SlideShare a Scribd company logo
1 of 41
Download to read offline
แฟ้มสะสมผลงาน
(Portfolio)
มิสเขมจิรา ปลงไสว
ครูประจาชั้น/ครูผู้สอน
ปีการศึกษา 2558
โรงเรียนอัสสัมชัญระยอง
คำนำ
แฟ้มสะสมผลงานเล่มนี้ ข้าพเจ้ามิสเขมจิรา ปลงไสว ครูประจาชั้น/ครูผู้สอน กลุ่มสาระการ
เรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนอัสสัมชัญระยอง ได้จัดทาขึ้น เพื่อนาเสนอประวัติส่วนตัว
ประวัติการศึกษา ประวัติการทางาน ผลงานตามสมรรถนะครู ซึ่งประกอบด้วยสมรรถนะหลัก 5
สมรรถนะ สมรรถนะประจาสายงาน 6 สมรรถนะรวมทั้งรูปภาพประกอบในขณะการปฏิบัติหน้าที่
ผลงานทางวิชาการ และผลงานแห่งความภาคภูมิใจ ตลอดปีการศึกษา 2557 โดยผู้จัดทาหวังเป็นอย่าง
ยิ่งว่าจะเป็นการรวบรวมผลงานและสมรรถนะของครูผู้สอนในด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะประจา
สายงาน ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในการประเมินตนเอง และประเมินในโอกาสต่าง ๆ
อย่างไรก็ตาม แฟ้มสะสมงานนี้ หากมีข้อผิดพลาดประการใด ผู้จัดทาต้องขออภัยไว้ ณ ที่นี้
มิสเขมจิรา ปลงไสว
ผู้จัดทา
ประวัติส่วนตัว
ชื่อ : นางเขมจิรา นามสกุล : ปลงไสว
สัญชาติ : ไทย เชื้อชาติ : ไทย ศาสนา : พุทธ
เกิดวันที่ 11 เดือน มีนาคม พ.ศ. 2xxx
น้้าหนัก 55 กิโลกรัม ส่วนสูง 160 เมตร หมู่โลหิต เอ
เลขประจ้าตัวประชาชน 37209000xxxxx วันที่บัตรหมดอายุ 10-03-2559
เลขที่ใบประกอบวิชาชีพครู 573011338xxxxx วันที่บัตรหมดอายุ 8-12-2562
เลขที่ใบประกอบวิชาชีพศึกษานิเทศก์ 541430400xxxxx วันที่บัตรหมดอายุ 04-08-2559
ภูมิล้าเนาเดิม : 9 หมู่ 5 ตาบลอู่ทอง อาเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี
ที่อยู่ปัจจุบัน : บ้านเลขที่ 76/2 หมู่ที่ 1 ซอยเทศบาล 54 ถนนสุขุมวิท ตาบลบ้านฉาง
อาเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง รหัสไปรษณีย์ 21130
โทรศัพท์มือถือ : 084-561xxxxx E - mail address : khemjira_acr@hotmail.com
ชื่อ – สกุล บิดา : นายจิ้นลิบ แซ่ว่อง ชื่อ – สกุล มารดา : นางจวง แซ่ว่อง
สถานภาพของครู : สมรส
ชื่อ – สกุล คู่สมรส : นายภัทรพล ปลงไสว ตาแหน่ง ผู้อานวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีอักษรพัทยา
จ้านวนบุตร – ธิดา : 2 คน กาลังศึกษาอยู่ 2 คน ที่โรงเรียนอัสสัมชัญระยอง
วันเดือนปีที่เริ่มท้างานในโรงเรียนอัสสัมชัญระยอง : 25 ตุลาคม 2554
บรรจุเป็นครูโรงเรียนอัสสัมชัญระยอง : เมื่อวันที่ 1 เดือน เมษายน พ.ศ. 2555
คติในการท้างาน : ความรับผิดชอบจะทาให้เราประสบความสาเร็จในทุกๆอย่าง
มิสเขมจิรา ปลงไสว
เจ้าของประวัติ
ประวัติกำรศึกษำ
ล้าดับที่ ระดับการศึกษา ชื่อสถานศึกษา
ปีที่จบ
การศึกษา
วุฒิ/วิชาเอก
1 มัธยมศึกษา โรงเรียนอู่ทอง
อ.อู่ทอง จ.สุพรรณบุรี
2537 ม.6 สายวิชาชีพ
2 ประกาศนียบัตรวิชาชีพ
ชั้นสูง
วิทยาลัยเกษตรกรรมชลบุรี
อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี
2539 ปวส. สาขาคอมพิวเตอร์
ธุรกิจ
3 ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยบูรพา
อ.เมือง จ.ชลบุรี
2542 การศึกษาบัณฑิต (กศ.บ.)
สาขาวิชาเทคโนโลยี
การศึกษา (ฝึกอบรม –
คอมพิวเตอร์)
4 ปริญญาโท สถาบันเทคโนโลยีพระจอม
เกล้าเจ้าคุณทหาร
ลาดกระบัง
เขตลาดกระบัง กรุงเทพ
2546 ครุศาสตร์อุตสาหกรรม
มหาบัณฑิต (คอม.)สาขาวิชา
เทคโนโลยีการศึกษาทางการ
อาชีวะและเทคนิคศึกษา
ประวัติกำรทำงำน
ล้าดับที่ ต้าแหน่ง/หน้าที่ ชื่อหน่วยงาน ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ระยะเวลา (ปี)
1 อาจารย์สอน
คอมพิวเตอร์
วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ
อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี
สอนวิชาคอมพิวเตอร์
ระดับชั้น ปวช.,ปวส.
พ.ศ.2539-
2541
2 อาจารย์สอน
คอมพิวเตอร์
โรงเรียนอักษรเทคโนโลยี
พัทยา อ.บางละมุง จ.ชลบุรี
สอนวิชาคอมพิวเตอร์
ระดับชั้น ปวช.,ปวส.
พ.ศ.2541-2554
3 ครูสอนคอมพิวเตอร์ โรงเรียนอัสสัมชัญระยอง
อ.เมือง จ.ระยอง
สอนวิชาคอมพิวเตอร์
ม.5-ม.6
พ.ศ.2554-
ปัจจุบัน
ผลงำนตำมสมรรถนะ
ในกำรปฏิบัติงำนของครูผู้สอน
1. สมรรถนะหลัก (Core Competency) ประกอบด้วย 5 สมรรถนะ คือ
1. การมุ่งผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงาน
2. การบริการที่ดี
3. การพัฒนาตนเอง
4. การทางานเป็นทีม
5. จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพครู
2. สมรรถนะประจ้าสายงาน (Functional Competency) ประกอบด้วย 6 สมรรถนะ คือ
1. การบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้
2. การพัฒนาผู้เรียน
3. การบริหารจัดการชั้นเรียน
4. การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน
5. ภาวะผู้นาครู
6. การสร้างความสัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชนเพื่อการจัดการเรียนรู้
สมรรถนะหลัก
(Core Competency)
1. วิเคราะห์ภารกิจงานเพื่อวางแผนการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ
2. กาหนดเป้าหมายในการปฏิบัติงานทุกภาคเรียน
3. กาหนดแผนการปฏิบัติงานและการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นขั้นตอน
สมรรถนะที่ 1 การมุ่งผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงาน (Working Achievement Motivation)
หมายถึง ความมุ่งมั่นในการปฏิบัติงานในหน้าที่ให้มีคุณภาพ ถูกต้อง ครบถ้วนสมบูรณ์ มีความคิดริเริ่ม
สร้างสรรค์ โดยมีการวางแผน กาหนดเป้าหมาย ติดตามประเมินผลการปฏิบัติงาน และปรับปรุงพัฒนา
ประสิทธิภาพและผลงานอย่างต่อเนื่อง
1.1 ความสามารถในการวางแผน การก้าหนดเป้าหมาย การวิเคราะห์ สังเคราะห์ภารกิจงาน
1. ใฝ่เรียนรู้เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้
2. ริเริ่มสร้างสรรค์การพัฒนาการจัดการเรียนรู้
3. แสวงหาความรู้ที่เกี่ยวกับวิชาชีพใหม่ ๆ เพื่อการพัฒนาตนเอง
1. ประเมินผลการปฏิบัติงานของตนเอง การรายงานการปฏิบัติงานประจาเดือน การนาผลจากการบันทึกหลัง
การสอนมาปรับ ประยุกต์ใช้ เพื่อให้การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น
1.3 ความสามารถในการติดตามประเมินผลการปฏิบัติงาน
1.2 ความมุ่งมั่นในการปฏิบัติหน้าที่ให้มีคุณภาพถูกต้อง ครบถ้วนสมบูรณ์
1. ใช้ผลการประเมินการปฏิบัติงานมาปรับปรุง/พัฒนาการทางานให้ดียิ่งขึ้น
2. พัฒนาการปฏิบัติงานเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้เรียน ผู้ปกครอง และชุมชน
1. ทากิจกรรมต่าง ๆ เพื่อประโยชน์ส่วนรวมเมื่อมีโอกาส
1.4 ความสามารถในการพัฒนาการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่องเพื่อให้งาน
ประสบความส้าเร็จ
สมรรถนะที่ 2 การบริการที่ดี (Service Mind)
หมายถึง ความตั้งใจและความเต็มใจในการให้บริการ และการปรับปรุงระบบบริการให้มีประสิทธิภาพ
อย่างต่อเนื่อง เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการ
2.1 ความตั้งใจและเต็มใจในการให้บริการท้ากิจกรรมต่างๆ เพื่อประโยชน์ส่วนรวมเมื่อมีโอกาส
2. เต็มใจ ภาคภูมิใจ และมีความสุขในการให้บริการแก่ผู้รับบริการ
1. ศึกษาความต้องการของผู้รับบริการ และนาข้อมูลไปใช้ในการปรับปรุง
2. ปรับปรุงและพัฒนาระบบการให้บริการให้มีประสิทธิภาพ
2.2 การปรับปรุงระบบบริการให้มีประสิทธิภาพ
1. ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ มุ่งมั่นและแสวงหาโอกาสพัฒนาตนเองด้วยวิธีการที่หลากหลาย เช่น การเข้าร่วมประชุม/
สัมมนา การศึกษาดูงาน การค้นคว้าด้วยตนเอง
สมรรถนะที่ 3 การพัฒนาตนเอง (Self- Development)
หมายถึง การศึกษาค้นคว้า หาความรู้ ติดตามและแลกเปลี่ยนเรียนรู้องค์ความรู้ใหม่ ๆ ทางวิชาการและ
วิชาชีพ มีการสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรม เพื่อพัฒนาตนเอง และพัฒนางาน
3.1 การศึกษาค้นคว้าหาความรู้ ติดตามองค์ความรู้ใหม่ๆ ทางวิชาการและวิชาชีพ
1. รวบรวม สังเคราะห์ข้อมูล ความรู้ จัดเป็นหมวดหมู่ และปรับปรุงให้ทันสมัย
2. สร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ องค์กรและวิชาชีพ
1. แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้อื่นเพื่อพัฒนาตนเอง และพัฒนางาน
2. ให้คาปรึกษา แนะนา นิเทศ และถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ทางวิชาชีพแก่ผู้อื่น
3. มีการขยายผลโดยสร้างเครือข่ายการเรียนรู้
3.2 การสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมในการพัฒนาองค์กรและวิชาชีพ
3.3 การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และสร้างเครือข่าย
1. สร้างสัมพันธภาพที่ดีในการทางานร่วมกับผู้อื่น
2. ทางานร่วมกับผู้อื่นตามบทบาทหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
3. ช่วยเหลือ สนับสนุน เพื่อนร่วมงานเพื่อสู่เป้าหมายความสาเร็จร่วมกัน
สมรรถนะที่ 4 การท้างานเป็นทีม (Team Work)
หมายถึง การให้ความร่วมมือ ช่วยเหลือ สนับสนุนเสริมแรงให้กาลังใจแก่เพื่อนร่วมงาน การปรับตัวเข้า
กับผู้อื่นหรือทีมงาน แสดงบทบาทการเป็นผู้นาหรือผู้ตามได้อย่างเหมาะสมในการทางานร่วมกับผู้อื่น
เพื่อสร้างและดารงสัมพันธภาพของสมาชิก ตลอดจนเพื่อพัฒนาการจัดการศึกษาให้บรรลุผลสาเร็จตาม
เป้าหมาย
4.1 การให้ความร่วมมือ ช่วยเหลือและสนับสนุนเพื่อนร่วมงาน
1. ให้เกียรติ ยกย่องชมเชย ให้กาลังใจแก่เพื่อนร่วมงานในโอกาสที่เหมาะสม
1. มีทักษะในการทางานร่วมกับบุคคล/กลุ่มบุคคลได้อย่างมีประสิทธิภาพทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา และใน
สถานการณ์ต่างๆ
4.2 การเสริมแรงให้ก้าลังใจเพื่อนร่วมงาน
4.3 การปรับตัวเข้ากับกลุ่มคนหรือสถานการณ์ที่หลากหลาย
1. แสดงบทบาทผู้นาหรือผู้ตามในการทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างเหมาะสมตามโอกาส
1. แลกเปลี่ยน/รับฟังความคิดเห็นและประสบการณ์ภายในทีมงาน
2. แลกเปลี่ยนเรียนรู้/รับฟังความคิดเห็นและประสบการณ์ระหว่างเครือข่ายและทีมงาน
3. ร่วมกับเพื่อนร่วมงานในการสร้างวัฒนธรรมการทางานเป็นทีมให้เกิดขึ้นในสถานศึกษา
4.4 การแสดงบทบาทผู้น้าหรือผู้ตาม
4.5 การเข้าไปมีส่วนร่วมกับผู้อื่นในการพัฒนาการจัดการศึกษาให้บรรลุผลส้าเร็จตามเป้าหมาย
1. สนับสนุน และเข้าร่วมกิจกรรมการพัฒนาจรรยาบรรณวิชาชีพ
2. เสียสละ อุทิศตนเพื่อประโยชน์ต่อวิชาชีพ และเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรวิชาชีพ
3. ยกย่อง ชื่นชมบุคคลที่ประสบความสาเร็จในวิชาชีพ
4. ยึดมั่นในอุดมการณ์ของวิชาชีพ ปกป้องเกียรติและศักดิ์ศรีของวิชาชีพ
สมรรถนะที่ 5 จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพครู (Teacher’s Ethics and Integrity)
หมายถึง การประพฤติปฏิบัติตนถูกต้องตามหลักคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพครู เป็น
แบบอย่างที่ดีแก่ผู้เรียน และสังคม เพื่อสร้างความศรัทธาในวิชาชีพครู
5.1 ความรักและศรัทธาในวิชาชีพ
1. ซื่อสัตย์ต่อตนเอง ตรงต่อเวลา วางแผนการใช้จ่าย และใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด
2. ปฏิบัติตนตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวัฒนธรรมที่ดีขององค์กร
3. ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ และมุ่งมั่นพัฒนาการประกอบวิชาชีพให้ก้าวหน้า
4. ยอมรับผลอันเกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ของตนเอง และหาแนวทางแก้ไขปัญหา อุปสรรค
5.2 มีวินัย และความรับผิดชอบในวิชาชีพ
1. ปฏิบัติตน/ดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้เหมาะสมกับสถานะของตน
2. รักษาสิทธิประโยชน์ของตนเอง และไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น
3. เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ช่วยเหลือ และไม่เบียดเบียนผู้อื่น
5.3 การด้ารงชีวิตอย่างเหมาะสม
1. ปฏิบัติตนได้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่ และสถานการณ์
2. มีความเป็นกัลยาณมิตรต่อผู้เรียน เพื่อนร่วมงาน และผู้รับบริการ
3. ปฏิบัติตนตามหลักการครองตน ครองคน ครองงานเพื่อให้การปฏิบัติงานบรรลุผลสาเร็จ
4. เป็นแบบอย่างที่ดีในการส่งเสริมผู้อื่นให้ปฏิบัติตนตามหลักจริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพครู และพัฒนาจน
เป็นที่ยอมรับ
5.4 การประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี
สมรรถนะประจาสายงาน
(Functional Competency)
1. สร้าง/พัฒนาหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางและท้องถิ่น
2. ประเมินการใช้หลักสูตรและนาผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนาหลักสูตร
สมรรถนะที่ 1 การบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้
(Curriculum and Learning Management)
หมายถึง ความสามารถในการสร้างและพัฒนาหลักสูตร การออกแบบการเรียนรู้อย่างสอดคล้องและ
เป็นระบบ จัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ใช้และพัฒนาสื่อนวัตกรรมเทคโนโลยี และการวัด
ประเมินผล การเรียนรู้ เพื่อพัฒนาผู้เรียนอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลสูงสุด
1.1 การสร้างและพัฒนาหลักสูตร
1. กาหนดผลการเรียนรู้ของผู้เรียนที่เน้นการวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประยุกต์ ริเริ่มเหมาะสมกับสาระการเรียนรู้ ความ
แตกต่างและธรรมชาติของผู้เรียนเป็นรายบุคคล
2. ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้อย่างหลากหลายเหมาะสมสอดคล้องกับวัย และความต้องการของผู้เรียน และชุมชน
3. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการออกแบบการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมและการประเมินผลการเรียนรู้
4. จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบโดยบูรณาการอย่างสอดคล้องเชื่อมโยงกัน
5. มีการนาผลการออกแบบการเรียนรู้ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ และปรับใช้ตามสถานการณ์
อย่างเหมาะสมและเกิดผลกับผู้เรียนตามที่คาดหวัง
6. ประเมินผลการออกแบบการเรียนรู้เพื่อนาไปใช้ปรับปรุง/พัฒนา
1.2 ความรู้ ความสามารถในการออกแบบการเรียนรู้
1. จัดทาแผนการสอนที่จัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
2. ใช้รูปแบบ/เทคนิควิธีการสอนอย่างหลากหลายเพื่อให้ผู้เรียนพัฒนาเต็มตามศักยภาพ
3. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ปลูกฝัง/ส่งเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์และสมรรถนะของผู้เรียน
4. ใช้หลักจิตวิทยาในการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีความสุข และพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพ
5. ใช้แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นในชุมชนในการจัดการเรียนรู้
6. พัฒนาเครือข่ายการเรียนรู้ระหว่างโรงเรียนกับผู้ปกครอง และชุมชน
1.3 การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส้าคัญ
1. ใช้สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้อย่างหลากหลาย เหมาะสมกับเนื้อหาและกิจกรรมการเรียนรู้
2. สืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้
3. ใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อ/นวัตกรรมที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้
1.4 การใช้และพัฒนาสื่อนวัตกรรมเทคโนโลยีเพื่อการจัดการเรียนรู้
1. ออกแบบวิธีการวัดและประเมินผลอย่างหลากหลาย เหมาะสมกับเนื้อหา กิจกรรมการเรียนรู้ และผู้เรียน
2. สร้างและนาเครื่องมือวัดและประเมินผลไปใช้อย่างถูกต้องเหมาะสม
3. วัดและประเมินผลผู้เรียนตามสภาพจริง
4. นาผลการประเมินการเรียนรู้มาใช้ในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
1.5 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
1. สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมแก่ผู้เรียนในการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน
2. จัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมโดยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการวางแผนกิจกรรม
3. จัดทาโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมให้แก่ผู้เรียน
สมรรถนะที่ 2 การพัฒนาผู้เรียน (Student Development)
หมายถึง ความสามารถในการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม การพัฒนาทักษะชีวิต สุขภาพกาย และ
สุขภาพจิต ความเป็นประชาธิปไตย ความภูมิใจในความเป็นไทย การจัดระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียนเพื่อ
พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ
2.1 การปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมให้แก่ผู้เรียน
1. จัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียนด้านการดูแลตนเอง มีทักษะในการเรียนรู้ การทางาน การอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมี
ความสุข และรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง
2.2 การพัฒนาทักษะชีวิต และสุขภาพกาย และสุขภาพจิตผู้เรียน
1. สอดแทรกความเป็นประชาธิปไตย ความภูมิใจในความเป็นไทย ให้แก่ผู้เรียน
2. จัดทาโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมความเป็นประชาธิปไตย ความภูมิใจในความเป็นไทย
1. ให้ผู้เรียน คณะครูผู้สอน และผู้ปกครองมีส่วนร่วมในดูแลช่วยเหลือนักเรียนรายบุคคล
2. นาข้อมูลนักเรียนไปใช้ช่วยเหลือ/พัฒนาผู้เรียนทั้งด้านการเรียนรู้และปรับพฤติกรรมเป็นรายบุคคล
3. จัดกิจกรรมเพื่อป้องกันแก้ไขปัญหา และส่งเสริมพัฒนาผู้เรียนให้แก่นักเรียนอย่างทั่วถึง
4. ส่งเสริมให้ผู้เรียนปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมกับค่านิยมที่ดีงาม
5. ดูแล ช่วยเหลือ ผู้เรียนทุกคนอย่างทั่วถึง ทันการณ์
2.3 การปลูกฝังความเป็นประชาธิปไตย ความภูมิใจในความเป็นไทยให้กับผู้เรียน
2.4 การจัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
1. จัดสภาพแวดล้อมภายในห้องเรียน และภายนอกห้องเรียนที่เอื้อต่อการเรียนรู้
2. ส่งเสริมการมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครูกับผู้เรียน และผู้เรียนกับผู้เรียน
3. ตรวจสอบสิ่งอานวยความสะดวกในห้องเรียนให้พร้อมใช้และปลอดภัยอยู่เสมอ
สมรรถนะที่ 3 การบริหารจัดการชั้นเรียน (Classroom Management)
หมายถึง การจัดบรรยากาศการเรียนรู้ การจัดทาข้อมูลสารสนเทศและเอกสารประจาชั้นเรียน/ประจา
วิชา การกากับดูแลชั้นเรียนรายชั้น/รายวิชา เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้อย่างมีความสุข และความปลอดภัย
ของผู้เรียน
3.1 จัดบรรยากาศที่ส่งเสริมการเรียนรู้ความสุขและความปลอดภัยของผู้เรียน
1. จัดทาข้อมูลสารสนเทศของนักเรียนเป็นรายบุคคลและเอกสารประจาชั้นเรียนอย่างถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบัน
2. นาข้อมูลสารสนเทศไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียนได้เต็มตามศักยภาพ
3.2 จัดท้าข้อมูลสารสนเทศและเอกสารประจ้าชั้นเรียน/ประจ้าวิชา
1. ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการกาหนดกฎ กติกา ข้อตกลงในชั้นเรียน
2. แก้ปัญหา/พัฒนานักเรียนด้านระเบียบวินัยโดยการสร้าง วินัยเชิงบวกในชั้นเรียน
3. ประเมินการกากับดูแลชั้นเรียน และนาผลการประเมินไปใช้ใน การปรับปรุงและพัฒนา
3.3 ก้ากับดูแลชั้นเรียนรายชั้น/รายวิชา
1. สารวจปัญหาเกี่ยวกับนักเรียนที่เกิดขึ้นในชั้นเรียนเพื่อวางแผนการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน
2. วิเคราะห์สาเหตุของปัญหาเกี่ยวกับนักเรียนที่เกิดขึ้นในชั้นเรียนเพื่อกาหนดทางเลือกในการแก้ไขปัญหาระบุสภาพ
ปัจจุบัน
3. มีการวิเคราะห์จุดเด่น จุดด้อย อุปสรรคและโอกาสความสาเร็จของการวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในชั้นเรียน
4.1 การวิเคราะห์
สมรรถนะที่ 4 การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน
(Analysis & Synthesis & Classroom Research)
หมายถึง ความสามารถในการทาความเข้าใจ แยกประเด็นเป็นส่วนย่อย รวบรวม ประมวลหาข้อสรุป
อย่างมีระบบและนาไปใช้ในการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน รวมทั้งสามารถวิเคราะห์องค์กรหรืองานใน
ภาพรวมและดาเนินการแก้ปัญหา เพื่อพัฒนางานอย่างเป็นระบบ
1. รวบรวม จาแนกและจัดกลุ่มของสภาพปัญหาของผู้เรียน แนวคิดทฤษฎีและวิธีการแก้ไขปัญหาเพื่อสะดวกต่อการ
นาไปใช้
2. มีการประมวลผลหรือสรุปข้อมูลสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ต่อการแก้ไขปัญหาในชั้นเรียนโดยใช้ข้อมูลรอบด้าน
1. จัดทาแผนการวิจัย และดาเนินกระบวนการวิจัย อย่างเป็นระบบตามแผนดาเนินการวิจัยที่กาหนดไว้
2. ตรวจสอบความถูกต้องและความน่าเชื่อถือของผลการวิจัยอย่างเป็นระบบ
3. มีการนาผลการวิจัยไปประยุกต์ใช้ในกรณีศึกษาอื่น ๆ ที่มีบริบทของปัญหาที่คล้ายคลึงกัน
4.2 การสังเคราะห์
4.3 การวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน
1. พิจารณาทบทวน ประเมินตนเองเกี่ยวกับพฤติกรรมที่แสดงออกต่อผู้เรียนและผู้อื่น และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง
และส่วนรวม
2. เห็นคุณค่า ให้ความสาคัญในความคิดเห็นหรือผลงาน และให้เกียรติแก่ผู้อื่น
3. กระตุ้นจูงใจ ปรับเปลี่ยนความคิดและการกระทาของผู้อื่นให้มีความผูกพันและมุ่งมั่นต่อ
เป้าหมายในการทางานร่วมกัน
สมรรถนะที่ 5 ภาวะผู้น้าครู (Teacher Leadership)
หมายถึง คุณลักษณะและพฤติกรรมของครูที่แสดงถึงความเกี่ยวข้องสัมพันธ์ส่วนบุคคล และการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันทั้งภายในและภายนอกห้องเรียนโดยปราศจากการใช้อิทธิพลของผู้บริหาร
สถานศึกษา ก่อให้เกิดพลังแห่งการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ให้มีคุณภาพ
5.1 วุฒิภาวะความเป็นผู้ใหญ่ที่เหมาะสมกับความเป็นครู (Adult Development)
1. มีปฏิสัมพันธ์ในการสนทนา มีบทบาท และมีส่วนร่วมในการสนทนาอย่างสร้างสรรค์กับผู้อื่นโดยมุ่งเน้นไปที่การ
เรียนรู้ของผู้เรียนและการพัฒนาวิชาชีพ
2. มีทักษะการฟัง การพูด และการตั้งคาถาม เปิดใจกว้าง ยืดหยุ่น ยอมรับทัศนะที่หลากหลายของผู้อื่น เพื่อเป็น
แนวทางใหม่ๆ ในการปฏิบัติงาน
3. สืบเสาะข้อมูล ความรู้ทางวิชาชีพใหม่ๆ ที่สร้างความท้าทายในการสนทนาอย่างสร้างสรรค์กับผู้อื่น
5.2 การสนทนาอย่างสร้างสรรค์ (Dialogue)
1. ให้ความสนใจต่อสถานการณ์ต่างๆ ที่เป็นปัจจุบัน โดยมีการวางแผนอย่างมีวิสัยทัศน์ซึ่งเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์
เป้าหมาย และพันธกิจของโรงเรียนร่วมกับผู้อื่น
2. ริเริ่มการปฏิบัติที่นาไปสู่การเปลี่ยนแปลงและการพัฒนานวัตกรรม
3. กระตุ้นผู้อื่นให้มีการเรียนรู้และความร่วมมือในวงกว้างเพื่อพัฒนาผู้เรียน สถานศึกษา และวิชาชีพ
4. ปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นภายใต้ระบบ/ขั้นตอนที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมได้
1. พิจารณาไตร่ตรองความสอดคล้องระหว่างการเรียนรู้ของนักเรียนและการจัดการเรียนรู้
2. สนับสนุนความคิดริเริ่มซึ่งเกิดจากการพิจารณาไตร่ตรองของเพื่อนร่วมงาน และมีส่วนร่วมในการพัฒนา
นวัตกรรมต่างๆ
3. ใช้เทคนิควิธีการหลากหลายในการตรวจสอบ ประเมินการปฏิบัติงานของตนเอง และผลการดาเนินงานสถานศึกษา
5.3 การเป็นบุคคลแห่งการเปลี่ยนแปลง (Change Agency)
5.4 การปฏิบัติงานอย่างไตร่ตรอง (Reflective Practice)
1. กาหนดเป้าหมายและมาตรฐานการเรียนรู้ที่ท้าทายความสามารถของตนเองตามสภาพจริงและปฏิบัติให้
บรรลุผลสาเร็จได้
2. ให้ข้อมูลและข้อคิดเห็นรอบด้านของผู้เรียนต่อผู้ปกครองและผู้เรียนอย่างเป็นระบบ
3. ยอมรับข้อมูลป้อนกลับเกี่ยวกับความคาดหวังด้านการเรียนรู้ของผู้เรียนจากผู้ปกครอง
4. ปรับเปลี่ยนบทบาทและการปฏิบัติงานของตนเองให้เอื้อต่อการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ผู้เรียน
5. ตรวจสอบข้อมูลการประเมินผู้เรียนอย่างรอบด้าน รวมไปถึงผลการวิจัย หรือองค์ความรู้ต่างๆ
และนาไปใช้ในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ผู้เรียนอย่างเป็นระบบ
5.5 การมุ่งพัฒนาผลสัมฤทธิ์ผู้เรียน (Concern for improving pupil achievement)
1. กาหนดแนวทางในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี และความร่วมมือกับชุมชน
2. ประสานให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ของสถานศึกษา
3. ให้ความร่วมมือในกิจกรรมต่างๆ ของชุมชน
4. จัดกิจกรรมที่เสริมสร้าง ความสัมพันธ์และความร่วมมือกับผู้ปกครอง ชุมชน และองค์กรอื่นๆ ทั้งภาครัฐและ
เอกชนเพื่อการจัดการเรียนรู้
6.1 การสร้างความสัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชนเพื่อการจัดการเรียนรู้
สมรรถนะที่ 6 การสร้างความสัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชนเพื่อการจัดการเรียนรู้
(Relationship & Collaborative – Building for Learning Management)
หมายถึง การประสานความร่วมมือ สร้างความสัมพันธ์ที่ดี และเครือข่ายกับผู้ปกครอง ชุมชน และ
องค์กรอื่นๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อสนับสนุนส่งเสริมการจัดการเรียนรู้
1. สร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างครู ผู้ปกครอง ชุมชน และองค์กรอื่นๆ ทั้งภาครัฐและ
เอกชน เพื่อสนับสนุนส่งเสริมการจัดการเรียนรู้
6.2 การสร้างเครือข่ายความร่วมมือเพื่อการจัดการเรียนรู้

More Related Content

What's hot

19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...
19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...
19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
5การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน(week5)
5การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน(week5)5การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน(week5)
5การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน(week5)DrWilaiporn Rittikoop
 
เอกสารประกอบ เรื่อง การประเมินแฟ้มสะสมงาน
เอกสารประกอบ เรื่อง การประเมินแฟ้มสะสมงานเอกสารประกอบ เรื่อง การประเมินแฟ้มสะสมงาน
เอกสารประกอบ เรื่อง การประเมินแฟ้มสะสมงานDrWilaiporn Rittikoop
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยBlade HurthurtHurt
 
โครงการจัดทำบัญชีครัวเรือน
โครงการจัดทำบัญชีครัวเรือนโครงการจัดทำบัญชีครัวเรือน
โครงการจัดทำบัญชีครัวเรือนChonlada078
 
แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้น
แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้นแผนการสอนหลักสูตรระยะสั้น
แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้นComcmpoly
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์mos44854
 
การบริหารหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนกุยบุรีวิทยา
การบริหารหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนกุยบุรีวิทยาการบริหารหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนกุยบุรีวิทยา
การบริหารหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนกุยบุรีวิทยานภดล รุ่งจรูญ
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการTwatchai Tangutairuang
 

What's hot (20)

แผนพัฒนาบุคลากร ปี 54
แผนพัฒนาบุคลากร ปี 54แผนพัฒนาบุคลากร ปี 54
แผนพัฒนาบุคลากร ปี 54
 
17
1717
17
 
19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...
19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...
19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...
 
5การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน(week5)
5การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน(week5)5การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน(week5)
5การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน(week5)
 
นำเสนอวิจัยวิทยฐานะ
นำเสนอวิจัยวิทยฐานะนำเสนอวิจัยวิทยฐานะ
นำเสนอวิจัยวิทยฐานะ
 
เอกสารประกอบ เรื่อง การประเมินแฟ้มสะสมงาน
เอกสารประกอบ เรื่อง การประเมินแฟ้มสะสมงานเอกสารประกอบ เรื่อง การประเมินแฟ้มสะสมงาน
เอกสารประกอบ เรื่อง การประเมินแฟ้มสะสมงาน
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วย
 
โครงการจัดทำบัญชีครัวเรือน
โครงการจัดทำบัญชีครัวเรือนโครงการจัดทำบัญชีครัวเรือน
โครงการจัดทำบัญชีครัวเรือน
 
Cjpowerpoint2
Cjpowerpoint2Cjpowerpoint2
Cjpowerpoint2
 
นำเสนอ
นำเสนอนำเสนอ
นำเสนอ
 
กลวิธีการสอน
กลวิธีการสอนกลวิธีการสอน
กลวิธีการสอน
 
แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้น
แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้นแผนการสอนหลักสูตรระยะสั้น
แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้น
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่  8แผนบริหารการสอนประจำบทที่  8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
 
การบริหารหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนกุยบุรีวิทยา
การบริหารหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนกุยบุรีวิทยาการบริหารหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนกุยบุรีวิทยา
การบริหารหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนกุยบุรีวิทยา
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการ
 
Hr 3565401
Hr 3565401Hr 3565401
Hr 3565401
 
Coaching and mentoring
Coaching and mentoringCoaching and mentoring
Coaching and mentoring
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 

Viewers also liked

La familia contemporanea cuarta semana
La familia contemporanea cuarta semanaLa familia contemporanea cuarta semana
La familia contemporanea cuarta semanaalizmelek
 
Lesson 10 uses of metals and extraction
Lesson 10 uses of metals and extractionLesson 10 uses of metals and extraction
Lesson 10 uses of metals and extractionAl Baha University
 
We Detect Threats
We Detect ThreatsWe Detect Threats
We Detect ThreatsD-Dundonald
 
การสมัคร Slide share
การสมัคร Slide shareการสมัคร Slide share
การสมัคร Slide shareKhemjira_P
 
Ficha av sumtiva mat_2ano_1p
Ficha av sumtiva mat_2ano_1pFicha av sumtiva mat_2ano_1p
Ficha av sumtiva mat_2ano_1pRute Fernandes
 
Eines 2.0 per a tasques de tècnics sessió 4
Eines 2.0 per a tasques de tècnics sessió 4Eines 2.0 per a tasques de tècnics sessió 4
Eines 2.0 per a tasques de tècnics sessió 4Neus Burch Suñer
 
Electrolytic recovery of antimony from natural stibnite ore
Electrolytic recovery of antimony from natural stibnite ore Electrolytic recovery of antimony from natural stibnite ore
Electrolytic recovery of antimony from natural stibnite ore Al Baha University
 
Harassment in males by Dr Usman Amin Hotiana
Harassment in males by Dr Usman Amin HotianaHarassment in males by Dr Usman Amin Hotiana
Harassment in males by Dr Usman Amin HotianaUsman Amin
 
Aprendizaje autónomo Jorge R. García R.
Aprendizaje autónomo Jorge R. García R.Aprendizaje autónomo Jorge R. García R.
Aprendizaje autónomo Jorge R. García R.russochih
 
لماذا علينا درسة العهد القديم ملكوت - عهود -و قانون العهد القديم
لماذا علينا درسة العهد القديم   ملكوت - عهود -و قانون العهد القديملماذا علينا درسة العهد القديم   ملكوت - عهود -و قانون العهد القديم
لماذا علينا درسة العهد القديم ملكوت - عهود -و قانون العهد القديمIbrahimia Church Ftriends
 
2009 0328 platt frederick_wasteexpo
2009 0328 platt frederick_wasteexpo2009 0328 platt frederick_wasteexpo
2009 0328 platt frederick_wasteexpospickell
 
Slide อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
Slide อุปกรณ์คอมพิวเตอร์Slide อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
Slide อุปกรณ์คอมพิวเตอร์Khemjira_P
 
ELECTRODEPOSITION OF TITANIUM AND ITS DIOXIDE FROM ILMENITE
ELECTRODEPOSITION OF TITANIUM AND ITS DIOXIDE FROM ILMENITE ELECTRODEPOSITION OF TITANIUM AND ITS DIOXIDE FROM ILMENITE
ELECTRODEPOSITION OF TITANIUM AND ITS DIOXIDE FROM ILMENITE Al Baha University
 
Analysis of credit risks and loan recovery strategies in nig
Analysis of credit risks and loan recovery strategies in nigAnalysis of credit risks and loan recovery strategies in nig
Analysis of credit risks and loan recovery strategies in niganglo99
 
Web 2. son
Web 2. sonWeb 2. son
Web 2. sonhikolan
 

Viewers also liked (20)

La familia contemporanea cuarta semana
La familia contemporanea cuarta semanaLa familia contemporanea cuarta semana
La familia contemporanea cuarta semana
 
Lesson 10 uses of metals and extraction
Lesson 10 uses of metals and extractionLesson 10 uses of metals and extraction
Lesson 10 uses of metals and extraction
 
We Detect Threats
We Detect ThreatsWe Detect Threats
We Detect Threats
 
การสมัคร Slide share
การสมัคร Slide shareการสมัคร Slide share
การสมัคร Slide share
 
V17preprint4
V17preprint4V17preprint4
V17preprint4
 
Ficha av sumtiva mat_2ano_1p
Ficha av sumtiva mat_2ano_1pFicha av sumtiva mat_2ano_1p
Ficha av sumtiva mat_2ano_1p
 
Eines 2.0 per a tasques de tècnics sessió 4
Eines 2.0 per a tasques de tècnics sessió 4Eines 2.0 per a tasques de tècnics sessió 4
Eines 2.0 per a tasques de tècnics sessió 4
 
Electrolytic recovery of antimony from natural stibnite ore
Electrolytic recovery of antimony from natural stibnite ore Electrolytic recovery of antimony from natural stibnite ore
Electrolytic recovery of antimony from natural stibnite ore
 
Harassment in males by Dr Usman Amin Hotiana
Harassment in males by Dr Usman Amin HotianaHarassment in males by Dr Usman Amin Hotiana
Harassment in males by Dr Usman Amin Hotiana
 
Aprendizaje autónomo Jorge R. García R.
Aprendizaje autónomo Jorge R. García R.Aprendizaje autónomo Jorge R. García R.
Aprendizaje autónomo Jorge R. García R.
 
1995 Complete
1995 Complete1995 Complete
1995 Complete
 
لماذا علينا درسة العهد القديم ملكوت - عهود -و قانون العهد القديم
لماذا علينا درسة العهد القديم   ملكوت - عهود -و قانون العهد القديملماذا علينا درسة العهد القديم   ملكوت - عهود -و قانون العهد القديم
لماذا علينا درسة العهد القديم ملكوت - عهود -و قانون العهد القديم
 
2009 0328 platt frederick_wasteexpo
2009 0328 platt frederick_wasteexpo2009 0328 platt frederick_wasteexpo
2009 0328 platt frederick_wasteexpo
 
Slide อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
Slide อุปกรณ์คอมพิวเตอร์Slide อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
Slide อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 
Ciri-ciri Ikan Hiasan
Ciri-ciri Ikan HiasanCiri-ciri Ikan Hiasan
Ciri-ciri Ikan Hiasan
 
Classic photo album
Classic photo albumClassic photo album
Classic photo album
 
ELECTRODEPOSITION OF TITANIUM AND ITS DIOXIDE FROM ILMENITE
ELECTRODEPOSITION OF TITANIUM AND ITS DIOXIDE FROM ILMENITE ELECTRODEPOSITION OF TITANIUM AND ITS DIOXIDE FROM ILMENITE
ELECTRODEPOSITION OF TITANIUM AND ITS DIOXIDE FROM ILMENITE
 
Analysis of credit risks and loan recovery strategies in nig
Analysis of credit risks and loan recovery strategies in nigAnalysis of credit risks and loan recovery strategies in nig
Analysis of credit risks and loan recovery strategies in nig
 
Web 2. son
Web 2. sonWeb 2. son
Web 2. son
 
اسس علم الاجتماع
اسس علم الاجتماعاسس علم الاجتماع
اسس علم الاجتماع
 

Similar to Khemjira portfolio 2558

Khemjira Plongsawai- My Portfolio forblog
Khemjira Plongsawai- My Portfolio forblogKhemjira Plongsawai- My Portfolio forblog
Khemjira Plongsawai- My Portfolio forblogKhemjira_P
 
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพแผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพpronprom11
 
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464SophinyaDara
 
แฟ้มสะสมงานนักเรียน
แฟ้มสะสมงานนักเรียนแฟ้มสะสมงานนักเรียน
แฟ้มสะสมงานนักเรียนmildkim21
 
การสอน
การสอนการสอน
การสอนguest283582b
 
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coachingการนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ CoachingProud N. Boonrak
 
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการArpaporn Mapun
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานkruthai40
 
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผล
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผลมโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผล
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผลNU
 
Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)
Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)
Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)Denpong Soodphakdee
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2Jiramet Ponyiam
 
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรmaturos1984
 
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐานวิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐานthkitiya
 
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริงเอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริงtalktomongkol
 
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษKobwit Piriyawat
 
คำบรรยายและรูปสรุปวิจัยบทเรียน
คำบรรยายและรูปสรุปวิจัยบทเรียน คำบรรยายและรูปสรุปวิจัยบทเรียน
คำบรรยายและรูปสรุปวิจัยบทเรียน krurutsamee
 
Smart teacher khemjira5410305-h
Smart teacher khemjira5410305-hSmart teacher khemjira5410305-h
Smart teacher khemjira5410305-hKhemjira_P
 

Similar to Khemjira portfolio 2558 (20)

Khemjira Plongsawai- My Portfolio forblog
Khemjira Plongsawai- My Portfolio forblogKhemjira Plongsawai- My Portfolio forblog
Khemjira Plongsawai- My Portfolio forblog
 
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพแผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
 
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
 
รายงานวิชา การวัดการระเมินผล
รายงานวิชา การวัดการระเมินผลรายงานวิชา การวัดการระเมินผล
รายงานวิชา การวัดการระเมินผล
 
แฟ้มสะสมงานนักเรียน
แฟ้มสะสมงานนักเรียนแฟ้มสะสมงานนักเรียน
แฟ้มสะสมงานนักเรียน
 
การสอน
การสอนการสอน
การสอน
 
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coachingการนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
 
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
 
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผล
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผลมโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผล
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผล
 
Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)
Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)
Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
 
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
 
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐานวิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
 
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริงเอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
 
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
 
Learning by project
Learning by projectLearning by project
Learning by project
 
คำบรรยายและรูปสรุปวิจัยบทเรียน
คำบรรยายและรูปสรุปวิจัยบทเรียน คำบรรยายและรูปสรุปวิจัยบทเรียน
คำบรรยายและรูปสรุปวิจัยบทเรียน
 
Smart teacher khemjira5410305-h
Smart teacher khemjira5410305-hSmart teacher khemjira5410305-h
Smart teacher khemjira5410305-h
 

Khemjira portfolio 2558

  • 2. คำนำ แฟ้มสะสมผลงานเล่มนี้ ข้าพเจ้ามิสเขมจิรา ปลงไสว ครูประจาชั้น/ครูผู้สอน กลุ่มสาระการ เรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนอัสสัมชัญระยอง ได้จัดทาขึ้น เพื่อนาเสนอประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทางาน ผลงานตามสมรรถนะครู ซึ่งประกอบด้วยสมรรถนะหลัก 5 สมรรถนะ สมรรถนะประจาสายงาน 6 สมรรถนะรวมทั้งรูปภาพประกอบในขณะการปฏิบัติหน้าที่ ผลงานทางวิชาการ และผลงานแห่งความภาคภูมิใจ ตลอดปีการศึกษา 2557 โดยผู้จัดทาหวังเป็นอย่าง ยิ่งว่าจะเป็นการรวบรวมผลงานและสมรรถนะของครูผู้สอนในด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะประจา สายงาน ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในการประเมินตนเอง และประเมินในโอกาสต่าง ๆ อย่างไรก็ตาม แฟ้มสะสมงานนี้ หากมีข้อผิดพลาดประการใด ผู้จัดทาต้องขออภัยไว้ ณ ที่นี้ มิสเขมจิรา ปลงไสว ผู้จัดทา
  • 3. ประวัติส่วนตัว ชื่อ : นางเขมจิรา นามสกุล : ปลงไสว สัญชาติ : ไทย เชื้อชาติ : ไทย ศาสนา : พุทธ เกิดวันที่ 11 เดือน มีนาคม พ.ศ. 2xxx น้้าหนัก 55 กิโลกรัม ส่วนสูง 160 เมตร หมู่โลหิต เอ เลขประจ้าตัวประชาชน 37209000xxxxx วันที่บัตรหมดอายุ 10-03-2559 เลขที่ใบประกอบวิชาชีพครู 573011338xxxxx วันที่บัตรหมดอายุ 8-12-2562 เลขที่ใบประกอบวิชาชีพศึกษานิเทศก์ 541430400xxxxx วันที่บัตรหมดอายุ 04-08-2559 ภูมิล้าเนาเดิม : 9 หมู่ 5 ตาบลอู่ทอง อาเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี ที่อยู่ปัจจุบัน : บ้านเลขที่ 76/2 หมู่ที่ 1 ซอยเทศบาล 54 ถนนสุขุมวิท ตาบลบ้านฉาง อาเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง รหัสไปรษณีย์ 21130 โทรศัพท์มือถือ : 084-561xxxxx E - mail address : khemjira_acr@hotmail.com ชื่อ – สกุล บิดา : นายจิ้นลิบ แซ่ว่อง ชื่อ – สกุล มารดา : นางจวง แซ่ว่อง สถานภาพของครู : สมรส ชื่อ – สกุล คู่สมรส : นายภัทรพล ปลงไสว ตาแหน่ง ผู้อานวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีอักษรพัทยา จ้านวนบุตร – ธิดา : 2 คน กาลังศึกษาอยู่ 2 คน ที่โรงเรียนอัสสัมชัญระยอง วันเดือนปีที่เริ่มท้างานในโรงเรียนอัสสัมชัญระยอง : 25 ตุลาคม 2554 บรรจุเป็นครูโรงเรียนอัสสัมชัญระยอง : เมื่อวันที่ 1 เดือน เมษายน พ.ศ. 2555 คติในการท้างาน : ความรับผิดชอบจะทาให้เราประสบความสาเร็จในทุกๆอย่าง มิสเขมจิรา ปลงไสว เจ้าของประวัติ
  • 4. ประวัติกำรศึกษำ ล้าดับที่ ระดับการศึกษา ชื่อสถานศึกษา ปีที่จบ การศึกษา วุฒิ/วิชาเอก 1 มัธยมศึกษา โรงเรียนอู่ทอง อ.อู่ทอง จ.สุพรรณบุรี 2537 ม.6 สายวิชาชีพ 2 ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูง วิทยาลัยเกษตรกรรมชลบุรี อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี 2539 ปวส. สาขาคอมพิวเตอร์ ธุรกิจ 3 ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยบูรพา อ.เมือง จ.ชลบุรี 2542 การศึกษาบัณฑิต (กศ.บ.) สาขาวิชาเทคโนโลยี การศึกษา (ฝึกอบรม – คอมพิวเตอร์) 4 ปริญญาโท สถาบันเทคโนโลยีพระจอม เกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง เขตลาดกระบัง กรุงเทพ 2546 ครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาบัณฑิต (คอม.)สาขาวิชา เทคโนโลยีการศึกษาทางการ อาชีวะและเทคนิคศึกษา
  • 5. ประวัติกำรทำงำน ล้าดับที่ ต้าแหน่ง/หน้าที่ ชื่อหน่วยงาน ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ระยะเวลา (ปี) 1 อาจารย์สอน คอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี สอนวิชาคอมพิวเตอร์ ระดับชั้น ปวช.,ปวส. พ.ศ.2539- 2541 2 อาจารย์สอน คอมพิวเตอร์ โรงเรียนอักษรเทคโนโลยี พัทยา อ.บางละมุง จ.ชลบุรี สอนวิชาคอมพิวเตอร์ ระดับชั้น ปวช.,ปวส. พ.ศ.2541-2554 3 ครูสอนคอมพิวเตอร์ โรงเรียนอัสสัมชัญระยอง อ.เมือง จ.ระยอง สอนวิชาคอมพิวเตอร์ ม.5-ม.6 พ.ศ.2554- ปัจจุบัน
  • 6. ผลงำนตำมสมรรถนะ ในกำรปฏิบัติงำนของครูผู้สอน 1. สมรรถนะหลัก (Core Competency) ประกอบด้วย 5 สมรรถนะ คือ 1. การมุ่งผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงาน 2. การบริการที่ดี 3. การพัฒนาตนเอง 4. การทางานเป็นทีม 5. จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพครู 2. สมรรถนะประจ้าสายงาน (Functional Competency) ประกอบด้วย 6 สมรรถนะ คือ 1. การบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ 2. การพัฒนาผู้เรียน 3. การบริหารจัดการชั้นเรียน 4. การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน 5. ภาวะผู้นาครู 6. การสร้างความสัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชนเพื่อการจัดการเรียนรู้
  • 8. 1. วิเคราะห์ภารกิจงานเพื่อวางแผนการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ 2. กาหนดเป้าหมายในการปฏิบัติงานทุกภาคเรียน 3. กาหนดแผนการปฏิบัติงานและการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นขั้นตอน สมรรถนะที่ 1 การมุ่งผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงาน (Working Achievement Motivation) หมายถึง ความมุ่งมั่นในการปฏิบัติงานในหน้าที่ให้มีคุณภาพ ถูกต้อง ครบถ้วนสมบูรณ์ มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ โดยมีการวางแผน กาหนดเป้าหมาย ติดตามประเมินผลการปฏิบัติงาน และปรับปรุงพัฒนา ประสิทธิภาพและผลงานอย่างต่อเนื่อง 1.1 ความสามารถในการวางแผน การก้าหนดเป้าหมาย การวิเคราะห์ สังเคราะห์ภารกิจงาน
  • 9. 1. ใฝ่เรียนรู้เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ 2. ริเริ่มสร้างสรรค์การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ 3. แสวงหาความรู้ที่เกี่ยวกับวิชาชีพใหม่ ๆ เพื่อการพัฒนาตนเอง 1. ประเมินผลการปฏิบัติงานของตนเอง การรายงานการปฏิบัติงานประจาเดือน การนาผลจากการบันทึกหลัง การสอนมาปรับ ประยุกต์ใช้ เพื่อให้การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น 1.3 ความสามารถในการติดตามประเมินผลการปฏิบัติงาน 1.2 ความมุ่งมั่นในการปฏิบัติหน้าที่ให้มีคุณภาพถูกต้อง ครบถ้วนสมบูรณ์
  • 10. 1. ใช้ผลการประเมินการปฏิบัติงานมาปรับปรุง/พัฒนาการทางานให้ดียิ่งขึ้น 2. พัฒนาการปฏิบัติงานเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้เรียน ผู้ปกครอง และชุมชน 1. ทากิจกรรมต่าง ๆ เพื่อประโยชน์ส่วนรวมเมื่อมีโอกาส 1.4 ความสามารถในการพัฒนาการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่องเพื่อให้งาน ประสบความส้าเร็จ สมรรถนะที่ 2 การบริการที่ดี (Service Mind) หมายถึง ความตั้งใจและความเต็มใจในการให้บริการ และการปรับปรุงระบบบริการให้มีประสิทธิภาพ อย่างต่อเนื่อง เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการ 2.1 ความตั้งใจและเต็มใจในการให้บริการท้ากิจกรรมต่างๆ เพื่อประโยชน์ส่วนรวมเมื่อมีโอกาส
  • 11.
  • 12. 2. เต็มใจ ภาคภูมิใจ และมีความสุขในการให้บริการแก่ผู้รับบริการ 1. ศึกษาความต้องการของผู้รับบริการ และนาข้อมูลไปใช้ในการปรับปรุง 2. ปรับปรุงและพัฒนาระบบการให้บริการให้มีประสิทธิภาพ 2.2 การปรับปรุงระบบบริการให้มีประสิทธิภาพ
  • 13. 1. ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ มุ่งมั่นและแสวงหาโอกาสพัฒนาตนเองด้วยวิธีการที่หลากหลาย เช่น การเข้าร่วมประชุม/ สัมมนา การศึกษาดูงาน การค้นคว้าด้วยตนเอง สมรรถนะที่ 3 การพัฒนาตนเอง (Self- Development) หมายถึง การศึกษาค้นคว้า หาความรู้ ติดตามและแลกเปลี่ยนเรียนรู้องค์ความรู้ใหม่ ๆ ทางวิชาการและ วิชาชีพ มีการสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรม เพื่อพัฒนาตนเอง และพัฒนางาน 3.1 การศึกษาค้นคว้าหาความรู้ ติดตามองค์ความรู้ใหม่ๆ ทางวิชาการและวิชาชีพ
  • 14. 1. รวบรวม สังเคราะห์ข้อมูล ความรู้ จัดเป็นหมวดหมู่ และปรับปรุงให้ทันสมัย 2. สร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ องค์กรและวิชาชีพ 1. แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้อื่นเพื่อพัฒนาตนเอง และพัฒนางาน 2. ให้คาปรึกษา แนะนา นิเทศ และถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ทางวิชาชีพแก่ผู้อื่น 3. มีการขยายผลโดยสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ 3.2 การสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมในการพัฒนาองค์กรและวิชาชีพ 3.3 การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และสร้างเครือข่าย
  • 15. 1. สร้างสัมพันธภาพที่ดีในการทางานร่วมกับผู้อื่น 2. ทางานร่วมกับผู้อื่นตามบทบาทหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 3. ช่วยเหลือ สนับสนุน เพื่อนร่วมงานเพื่อสู่เป้าหมายความสาเร็จร่วมกัน สมรรถนะที่ 4 การท้างานเป็นทีม (Team Work) หมายถึง การให้ความร่วมมือ ช่วยเหลือ สนับสนุนเสริมแรงให้กาลังใจแก่เพื่อนร่วมงาน การปรับตัวเข้า กับผู้อื่นหรือทีมงาน แสดงบทบาทการเป็นผู้นาหรือผู้ตามได้อย่างเหมาะสมในการทางานร่วมกับผู้อื่น เพื่อสร้างและดารงสัมพันธภาพของสมาชิก ตลอดจนเพื่อพัฒนาการจัดการศึกษาให้บรรลุผลสาเร็จตาม เป้าหมาย 4.1 การให้ความร่วมมือ ช่วยเหลือและสนับสนุนเพื่อนร่วมงาน
  • 16. 1. ให้เกียรติ ยกย่องชมเชย ให้กาลังใจแก่เพื่อนร่วมงานในโอกาสที่เหมาะสม 1. มีทักษะในการทางานร่วมกับบุคคล/กลุ่มบุคคลได้อย่างมีประสิทธิภาพทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา และใน สถานการณ์ต่างๆ 4.2 การเสริมแรงให้ก้าลังใจเพื่อนร่วมงาน 4.3 การปรับตัวเข้ากับกลุ่มคนหรือสถานการณ์ที่หลากหลาย
  • 17. 1. แสดงบทบาทผู้นาหรือผู้ตามในการทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างเหมาะสมตามโอกาส 1. แลกเปลี่ยน/รับฟังความคิดเห็นและประสบการณ์ภายในทีมงาน 2. แลกเปลี่ยนเรียนรู้/รับฟังความคิดเห็นและประสบการณ์ระหว่างเครือข่ายและทีมงาน 3. ร่วมกับเพื่อนร่วมงานในการสร้างวัฒนธรรมการทางานเป็นทีมให้เกิดขึ้นในสถานศึกษา 4.4 การแสดงบทบาทผู้น้าหรือผู้ตาม 4.5 การเข้าไปมีส่วนร่วมกับผู้อื่นในการพัฒนาการจัดการศึกษาให้บรรลุผลส้าเร็จตามเป้าหมาย
  • 18. 1. สนับสนุน และเข้าร่วมกิจกรรมการพัฒนาจรรยาบรรณวิชาชีพ 2. เสียสละ อุทิศตนเพื่อประโยชน์ต่อวิชาชีพ และเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรวิชาชีพ 3. ยกย่อง ชื่นชมบุคคลที่ประสบความสาเร็จในวิชาชีพ 4. ยึดมั่นในอุดมการณ์ของวิชาชีพ ปกป้องเกียรติและศักดิ์ศรีของวิชาชีพ สมรรถนะที่ 5 จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพครู (Teacher’s Ethics and Integrity) หมายถึง การประพฤติปฏิบัติตนถูกต้องตามหลักคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพครู เป็น แบบอย่างที่ดีแก่ผู้เรียน และสังคม เพื่อสร้างความศรัทธาในวิชาชีพครู 5.1 ความรักและศรัทธาในวิชาชีพ
  • 19. 1. ซื่อสัตย์ต่อตนเอง ตรงต่อเวลา วางแผนการใช้จ่าย และใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด 2. ปฏิบัติตนตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวัฒนธรรมที่ดีขององค์กร 3. ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ และมุ่งมั่นพัฒนาการประกอบวิชาชีพให้ก้าวหน้า 4. ยอมรับผลอันเกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ของตนเอง และหาแนวทางแก้ไขปัญหา อุปสรรค 5.2 มีวินัย และความรับผิดชอบในวิชาชีพ
  • 20. 1. ปฏิบัติตน/ดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้เหมาะสมกับสถานะของตน 2. รักษาสิทธิประโยชน์ของตนเอง และไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น 3. เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ช่วยเหลือ และไม่เบียดเบียนผู้อื่น 5.3 การด้ารงชีวิตอย่างเหมาะสม
  • 21. 1. ปฏิบัติตนได้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่ และสถานการณ์ 2. มีความเป็นกัลยาณมิตรต่อผู้เรียน เพื่อนร่วมงาน และผู้รับบริการ 3. ปฏิบัติตนตามหลักการครองตน ครองคน ครองงานเพื่อให้การปฏิบัติงานบรรลุผลสาเร็จ 4. เป็นแบบอย่างที่ดีในการส่งเสริมผู้อื่นให้ปฏิบัติตนตามหลักจริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพครู และพัฒนาจน เป็นที่ยอมรับ 5.4 การประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี
  • 23. 1. สร้าง/พัฒนาหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางและท้องถิ่น 2. ประเมินการใช้หลักสูตรและนาผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนาหลักสูตร สมรรถนะที่ 1 การบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ (Curriculum and Learning Management) หมายถึง ความสามารถในการสร้างและพัฒนาหลักสูตร การออกแบบการเรียนรู้อย่างสอดคล้องและ เป็นระบบ จัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ใช้และพัฒนาสื่อนวัตกรรมเทคโนโลยี และการวัด ประเมินผล การเรียนรู้ เพื่อพัฒนาผู้เรียนอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลสูงสุด 1.1 การสร้างและพัฒนาหลักสูตร
  • 24. 1. กาหนดผลการเรียนรู้ของผู้เรียนที่เน้นการวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประยุกต์ ริเริ่มเหมาะสมกับสาระการเรียนรู้ ความ แตกต่างและธรรมชาติของผู้เรียนเป็นรายบุคคล 2. ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้อย่างหลากหลายเหมาะสมสอดคล้องกับวัย และความต้องการของผู้เรียน และชุมชน 3. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการออกแบบการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมและการประเมินผลการเรียนรู้ 4. จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบโดยบูรณาการอย่างสอดคล้องเชื่อมโยงกัน 5. มีการนาผลการออกแบบการเรียนรู้ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ และปรับใช้ตามสถานการณ์ อย่างเหมาะสมและเกิดผลกับผู้เรียนตามที่คาดหวัง 6. ประเมินผลการออกแบบการเรียนรู้เพื่อนาไปใช้ปรับปรุง/พัฒนา 1.2 ความรู้ ความสามารถในการออกแบบการเรียนรู้
  • 25. 1. จัดทาแผนการสอนที่จัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 2. ใช้รูปแบบ/เทคนิควิธีการสอนอย่างหลากหลายเพื่อให้ผู้เรียนพัฒนาเต็มตามศักยภาพ 3. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ปลูกฝัง/ส่งเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์และสมรรถนะของผู้เรียน 4. ใช้หลักจิตวิทยาในการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีความสุข และพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพ 5. ใช้แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นในชุมชนในการจัดการเรียนรู้ 6. พัฒนาเครือข่ายการเรียนรู้ระหว่างโรงเรียนกับผู้ปกครอง และชุมชน 1.3 การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส้าคัญ
  • 26. 1. ใช้สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้อย่างหลากหลาย เหมาะสมกับเนื้อหาและกิจกรรมการเรียนรู้ 2. สืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ 3. ใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อ/นวัตกรรมที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้ 1.4 การใช้และพัฒนาสื่อนวัตกรรมเทคโนโลยีเพื่อการจัดการเรียนรู้
  • 27. 1. ออกแบบวิธีการวัดและประเมินผลอย่างหลากหลาย เหมาะสมกับเนื้อหา กิจกรรมการเรียนรู้ และผู้เรียน 2. สร้างและนาเครื่องมือวัดและประเมินผลไปใช้อย่างถูกต้องเหมาะสม 3. วัดและประเมินผลผู้เรียนตามสภาพจริง 4. นาผลการประเมินการเรียนรู้มาใช้ในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ 1.5 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
  • 28. 1. สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมแก่ผู้เรียนในการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน 2. จัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมโดยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการวางแผนกิจกรรม 3. จัดทาโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมให้แก่ผู้เรียน สมรรถนะที่ 2 การพัฒนาผู้เรียน (Student Development) หมายถึง ความสามารถในการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม การพัฒนาทักษะชีวิต สุขภาพกาย และ สุขภาพจิต ความเป็นประชาธิปไตย ความภูมิใจในความเป็นไทย การจัดระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียนเพื่อ พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ 2.1 การปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมให้แก่ผู้เรียน
  • 29. 1. จัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียนด้านการดูแลตนเอง มีทักษะในการเรียนรู้ การทางาน การอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมี ความสุข และรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง 2.2 การพัฒนาทักษะชีวิต และสุขภาพกาย และสุขภาพจิตผู้เรียน
  • 30. 1. สอดแทรกความเป็นประชาธิปไตย ความภูมิใจในความเป็นไทย ให้แก่ผู้เรียน 2. จัดทาโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมความเป็นประชาธิปไตย ความภูมิใจในความเป็นไทย 1. ให้ผู้เรียน คณะครูผู้สอน และผู้ปกครองมีส่วนร่วมในดูแลช่วยเหลือนักเรียนรายบุคคล 2. นาข้อมูลนักเรียนไปใช้ช่วยเหลือ/พัฒนาผู้เรียนทั้งด้านการเรียนรู้และปรับพฤติกรรมเป็นรายบุคคล 3. จัดกิจกรรมเพื่อป้องกันแก้ไขปัญหา และส่งเสริมพัฒนาผู้เรียนให้แก่นักเรียนอย่างทั่วถึง 4. ส่งเสริมให้ผู้เรียนปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมกับค่านิยมที่ดีงาม 5. ดูแล ช่วยเหลือ ผู้เรียนทุกคนอย่างทั่วถึง ทันการณ์ 2.3 การปลูกฝังความเป็นประชาธิปไตย ความภูมิใจในความเป็นไทยให้กับผู้เรียน 2.4 การจัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
  • 31. 1. จัดสภาพแวดล้อมภายในห้องเรียน และภายนอกห้องเรียนที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 2. ส่งเสริมการมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครูกับผู้เรียน และผู้เรียนกับผู้เรียน 3. ตรวจสอบสิ่งอานวยความสะดวกในห้องเรียนให้พร้อมใช้และปลอดภัยอยู่เสมอ สมรรถนะที่ 3 การบริหารจัดการชั้นเรียน (Classroom Management) หมายถึง การจัดบรรยากาศการเรียนรู้ การจัดทาข้อมูลสารสนเทศและเอกสารประจาชั้นเรียน/ประจา วิชา การกากับดูแลชั้นเรียนรายชั้น/รายวิชา เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้อย่างมีความสุข และความปลอดภัย ของผู้เรียน 3.1 จัดบรรยากาศที่ส่งเสริมการเรียนรู้ความสุขและความปลอดภัยของผู้เรียน
  • 32. 1. จัดทาข้อมูลสารสนเทศของนักเรียนเป็นรายบุคคลและเอกสารประจาชั้นเรียนอย่างถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบัน 2. นาข้อมูลสารสนเทศไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียนได้เต็มตามศักยภาพ 3.2 จัดท้าข้อมูลสารสนเทศและเอกสารประจ้าชั้นเรียน/ประจ้าวิชา
  • 33. 1. ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการกาหนดกฎ กติกา ข้อตกลงในชั้นเรียน 2. แก้ปัญหา/พัฒนานักเรียนด้านระเบียบวินัยโดยการสร้าง วินัยเชิงบวกในชั้นเรียน 3. ประเมินการกากับดูแลชั้นเรียน และนาผลการประเมินไปใช้ใน การปรับปรุงและพัฒนา 3.3 ก้ากับดูแลชั้นเรียนรายชั้น/รายวิชา
  • 34. 1. สารวจปัญหาเกี่ยวกับนักเรียนที่เกิดขึ้นในชั้นเรียนเพื่อวางแผนการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน 2. วิเคราะห์สาเหตุของปัญหาเกี่ยวกับนักเรียนที่เกิดขึ้นในชั้นเรียนเพื่อกาหนดทางเลือกในการแก้ไขปัญหาระบุสภาพ ปัจจุบัน 3. มีการวิเคราะห์จุดเด่น จุดด้อย อุปสรรคและโอกาสความสาเร็จของการวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในชั้นเรียน 4.1 การวิเคราะห์ สมรรถนะที่ 4 การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน (Analysis & Synthesis & Classroom Research) หมายถึง ความสามารถในการทาความเข้าใจ แยกประเด็นเป็นส่วนย่อย รวบรวม ประมวลหาข้อสรุป อย่างมีระบบและนาไปใช้ในการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน รวมทั้งสามารถวิเคราะห์องค์กรหรืองานใน ภาพรวมและดาเนินการแก้ปัญหา เพื่อพัฒนางานอย่างเป็นระบบ
  • 35. 1. รวบรวม จาแนกและจัดกลุ่มของสภาพปัญหาของผู้เรียน แนวคิดทฤษฎีและวิธีการแก้ไขปัญหาเพื่อสะดวกต่อการ นาไปใช้ 2. มีการประมวลผลหรือสรุปข้อมูลสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ต่อการแก้ไขปัญหาในชั้นเรียนโดยใช้ข้อมูลรอบด้าน 1. จัดทาแผนการวิจัย และดาเนินกระบวนการวิจัย อย่างเป็นระบบตามแผนดาเนินการวิจัยที่กาหนดไว้ 2. ตรวจสอบความถูกต้องและความน่าเชื่อถือของผลการวิจัยอย่างเป็นระบบ 3. มีการนาผลการวิจัยไปประยุกต์ใช้ในกรณีศึกษาอื่น ๆ ที่มีบริบทของปัญหาที่คล้ายคลึงกัน 4.2 การสังเคราะห์ 4.3 การวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน
  • 36. 1. พิจารณาทบทวน ประเมินตนเองเกี่ยวกับพฤติกรรมที่แสดงออกต่อผู้เรียนและผู้อื่น และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง และส่วนรวม 2. เห็นคุณค่า ให้ความสาคัญในความคิดเห็นหรือผลงาน และให้เกียรติแก่ผู้อื่น 3. กระตุ้นจูงใจ ปรับเปลี่ยนความคิดและการกระทาของผู้อื่นให้มีความผูกพันและมุ่งมั่นต่อ เป้าหมายในการทางานร่วมกัน สมรรถนะที่ 5 ภาวะผู้น้าครู (Teacher Leadership) หมายถึง คุณลักษณะและพฤติกรรมของครูที่แสดงถึงความเกี่ยวข้องสัมพันธ์ส่วนบุคคล และการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันทั้งภายในและภายนอกห้องเรียนโดยปราศจากการใช้อิทธิพลของผู้บริหาร สถานศึกษา ก่อให้เกิดพลังแห่งการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ให้มีคุณภาพ 5.1 วุฒิภาวะความเป็นผู้ใหญ่ที่เหมาะสมกับความเป็นครู (Adult Development)
  • 37. 1. มีปฏิสัมพันธ์ในการสนทนา มีบทบาท และมีส่วนร่วมในการสนทนาอย่างสร้างสรรค์กับผู้อื่นโดยมุ่งเน้นไปที่การ เรียนรู้ของผู้เรียนและการพัฒนาวิชาชีพ 2. มีทักษะการฟัง การพูด และการตั้งคาถาม เปิดใจกว้าง ยืดหยุ่น ยอมรับทัศนะที่หลากหลายของผู้อื่น เพื่อเป็น แนวทางใหม่ๆ ในการปฏิบัติงาน 3. สืบเสาะข้อมูล ความรู้ทางวิชาชีพใหม่ๆ ที่สร้างความท้าทายในการสนทนาอย่างสร้างสรรค์กับผู้อื่น 5.2 การสนทนาอย่างสร้างสรรค์ (Dialogue)
  • 38. 1. ให้ความสนใจต่อสถานการณ์ต่างๆ ที่เป็นปัจจุบัน โดยมีการวางแผนอย่างมีวิสัยทัศน์ซึ่งเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ เป้าหมาย และพันธกิจของโรงเรียนร่วมกับผู้อื่น 2. ริเริ่มการปฏิบัติที่นาไปสู่การเปลี่ยนแปลงและการพัฒนานวัตกรรม 3. กระตุ้นผู้อื่นให้มีการเรียนรู้และความร่วมมือในวงกว้างเพื่อพัฒนาผู้เรียน สถานศึกษา และวิชาชีพ 4. ปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นภายใต้ระบบ/ขั้นตอนที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมได้ 1. พิจารณาไตร่ตรองความสอดคล้องระหว่างการเรียนรู้ของนักเรียนและการจัดการเรียนรู้ 2. สนับสนุนความคิดริเริ่มซึ่งเกิดจากการพิจารณาไตร่ตรองของเพื่อนร่วมงาน และมีส่วนร่วมในการพัฒนา นวัตกรรมต่างๆ 3. ใช้เทคนิควิธีการหลากหลายในการตรวจสอบ ประเมินการปฏิบัติงานของตนเอง และผลการดาเนินงานสถานศึกษา 5.3 การเป็นบุคคลแห่งการเปลี่ยนแปลง (Change Agency) 5.4 การปฏิบัติงานอย่างไตร่ตรอง (Reflective Practice)
  • 39. 1. กาหนดเป้าหมายและมาตรฐานการเรียนรู้ที่ท้าทายความสามารถของตนเองตามสภาพจริงและปฏิบัติให้ บรรลุผลสาเร็จได้ 2. ให้ข้อมูลและข้อคิดเห็นรอบด้านของผู้เรียนต่อผู้ปกครองและผู้เรียนอย่างเป็นระบบ 3. ยอมรับข้อมูลป้อนกลับเกี่ยวกับความคาดหวังด้านการเรียนรู้ของผู้เรียนจากผู้ปกครอง 4. ปรับเปลี่ยนบทบาทและการปฏิบัติงานของตนเองให้เอื้อต่อการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ผู้เรียน 5. ตรวจสอบข้อมูลการประเมินผู้เรียนอย่างรอบด้าน รวมไปถึงผลการวิจัย หรือองค์ความรู้ต่างๆ และนาไปใช้ในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ผู้เรียนอย่างเป็นระบบ 5.5 การมุ่งพัฒนาผลสัมฤทธิ์ผู้เรียน (Concern for improving pupil achievement)
  • 40. 1. กาหนดแนวทางในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี และความร่วมมือกับชุมชน 2. ประสานให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ของสถานศึกษา 3. ให้ความร่วมมือในกิจกรรมต่างๆ ของชุมชน 4. จัดกิจกรรมที่เสริมสร้าง ความสัมพันธ์และความร่วมมือกับผู้ปกครอง ชุมชน และองค์กรอื่นๆ ทั้งภาครัฐและ เอกชนเพื่อการจัดการเรียนรู้ 6.1 การสร้างความสัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชนเพื่อการจัดการเรียนรู้ สมรรถนะที่ 6 การสร้างความสัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชนเพื่อการจัดการเรียนรู้ (Relationship & Collaborative – Building for Learning Management) หมายถึง การประสานความร่วมมือ สร้างความสัมพันธ์ที่ดี และเครือข่ายกับผู้ปกครอง ชุมชน และ องค์กรอื่นๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อสนับสนุนส่งเสริมการจัดการเรียนรู้
  • 41. 1. สร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างครู ผู้ปกครอง ชุมชน และองค์กรอื่นๆ ทั้งภาครัฐและ เอกชน เพื่อสนับสนุนส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ 6.2 การสร้างเครือข่ายความร่วมมือเพื่อการจัดการเรียนรู้