10 ไมครอน (PM10)
  • 14. 10 3.3.3 ขั้นตอนกำรตรวจวัด 3.3.3.1 นาแผนกระดาษกรองที่จะใชกับเครื่องมือตรวจวัดฝุนละอองใหนามาชั่งน้าหนักและจด บันทึกไวกอนการติดตั้งกับเครื่องมือตรวจวัด 3.3.3.2 การตรวจวัดทิศทางลม ตั้งเครื่องตรวจวัดบริเวณเหนือลม และใต้ลม จากแหล่งที่ทาการ ตรวจวัด 3.3.3.3ใช้เครื่องเก็บตัวอย่างอากาศดูดอากาศในบรรยากาศดวยอัตราการไหลคงที่เขาทางช่องที่ไดรับ การออกแบบไวเปนพิเศษ เพื่อใหสามารถคัดขนาดของฝุนละอองขนาดไมเกิน 100 ไมครอน (TSP) หรือ 10 ไมครอน (PM10)ที่แขวนลอยในบรรยากาศ และรวบรวมไวบนกระดาษกรอง ตลอดชวงการเก็บตัวอย่างตามมาตรฐานที่กาหนด 3.3.3.4 ชั่งน้าหนักกระดาษกรองภายหลังจากเก็บตัวอย่าง แล้วนามาคานวณปริมาณฝุ่นละออง รวมต่อปริมาตรอากาศไหลจะได้หน่วยเป็นน้าหนักฝุ่นละอองต่อปริมาตรอากาศ ทั้งนี้ สามารถศึกษารายละเอียดขั้นตอนการตรวจวัดฝุ่นละอองในบรรยากาศเพิ่มเติมในคู่มือ การตรวจวัดฝุ่นละอองในบรรยากาศ ตาม QR Code ดังต่อไปนี้ 11 กำรตั้งเครื่องวัดปริมำณฝุ่นละอองขนำดเล็ก (PM10) และเครื่องวัดปริมำณฝุ่นละอองรวมในบรรยำกำศ (TSP) คู่มือกำรตรวจวัดฝุ่นละออง ในบรรยำกำศ
  • 15. 3.4 กำรตรวจวัดควำมทึบแสงโดยวิธีของริงเกิลมำนน์ (Ringlemann Chart) แหล่งกาเนิดมลพิษที่สามารถตรวจสอบกรณีนี้ ได้แก่ โรงสีข้าวที่ใช้หม้อไอน้า เตาเผามูลฝอย และ เตาเผาศพ โดยจะใช้เจ้าหน้าที่ในการตรวจวัดอย่างน้อย 3 คน 3.4.1 เครื่องมือและอุปกรณ์ในกำรตรวจวัด 3.4.1.1 แผนภูมิเขม่าควันของริงเกิลมานน์ (Ringlemann Chart) 3.4.1.2 นาฬิกาจับเวลา แบบบันทึกผลการตรวจวัด 3.4.2 ขั้นตอนกำรตรวจวัด หลักการตรวจวัดความทึบแสงโดยวิธีของริงเกิลมานน์ (Ringlemann Chart) เป็นการเปรียบเทียบสี ของเขม่าควันที่ระบายออกจากปากปล่องกับแผนภูมิเขม่าควันของริงเกิลมานน์โดยการมองทะลุช่องแล้วเปรียบเทียบ สีตามระยะเวลาที่กาหนด โดยมีขั้นตอนการตรวจวัด ดังนี้ 3.4.2.1 การเตรียมสถานที่ และเวลาตรวจวัด เนี่องจากเป็นการตรวจวัดกรณีนี้สามารถดาเนินการ ได้ ในบางช่วงเวลา ดังนี้ 1) กรณีเป็นปล่องระบายจากโรงสีข้าว หรือเตาเผามูลฝอยสามารถตรวจวัดได้ในช่วงเช้าหรือบ่าย ซึ่งมีองค์ประกอบที่สาคัญคือตาแหน่งของดวงอาทิตย์และทิศทางลม โดยผู้ตรวจวัดต้องยืนหันหลังให้ดวงอาทิตย์ และ แนวตรวจวัดต้องขวางทิศทางลม 2) กรณีตรวจวัดเตาเผาศพ ต้องประสานวัดหรือผู้ดาเนินการเตาเผาศพ ถึงวัน เวลาที่มีการเผาศพ โดยการเตรียมการตรวจวัดทุกอย่างต้องแล้วเสร็จก่อนมีพิธีการเผาศพ และต้องดาเนินการตรวจวัดอย่างเงียบ ๆ ซ่อนเร้นเท่าที่สามารถกระทาได้ เพื่อหลีกเลี่ยงการสงสัยของประชาชนผู้มาร่วมพิธีเผาศพ 3.4.2.2 ผู้ทาการตรวจวัด 2 คน ยืนห่างจากปากปล่องเป็นระยะทางไม่น้อยกว่า 3 เท่าของ ความสูงปล่อง (ไม่เกิน 400 เมตร) และให้ดวงอาทิตย์อยู่ด้านหลังของผู้ตรวจวัดภายในรัศมี 140 องศา 3.4.2.3 บันทึกผลการตรวจวัดค่าความทึบแสงลงในแบบบันทึกทุก 15 วินาที 3.4.2.4 ภายหลังตรวจวัดแต่ละเซ็ท ให้ผู้ตรวจวัดคานวณหาค่าความทึบแสงเฉลี่ย แล้ว เปรียบเทียบความเที่ยงตรงของการตรวจวัด โดยนาผลค่าความทึบแสงเฉลี่ยของผู้ตรวจวัดทั้ง 2 คน มาหาค่า ความแตกต่าง หากมีค่าความแตกต่างมากกว่า 3 ให้ทาการตรวจวัดใหม่ 12 ปล่องระบำยควันจำกเตำเผำศพ กำรตรวจวัดค่ำควำมทึบแสง โดยวิธีของริงเกิลมำนน์
  • 16. 3.4.2.5หากผลการเปรียบเทียบมีค่าความแตกต่างไม่เกิน 3 ให้นาค่าความทึบแสงของผู้ตรวจวัดทั้ง 2 คน มาหาค่าเฉลี่ย เพื่อเปรียบเทียบกับมาตรฐานที่กาหนด 3.5 กำรดำเนินกำรภำยหลังกำรตรวจสอบ การตรวจสอบหรือการตรวจวัดค่ามลพิษเป็นเพียงหนึ่งในขั้นตอนของกระบวนการแก้ไขปัญหามลพิษ หรือเหตุร้องเรียน การตรวจสอบและหาข้อมูลที่เกี่ยวข้องจะทราบถึงสาเหตุ แหล่งที่มา หรือกระบวนการที่ก่อให้เกิด ฝุ่นละออง และประสิทธิภาพของระบบรวบรวมและบาบัดอากาศเสีย รวมถึงสภาพการณ์ต่างๆ ที่ก่อให้เกิดฝุ่นละออง และเมื่อผลทราบผลตรวจวัดค่ามลพิษแล้ว มีข้อเสนอแนะในการดาเนินการ ดังนี้ 1) กรณีผลการตรวจสอบมีค่าเป็นไปตามมาตรฐานอาจมีการแจ้งแหล่งกาเนิดมลพิษว่าผลการตรวจวัด มีค่าเป็นไปตามมาตรฐานที่กาหนด แต่ไม่ได้รับรองว่าผลการตรวจวัดจะเป็นไปตามมาตรฐานตลอดเวลา และต้อง แจ้งผลการตรวจสอบให้ผู้ร้องเรียนรับทราบผลดาเนินการ หรือหากค่าที่วัดได้ใกล้เคียงค่ามาตรฐาน อาจมีการขอ ความร่วมมือให้แหล่งกาเนิดมลพิษปรับปรุงดูแลให้ลดค่ามลพิษให้น้อยลงกว่าเดิมได้ 2) กรณีผลการตรวจสอบมีค่าไม่เป็นไปตามมาตรฐานให้เจ้าพนักงานส่วนท้องถิ่น มีหนังสือแจ้งผลการ ตรวจสอบให้แหล่งกาเนิดมลพิษทราบพร้อมระบุว่าค่าใดไม่เป็นไปตามมาตรฐานใด และแจ้งให้ดาเนินการ ปรับปรุงแก้ไขประกอบการตรวจสอบทางกายภาพ โดยกาหนดระยะเวลาดาเนินการปรับปรุงแก้ไขและ ดาเนินการทางกฎหมายตามอานาจหน้าที่ และต้องระบุวิธีการโต้แย้งสิทธิให้แหล่งกาเนิดมลพิษนั้นทราบด้วย 3) กรณีแหล่งกาเนิดมลพิษที่เป็นโรงงานอุตสาหกรรม ท่าเรือ หรือการขนถ่ายสินค้าระหว่างเรือ ควรแจ้ง เจ้าพนักงานตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน กรมเจ้าท่า กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งหรือหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องในการอนุมัติ อนุญาต ให้ทราบและดาเนินการตามอานาจหน้าที่ต่อไป 4) กรณีแหล่งกาเนิดมลพิษที่เป็นเตาเผามูลฝอย หรือเตาเผาศพ พนักงานท้องถิ่นมีอานาจในการสั่งการให้ ปรับปรุงหรือดาเนินการอื่นๆ ตามอานาจหน้าที่การตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 13 แผ่นแผนภูมิเขม่ำควันของริงเกิลมำนน์
  • 17. 4. กฎหมำยที่เกี่ยวข้องในกำรควบคุมฝุ่นละออง 1) พระรำชบัญญัติส่งเสริมและรักษำคุณภำพสิ่งแวดล้อมแห่งชำติ พ.ศ. 2535 มำตรำ 55 ให้รัฐมนตรีโดยคาแนะนาของคณะกรรมการควบคุมมลพิษ และโดยความเห็นชอบ ของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ มีอานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากาหนดมาตรฐานควบคุมมลพิษ จากแหล่งกาเนิด สาหรับควบคุมการระบายน้าทิ้ง การปล่อยทิ้งอากาศเสีย การปล่อยทิ้งของเสีย หรือมลพิษอื่นใด จากแหล่งกาเนิดออกสู่สิ่งแวดล้อมเพื่อรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมให้ได้มาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมตามที่ กาหนดไว้ในพระราชบัญญัตินี้ มำตรำ 56 ในกรณีที่มีการกาหนดมาตรฐานเกี่ยวกับการระบายน้าทิ้ง การปล่อยทิ้งอากาศเสีย การปล่อยทิ้งของเสีย หรือมลพิษอื่นใดจากแหล่งกาเนิดออกสู่สิ่งแวดล้อมโดยอาศัยอานาจตามกฎหมายอื่น และมาตรฐานดังกล่าวไม่ต่ากว่ามาตรฐานควบคุมมลพิษจากแหล่งกาเนิดที่รัฐมนตรีประกาศกาหนดตามมาตรา 55 ให้มาตรฐานดังกล่าวมีผลใช้บังคับต่อไปตามที่กาหนดไว้ในกฎหมายนั้น แต่ถ้ามาตรฐานดังกล่าวต่ากว่า มาตรฐานควบคุมมลพิษจากแหล่งกาเนิดที่รัฐมนตรีประกาศกาหนดตามมาตรา 55 ให้ส่วนราชการที่มีอานาจ ตามกฎหมายนั้นแก้ไขให้เป็นไปตามมาตรฐานควบคุมมลพิษจากแหล่งกาเนิด ในกรณีที่มีอุปสรรคไม่อาจ ดาเนินการ เช่นว่านั้นได้ ให้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติเป็นผู้ชี้ขาด เมื่อมีคาชี้ขาดเป็นประการใดให้ ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องดาเนินการตามคาชี้ขาดนั้น มำตรำ 57 ในกรณีที่มีกฎหมายอื่นบัญญัติให้อานาจส่วนราชการใดกาหนดมาตรฐานควบคุม มลพิษจากแหล่งกาเนิดในเรื่องใดไว้ แต่ส่วนราชการนั้นไม่ใช้อานาจตามกฎหมายกาหนดมาตรฐานดังกล่าว ให้รัฐมนตรีโดยคาแนะ นาของคณะกรรมการควบคุมมลพิษ และโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ มีอานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากาหนดมาตรฐานควบคุมมลพิษจากแหล่งกาเนิดใน เรื่องนั้นได้ และให้ถือว่าเป็นมาตรฐานตามกฎหมายในเรื่องนั้นด้วย มำตรำ 58 ในกรณีที่เห็นสมควร ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดมีอานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษา กาหนดมาตรฐานควบคุมมลพิษจากแหล่งกาเนิดสูงกว่ามาตรฐานควบคุมมลพิษจากแหล่งกาเนิดที่กาหนดตาม มาตรา 55 หรือมาตรฐานซึ่งกาหนดตามกฎหมายอื่น และมีผลใช้บังคับตามมาตรา 56 เป็นพิเศษ สาหรับในเขต ควบคุมมลพิษตามมาตรา 59 มำตรำ 68 ให้คณะรัฐมนตรีโดยคาแนะนาของคณะกรรมการควบคุมมลพิษมีอานาจประกาศใน ราชกิจจานุเบกษากาหนดประเภทของแหล่งกาเนิดมลพิษที่จะต้องถูกควบคุมการปล่อยอากาศเสีย รังสี หรือ มลพิษอื่นใดที่อยู่ในสภาพเป็นควัน ไอ ก๊าซ เขม่า ฝุ่นละออง เถ้าถ่าน หรือมลพิษอากาศ ในรูปแบบใดออกสู่ บรรยากาศไม่เกินมาตรฐานควบคุมมลพิษจากแหล่งกาเนิดที่กาหนดตามมาตรา 55 หรือมาตรฐานที่ส่วน ราชการใดกาหนด โดยอาศัยอานาจตามกฎหมายอื่นหรือมาตรฐานนั้นยังมีผลใช้บังคับตามมาตรา 56 หรือ มาตรฐานที่ผู้ว่าราชการจังหวัดกาหนดเป็นพิเศษสาหรับเขตควบคุมมลพิษตามมาตรา 58 14
  • 18. 2) พระรำชบัญญัติโรงงำน พ.ศ. 2535 มำตรำ 8 เพื่อประโยชน์ในการควบคุมการประกอบกิจการโรงงานให้รัฐมนตรีมีอานาจออก กฎกระทรวงเพื่อให้โรงงานจาพวกใดจาพวกหนึ่งหรือทุกจาพวกตามมาตรา 7 ต้องปฏิบัติตามในเรื่องดังต่อไปนี้ (5) กาหนดมาตรฐานและวิธีการควบคุม การปล่อยของเสีย มลพิษหรือสิ่งใด ๆ ที่มี ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมซึ่งเกิดขึ้นจากการประกอบกิจการโรงงาน มำตรำ 12 ผู้ประกอบกิจการโรงงานจาพวกที่ 3 ต้องได้รับใบอนุญาตจากผู้อนุญาต และต้อง ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดในกฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา 8 ประกาศของรัฐมนตรีที่ออกตาม กฎกระทรวงดังกล่าวและประกาศของรัฐมนตรีที่ออกตามมาตรา 32 ห้ำมมิให้ผู้ใดตั้งโรงงำนก่อนได้รับใบอนุญำต มาตรา 45 ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามกฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา 8 (1) (2) (3) (4) (5) หรือ (8) หรือประกาศของรัฐมนตรีที่ออกตามกฎกระทรวงดังกล่าว ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองแสนบาท มาตรา 50 ผู้ใดประกอบกิจการโรงงานจาพวกที่ 3 ต้องได้รับใบอนุญาตจากผู้อนุญาตตาม มาตรา 12 วรรคหนึ่ง หรือตั้งโรงงานโดยไม่ได้รับใบอนุญาตตามมาตรา 12 วรรคสอง ต้องระวางโทษจาคุกไม่ เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสองแสนบาท 3) พระรำชบัญญัติกำรสำธำรณสุข พ.ศ. 2535 มำตรำ 10 ให้คณะกรรมการมีอานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ (3) คาแนะนาต่อรัฐมนตรีในการออกกฎกระทรวง และต่อราชการส่วนท้องถิ่นใน การออกข้อกาหนดของท้องถิ่น มำตรำ 25 ในกรณีที่มีเหตุอันอาจก่อให้เกิดความเดือดร้อนแก่ผู้ที่อยู่อาศัยในบริเวณใกล้เคียง หรือผู้ต้องประสบเหตุนั้น ดังต่อไปนี้ ถือว่าเป็นเหตุราคาญ (3) อาคารอันเป็นที่อยู่ของคนหรือสัตว์ โรงงานหรือสถานที่ประกอบการใดไม่มีการ ระบายอากาศ การระบายน้า การกาจัดสิ่งปฏิกูล หรือการควบคุมสารเป็นพิษหรือมีแต่ไม่มีการควบคุมให้ ปราศจากกลิ่นเหม็นหรือละอองสารเป็นพิษอย่างพอเพียงจนเป็นเหตุให้เสื่อมหรืออาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพ (4) การกระทาใดๆอันเป็นเหตุให้เกิดกลิ่น แสง รังสี เสียง ความร้อน สิ่งมีพิษ ความ สั่นสะเทือน ฝุ่น ละออง เขม่า เถ้า หรือกรณีอื่นใด จนเป็นเหตุให้เสื่อม หรืออาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพ มำตรำ 26 กาหนดให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นมีอานาจห้ามผู้ใดผู้หนึ่งมิให้ก่อเหตุราคาญ ในที่หรือ ทางสาธารณะหรือสถานที่เอกชน รวมทั้งการระงับเหตุราคาญด้วย ตลอดทั้งการดูแล ปรับปรุง บารุงรักษา บรรดาถนน ทางบก ทางน้า รางระบายน้า คู คลอง และสถานที่ต่างๆ ในเขตของตนให้ปราศจากเหตุราคาญ ในการนี้ ให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นมีอานาจออกคาสั่งเป็นหนังสือเพื่อระงับ กาจัดและควบคุมเหตุราคาญต่าง ๆ ได้ 15
  • 19. มำตรำ 27 ในกรณีที่มีเหตุราคาญเกิดขึ้น หรืออาจเกิดขึ้นในที่หรือสาธารณะ ให้เจ้าพนักงาน ท้องถิ่นมีอานาจออกคาสั่งเป็นหนังสือให้บุคคลซึ่งเป็นต้นเหตุหรือเกี่ยวข้องกับการก่อหรืออาจก่อให้เกิดเหตุ ราคาญนั้น ระงับ หรือป้องกันเหตุราคาญภายในเวลาอันสมควรตามที่ระบุไว้ในคาสั่ง และถ้าเห็นสมควรจะให้ กระทาโดยวิธีใดเพื่อระงับ หรือป้องกันเหตุราคาญนั้น หรือสมควรกาหนดวิธีการเพื่อป้องกันมิให้มีเหตุราคาญ เกิดขึ้นอีกในอนาคต ให้ระบุไว้ในคาสั่งได้ ในกรณีที่ปรากฏแก่เจ้าพนักงานท้องถิ่นว่า ไม่มีการปฏิบัติตามตามคาสั่งของเจ้า พนักงานท้องถิ่น ตามวรรคหนึ่ง และเหตุราคาญที่เกิดขึ้นอาจเกิดอันตรายอย่างร้ายแรงต่อสุขภาพ ให้เจ้า พนักงานท้องถิ่นระงับเหตุราคาญนั้น และอาจจัดการตามความจาเป็น เพื่อป้องกันมิให้เกิดเหตุราคาญนั้นขึ้นอีก โดยบุคคล ซึ่งเป็นต้นเหตุหรือเกี่ยวข้องกับก่อหรืออาจก่อให้เกิดเหตุราคาญต้องเป็นผู้เสียค่าใช้จ่ายสาหรับการ จัดการนั้น มำตรำ 28 ในกรณีที่มีเหตุราคาญเกิดขึ้นในสถานที่เอกชนให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นมีอานาจออก คาสั่งเป็นหนังสือให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองสถานที่นั้นระงับเหตุภายในระยะเวลาอันสมควรตามที่ระบุไว้ใน คาสั่งและถ้าเห็นว่าสมควรจะให้กระทาโดยวิธีใดเพื่อระงับเหตุราคาญนั้น หรือสมควรกาหนดวิธีการเพื่อป้องกัน มิให้มีเหตุราคาญเกิดขึ้นในอนาคต ให้ระบุไว้ในคาสั่งได้ ในกรณีที่ไม่ปฏิบัติตามคาสั่งของเจ้าพนักงานท้องถิ่น ให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นมี อานาจระงับเหตุราคาญนั้นและอาจจัดการตามความจาเป็น เพื่อป้องกันมิให้มีเหตุราคาญเกิดขึ้นอีก และถ้าเหตุ ราคาญเกิดขึ้นจากการกระทา การละเลย หรือการยินยอมของเจ้าของหรือผู้ครอบครองสถานที่นั้น เจ้าของหรือ ผู้ครอบครองสถานที่ดังกล่าวต้องเป็นผู้เสียค่าใช้จ่ายสาหรับการนั้น ในกรณีที่ปรากฏแก่เจ้าพนักงานท้องถิ่นว่าเหตุราคาญที่เกิดขึ้นในสถานที่เอกชนอาจ เกิดอันตรายอย่างร้ายแรงต่อสุขภาพหรือมีผลกระทบต่อสภาวะความเป็นอยู่ที่เหมาะสมกับการดารงชีพของ ประชาชน เจ้าพนักงานท้องถิ่นจะออกคาสั่งเป็นหนังสือห้ามมิให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองใช้หรือยินยอมให้ บุคคลใดใช้สถานที่นั้นทั้งหมดหรือบางส่วน จนกว่าจะเป็นที่พอใจแก่เจ้าพนักงานท้องถิ่นว่าได้มีการระงับเหตุ ราคาญนั้นแล้วก็ได้ มำตรำ 31 ให้รัฐมนตรีโดยคาแนะนาของคณะกรรมการมีอานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษา กาหนดให้กิจการใดเป็นกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ มำตรำ 32 เพื่อประโยชน์ในการกากับดูแลการประกอบกิจการที่ประกาศตามมาตรา 31 ให้ ราชการส่วนท้องถิ่นมีอานาจออกข้อกาหนดของท้องถิ่นดังต่อไป (1) กาหนดประเภทของกิจการตามมาตรา ๓๑ บางกิจการหรือทุกกิจการให้เป็น กิจการที่ต้องมีการควบคุมภายในท้องถิ่นนั้น (2) กาหนดหลักเกณฑ์และเงื่อนไขทั่วไปสาหรับให้ผู้ดาเนินกิจการตาม (1) ปฏิบัติ เกี่ยวกับการดูแลสภาพหรือสุขลักษณะของสถานที่ที่ใช้ดาเนินกิจการและมาตรการป้องกันอันตรายต่อสุขภาพ 16
  • 20. มำตรำ 74 ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคาสั่งของเจ้าพนักงานท้องถิ่น ตามมาตรา 27 วรรคหนึ่ง หรือ มาตรา 28 วรรคหนึ่ง หรือวรรคสาม โดยไม่มีเหตุหรือข้อแก้ตัวอันสมควร หรือขัดขวางการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้า พนักงานท้องถิ่นตามมาตรา 27 วรรคสอง หรือมาตรา 28 วรรคสอง ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือ ปรับไม่เกิน 2,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ ทั้งนี้ คณะกรรมการสาธารณสุขในคราวประชุม ครั้งที่ 120-6/2562 เมื่อวันที่ 26 กันยายน 2562 มีมติให้ออกคาแนะนาคณะกรรมการสาธารณสุข เรื่อง การควบคุมป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพจากฝุ่นละออง พ.ศ. 2562 เพื่อป้องกันควบคุมดูแลมิให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนและสร้างภาวะความเป็นอยู่ที่ เหมาะสมของประชาชน ซึ่งประกอบด้วยแนวทางการควบคุมฝุ่นละอองจากแหล่งกาเนิดประเภทการประกอบ กิจการ แนวทาง การควบคุมเหตุราคาญและพื้นที่ควบคุมเหตุราคาญจากฝุ่นละออง และแนวทางการป้องกัน ผลกระทบต่อสุขภาพจากฝุ่นละอองของราชการส่วนท้องถิ่น รายละเอียดตาม QR Code ดังต่อไปนี้ 17 คำแนะนำคณะกรรมกำรสำธำรณสุข เรื่อง กำรควบคุมป้องกันผลกระทบต่อสุขภำพ จำกฝุ่นละออง พ.ศ. 2562
  • 21. ภำคผนวก ก. มำตรฐำนที่ใช้อ้ำงอิงในกำรดำเนินกำรตรวจวัดควำมเข้มข้นของฝุ่นละอองจำกปล่องระบำยอำกำศ 1. ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดให้ โรงงานอุตสาหกรรมเป็น แหล่งกาเนิดมลพิษที่จะต้องถูกควบคุมการปล่อยทิ้งอากาศเสียออกสู่บรรยากาศ 2. ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดมาตรฐานควบคุมการปล่อยทิ้ง อากาศเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม 3. ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดให้โรงงานปูนซีเมนต์ที่ใช้ของเสีย เป็นแหล่งเชื้อเพลิงหรือเป็นวัตถุดิบในการผลิต เป็นแหล่งกาเนิดมลพิษที่จะต้องควบคุมการปล่อยทิ้งอากาศเสีย ออกสู่บรรยากาศ 4. ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดมาตรฐานควบคุมการปล่อยทิ้ง อากาศเสียจากโรงงานปูนซีเมนต์ที่ใช้ของเสียเป็นเชื้อเพลิงหรือเป็นวัตถุดิบในการผลิต 5. ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดให้โรงงานปูนซีเมนต์เป็น แหล่งกาเนิดมลพิษที่จะต้องถูกควบคุมการปล่อยทิ้งอากาศเสียออกสู่บรรยากาศ 6. ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดมาตรฐานควบคุมการปล่อยทิ้ง อากาศเสียจากโรงงานปูนซีเมนต์ 7. ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดมาตรฐานควบคุมการปล่อยทิ้ง อากาศเสียจากเตาเผามูลฝอยติดเชื้อ 8. ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2542) เรื่อง การกาหนด มาตรฐานควบคุมการปล่อยทิ้งอากาศเสียจากโรงไฟฟ้าเก่า 9. ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดให้โรงไฟฟ้าเป็น แหล่งกาเนิดมลพิษที่จะต้องถูกควบคุมการปล่อยทิ้งอากาศเสียออกสู่สิ่งแวดล้อม 10. ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดมาตรฐานควบคุมการ ปล่อยทิ้งอากาศเสียจากโรงไฟฟ้า 11. ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดมาตรฐานควบคุมการ ปล่อยทิ้งอากาศเสียจากโรงงานเหล็ก 12. ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดให้เตาเผามูลฝอยติดเชื้อเป็น แหล่งกาเนิดมลพิษที่จะต้องถูกควบคุมการปล่อยทิ้งอากาศเสียออกสู่บรรยากาศ 13. ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดให้โรงงานเหล็กเป็น แหล่งกาเนิดมลพิษที่จะต้องถูกควบคุมการปล่อยทิ้งอากาศเสียออกสู่บรรยากาศ 14. ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2544) เรื่อง กาหนดให้ โรงไฟฟ้าแม่เมาะเป็นแหล่งกาเนิดมลพิษที่จะต้องถูกควบคุมการปล่อยทิ้งอากาศเสียออกสู่บรรยากาศ 18
  • 22. 15. ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2544) เรื่อง กาหนด มาตรฐานควบคุมการปล่อยทิ้งอากาศเสียจากโรงไฟฟ้าแม่เมาะ 16. ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กาหนดค่าปริมาณของสารเจือปนในอากาศที่ระบายออก จากโรงแยกก๊าซธรรมชาติ พ.ศ. 2559 17. ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กาหนดค่าปริมาณของสารเจือปนในอากาศที่ระบายออก จากโรงงาน พ.ศ. 2549 18. ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กาหนดค่าปริมาณของสารเจือปนในอากาศที่ระบายออก จากโรงงาน กรณีการใช้น้ามันใช้แล้วที่ผ่านกระบวนการปรับคุณภาพและเชื้อเพลิงสังเคราะห์ เป็นเชื้อเพลิงใน เตาอุตสาหกรรม พ.ศ. 2548 19. ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่อง เครื่องวัดและวิธีการตรวจวัดค่าเฉลี่ยของก๊าซหรือฝุ่นละอองใน บรรยากาศโดยทั่วไประบบอื่นหรือวิธีอื่นที่กรมควบคุมมลพิษเห็นชอบ 19
  • 23. ภำคผนวก ข มำตรฐำนที่ใช้อ้ำงอิงในกำรดำเนินกำรกรณีฝุ่นละอองจำกท่ำเรือ จำกเรือที่มีกำรขนถ่ำยสินค้ำระหว่ำงกัน หรือจำกโรงบด ย่อย หรือโม่หิน 1. ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดมาตรฐานค่าความทึบแสงของ ฝุ่นละอองฟุ้งกระจายจากเรือที่มีการขนถ่ายสินค้าระหว่างกัน 2. ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดให้โรงโม่ บด หรือย่อยหิน เป็นแหล่งกาเนิดมลพิษที่จะต้องถูกควบคุมการปล่อยฝุ่นละอองออกสู่บรรยากาศ 3. ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดมาตรฐานควบคุม การปล่อยฝุ่นละออง จากโรงโม่ บด หรือย่อยหิน 4. ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดให้ท่าเรือบางประเภทเป็น แหล่งกาเนิดมลพิษที่จะต้องถูกควบคุมการปล่อยทิ้งอากาศเสียสู่บรรยากาศ 5. ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดมาตรฐานค่าความทึบแสงของ ฝุ่นละอองฟุ้งกระจายจากท่าเรือ 6. ประกาศคณะกรรมการควบคุมมลพิษ เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการตรวจวัดฝุ่นละออง ฟุ้งกระจายจากท่าเรือด้วยเครื่องวัดความทึบแสง 7. ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการตรวจวัดค่าความทึบแสงของฝุ่นละอองฟุ้ง กระจายจากเรือ ที่มีการขนถ่ายสินค้าระหว่างกัน 20
  • 24. ภำคผนวก ค มำตรฐำนที่ใช้อ้ำงอิงในกำรดำเนินกำรกรณีฝุ่นละอองในพื้นที่ร้องเรียนหรือขอบรั้วของสถำนประกอบกำร 1. ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 24 (พ.ศ. 2547) เรื่อง กาหนดมาตรฐาน คุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป 2. ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 28 (พ.ศ. 2550) เรื่อง กาหนดมาตรฐาน คุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป 3.ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดมาตรฐานฝุ่นละออง ฟุ้งกระจายจากโรงสีข้าว 4. ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดให้โรงสีข้าวทุกประเภทเป็น แหล่งกาเนิดมลพิษที่จะต้องถูกควบคุมการปลอยทิ้งอากาศเสียออกสู่บรรยากาศ 5. ประกาศคณะกรรมการควบคุมมลพิษ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ เครื่องมือที่ใช้ในการตรวจวัดและจุด ตรวจวัดฝุ่นละอองฟุ้งกระจายจากโรงสีข้าว 6. ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่อง เครื่องวัดและวิธีตรวจวัดค่าเฉลี่ยของก๊าซหรือฝุ่นละออง ในบรรยากาศโดยทั่วไประบบอื่นหรือวิธีอื่นที่กรมควบคุมมลพิษเห็นชอบ 21
  • 25. ภำคผนวก ง มำตรฐำนที่ใช้อ้ำงอิงในกำรดำเนินกำรกรณีกำรตรวจวัดควำมทึบแสงโดยวิธีของริงเกิลมำนน์ 1. ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดให้เตาเผาศพเป็นแหล่งกาเนิด มลพิษที่จะต้องถูกควบคุมการปล่อยทิ้งอากาศเสียออกสู่สิ่งแวดล้อม 2.. ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดมาตรฐานค่าความทึบแสงจาก ปล่องปล่อยทิ้งอากาศเสีย ของโรงสีข้าวที่ใช้หม้อไอน้า 3. ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดให้สถานประกอบกิจการ ที่ใช้หม้อไอน้าเป็นแหล่งกาเนิดมลพิษที่ต้องถูกควบคุมการปล่อยทิ้งอากาศเสียออกสู่บรรยากาศ 4. ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดมาตรฐานค่าความทึบแสงของ เขม่าควันจากสถานประกอบกิจการที่ใช้หม้อไอน้า 5. ประกาศคณะกรรมการควบคุมมลพิษ เรื่อง แบบบันทึกผลการตรวจวัดค่าความทึบแสง และแบบ สรุปผลการตรวจวัดค่าความทึบแสงของเขม่าควัน จากปล่องปล่อยทิ้งอากาศเสียของเตาเผามูลฝอย รวมทั้ง ลักษณะ และหน่วยวัด ค่าความทึบแสงของแผนภูมิเขม่าควันของริงเกิลมานน์ 6. ประกาศคณะกรรมการควบคุมมลพิษ เรื่อง วิธีการตรวจวัด ลักษณะและหน่วยวัด การคานวณ เปรียบเทียบ แบบบันทึก และการรายงานผล การตรวจวัดค่าความทึบแสงของเขม่าควันจากสถาน ประกอบกิจการที่ใช้หม้อไอน้า 7. ประกาศคณะกรรมการควบคุมมลพิษ เรื่อง วิธีการตรวจวัด ลักษณะและหนวยวัด การคานวณ เปรียบเทียบ แบบบันทึกและการรายงานผลคาความทึบแสงของเขมาควันจากปลองปลอยทิ้งอากาศเสียของ โรงสีข้าวที่ใชหม้อไอน้า 8. ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่อง วิธีการตรวจวัด ลักษณะและหนวยวัด การคานวณ เปรียบเทียบ แบบบันทึก และการรายงานผลการตรวจวัดคาความทึบแสงของเขมาควันจากปลองเตาเผาศพ 22