SlideShare a Scribd company logo
1 of 65
แนวทางการจัด ทำา ผลงานทาง
  วิช าการอย่า งมีค ุณ ภาพและ
การนำา เสนอเอกสารรายงานเพื่อ
        ให้ผ ่า นการประเมิน
 เพือ ขอมีว ิท ยฐานะทั้ง 3 ด้า น
    ่
      (ตามหลัก เกณฑ์ ว.17)


    สรุป รวบรวมโดย ดร.พลสัณ ห์
                           โพธิศ รีท อง
                               ์
         ผูท รงคุณ วุฒ ิใ น กคศ. ศธ.
           ้
1. ต้อ งเขีย นแบบเสนอขอรับ การประเมิน (ก.ค.ศ. 1/1
   เพื่อขอมีหรือเลื่อนวิทยฐานะ ก.ค.ศ. 3 ,4 และ 5 ทุก
   ตำาแหน่ง) ให้ครบถ้วนและสมบูรณ์
   1.1 ข้อมูลผู้ขอรับการประเมิน
   1.2 การรับราชการ
   1.3 การปฏิบัติงานในปีที่ขอรับการประเมิน (ระบุรายการ
   ที่ปฏิบัติจริง)
      1.3.1 สายงานการสอน คือ...........
      1.3.2 สายงานบริหารสถานศึกษา / บริหารการ
   ศึกษา / และนิเทศการศึกษาคือ.....
   1.4 การรายงานด้า นที่ 1 (ด้านวินัย คุณธรรม
   จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ)
   โดยผู้ขอต้องรายงานด้วยการใช้แบบ ก.ค.ศ. 2 จำานวน
   4 ชุด พร้อมทั้งรวบรวมเอกสารหลักฐานอ้างอิงจำานวน 1
   ชุด ไว้ ณ สถานที่ปฏิบัติงานของผู้ขอ (เกณฑ์ 100 %)
     1.5 รวบรวมเอกสารหลัก ฐานด้า นที่ 2 (ด้านความ
1.6 การรายงานด้า นที่ 3 (ด้านผลการปฏิบัติงาน)
 โดยผู้ขอรายงานผลการปฏิบัติงานให้ชัดเจน และจัด
 ทำาเป็นเอกสารจำานวน 4 ชุด พร้อมทั้งแนบเอกสาร
 อ้างอิงในแต่ละหัวข้อมาให้กรรมการพิจารณา
    1.6.1 สายงานการสอน รายงานโดยใช้แบบ
       ก.ค.ศ. 3/1
          1.) ส่วนที่ 1 ผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
 (เกณฑ์ 60 %)
          2.) ส่วนที่ 2 ผลงานทางด้านวิชาการ
 (เกณฑ์ 40 %)
    1.6.2    สายงานบริห ารสถานศึก ษา รายงาน
 โดยใช้แบบ ก.ค.ศ. 3/2
          1) ส่ว นที่ 1 ผลการพัฒนาที่เกิดกับผู้
 เรีย น ครู สถานศึก ษาและ
2. การจัด ทำา แบบรายงานด้า นที่ 1 ด้านวินัย คุณธรรม
   จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ สำาหรับทุกตำาแหน่งและ
   ทุกวิทยฐานะ
   2.1 ข้อ มูล ผู้ข อรับ การประเมิน
   2.2 ผู้ข อต้อ งเขีย นรายงาน โดยอธิบายพฤติกรรมของ
   ตนที่แสดงถึงความเป็นผู้มีวนัย คุณธรรม จริยธรรม และ
                              ิ
   จรรยาบรรณวิชาชีพ และรวบรวมเอกสารหลักฐานอ้างอิงไว้
   ที่สถานที่ปฏิบัติงานของผู้ขอ เพื่อให้กรรมการตรวจสอบ
   ดังมีหัวข้อที่ต้องรายงาน 5 หัวข้อ (เกณฑ์ 100 %)
           2.2.1 การมีวินัย (เกณฑ์ 20 %) โดยผู้ขอเขียน
   อธิบาย 5 พฤติกรรมของตน (5 ด้านบ่งชี้)ให้ชัดเจน
           2.2.2 การประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี
   (เกณฑ์ 20 %) โดยผู้ขอเขียนอธิบาย 5 พฤติกรรมของตน
   (5 ด้านบ่งชี้)ให้ชัดเจน
           2.2.3 การดำารงชีวิตอย่างเหมาะสม (เกณฑ์ 20 %)
   โดยผู้ขอเขียนอธิบาย 5 พฤติกรรมของตน (5 ด้านบ่ง
   ชี้)ให้ชัดเจน
           2.2.4 ความรักและศรัทธาในวิชาชีพ (เกณฑ์ 20
3. การรวบรวมเอกสารหลัก ฐานด้า นที่
2 ด้านความรู้ความสามารถของสายงานการ
สอน (ครู) เพื่อรองรับการประเมินด้านที่ 2 มี
คะแนนเต็ม 100 คะแนน ประกอบด้วย 2
ส่วน
    3.1 การเป็น ผูม ค วามสามารถในการ
                    ้ ี
จัด การเรีย นการสอน คะแนนเต็ม 60
คะแนน มีรายกรประเมิน 4 รายการ มี 4
ตัวบ่งชี้ ดังนี้
    3.1.1 หลัก สูต ร (10 คะแนน) มี 1 ตัว
บ่งชี้ คือ ความสามารถในการจัด ทำา
หลัก สูต รอย่า งเป็น ระบบ ซึ่งหมายถึงความ
3.1.2 แผนการจัด การเรีย นรู้ / แผนการจัด
ประสบการณ์ / แผนการจัด การศึก ษาเฉพาะ
บุค คล (IEP) (30 คะแนน) มี 1 ตัวบ่งชี้ คือ
แผนการจัด การเรีย นรู้ / แผนการจัด
ประสบการณ์ / แผนการจัด การศึก ษาเฉพาะ
บุค คล (IEP) ซึ่งหมายถึงความสามารถในการจัดทำา
แผนการเรียนรู้ทสอดคล้องกับหลักสูตร ผู้เรียนและ
                ี่
บริบทของชุมชนมีองค์ประกอบของแผนครบถ้วน
สอดคล้องกันและถูกต้องตามหลักวิชาการมีการ
ออกแบบการเรียนรู้ทหลากหลายและถูกต้อง มีการวัด
                    ี่
และประเมินผลสอดคล้องกับจุดประสงค์และกระบวนการ
จัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีการทีหลากหลาย มีการบันทึก
                             ่
ผลการจัดการเรียนรู้และนำามาพัฒนาการจัดการเรียนรู้
โดยแสดงหลักฐานคือ แผนการจัดการเรียนรู้ /
3.1.3 สือ / นวัต กรรม (10 คะแนน) มี
             ่
1 ตัวบ่งชี้ คือ ความสามารถในการเลือ ก /
ออกแบบ การผลิต / จัด หา การนำา ไปใช้
การประเมินผลและการพัฒนาสือ / นวัตกรรมที่
                             ่
สอดคล้อ งกับ กระบวนการจัด การเรีย น ซึ่ง
หมายถึง ความสามารถในการเลือก ผลิต ใช้
และพัฒนาสื่อ / นวัตกรรมที่ถูกต้องตามหลักวิชา
การสอกคล้องกับกระบวนการจัดการเรียนรู้ โดย
แสดงหลักฐานคือ ผลการวิเคราะห์เพื่อเลือก /
ออกแบบสื่อ / นวัตกรรม แผนการผลิต / จัดหา
สือ / นวัตกรรม สื่อ / นวัตกรรมที่ผลิตและการ
  ่
ใช้สอ / นวัตกรรม เครื่องมือและผลการประเมิน
     ื่
การใช้สอ / นวัตกรรมและการพัฒนา แผนการ
        ื่
3.1.4 แฟ้ม สะสมงานคัด สรร (10
คะแนน) มี 1 ตัวบ่งชี้ คือ แฟ้ม สะสม
ผลงานคัด สรรที่เ กี่ย วกับ ผู้เ รีย น
สถานศึก ษา ชุม ชนและตนเอง ซึ่ง
หมายถึง แฟ้มสะสมผลงานที่ผู้สอนได้คัด
เลือกผลงานที่เกิดจากการปฏิบัติงานใน
หน้าที่และงานที่ได้รับมอบหมายของผู้สอน
ที่เกี่ยวข้องกับผู้เรียน สถานศึกษา ชุมชน
และตนเอง โดยเป็นผลงานดีเด่น หรือผล
งานที่แสดงพัฒนาการของการปฏิบัติงาน
ในแต่ละกลุ่ม โดยแสดงหลักฐานคือแฟ้ม
3.2 การพัฒ นาตนเองเพื่อ เพิม พูน ความรู้
                                      ่
และทัก ษะในสาขา / กลุ่ม สาระ / รายวิช าทีร ับ     ่
ผิด ชอบหรือ ในงานทีร ับ ผิด ชอบ คะแนนเต็ม 40
                        ่
คะแนน มีรายการประเมิน 3 รายการ มี 3 ตัวบ่งชี้
 ดังนี้
     3.2.1 การศึก ษาค้น คว้า หาความรู้ด ้ว ยวิธ ี
การต่า งๆ (15 คะแนน) มี 1 ตัวบ่งชี้ คือ การ
ศึก ษาค้น คว้า หาความรู้ด ้ว ยวิธ ีก ารต่า งๆ ที่
ทำา ให้เ กิด ความรู้แ ละทัก ษะเพิม ขึ้น ซึ่งหมายถึง
                                 ่
การศึกษาค้นคว้าหาความรู้ด้วยการเข้าประชุมทาง
วิชาการ การอบรม สัมมนา การศึกษาต่อ การศึกษา
เอกสารทางวิชาการ การศึกษาค้นคว้าจากสื่อ / วิธี
การอื่น ๆ และการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นทาง
วิชาการที่ทำาให้เกิดความรู้และทักษะเพิ่มขึ้น โดย
3.2.2 การประมวลความรู้เ กี่ย วกับ
การพัฒ นาวิช าการและวิช าชีพ และ
การนำา ไปใช้ใ นการจัด การเรีย นการ
สอน (20 คะแนน) มี 1 ตัว บ่ง ชี้ คือ
การประมวลความรู้เ กี่ย วกับ การ
พัฒ นาวิช าการและวิช าชีพ และ
การนำา ไปใช้ใ นการจัด การเรีย นการ
สอน ซึ่งหมายถึง การเลือก การสรุป
การจัดระบบความรู้ เกี่ยวกับการพัฒนา
วิชาการและวิชาชีพ และจัดทำาเป็น
เอกสารทางวิชาการเพื่อนำาไปใช้ในการ
3.2.3 การให้บ ริก ารทางวิช าการและ
วิช าชีพ (5 คะแนน) มี 1 ตัวบ่งชี้ คือ
การให้บ ริก ารทางวิช าการและวิช าชีพ
หมายถึง การเป็นวิทยากร การเผยแพร่
เอกสาร สื่อ / นวัตกรรม การให้ความร่วมมือ
ด้านวิชาการและวิชาชีพแก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง โดย
แสดงหลักฐานคือ หนังสือเชิญเป็นวิทยากร
หนังสือขอบคุณหรือเกียรติบตรจากหน่วยงานที่
                           ั
เชิญ บันทึกการให้การเผยแพร่ / การบริการ
เอกสาร / สือ / นวัตกรรม หลักฐานการให้
           ่
ความร่วมมือด้านวิชาการและวิชาชีพ
เอกสาร / หลักฐานที่เกี่ยวข้อง
4. การรวบรวมเอกสารหลัก ฐานด้า นที่ 2 ด้าน
   ความรู้ความสารถ สายงานบริหารสถานศึกษา เพื่อ
   ขอรับการประเมินด้านที่ 2 มีคะแนนเต็ม 100
   คะแนนประกอบด้วย 2 ส่วน
         4.1 การเป็น ผู้ม ค วามสารถในการบริห าร
                            ี
   จัด การสถานศึก ษา คะแนนเต็ม 60 คะแนน มี
   รายการประเมิน 7 รายการ มี 15 ตัวบ่งชี้ ดังนี้
         4.1.1 การวางแผนพัฒ นาการศึก ษา (8
   คะแนน) มี 2 ตัวบ่งชี้ คือ
ตัว บ่ง ชี้ท ี่ 1 ได้แ ก่ การจัด ทำา แผนพัฒ นาการ
   ศึก ษา ซึ่งหมายถึง มีแผนพัฒนาการศึกษาที่
   สอดคล้องกับนโยบายทุกระดับ และครอบคลุมภารกิจ
   หลักของสถานศึกษา มีการประเมินความต้องการ
   จำาเป็นของผู้เกียวข้อง หรือมีกระบวนการจัดทำาถูกต้อง
                     ่
    ผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการจัดทำาแผนทุกขั้นตอน
   แผนปฏิบัติการประจำาปีทสอดคล้องกับแผนกลยุทธ์
                              ี่
ตัว บ่ง ชีท ี่ 2 ได้แ ก่ด ำา เนิน การตามแผน
          ้
  พัฒ นาการศึก ษา ซึ่งหมายถึง การประชุม
  ชีแจง ทำาความเข้าใจกับผูเกี่ยวข้อง มีคำาสั่ง
    ้                            ้
  มอบหมายงานให้ผู้รับผิดชอบมีการดำาเนินงาน
  ตามโครงการ หรือกิจกรรมที่กำาหนดไว้ครบ
  ถ้วน และมีการนิเทศติดตาม มีบนทึก หรือ
                                      ั
  รายงานผลการนิเทศติดตาม มีการนำาผลการ
  ติดตามไปใช้ในการปรับปรุงแผน แผนงาน
  โครงการ และมีรายงานผลการจัดทำาโครงการ
  หรือกิจกรรมครบถ้วน โดยแสดงหลักฐานคือ
  บันทึก / รายงานผลการวิเคราะห์ สังเคราะห์
  ข้อมูล จุดเด่น จุดด้อย โอกาส อุปสรรคของ
  สถานศึกษา แผนกลยุทธ์ แผนปฏิบติการ     ั
4.1.2 การจัด โครงสร้า งการบริห าร
(4 คะแนน) มี 1 ตัว บ่ง ชี้ ได้แ ก่ การ
จัด การโครงสร้า งการบริห ารกิจ การสถาน
ศึก ษา ซึ่งหมายถึง มีการจัดโครงสร้างการ
บริหารที่เป็นระบบสอดคล้องกับหลักการกระจา
ยอำานาจ และเป้าหมายของสถานศึกษา แสดง
ให้เห็นถึงความสอดคล้องและเชื่อมโยงของสาย
งานมีความครอบคลุม ขอบข่ายและภารกิจหลัก
ของสถานศึกษา ผ่านความเห็นชอบของต้น
สังกัด มีการมอบหมายงานแก่บคลากรตาม
                            ุ
ภารกิจ โดยใช้ข้อมูลพื้นฐานของบุคคลกรและ
บริบทของสถานศึกษา มีการจัดสรรทรัพยากร
สนับสนุนการดำาเนินงานตามภารกิจ และจัดให้
มีระบบควบคุมภายในสถานศึกษาโดยแสดงหลัก
4.1.3 การบริห ารวิช าการ (16 คะแนน) มี
   4 ตัวบ่งชี้
   ตัวบ่งชีละ 4 คะแนน คือ
            ้
ตัว บ่ง ชี้ท ี่ 1 ได้แ ก่ก ารพัฒ นาหลัก สูต รสถานศึก ษา
    ซึ่งหมายถึง หลักสูตรมีความสอดคล้องกับความ
   ต้องการของผู้เรียนและท้องถิ่น ผู้บริหาร ครู ผู้
   ปกครอง และชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดทำาหลักสูตร
   หลักสูตรมีองค์ประกอบครบถ้วน ถูกต้อง สมบูรณ์ คือ
   มีวิสัยทัศน์ จุดหมาย คุณลักษณะอันพึงประสงค์
   โครงสร้าง เวลาเรียน คำาอธิบายรายวิชา แนวดำาเนิน
   การจัดการเรียนรู้ การวัดผลประเมินผลการเรียน
   หลักสูตรผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการสถาน
   ศึกษา มีการนำาหลักสูตรสถานศึกษาไปปฏิบัติจริงใน
   การจัดการเรียนรู้ มีระบบการนิเทศติดตามการใช้
   หลักสูตร มีการนำาผลนิเทศติดตามและการประเมินการ
   ใช้หลักสูตรมาปรับปรุงหลักสูตรอย่างต่อเนือง โดย
                                              ่
ตัว บ่ง ชีท ี่ 2 ได้แก่ การจัด กระบวนการ
          ้
  เรีย นรู้ ซึ่งหมายถึงครูมีการเตรียมการจัดการ
  เรียนรู้ (การวิเคราะห์ผู้เรียน การออกแบบ
  กิจกรรมการเรียนรู้ การเตรียมสื่อและแหล่ง
  เรียนรู้ เครื่องมือวัดผลประเมินผล) จัด
  กระบวนการเรียนรู้ตามที่กำาหนดในแผนการ
  จัดการเรียนรู้ มีการวัดและประเมินผลด้วย
  เครื่องมือและวิธการที่หลากหลาย โดยมีร่อง
                    ี
  รอยหลักฐานของการวัด และนำาผลไปปรับปรุง
  โดยแสดงหลักฐาน คือ แบบบันทึกการตรวจ
  สอบข้อมูลแผนการจัดการเรียนรู้ เอกสาร
  ประกอบการจัดการเรียนรู้ สารสนเทศที่
  เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้ บันทึกผลการ
ตัว บ่ง ชี้ท ี่ 3 ได้แก่ การพัฒ นาสื่อ นวัต กรรม
   เทคโนโลยี และแหล่ง การเรีย นรู้ท างการศึก ษา
   ซึงหมายถึง สารสนเทศแผนปฏิบัติการ และมีการ
     ่
   ระดมทุนเพือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี และ
                 ่
   แหล่งเรียนรู้ตรงตามทีหลักสูตรกำาหนด ครูและ
                            ่
   นักเรียนสามารถใช้สอ นวัตกรรม เทคโนโลยี และ
                         ื่
   แหล่งการเรียนรู้บรรลุตามวัตถุประสงค์ มีการติดตาม
   ประเมินผลการใช้สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี มีการ
   รายงานผล และนำาผลไปปรับปรุง โดยแสดงหลักฐาน
   คือ แบบบันทึกการตรวจสอบข้อมูล แผนพัฒนาสื่อ
   นวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการศึกษาโดยพิจารณา
   รายละเอียด ดังนี้ (1) การระดมทุนเพือจัดหาและ
                                        ่
   พัฒนาสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการศึกษา
   (2) การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาเกี่ยวกับ
   การผลิตและการใช้สื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยี
ตัว บ่ง ชีท ี่ 4 ได้แก่ การจัด ทำา ระบบประกัน
          ้
  คุณ ภาพการศึก ษา ซึ่งหมายถึง มีการดำาเนิน
  การตามระบบการประกันคุณภาพภายในที่ระบุ
  ไว้ในคู่มือ มีการประเมินตนเอง และจัดทำา
  รายงานการประเมินตนเอง (SAR) มีการเตรี
  ยมการเพื่อการประเมินภายนอก มีการเผยแพร่
  ผลการประเมินคุณภาพ และนำาผลการประเมิน
  ไปปรับปรุง โดยแสดงหลักฐานคือแบบบันทึก
  การตรวจสอบข้อมูล คูมือการประกันคุณภาพ
                          ่
  ภายในสถานศึกษา แผนปฏิบติการประจำาปี
                                ั
  แผนกลยุทธ์ โครงการการประกันคุณภาพการ
  ศึกษาของ รายงานการประเมินตนเอง (SAR)
  รายงานการประเมินคุณภาพสถานศึกษา
4.1.4 การบริห ารงบประมาณ (4 คะแนน) มี 1.
  ตัวบ่งชี้ คือ การบริห ารงบประมาณ ซึ่งหมายถึง
  มีสารสนเทศและแผนปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้งบประมาณ
   จัดทำามาตรฐานภาระงานงบประมาณ มีการชี้แจงให้
  ครูและบุคลากรทางการศึกษาทราบ การมอบหมาย
  งานให้รับผิดชอบโดยคำานึงถึงความรู้ความสามารถ
  และความต้องการของสถานศึกษา มีการระดม
  ทรัพยากรเพื่อการศึกษา ใช้งบประมาณตรงตามกรอบ
   และวัตถุประสงค์ถูกต้องตามระเบียบ มีระบบควบคุม
  ตรวจสอบภายใน รายงานการใช้งบประมาณเป็นปัจุ
  บัน และมีการประเมินผลและนำาผลไปปรับปรุง โดย
  แสดงหลักฐานคือ บันทึกการตรวจสอบข้อมูล แผน
  ปฏิบัติการ หรือแผนการใช้งบประมาณ คำาสังมอบ
                                          ่
  หมายงาน หลักฐานการจัดซือจัดจ้าง รายงานเงินคง
                            ้
  เหลือ รายงานการตรวจสอบพัสดุประจำาปี รายงาน
4.1.5 การบริห ารงานบุค คล (8 คะแนน) มี 2 ตัวบ่งชี้
    ตัวบ่งชี้ละ 4 คะแนน คือ
ตัว บ่ง ชี้ท ี่ 1 ได้แ ก่ การจัด ระบบบริก ารงานบุค คล
   ซึงหมายถึงมีสารสนเทศและแผนปฏิบัติงานเกี่ยวกับ
     ่
   การบริหารงานบุคคล สอดคล้องกับนโยบาย กฎ
   ระเบียบ ข้อบังคับ หลักเกณฑ์และวิธีการตามที่ ก.ค.ศ.
   และ อ.ก.ค.ศ เขตพื้นทีการศึกษากำาหนดและครอบคลุม
                             ่
   ความต้องการอัตรากำาลังและสาขาวิชาทีต้องการ จัด
                                            ่
   ทำามาตรฐานภาระงานของคน และชี้แจงให้ครูและ
   บุคลากรทางการศึกษาทราบ มีการมอบหมายงาน
   สอดคล้องกับความรู้ความสามารถและความต้องการ
   ของสถานศึกษา มีระบบประเมินผลการปฏิบัติงาน และ
   มีการรายงานผลปฏิบัติงานและนำาผลการประเมินไป
   ปรับปรุง โดยแสดงหลักฐานคือ แบบบันทึกการตรวจ
ตัว บ่ง ชีท ี่ 2 ได้แ ก่ การพัฒ นาข้า ราชการครู
          ้
  และบุค ลากรทางการศึก ษา ซึ่งหมายถึง มี
  สารสนเทศและแผนปฏิบติการเกี่ยวกับการ
                            ั
  พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา และแผน
  พัฒนาเป็นรายบุคคล (ID-Plan) ตรงตามข้อมูล
  ความจำาเป็นของสถานศึกษา จัดสวัสดิการเพื่อ
  เสริมสร้างขวัญกำาลังใจ เสริมสร้างวินยั
  คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
  ส่งเสริมให้เข้าศึกษาฝึกอบรม ดูงาน ปฏิบัติงาน
  วิจัยและพัฒนา ประชุมเผยแพร่ แลกเปลี่ยน
  เรียนรู้ผลงาน เพื่อเพิ่มความรู้และประสบการณ์
  ทำางาน ความก้าวหน้าในวิชาชีพ มีการติดตาม
  ผลการประเมินผลการพัฒนามีการรายงานผล
  การพัฒนา และนำาผลไปปรับปรุง โดยแสดง
4.1.6 การบริห ารทัว ไป (12 คะแนน) มี 3 ตัวบ่งชี้
                           ่
   ตัวบ่งชีละ 4 คะแนน คือ
            ้
ตัว บ่ง ชี้ท ี่ 1 ได้แ ก่ การบริห ารอาคารสถานทีแ ละ
                                                ่
   สภาพแวดล้อ ม ซึ่ง หมายถึง มีแ ผนแม่บ ทในการ
   พัฒ นาอาคารสถานทีแ ละสภาพแวดล้อ ม ซึ่งหมาย
                             ่
   ถึง เพื่อพัฒนาเป็นแหล่งการเรียนรู้ในสถานศึกษา จัด
   ทำามาตรฐานภาระด้านอาคารสถานทีฯ เน้นการบำารุง
                                       ่
   รักษาและการใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย
   มีการชี้แจงให้บุคลากรทราบ มีการมอบหมายโดย
   คำานึงถึงความรู้ความสามารถ และความต้องการของ
   สถานศึกษา ส่งเสริมให้ผู้เรียนผู้ปกครองและชุมชนมี
   ส่วนร่วมในการพัฒนา และใช้อาคารสถานทีและสภาพ
                                            ่
   แวดล้อม จัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่างประหยัดและคุ้ม
   ค่า มีการติดตามประเมินผล รายงานผลการใช้อาคาร
ตัว บ่ง ชีท ี่ 2 ได้แ ก่ การบริห ารกิจ การ
          ้
  นัก เรีย น ซึ่งหมายถึง มีสารสนเทศและแผน
  ปฏิบัติการเกี่ยวกับการบริหารกิจการนักเรียน
  จัดทำามาตรฐานภาระงานกิจการนักเรียนและ
  ชีแจงให้บุคลากรทราบ มีการมอบหมายงานให้
    ้
  บุคลากร มีกรรมการนักเรียน เครือข่ายผู้
  ปกครองรับผิดชอบดำาเนินการตามแผนและจัด
  กิจกรรมระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน มีการ
  ติดตามประเมินผล และรายงานผลการดำาเนิน
  การ และนำาผลไปปรับปรุง โดยแสดงหลักฐาน
  คือ แบบบันทึกตรวจสอบข้อมูล แผนปฏิบัติการ
  คำาสังมอบหมายงาน มาตรฐานภาระงานกิจการ
        ่
  นักเรียน รายงานผลการดำาเนินงานกิจการ
ตัว บ่ง ชีท ี่ 3 ได้แ ก่ การบริห ารงานธุร กาจ
           ้
  และงานสัม พัน ธ์ช ม ชน ซึ่งหมายถึง มี
                         ุ
  สารสนเทศและแผนปฏิบติการเกี่ยวกับการ
                            ั
  บริหารงานธุรการและงานสัมพันธ์ชมชน จัดทำาุ
  มาตรฐานภาระงานธุรการและงานสัมพันธ์
  ชุมชน โดยเน้นระบบ ถูกต้อง สะดวกและทั่วถึง
  และชีแจงให้บุคลากรทราบ มอบหมายงานโดย
         ้
  คำานึงถึงความรู้ความสามารถ เทคโนโลยี และ
  ความต้องการของสถานศึกษา ใช้สอ เครือข่าย
                                       ื่
  และเพื่องานธุรการ มีการจัดกิจกรรมสัมพันธ์
  ชุมชนโดยเน้นการมีส่วนร่วมของผูเกี่ยวข้อง มี
                                     ้
  การติดตามและประเมินผล มีการรายงานผลและ
  นำาผลไปปรับปรุง โดยแสดงหลักฐานคือ แบบ
  บันทึกตรวจสอบข้อมูล แผนปฏิบติการ คำาสั่ง
                                   ั
4.1.7 การเป็น ผู้น ำา ด้า นนวัต กรรมการบริห ารการ
  ศึก ษา (8 คะแนน) มี 2 ตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชี้ละ 4 คะแนน
   คือ ตัว บ่ง ชี้ท ี่ 1 ได้แ ก่ การใช้น วัต กรรมการ
  บริห ารการศึก ษา ซึ่งหมายถึง มีสารสนเทศและ
  แผนการปฏิบัติการทีเกี่ยวกับการใช้นวัตกรรมการ
                          ่
  บริหาร มีการสรรหาคณะทำางานทีมประสิทธิภาพ รับ
                                     ่ ี
  ผิดชอบการใช้นวัตกรรมการบริหาร และชี้แจงคณะ
  ทำางานเกียวกับการใช้และเลือกใช้นวัตกรรมการ
            ่
  บริหารที่เหมาะสมสอดคล้องกับมาตรฐานภาระงาน
  บริหาร โดยคำานึงถึงประโยชน์และความคุ้มค่า มีผล
  การใช้เป็นทียอมรับของวงวิชาชีพบริหาร เช่นได้รับ
               ่
  เชิญให้นำาเสนอ โดยได้รับการประเมินจากหน่วยงาน
  หรือได้รับรางวัลเกี่ยวกับนวัตกรรมทีนำามาใช้ เป็นต้น
                                         ่
  มีการติดตามและประเมินผลการใช้ และมีรายงานผล
  และนำาผลไปปรับปรุง โดยแสดงหลักฐานคือ แบบ
ตัว บ่ง ชีท ี่ 2 ได้แก่ การคิด ริเ ริ่ม นวัต กรรม
          ้
  การบริห ารการศึก ษา ซึ่งหมายถึง มีการ
  ศึกษาองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการสร้าง
  นวัตกรรม การออกแบบนวัตกรรมการบริหาร
  การศึกษา และชีแจงครูและผูเกี่ยวข้องทราบ มี
                      ้           ้
  การทดลองใช้ มีการติดตามและประเมินผลการ
  ใช้ มีรายงานผลการใช้และนำาผลไปปรับปรุง
  เผยแพร่ และนวัตกรรมเป็นที่ยอมรับในวง
  วิชาชีพบริหาร โดยแสดงหลักฐานคือ แบบ
  บันทึกข้อมูลหลักฐานที่แสดงถึงการศึกษาองค์
  ความรู้ที่เกี่ยวกับการสร้างนวัตกรรม นวัตกรรม
  การบริหารการศึกษา รายงานผลการใช้
  นวัตกรรมการบริหาร หลักฐานการเผยแพร่
4.2 การพัฒ นาตนเองเพือ เพิ่ม พูน ความรูแ ละทัก ษะ
                                 ่                ้
       ในการบริห ารจัด การสถานศึก ษา
(คะแนนเต็ม40 ) มีรายการประเมิน 4 รายการ มี 5 ตัวบ่งชี้
    ดังนี้
4.2.1 มีก ารศึก ษาค้น คว้า ความรูด ว ยวิธ ีต ่า งๆ (10 คะแนน)
                                    ้ ้
    มี 1 ตัวบ่งชี้ คือ
       มีว ธ ีก ารศึก ษาค้น คว้า หาความรูเ พื่อ พัฒ นาตนเอง
           ิ                             ้
    9 วิธ ี ดังนี้
1. การศึกษาต่อเพื่อเพิ่มคุณวุฒิ
2. การฝึกอบรมตามหลักสูตรที่เกี่ยวกับการบริหารสถานศึกษา
    อย่างน้อยปีละ 3 ครั้ง
3. การประชุมทางวิชาการอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง
4. การสัมมนาทางวิชาการอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง
5. การศึกษาดูงานที่เกี่ยวกับการบริหารสถานศึกษาอย่างน้อยปี
    ละ 2 ครั้ง
6. การศึกษาค้นคว้าผลการวิจัยอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง
7. การเป็นคณะทำางานที่เกี่ยวกับบริหารศึกษา อย่างน้อย 3
    คณะ
4.2.2 การประมวลความรู้ท ี่เ กี่ย วกับ การ
  พัฒ นาวิช าการและวิช าชีพ
(10 คะแนน) มี 2 ตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชีละ 5้
  คะแนน คือ
ตัว บ่ง ชีท ี่ 1 ได้แ ก่ การประมวลความรู้
          ้
  เกี่ย วกับ การพัฒ นาวิช าการ ซึ่งหมายถึง มี
  การประมวลความรู้เชิงวิชาการเป็นหมวดหมู่
  โดยทำาเป็นเอกสารหรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ซึ่ง
  รวบรวมจากผลการพัฒนาตนเองและจากแหล่ง
  ความรู้ต่างๆ ที่เชือมั่นได้ และมีการปรับปรุง
                      ่
  เนื้อหาสาระให้ทันสมัย โดยแสดงหลักฐานคือ
  แบบบันทึกการตรวจสอบข้อมูล รายงานการ
ตัว บ่ง ชีท ี่ 2 ได้แ ก่ การประมวลความรู้ท ี่
            ้
  เกี่ย วกับ การพัฒ นาวิช าชีพ ซึ่งหมายถึง มี
  การประมวลความรู้ในวิชาชีพเกี่ยวกับการ
  บริหารจัดการสถานศึกษาด้านวิชาการ งบ
  ประมาณ บุคลากร บริหารทั่วไป และ กฎหมาย
  ที่เกี่ยวข้องเป็นหมวดหมู่ โดยจัดทำาเป็นเอกสาร
  หรือสืออิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งรวบรวมผลจากการ
          ่
  พัฒนาตนเองและจากแหล่งความรู้ต่างๆ ที่เชื่อ
  ถือได้ และมีการปรับปรุงเนื้อหาสาระให้ทันสมัย
  โดยแสดงหลักฐานคือ แบบบันทึกตรวจสอบ
  ข้อมูล รายงานการประมวลความรู้ในวิชาชีพที่
  เกี่ยวกับการบริหาร เอกสารที่เกี่ยวกับกฎหมาย
  ระเบียบที่เกี่ยวข้อง เอกสารวิชาการ สื่อ
4.2.3 การนำา ความรู้แ ละทัก ษะมาใช้ใ นการบริห าร
   จัด การสถานศึก ษา (10 คะแนน) มี 1 ตัวบ่งชี้ คือ
ตัว บ่ง ชี้ท ี่ 1 ได้แ ก่ การนำา ความรู้แ ละทัก ษะมาใช้
   ในการบริห ารจัด การสถานศึก ษา ซึ่งหมายถึง มี
   การกำาหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายของการนำาเสนอ
   ความรู้และทักษะมาใช้ในการบริหาจัดการสถานศึกษา
   จัดทำาเป็นแนวทางหรือนำาเห็นการปฏิบัติ มีการประชุม
   วางแผนการนำาความรู้หรือทักษะมาใช้ มีการปฏิบัติจริง
   ตามแนวทางหรือขั้นตอนทีกำาหนด มีรายงานผลการใช้
                                ่
   นวัตกรรมการบริหารและนำาผลไปปรับปรุง และเกิดผล
   ดีเป็นแบบอย่างได้ โดยแสดงหลักฐาน คือ แบบบันทึก
   การตรวจสอบข้อมูล แผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการ
   ประจำาปี หลักฐานทีเกี่ยวข้องกับการนำาความรู้และ
                          ่
   ทักษะมาใช้ในการบริหารจัดการสถานศึกษา รางวัลที่
4.2.4 การให้บ ริก ารทางวิช าการและวิช าชีพ (10
  คะแนน) มี 1 ตัวบ่งชี้ คือ การให้บ ริก ารทาง
  วิช าการและวิช าชีพ ซึงหมายถึง มีการดำาเนินการ
                           ่
  ให้บริการทางวิชาการและวิชาชีพ ในลักษณะต่างๆ
  ดังนี้
1. การนำาเสนอต่อทีประชุมระดับเครือข่ายอย่างน้อยปีละ
                   ่
  2 ครั้ง
2. การจัดนิทรรศการแสดงผลงานในระดับเขตพื้นที่ขึ้น
  ไปอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง
3. การนำาเสนอในระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต อย่างน้อย
  ปีละ 5 ครั้ง
4. การรวบรวมเป็นเอกสารเผยแพร่อย่างน้อยปีละ 2
  ฉบับ
5. การเป็นวิทยากรระดับเครือข่ายอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง
6. การนำาเสนอในวารสารทางวิชาการทียอมรับในวง
                                       ่
  วิชาการอย่างน้อยปีละ 1 ฉบับ
โดยแสดงหลักฐาน คือ แบบบันทึกการตรวจสอบข้อมูล
5. การรายงานด้า นที่ 3 ด้า นผลการปฏิบ ต ิ    ั
  งานสายงานการสอน (ครู) คะแนนเต็ม
  100 คะแนน (60+40 = 100) ประกอบ
  ด้วย 2 ส่วนดังนี้
       5.1 ส่ว นที่ 1 ผลการพัฒ นาคุณ ภาพผู้
  เรีย น คะแนนเต็ม 60 คะแนน มีรายการ
  ประเมิน 3 รายการ มี 7 ตัวบ่งชี้ ดังนี้
       5.1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (30
  คะแนน) มี 3 ตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชี้ละ 10
  คะแนน คือ
ตัว บ่ง ชีท ี่ 1 ได้แ ก่ ผลสัม ฤทธิท างการ
          ้                        ์
  เรีย นก่อ นเรีย นและหลัง เรีย น ซึ่งหมายถึง
  การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผูเรียนอันเป็น
  ผลจากการเรียนการสอนของผูสอนและสถาน
                                 ้
ตัว บ่ง ชี้ท ี่ 2 ได้แ ก่ ค่า เฉลีย ผลสัม ฤทธิ์
                                     ่
  ทางการเรีย นของวิช าทีส อน ซึ่งหมายถึง ค่า
                                 ่
  เฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ของผูเรียนเปรียบเทียบปีปัจจุบันกับ
                           ้
  ปีทผ่านมา (กรณีสาขาการศึกษาปฐมวัยหมายถึง
      ี่
  ความก้าวหน้าทางพัฒนาการของผูเรียนทีศึกษาใน
                                         ้   ่
  ปีการศึกษาต่างกัน) โดยแสดงหลักฐานคือ แบบ
  สรุปผลการเรียนรู้ตามเกณฑ์ของหน่วยงาน ผล
  การวิเคราะห์ค่าเฉลียผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
                         ่
  เอกสาร/หลักฐานที่เกียวข้อง (สาขาปฐมวัยแบบ
                             ่
  สรุปผลการพัฒนาการของผูเรียนทัง 4 ด้าน ผล
                                   ้   ้
  การวิเคราะห์ระดับ/คะแนนพัฒนาการของผูเรียน)    ้
  เอกสาร/หลักฐานที่เกียวข้อง   ่
ตัว บ่ง ชี้ท ี่ 3 ได้แก่ ผลการประเมิน และหรือ
5.1.2 ผลการพัฒ นาผูเ รีย นด้า นอื่น ๆ (20
                           ้
  คะแนน) มี 2 ตัวบ่งชี้ คือ
ตัว บ่ง ชีท ี่ 1 ได้แ ก่ ผลการพัฒ นาผูเ รีย น
          ้                             ้
  ด้า นสุข ภาพ ร่า งกาย สติป ญ ญา อารมณ์
                                 ั
  และสัง คม               (15 คะแนน) ซึ่งหมาย
  ถึง ผลจากการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้
  เรียนที่เกิดจากการจัดการเรียนรู้กิจกรรมประจำา
  วัน/กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนด้านสุขภาพ ร่างกาย
   สติปัญญา อารมณ์และสังคม ตามหลักสูตร
  และตามสถานศึกษากำาหนด (สาขาการศึกษา
  ปฐมวัยจะกำาหนดเพิ่มเติม) โดยแสดงหลักฐาน
  คือรายงานผลการพัฒนาผู้เรียนด้านสุขภาพ
  ร่างกาย สติปัญญา อารมณ์และสังคม โดย
ตัว บ่ง ชีท ี่ 2 ได้แ ก่ ความพึง พอใจของผูร ับ
           ้                                ้
  บริก ารและผูเ กี่ย วข้อ งต่อ การพัฒ นาผู้
                    ้
  เรีย นด้า นสุข ภาพ ร่า งกาย สติป ญ ญา
                                      ั
  อารมณ์แ ละสัง คม (5 คะแนน) ซึ่งหมายถึง
   ความรู้สึก / ความคิดเห็นของบุคคลหลายฝ่าย
  ที่เกี่ยวข้องที่มีต่อคุณภาพของผลงาน โดย
  แสดงหลักฐานคือ รายงานผลการประเมินความ
  พึงพอใจของผู้รับบริการและผูเกี่ยวข้องได้แก่
                                ้
  นักเรียน ผู้ปกครอง บุคคลในชุมชน และ
  บุคลากรในสถานศึกษา เครื่องมือที่ผู้สอนใช้ใน
  การประเมินความพึงพอใจ (มาตรประมาณค่า
  5 ระดับ) เอกสาร / หลักฐานที่เกี่ยวข้อง
5.1.3 ปริม าณงานและสภาพของงาน (10
  คะแนน) มี 2 ตัวบ่งชี้ คือ
ตัว บ่ง ชีท ี่ 1 ได้แก่ ปริมาณงาน (5 คะแนน)
          ้
  ซึ่งหมายถึง ความมากน้อยของจำานวนชัวโมง่
  จำานวนกลุ่มสาระการเรียนรู้ / กลุ่มประสบการณ์
   สาขาวิชาที่รับผิดชอบและจำานวนนักเรียนที่รับ
  ผิดชอบ (สาขาปฐมวัยจะเพิ่มเติมจากนี้) โดย
  แสดงหลักฐานคือ คำาสั่งของสถานศึกษาที่มอบ
  หมายให้ปฏิบติงาน ตารางสอนที่สถานศึกษา
                 ั
  ให้การรับรอง แผนการจัดการเรียนรู้ /
  แผนการจัดประสบการณ์ แผนการจัดการ
  ศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) เอกสาร / หลัฐานที่
  เกี่ยวข้อง
ตัว บ่ง ชีท ี่ 2 ได้แก่ สภาพของงาน (5
          ้
  คะแนน) ซึ่งหมายถึง ความรับผิดชอบของผู้
  สอนที่ต่อผูเรียนที่มีความต้องการจำาเป็นพิเศษ
                ้
  นักเรียนมีความหลากหลายทางเศรษฐกิจ /
  วัฒนธรรม / สังคม / พัฒนาการตามวัย และ
  สถานศึกษาที่ตั้งอยู่บนพื้นที่ปกติ พื้นที่เขา
  เกาะแก่ง ชายแดน ถิ่นทุรกันดารหรือพื้นที่มี
  ลักษณะพิเศษ โดยแสดงหลักฐานคือ คำาสัง         ่
  ของสถานศึกษาที่มอบหมายให้ปฏิบติงาน   ั
  ข้อมูล สารสนเทศของฝ่ายแนะแนวหรือกลุ่ม
  บริหารวิชาการที่แสดงจำานวนนักเรียนที่มีความ
  ต้องการจำาเป็นพิเศษ เอกสารสรุปลักษณะความ
  หลากหลายด้านต่างๆ ของผูเรียน หลักฐาน
                               ้
5.2 ส่ว นที่ 2 ผลงานทางวิช าการ สายงาน
  ผูส อน (ครู) คะแนนเต็ม 40 คะแนน มี
    ้
  รายการประเมิน         2 รายการ มี 6 ตัวบ่งชี้
  ดังนี้
       5.2.1 คุณ ภาพของผลงานทางวิช าการ
   (20 คะแนน) มี 4 ตัวบ่งชี้คอ ื
  ตัว บ่ง ชีท ี่ 1 ได้แ ก่ ความถูก ต้อ งตาม
            ้
  หลัก วิช าการ (7 คะแนน)
  ตัว บ่ง ชีท ี่ 2 ได้แ ก่ ความสมบูร ณ์ข อง
              ้
  เนื้อ หาสาระ (6 คะแนน)
  ตัว บ่ง ชีท ี่ 3 ได้แ ก่ ความคิด ริเ ริ่ม
                ้
  สร้า งสรรค์ (4 คะแนน)
5.2.2 ประโยชน์ข องผลงานทางวิช าการ
  (20 คะแนน) มี 2 ตัวบ่งชี้ คือ

ตัว บ่ง ชีท ี่ 1 ได้แ ก่ ประโยชน์ต ่อ ผูเ รีย น
          ้                             ้
  ครู บุค ลากรทางการศึก ษา การจัด การ
  ศึก ษา หน่ว ยงานการศึก ษา และชุม ชน
  (10 คะแนน)
  ตัว บ่ง ชีท ี่ 2 ได้แ ก่ ประโยชน์ต ่อ ความ
              ้
  ก้า วหน้า ทางวิช าการและการเผยแพร่ใ น
  วงวิช าการ (10 คะแนน)
6. การรายงานด้า นที่ 3 ด้า นผลการปฏิบ ัต ิง าน
  สายงานบริห ารสถานศึก ษา คะแนนเต็ม 100
  คะแนน                  (60 + 40 = 100 คะแนน)
  ประกอบด้วย 2 ส่วนดังนี้
       6.1 ส่ว นที่ 1 ผลการพัฒ นาคุณ ภาพในการ
  บริห ารจัด การศึก ษา คะแนนเต็ม 60 คะแนน มี
  รายการประเมิน 4 รายการ มี 15 ตัวบ่งชี้ดังนี้
       6.1.1 ผลการพัฒนาทีเกิดกับผู้เรียน (24
                              ่
  คะแนน) มี 6 ตัวบ่งชี้ คือ
  ตัว บ่ง ชีท ี่ 1 ได้แ ก่ ผลสัม ฤทธิ์ท างการเรีย น
            ้
  ของผู้เ รีย น 4 คะแนน ซึงหมายถึง ผู้เรียนมีค่า
                                ่
  เฉลี่ยของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5 กลุ่มสาระการ
  เรียนรู้หลักคือ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
  สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม และภาษาต่าง
ตัว บ่ง ชี้ท ี่ 2 ได้แ ก่ ผลการประเมิน คุณ ลัก ษณะอัน
   พึง ประสงค์ข องผู้เ รีย นตามหลัก สูต รทุก ข้อ
        (4 คะแนน) ซึงหมายถึง ผู้เรียนมีคุณลักษณะอัน
                         ่
   พึงประสงค์ตามหลักสูตรสถานศึกษาทุกข้อเพิมขึ้น
                                              ่
   หรือมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์อยูในระดับดี – ดีเยี่ยม
                                   ่
    โดยคำานวณจากผู้เรียนทั้งหมด โดยแสดงหลักฐานคือ
    แบบบันทึกการตรวจสอบข้อมูลสารสนเทศผลการเรียน
   ของผู้เรียน แบบรายงานผลการประเมินคุณลักษณะ
   อันพึงประสงค์ 2 ปีการศึกษา เอกสาร / หลักฐานที่
   เกี่ยวข้อง สัมภาษณ์ สอบถามบุคคลทีเกียวข้อง
                                       ่ ่
ตัว บ่ง ชี้ท ี่ 3 ได้แ ก่ ผลการประเมิน คุณ ภาพ
   ภายนอกของผู้เ รีย นทุก มาตรฐาน (4 คะแนน)
   ซึงหมายถึง ผลการประเมินคุณถาพภายนอกของผู้
     ่
   เรียนตามมาตรฐานด้านผู้เรียน โดยแสดงหลักฐานคือ
ตัว บ่ง ชี้ท ี่ 4 ได้แ ก่ ผลการทดสอบ O-NET หรือ
   NT หรือ LAS หรือ ผลการทดสอบอื่น ๆ ของ
   ระดับ ชาติ ในระดับ ชัน สูง สุด ของสถานศึก ษา
                            ้
   (4 คะแนน) ซึงหมายถึงผู้เรียนมีผลการทดสอบ O-
                    ่
   NET หรือ NT หรือ LAS หรือ ผลการทดสอบอื่นๆ
    ของระดับชาติ ในระดับชั้นสูงสุดของสถานศึกษา 5
   กลุ่มสาระการเรียนรู้หลักคือ ภาษาไทย คณิตศาสตร์
   วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม และ
   ภาษาต่างประเทศเพิมขึ้น 2 ปีการศึกษา โดยแสดง
                          ่
   หลักฐานคือ แบบบันทึกการตรวจสอบข้อมูลรายงาน
   ผลการตรวจสอบ ผู้เรียน เอกสาร / หลักฐานที่
   เกี่ยวข้อง สัมภาษณ์ สอบถามบุคคลทีเกียวข้อง
                                      ่ ่
ตัว บ่ง ชี้ท ี่ 5 ได้แ ก่ ผลการพัฒ นาความสามารถ
   ของผู้เ รีย น (4 คะแนน) ซึ่งหมายถึง ผู้เรียนมี
   ความสามารถด้านศิลปะ ภาษา ดนตรี กีฬา
   คอมพิวเตอร์ มนุษยสัมพันธ์ เข้าใจตนเอง และรอบรู้
ตัว บ่ง ชีท ี่ 6 ได้แ ก่ ผลการพัฒ นาคุณ ภาพ
          ้
  ผูเ รีย นกลุม เสีย งและกลุ่ม ที่ม ป ญ หาใน
     ้          ่  ่                ี ั
  ระบบดูแ ละช่ว ยเหลือ นัก เรีย น (4 คะแนน)
   ซึ่งหมายถึง ลดจำานวนผูเรียนกลุ่มเสียงแลกลุ่ม
                            ้             ่
  ที่มีปญหาในระบบดูและช่วยเหลือนักเรียน โดย
        ั
  แสดงหลักฐานคือ แบบบันทึกการตรวจสอบ
  ข้อมูลสารสนเทศผลการเรียนของผูเรียนกลุ่ม
                                        ้
  เสี่ยงและกลุ่มที่มีปญหา รายงายผลการจัด
                      ั
  ระบบดูแลช่วยเหลือผูเรียนกลุ่มเสียงและกลุ่มที่มี
                         ้            ่
  ปัญหา เอกสาร / หลักฐานที่เกี่ยวข้อง
  สัมภาษณ์ สอบถามบุคคลที่เกี่ยวข้อง
6.1.2 ผลการพัฒ นาทีเ กิด กับ ครู (20 คะแนน) มี
                             ่
   5 ตัวบ่งชี้คือ
ตัว บ่ง ชี้ท ี่ 1 ได้แ ก่ การประเมิน คุณ ภาพภายนอก
   ของครูท ก มาตรฐานครั้ง สุด ท้า ย (4 คะแน) ซึง
                ุ                                 ่
   หมายถึงผลการประเมินคุณภาพภายนอกของครูตาม
   มาตรฐานด้านครูทั้ง 12 มาตรฐาน 13 ตัวบ่งชี้
   ยกเว้น ตัว บ่ง ชี้ท ี่ 5 ของมาตรฐานที่ 8 คือ สถาน
   ศึกษามีจำานวนครูตามเกณฑ์ โดยแสดงหลักฐานคือ
   แบบบันทึกการตรวจสอบข้อมูลรายงานผลการประเมิน
   คุณภาพภายนอก เอกสาร / หลักฐานทีเกี่ยวข้อง
                                          ่
   สัมภาษณ์ สอบถามบุคคลทีเกี่ยวข้อง
                                ่
ตัว บ่ง ชี้ท ี่ 2 ได้แ ก่ ผลการพัฒ นาทางวิช าชีพ (4
   คะแนน) ซึ่งหมายถึง จำานวนข้าราชการครูและ
   บุคลากรทางการศึกษา ฝึกอบรม ดูงาน ปฏิบัติงาน
ตัว บ่ง ชีท ี่ 3 ได้แ ก่ ความก้า วหน้า ทาง
          ้
  วิช าชีพ (4 คะแนน) ซึ่งหมายถึง
  ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับ
  ความก้าวหน้าทางวิชาชีพคือ การมีและเลื่อน
  วิทยฐานะ การเปลี่ยนตำาแหน่ง โดยแสดงหลัก
  ฐานคือ แบบบันทึกการตรวจสอบข้อมูล
  สารสนเทศเกี่ยวกับการมีและเลื่อนวิทยฐานะ
  การเปลี่ยนตำาแหน่ง และอื่นๆ เอกสาร / หลัก
  ฐานที่เกี่ยวข้อง สัมภาษณ์ สอบถามบุคคลที่
  เกี่ยวข้อง
ตัว บ่ง ชีท ี่ 4 ได้แ ก่ ผลการเสริม สร้า งวิน ย
            ้                                 ั
  (4 คะแนน) ซึ่งหมายถึง ผลการประเมิน
  คุณภาพภายนอกมาตรฐานด้านครู “ครูมี
ตัว บ่ง ชีท ี่ 5 ได้แ ก่ ข้า ราชการครูแ ละ
          ้
  บุค ลากรทางการศึก ษาได้ร ับ การยกย่อ ง
  เชิด ชูเ กีย รติจ ากหน่ว ยงานของรัฐ และ
  หน่ว ยงานเอกชนในระยะเวลา 5 ปี (4
  คะแนน) ซึ่งหมายถึงข้าราชการครูและบุคลากร
  ทางการศึกษาได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติจาก
  หน่วยงานของรัฐ และหน่วยงานเอกชนใน
  ระยะเวลา 5 ปี โดยคำานวณจากค่าเฉลี่ยของ
  จำานวนข้าราชการครูฯ ทั้งหมดในสถานศึกษาร
  ในระยะเวลา 5 ปี โดยแสดงหลักฐานคือ
  แบบบันทึกการตรวจสอบข้อมูลสารสนเทศเกี่ยว
  กับการเชิดชูเกียรติของข้าราชการครูและ
  บุคลากรทางการศึกษา รายงานผลการพัฒนา
6.1.3 ผลการพัฒ นาทีเ กิด กับ สถานศึก ษา (12
                             ่
   คะแนน) มี 3 ตัวบ่งชี้ คือ
ตัว บ่ง ชีท ี่ 1 ได้แ ก่ ผลการประเมิน คุณ ภาพ
           ้
   ภายนอกของสถานศึก ษาตามมาตรฐานด้า นผู้
   บริห ารครั้ง สุด ท้า ย (4 คะแนน) ซึ่งหมายถึงผล
   การประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษาตาม
   มาตรฐานด้านผู้บริหาร 5 มาตรฐาน โดยแสดงหลัก
   ฐานคือ แบบบันทึกการตรวจสอบข้อมูลสารสนเทศ
   คุณภาพของผู้บริหารจากรายงานการประเมินภายนอก
    เอกสาร / หลักฐานที่เกี่ยวข้อง สัมภาษณ์ สอบถาม
   บุคคลที่เกียวข้อง
                ่
ตัว บ่ง ชี้ท ี่ 2 ได้แ ก่ ผู้บ ริห ารหรือ สถานศึก ษาได้
   รับ การยกย่อ งเชิด ชูเ กีย รติใ นระยะเวลา 5 ปี
                  (4 คะแนน) ซึ่งหมายถึง ผู้บริหารหรือ
   สถานศึกษาได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติจากหน่วย
   งานของรัฐและหน่วยงานเอกชน ในระยะเวลา 5 ปี
ตัว บ่ง ชีท ี่ 3 ได้แ ก่ สถานศึก ษาเป็น ที่ย อมรับ ใน
          ้
   คุณ ภาพการบริห ารด้า นต่า งๆ ในระยะเวลา 5 ปี
            (4 คะแนน) ซึ่งหมายถึงสถานศึกษาเป็นที่ยอมรับ
   ในคุณภาพการบริหารด้านต่าง ๆ ดังนี้
(1) สถานศึกษามีบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สะอาด ร่มรื่น
    เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้และปลอดภัย
(2) สถานศึกษาใช้งบประมาณเป็นไปตามแผนปฏิบัติการ
   ประหยัด คุ้มค่า ตรงตามกรอบและวัตถุประสงค์ ของการ
   ใช้งบประมาณที่กำาหนดและถูกต้องตามระเบียบ
(3) สถานศึกษามีคุณภาพตามมาตรฐานของสถานศึกษาและ
   บรรลุผลตามนโยบายของรัฐบาล
(4) สถานศึกษามีผลการปฏิบัติงานดีเด่นของภาระงานด้าน
   ต่าง ๆ อย่างน้อย 1 รายการ
(5) ผู้มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษามีความพึงพอใจต่อ
   คุณภาพการบริหารสถานศึกษาไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
โดยแสดงหลักฐานคือ แบบบันทึกการตรวจสอบข้อมูล ภูมิส
6.1.4 ผลที่เ กิด จากชุม ชนหรือ ท้อ งถิ่น (4
  คะแนน) มี 1 ตัวบ่งชี้ คือ ผลการพัฒ นาที่
  เกิด กับ ชุม ชนหรือ ท้อ งถิ่น (4 คะแนน) ซึ่ง
  หมายถึง ผลการประเมินคุณภาพภายนอก
  มาตรฐานด้านสถานศึกษา “ส่งเสริมความ
  สัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชนในการ
  พัฒนาการศึกษาครั้งสุดท้าย” โดยแสดงหลัก
  ฐานคือ แบบบันทึกการตรวจสอบข้อมูล จาก
  รายงานการประเมินภายนอก เอกสาร / หลัก
  ฐานที่เกี่ยวข้อง สัมภาษณ์ สอบถามบุคคลที่
  เกี่ยวข้อง
6.2 ส่ว นที่ 2 ผลงานทางวิช าการ สายงาน
  บริหารสถานศึกษา คะแนนเต็ม 40 คะแนน
  มีรายการประเมิน 2 รายการ มี 6 ตัวบ่งชี้
  เหมือนสายงานผูสอน (ครู) คือ
                 ้
  6.2.1 คุณภาพของผลงานทางวิชาการ (20
  คะแนน) มี 4 ตัวบ่งชี้
  6.2.2 ประโยชน์ของผลงานทางวิชาการ (20
   คะแนน) มี 2 ตัวบ่งชี้

* หมายเหตุ สำาหรับด้านที่ 3 ด้านผลการ
  ปฏิบัติงานสายงานนิเทศการศึกษา
  (ศึกษานิเทศ) และสายงานบริหารการศึกษา
ข้อ คิด เห็น ทีเ กีย วกับ งานวิจ ย ทางการศึก ษาเพือ ขอ
               ่ ่               ั                 ่
    มีแ ละเลื่อ นวิท ยฐานะของราชการครูแ ละ
    บุค ลากรทางการศึก ษาตาม ว. 17/2552
1. งานวิจ ัย ในการขอมีและเลื่อนวิทยฐานะฯตาม ว.17
    ต้อ งเป็น งานวิจ ัย ทางการศึก ษา เกี่ยวข้องกับงาน
    ในหน้าทีของตำาแหน่งครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้
                ่
    บริหารการศึกษา และศึกษานิเทศก์
2. งานวิจ ัย ทางการศึก ษา ตาม ว.17 ต้องเน้นทีการ ่
    ส่งเสริมเรียนรู้ของผู้เรียนหรือการเรียนการสอนทียด่ ึ
    ผู้เรียนเป็นสำาคัญในการปฏิบัติหน้าทีของครู การ
                                          ่
    บริหารจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพ บรรลุเป้าหมาย
    ตามเกณฑ์มาตรฐานของชาติ เกณฑ์มาตรฐาน
    ปฐมวัยและตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
    ของผู้บริหารการศึกษาและผู้บริหารการศึกษา และ
    เกี่ยวข้องกับกระบวนการนิเทศการศึกษาของ
    ศึกษานิเทศก์ในการส่งเสริมประสิทธิภาพ ประสิทธิผล
3. งานวิจ ัย ทางการศึก ษา ตาม ว.17 ต้องเน้น
   ประโยชน์ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครูและบุคลากรทางการ
   ศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชนหรือท้องถิ่นเป็นลำาดับแรก
   และประโยชน์ความก้าวหน้าทางวิชาการ วิชาชีพ
   เป็นลำาดับต่อไป
4. งานวิจ ัย ทางการศึก ษา ตาม ว.17 อาจเป็นงาน
   วิจัยปฏิบัติการ (Action Research) หรือวิจัยชั้น
   เรียน(Classroom Research) การวิจัยเชิง
   ปริมาณ การวิจัยเชิงคุณภาพ หรือการวิจัยแบบผสม
   เชิงปริมาณและคุณภาพ (Mixed ) ทังนี้ขึ้นอยูกับ
                                         ้       ่
   การออกแบบวิจัยทีสอดคล้องกับปัญหาทีต้องการ
                      ่                     ่
   ศึกษา
5. งานวิจ ัย ทางการศึก ษา ต้องเริ่มโดยการค้นหรือ
   ระบุปัญหาในการปฏิบัติหน้าทีของครู ผู้บริหารสถาน
                                  ่
   ศึกษา ผู้บริหารการศึกษา และศึกษานิเทศก์ ให้พบ
   และต้องมีหลักฐานมาแสดงหรืออ้างอิง จากนันก็มา้
6. กรอบแนวคิด การวิจ ัย เป็นโครงสร้างสำาคัญซึ่งผู้
   วิจัยจะต้องกำาหนดให้ชัดเจนเป็นอันดับแรก เพราะ
   จากกรอบแนวคิดการวิจัยจะนำาไปเป็นกรอบพิจารณา
   (1) กำาหนดหัวข้อการวิจัยที่เป็นเหตุเป็นผลและเหมาะสม
   (2) การกำาหนดวัตถุประสงค์การวิจัยที่สอดคล้องกับหัวข้อเรื่อง
       สภาพปัญหา โจทย์หรือคำาถามการวิจัย
   (3) ใช้เป็นสาระสำาคัญในการเขียนขอบเขตการวิจัยด้านเนื้อหา
   (4) นำามาเป็นหัวข้อสำาคัญในการนำาเสนอหัวข้อเกี่ยวกับแนวคิด
       ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องในบทที่ 2
7. เมือพบปัญหาการวิจัย ได้ศึกษาค้นคว้าเอกสาร
      ่
   แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยจนสร้างกรอบแนวคิด
   การวิจัยสำาเร็จแล้ว ได้กำาหนดหัวข้อเรื่องทีจะทำาการ
                                               ่
   ศึกษาวิจัยได้แล้ว ก็น ำา มาจัด ทำา เค้า โครงการวิจ ัย
                 ( Research Proposal) โดยการ
   เขียน 3 บทแรก คือ
   (1) บทที่ 1 (บทนำา)
8. การเขีย นบทที่ 1 หรือ บทนำา มีหัวข้อย่อยคือ
  1. ความเป็น มาและความสำา คัญ ของปัญ หา โดยต้องระบุปัญหา
       พร้อมหลักฐานอ้างอิง
  2. โจทย์ห รือ คำา ถามการวิจ ัย เพื่อเป็นแนวทางในการศึกษา
       ค้นคว้าดำาเนินการและช่วยตั้งวัตถุประสงค์การวิจัยให้จัดเจน
       ขึ้น
  3. วัต ถุป ระสงค์ก ารวิจ ัย คือ การกำาหนดสิ่งที่ต้องปฏิบัติเพื่อให้
       ได้คำาตอบ มาตอบโจทย์การวิจัย / คำาถามการวิจัย หรือสิ่งที่
       เราต้องการคำาตอบ
  4. สมมุต ิฐ านการวิจ ัย อาจมีหรือไม่มีก็ได้ ถ้ามีจะต้องทดสอบ
       สมมุติฐานทุกข้อที่ตั้งไว้ โดยใช้ข้อมูลเชิงปริมาณ
  5. ขอบเขตการวิจ ัย เป็นการกำาหนดขอบเขตของสิ่งที่เราจะ
       ศึกษาวิจัยให้ภาพกว้างกว่ากรอบแนวคิดการวิจัย โดยทั่วไป
       ขอบเขตการวิจัยจะนำาเสนอสาระสำาคัญอย่างย่อใน ด้า น
       เนื้อ หา,
  ด้า นประชากรและกลุ่ม ตัว อย่า ง , ด้า นตัว แปรที่ศ ึก ษา, และ
       ด้า นสถานที่แ ละระยะเวลาในการวิจ ัย
  6. นิย ามศัพ ท์ เพื่อให้ความหมายคำาสำาคัญคือตัวแปรที่จะศึกษา
9. บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีแ ละงานวิจ ัย ที่
   เกี่ย วข้อ ง ขอให้นำากรอบแนวคิดการวิจัยนำา
   มาเป็นกรอบในการกำาหนดหัวข้อเสนอหัวข้อ
   เรื่อง ขั้นการพิจ ารณาหัว ข้อ ที่จ ะนำา เสนอ
   ในบทที่ 2 จะได้เสนอเกี่ยวข้องสอดคล้องกับ
   เรื่องราวกับการวิจัยโดยแท้จริง มิใช้นำาเสนอ
   หัวข้อที่ไม่ตรงและเกี่ยวข้องกับเรื่องราวที่วิจัย
   เรียกว่านำาขยะมาใส่ไว้ ขอให้นำาเอกสารใหม่ๆ
   มาใช้ (อย่าให้เกิน 5 ปี) หน้าสุดท้ายขอให้ใส่
   แผนภูมิแสดงกรอบแนวคิดการวิจัยไว้ในบทที่
   2 ด้วย สำาหรับหัว ข้อ รองสุด ท้า ยคือ งาน
   วิจ ัย ที่เ กี่ย วข้อ ง ขอให้เกี่ยวข้องจริงๆ
   เพราะในบทที่ 5 หัว ข้อ การอภิป รายผล
10. บทที่ 3 วิธ ีด ำา เนิน การวิจ ัย ผู้วิจัยจะบอกว่าการ
    วิจัยเรื่องอะไร มีวัตถุประสงค์ว่าอย่างไร ใช้รูปแบบ
    การวิจัยหรือวิธีการวิจัยแบบใด ในบทนี้ควรนำาเสนอ
    2 ส่วน
         ส่ว นแรกคือ ขั้น ตอนการวิจ ัย ว่ามีขั้นตอนใน
    การวิจัยจนถึงขั้นได้คำาตอบในกระบวนการวิจัย
    (ส่วนใหญ่ขั้นตอนการวิจัยจะยึดขั้นตอนตามจำานวน
    ของวัตถุประสงค์)
         ส่ว นทีส องคือ วิธีดำาเนินการวิจัยประกอบด้วย
                ่
1.) ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ต้องบอกให้ชดว่าเลือก ั
    ลุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีใด
2.) เครื่องมือการวิจัยโดยเน้นการสร้างเครื่องมือ และ
    การพัฒนาหาความเชื่อมันต้องรายงานค่าความเชื่อ
                                ่
    มัน ของเครื่องมือทุกชุด
       ่
3.) การเก็บรวบรวมข้อมูล ใช้วิธีใด ได้กลับคืนมาเป็น
11. บทที่ 4 การวิเ คราะห์ผ ล ให้นำา
   วัตถุประสงค์การวิจัยมากำาหนดเป็น ตอนของ
   การวิเคราะห์ผล เช่นมีวัตถุประสงค์การวิจัย 3
   ข้อ ก็ก ำา หนดตอนการนำา เสนอผลการ
   วิเ คราะห์เ ป็น 3 ตอน และในแต่ละตอนมี
   กิจกรรมการวิจัยอย่างไรก็วิเคราะห์ตาม
   กิจกรรมนัน (ดูขั้นตอนการวิจัยประกอบด้วย)
               ้
   และเมื่อวิเคราะห์เสร็จในแต่ละตอน ก็ให้ผวิจัย
                                          ู้
   สรุปเป็นภาพรวมเพื่อตอบวัตถุประสงค์โดย
   เขียนอย่างสันๆ กะทัดรัดประมาณ 3-4
                 ้
   บรรทัด ซึ่งผลการสรุปเป็นคำาตอบ
   (วัตถุประสงค์) นี้จะนำาไปใช้ใ นการสรุป ผล
   การวิจ ัย ในบทที่ 5 และนำา ไปใช้ใ นการ
12. บทที่ 5 สรุป ผล อภิป รายผล และข้อ
   เสนอแนะ ให้ผวิจัยนำาเสนอชือเรื่อง
                      ู้          ่
   วัตถุประสงค์การวิจัย และสรุปขั้นตอนการวิจัย
   และวิธดำาเนินการวิจัยอย่างย่อๆ ประมาณ 1
            ี
   หน้าหรือ 1หน้าครึ่ง จากนั้นก็สรุปผลการวิจัย
   โดยนำาข้อสรุปในแต่ละขั้นตอน (3-4 บรรทัด)
   ในบทที่ 4 มาใส่ไว้ในสรุปผลบทที่ 5
       ซึ่งการสรุปผลจะตอบวัตถุประสงค์การวิจัย
   แต่ละข้อ (ต้องสรุปผลให้เท่าและตรงกันกับ
   วัตถุประสงค์ อย่าน้อยหรือมากกว่า
   วัตถุประสงค์ไม่ได้) จากนันขอให้อภิปรายผล
                              ้
   โดยนำาสรุปผลแต่ละข้อมาอภิปรายโดยใช้งาน
   วิจัยที่เกี่ยวข้องมาเทียบเคียง
13. งานวิจ ัย ทางการศึก ษาทีด ี ต้องมีการเผยแพร่ให้
                             ่
   คนเอาไปใช้ การเผยแพร่ ตาม ว.17 ต้องเขียนเป็น
   บทความวิจยราว 8-10 หน้ากระดาษ A 4 เพื่อนำาไป
              ั
   ลงในวารสารวิจัยหรือวารสารทางวิชาการทีคณะ่
   กรรมการตรวจสอบการวิจัยรับรองหรือยอมรับ เช่น
   วิทยาจารย์ของคุรุสภา จะทำาให้ผลงานวิจัยมีคุณค่า
   ได้คะแนนการเผยแพร่สูง (ดีกว่าส่งไปตามโรงเรียน
   ต่างๆ แล้วแสดงจดหมายตอบรับ) บทความวิจยต้องั
   ทำาสำาเนามาลงไว้ในภาคผนวกด้วย ซึงบทความวิจัย
                                      ่
   ประกอบด้วย
  1. ชื่อเรื่อง - ชื่อผู้วิจัย
  2. บทคัดย่อ ภาษาไทย - ภาษาอังกฤษ
  3. บทนำา ความเป็นมาวัตถุประสงค์การวิจัยขอบเขตการวิจัย
     ประโยชน์ที่คาดว่าจะรับ
  4. วิธีดำาเนินการวิจัย
  5. การวิเคราะห์ผล
  6. สรุปผล
  7. ข้อเสนอแนะ
14. หน้า สุด ท้า ยของภาคผนวกขอให้ใ ส่
   ประวัต ิผ ู้ว ิจ ัย ด้ว ย
15. การวิจ ัย ทางการศึก ษา ขอให้ตรวจพิสูจน์
   ความถูกต้องตัวอักษร และการพิมพ์ขอให้ยึด
   รูปแบบมาตรฐานการเขียนรายงานการวิจัย
   การจัดทำารูปเล่มขอให้เรียบร้อย
ขอให้โ ชคดีค รับ ดร.พล
 สัณ ท์ โพธิ์ศ รีท อง
17
17
17
17

More Related Content

What's hot

แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553Nattapon
 
ประวัติมนตรี
ประวัติมนตรีประวัติมนตรี
ประวัติมนตรีMontree Jareeyanuwat
 
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
เอกสารประกอบ เรื่อง การประเมินแฟ้มสะสมงาน
เอกสารประกอบ เรื่อง การประเมินแฟ้มสะสมงานเอกสารประกอบ เรื่อง การประเมินแฟ้มสะสมงาน
เอกสารประกอบ เรื่อง การประเมินแฟ้มสะสมงานDrWilaiporn Rittikoop
 
5การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน(week5)
5การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน(week5)5การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน(week5)
5การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน(week5)DrWilaiporn Rittikoop
 
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบ
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบ
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบWongduean Phumnoi
 
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ประกอบการย้าย 57
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ประกอบการย้าย 57แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ประกอบการย้าย 57
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ประกอบการย้าย 57Weerachat Martluplao
 
แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน
แฟ้มสะสมผลงานนักเรียนแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน
แฟ้มสะสมผลงานนักเรียนbustid
 
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาokTophit Sampootong
 
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่Kobwit Piriyawat
 
สรุปการปฏิบัติหน้าที่ครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
สรุปการปฏิบัติหน้าที่ครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์สรุปการปฏิบัติหน้าที่ครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
สรุปการปฏิบัติหน้าที่ครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
สมุดบันทึกความดี
สมุดบันทึกความดีสมุดบันทึกความดี
สมุดบันทึกความดีAon Narinchoti
 
Portfolioฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานของภรภัทร พันตาวงศ์ 22
Portfolioฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานของภรภัทร  พันตาวงศ์ 22Portfolioฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานของภรภัทร  พันตาวงศ์ 22
Portfolioฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานของภรภัทร พันตาวงศ์ 22ponpat pantawong
 
6 สมรรถนะของครูok
6 สมรรถนะของครูok6 สมรรถนะของครูok
6 สมรรถนะของครูokTophit Sampootong
 
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพokTophit Sampootong
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554Nattapon
 

What's hot (20)

แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
 
ประวัติมนตรี
ประวัติมนตรีประวัติมนตรี
ประวัติมนตรี
 
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
เอกสารประกอบ เรื่อง การประเมินแฟ้มสะสมงาน
เอกสารประกอบ เรื่อง การประเมินแฟ้มสะสมงานเอกสารประกอบ เรื่อง การประเมินแฟ้มสะสมงาน
เอกสารประกอบ เรื่อง การประเมินแฟ้มสะสมงาน
 
5การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน(week5)
5การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน(week5)5การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน(week5)
5การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน(week5)
 
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบ
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบ
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบ
 
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ประกอบการย้าย 57
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ประกอบการย้าย 57แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ประกอบการย้าย 57
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ประกอบการย้าย 57
 
แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน
แฟ้มสะสมผลงานนักเรียนแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน
แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน
 
Id plan
Id planId plan
Id plan
 
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการนโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
 
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
 
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
 
สรุปการปฏิบัติหน้าที่ครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
สรุปการปฏิบัติหน้าที่ครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์สรุปการปฏิบัติหน้าที่ครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
สรุปการปฏิบัติหน้าที่ครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
สมุดบันทึกความดี
สมุดบันทึกความดีสมุดบันทึกความดี
สมุดบันทึกความดี
 
Portfolioฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานของภรภัทร พันตาวงศ์ 22
Portfolioฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานของภรภัทร  พันตาวงศ์ 22Portfolioฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานของภรภัทร  พันตาวงศ์ 22
Portfolioฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานของภรภัทร พันตาวงศ์ 22
 
1.หนึ่งแสนครูดีปู..[1]
1.หนึ่งแสนครูดีปู..[1]1.หนึ่งแสนครูดีปู..[1]
1.หนึ่งแสนครูดีปู..[1]
 
6 สมรรถนะของครูok
6 สมรรถนะของครูok6 สมรรถนะของครูok
6 สมรรถนะของครูok
 
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
 

Similar to 17

แนะนำแนวทาง
แนะนำแนวทางแนะนำแนวทาง
แนะนำแนวทางPratuan Kumjudpai
 
42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)
42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)
42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)Pochchara Tiamwong
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...Nattapon
 
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์sa_jaimun
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practicevorravan
 
สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8Tsheej Thoj
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องPochchara Tiamwong
 
บทคัดย่อประเมินโครงการry<oks]ydl
บทคัดย่อประเมินโครงการry<oks]ydlบทคัดย่อประเมินโครงการry<oks]ydl
บทคัดย่อประเมินโครงการry<oks]ydlpanida428
 
บทคัดย่อประเมินโครงการ
บทคัดย่อประเมินโครงการบทคัดย่อประเมินโครงการ
บทคัดย่อประเมินโครงการpanida428
 
เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3arsad20
 
การมีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ2
การมีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ2การมีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ2
การมีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ2Chalermpon Dondee
 

Similar to 17 (20)

classroom research submit
classroom research submitclassroom research submit
classroom research submit
 
แนะนำแนวทาง
แนะนำแนวทางแนะนำแนวทาง
แนะนำแนวทาง
 
Kp iappliedart
Kp iappliedartKp iappliedart
Kp iappliedart
 
42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)
42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)
42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)
 
บทที่2 ระบบการเรียนการสอน
บทที่2  ระบบการเรียนการสอนบทที่2  ระบบการเรียนการสอน
บทที่2 ระบบการเรียนการสอน
 
R2R
R2RR2R
R2R
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
 
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
 
5 การประเมินโครงการ 5
5 การประเมินโครงการ 55 การประเมินโครงการ 5
5 การประเมินโครงการ 5
 
31.111+ข้..
31.111+ข้..31.111+ข้..
31.111+ข้..
 
31.111+ข้..
31.111+ข้..31.111+ข้..
31.111+ข้..
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
 
7532
75327532
7532
 
สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
 
แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55
แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55
แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55
 
บทคัดย่อประเมินโครงการry<oks]ydl
บทคัดย่อประเมินโครงการry<oks]ydlบทคัดย่อประเมินโครงการry<oks]ydl
บทคัดย่อประเมินโครงการry<oks]ydl
 
บทคัดย่อประเมินโครงการ
บทคัดย่อประเมินโครงการบทคัดย่อประเมินโครงการ
บทคัดย่อประเมินโครงการ
 
เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3
 
การมีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ2
การมีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ2การมีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ2
การมีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ2
 

17

  • 1. แนวทางการจัด ทำา ผลงานทาง วิช าการอย่า งมีค ุณ ภาพและ การนำา เสนอเอกสารรายงานเพื่อ ให้ผ ่า นการประเมิน เพือ ขอมีว ิท ยฐานะทั้ง 3 ด้า น ่ (ตามหลัก เกณฑ์ ว.17) สรุป รวบรวมโดย ดร.พลสัณ ห์ โพธิศ รีท อง ์ ผูท รงคุณ วุฒ ิใ น กคศ. ศธ. ้
  • 2. 1. ต้อ งเขีย นแบบเสนอขอรับ การประเมิน (ก.ค.ศ. 1/1 เพื่อขอมีหรือเลื่อนวิทยฐานะ ก.ค.ศ. 3 ,4 และ 5 ทุก ตำาแหน่ง) ให้ครบถ้วนและสมบูรณ์ 1.1 ข้อมูลผู้ขอรับการประเมิน 1.2 การรับราชการ 1.3 การปฏิบัติงานในปีที่ขอรับการประเมิน (ระบุรายการ ที่ปฏิบัติจริง) 1.3.1 สายงานการสอน คือ........... 1.3.2 สายงานบริหารสถานศึกษา / บริหารการ ศึกษา / และนิเทศการศึกษาคือ..... 1.4 การรายงานด้า นที่ 1 (ด้านวินัย คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ) โดยผู้ขอต้องรายงานด้วยการใช้แบบ ก.ค.ศ. 2 จำานวน 4 ชุด พร้อมทั้งรวบรวมเอกสารหลักฐานอ้างอิงจำานวน 1 ชุด ไว้ ณ สถานที่ปฏิบัติงานของผู้ขอ (เกณฑ์ 100 %) 1.5 รวบรวมเอกสารหลัก ฐานด้า นที่ 2 (ด้านความ
  • 3. 1.6 การรายงานด้า นที่ 3 (ด้านผลการปฏิบัติงาน) โดยผู้ขอรายงานผลการปฏิบัติงานให้ชัดเจน และจัด ทำาเป็นเอกสารจำานวน 4 ชุด พร้อมทั้งแนบเอกสาร อ้างอิงในแต่ละหัวข้อมาให้กรรมการพิจารณา 1.6.1 สายงานการสอน รายงานโดยใช้แบบ ก.ค.ศ. 3/1 1.) ส่วนที่ 1 ผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน (เกณฑ์ 60 %) 2.) ส่วนที่ 2 ผลงานทางด้านวิชาการ (เกณฑ์ 40 %) 1.6.2 สายงานบริห ารสถานศึก ษา รายงาน โดยใช้แบบ ก.ค.ศ. 3/2 1) ส่ว นที่ 1 ผลการพัฒนาที่เกิดกับผู้ เรีย น ครู สถานศึก ษาและ
  • 4. 2. การจัด ทำา แบบรายงานด้า นที่ 1 ด้านวินัย คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ สำาหรับทุกตำาแหน่งและ ทุกวิทยฐานะ 2.1 ข้อ มูล ผู้ข อรับ การประเมิน 2.2 ผู้ข อต้อ งเขีย นรายงาน โดยอธิบายพฤติกรรมของ ตนที่แสดงถึงความเป็นผู้มีวนัย คุณธรรม จริยธรรม และ ิ จรรยาบรรณวิชาชีพ และรวบรวมเอกสารหลักฐานอ้างอิงไว้ ที่สถานที่ปฏิบัติงานของผู้ขอ เพื่อให้กรรมการตรวจสอบ ดังมีหัวข้อที่ต้องรายงาน 5 หัวข้อ (เกณฑ์ 100 %) 2.2.1 การมีวินัย (เกณฑ์ 20 %) โดยผู้ขอเขียน อธิบาย 5 พฤติกรรมของตน (5 ด้านบ่งชี้)ให้ชัดเจน 2.2.2 การประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี (เกณฑ์ 20 %) โดยผู้ขอเขียนอธิบาย 5 พฤติกรรมของตน (5 ด้านบ่งชี้)ให้ชัดเจน 2.2.3 การดำารงชีวิตอย่างเหมาะสม (เกณฑ์ 20 %) โดยผู้ขอเขียนอธิบาย 5 พฤติกรรมของตน (5 ด้านบ่ง ชี้)ให้ชัดเจน 2.2.4 ความรักและศรัทธาในวิชาชีพ (เกณฑ์ 20
  • 5. 3. การรวบรวมเอกสารหลัก ฐานด้า นที่ 2 ด้านความรู้ความสามารถของสายงานการ สอน (ครู) เพื่อรองรับการประเมินด้านที่ 2 มี คะแนนเต็ม 100 คะแนน ประกอบด้วย 2 ส่วน 3.1 การเป็น ผูม ค วามสามารถในการ ้ ี จัด การเรีย นการสอน คะแนนเต็ม 60 คะแนน มีรายกรประเมิน 4 รายการ มี 4 ตัวบ่งชี้ ดังนี้ 3.1.1 หลัก สูต ร (10 คะแนน) มี 1 ตัว บ่งชี้ คือ ความสามารถในการจัด ทำา หลัก สูต รอย่า งเป็น ระบบ ซึ่งหมายถึงความ
  • 6. 3.1.2 แผนการจัด การเรีย นรู้ / แผนการจัด ประสบการณ์ / แผนการจัด การศึก ษาเฉพาะ บุค คล (IEP) (30 คะแนน) มี 1 ตัวบ่งชี้ คือ แผนการจัด การเรีย นรู้ / แผนการจัด ประสบการณ์ / แผนการจัด การศึก ษาเฉพาะ บุค คล (IEP) ซึ่งหมายถึงความสามารถในการจัดทำา แผนการเรียนรู้ทสอดคล้องกับหลักสูตร ผู้เรียนและ ี่ บริบทของชุมชนมีองค์ประกอบของแผนครบถ้วน สอดคล้องกันและถูกต้องตามหลักวิชาการมีการ ออกแบบการเรียนรู้ทหลากหลายและถูกต้อง มีการวัด ี่ และประเมินผลสอดคล้องกับจุดประสงค์และกระบวนการ จัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีการทีหลากหลาย มีการบันทึก ่ ผลการจัดการเรียนรู้และนำามาพัฒนาการจัดการเรียนรู้ โดยแสดงหลักฐานคือ แผนการจัดการเรียนรู้ /
  • 7. 3.1.3 สือ / นวัต กรรม (10 คะแนน) มี ่ 1 ตัวบ่งชี้ คือ ความสามารถในการเลือ ก / ออกแบบ การผลิต / จัด หา การนำา ไปใช้ การประเมินผลและการพัฒนาสือ / นวัตกรรมที่ ่ สอดคล้อ งกับ กระบวนการจัด การเรีย น ซึ่ง หมายถึง ความสามารถในการเลือก ผลิต ใช้ และพัฒนาสื่อ / นวัตกรรมที่ถูกต้องตามหลักวิชา การสอกคล้องกับกระบวนการจัดการเรียนรู้ โดย แสดงหลักฐานคือ ผลการวิเคราะห์เพื่อเลือก / ออกแบบสื่อ / นวัตกรรม แผนการผลิต / จัดหา สือ / นวัตกรรม สื่อ / นวัตกรรมที่ผลิตและการ ่ ใช้สอ / นวัตกรรม เครื่องมือและผลการประเมิน ื่ การใช้สอ / นวัตกรรมและการพัฒนา แผนการ ื่
  • 8. 3.1.4 แฟ้ม สะสมงานคัด สรร (10 คะแนน) มี 1 ตัวบ่งชี้ คือ แฟ้ม สะสม ผลงานคัด สรรที่เ กี่ย วกับ ผู้เ รีย น สถานศึก ษา ชุม ชนและตนเอง ซึ่ง หมายถึง แฟ้มสะสมผลงานที่ผู้สอนได้คัด เลือกผลงานที่เกิดจากการปฏิบัติงานใน หน้าที่และงานที่ได้รับมอบหมายของผู้สอน ที่เกี่ยวข้องกับผู้เรียน สถานศึกษา ชุมชน และตนเอง โดยเป็นผลงานดีเด่น หรือผล งานที่แสดงพัฒนาการของการปฏิบัติงาน ในแต่ละกลุ่ม โดยแสดงหลักฐานคือแฟ้ม
  • 9. 3.2 การพัฒ นาตนเองเพื่อ เพิม พูน ความรู้ ่ และทัก ษะในสาขา / กลุ่ม สาระ / รายวิช าทีร ับ ่ ผิด ชอบหรือ ในงานทีร ับ ผิด ชอบ คะแนนเต็ม 40 ่ คะแนน มีรายการประเมิน 3 รายการ มี 3 ตัวบ่งชี้ ดังนี้ 3.2.1 การศึก ษาค้น คว้า หาความรู้ด ้ว ยวิธ ี การต่า งๆ (15 คะแนน) มี 1 ตัวบ่งชี้ คือ การ ศึก ษาค้น คว้า หาความรู้ด ้ว ยวิธ ีก ารต่า งๆ ที่ ทำา ให้เ กิด ความรู้แ ละทัก ษะเพิม ขึ้น ซึ่งหมายถึง ่ การศึกษาค้นคว้าหาความรู้ด้วยการเข้าประชุมทาง วิชาการ การอบรม สัมมนา การศึกษาต่อ การศึกษา เอกสารทางวิชาการ การศึกษาค้นคว้าจากสื่อ / วิธี การอื่น ๆ และการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นทาง วิชาการที่ทำาให้เกิดความรู้และทักษะเพิ่มขึ้น โดย
  • 10. 3.2.2 การประมวลความรู้เ กี่ย วกับ การพัฒ นาวิช าการและวิช าชีพ และ การนำา ไปใช้ใ นการจัด การเรีย นการ สอน (20 คะแนน) มี 1 ตัว บ่ง ชี้ คือ การประมวลความรู้เ กี่ย วกับ การ พัฒ นาวิช าการและวิช าชีพ และ การนำา ไปใช้ใ นการจัด การเรีย นการ สอน ซึ่งหมายถึง การเลือก การสรุป การจัดระบบความรู้ เกี่ยวกับการพัฒนา วิชาการและวิชาชีพ และจัดทำาเป็น เอกสารทางวิชาการเพื่อนำาไปใช้ในการ
  • 11. 3.2.3 การให้บ ริก ารทางวิช าการและ วิช าชีพ (5 คะแนน) มี 1 ตัวบ่งชี้ คือ การให้บ ริก ารทางวิช าการและวิช าชีพ หมายถึง การเป็นวิทยากร การเผยแพร่ เอกสาร สื่อ / นวัตกรรม การให้ความร่วมมือ ด้านวิชาการและวิชาชีพแก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง โดย แสดงหลักฐานคือ หนังสือเชิญเป็นวิทยากร หนังสือขอบคุณหรือเกียรติบตรจากหน่วยงานที่ ั เชิญ บันทึกการให้การเผยแพร่ / การบริการ เอกสาร / สือ / นวัตกรรม หลักฐานการให้ ่ ความร่วมมือด้านวิชาการและวิชาชีพ เอกสาร / หลักฐานที่เกี่ยวข้อง
  • 12. 4. การรวบรวมเอกสารหลัก ฐานด้า นที่ 2 ด้าน ความรู้ความสารถ สายงานบริหารสถานศึกษา เพื่อ ขอรับการประเมินด้านที่ 2 มีคะแนนเต็ม 100 คะแนนประกอบด้วย 2 ส่วน 4.1 การเป็น ผู้ม ค วามสารถในการบริห าร ี จัด การสถานศึก ษา คะแนนเต็ม 60 คะแนน มี รายการประเมิน 7 รายการ มี 15 ตัวบ่งชี้ ดังนี้ 4.1.1 การวางแผนพัฒ นาการศึก ษา (8 คะแนน) มี 2 ตัวบ่งชี้ คือ ตัว บ่ง ชี้ท ี่ 1 ได้แ ก่ การจัด ทำา แผนพัฒ นาการ ศึก ษา ซึ่งหมายถึง มีแผนพัฒนาการศึกษาที่ สอดคล้องกับนโยบายทุกระดับ และครอบคลุมภารกิจ หลักของสถานศึกษา มีการประเมินความต้องการ จำาเป็นของผู้เกียวข้อง หรือมีกระบวนการจัดทำาถูกต้อง ่ ผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการจัดทำาแผนทุกขั้นตอน แผนปฏิบัติการประจำาปีทสอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ ี่
  • 13. ตัว บ่ง ชีท ี่ 2 ได้แ ก่ด ำา เนิน การตามแผน ้ พัฒ นาการศึก ษา ซึ่งหมายถึง การประชุม ชีแจง ทำาความเข้าใจกับผูเกี่ยวข้อง มีคำาสั่ง ้ ้ มอบหมายงานให้ผู้รับผิดชอบมีการดำาเนินงาน ตามโครงการ หรือกิจกรรมที่กำาหนดไว้ครบ ถ้วน และมีการนิเทศติดตาม มีบนทึก หรือ ั รายงานผลการนิเทศติดตาม มีการนำาผลการ ติดตามไปใช้ในการปรับปรุงแผน แผนงาน โครงการ และมีรายงานผลการจัดทำาโครงการ หรือกิจกรรมครบถ้วน โดยแสดงหลักฐานคือ บันทึก / รายงานผลการวิเคราะห์ สังเคราะห์ ข้อมูล จุดเด่น จุดด้อย โอกาส อุปสรรคของ สถานศึกษา แผนกลยุทธ์ แผนปฏิบติการ ั
  • 14. 4.1.2 การจัด โครงสร้า งการบริห าร (4 คะแนน) มี 1 ตัว บ่ง ชี้ ได้แ ก่ การ จัด การโครงสร้า งการบริห ารกิจ การสถาน ศึก ษา ซึ่งหมายถึง มีการจัดโครงสร้างการ บริหารที่เป็นระบบสอดคล้องกับหลักการกระจา ยอำานาจ และเป้าหมายของสถานศึกษา แสดง ให้เห็นถึงความสอดคล้องและเชื่อมโยงของสาย งานมีความครอบคลุม ขอบข่ายและภารกิจหลัก ของสถานศึกษา ผ่านความเห็นชอบของต้น สังกัด มีการมอบหมายงานแก่บคลากรตาม ุ ภารกิจ โดยใช้ข้อมูลพื้นฐานของบุคคลกรและ บริบทของสถานศึกษา มีการจัดสรรทรัพยากร สนับสนุนการดำาเนินงานตามภารกิจ และจัดให้ มีระบบควบคุมภายในสถานศึกษาโดยแสดงหลัก
  • 15. 4.1.3 การบริห ารวิช าการ (16 คะแนน) มี 4 ตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชีละ 4 คะแนน คือ ้ ตัว บ่ง ชี้ท ี่ 1 ได้แ ก่ก ารพัฒ นาหลัก สูต รสถานศึก ษา ซึ่งหมายถึง หลักสูตรมีความสอดคล้องกับความ ต้องการของผู้เรียนและท้องถิ่น ผู้บริหาร ครู ผู้ ปกครอง และชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดทำาหลักสูตร หลักสูตรมีองค์ประกอบครบถ้วน ถูกต้อง สมบูรณ์ คือ มีวิสัยทัศน์ จุดหมาย คุณลักษณะอันพึงประสงค์ โครงสร้าง เวลาเรียน คำาอธิบายรายวิชา แนวดำาเนิน การจัดการเรียนรู้ การวัดผลประเมินผลการเรียน หลักสูตรผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการสถาน ศึกษา มีการนำาหลักสูตรสถานศึกษาไปปฏิบัติจริงใน การจัดการเรียนรู้ มีระบบการนิเทศติดตามการใช้ หลักสูตร มีการนำาผลนิเทศติดตามและการประเมินการ ใช้หลักสูตรมาปรับปรุงหลักสูตรอย่างต่อเนือง โดย ่
  • 16. ตัว บ่ง ชีท ี่ 2 ได้แก่ การจัด กระบวนการ ้ เรีย นรู้ ซึ่งหมายถึงครูมีการเตรียมการจัดการ เรียนรู้ (การวิเคราะห์ผู้เรียน การออกแบบ กิจกรรมการเรียนรู้ การเตรียมสื่อและแหล่ง เรียนรู้ เครื่องมือวัดผลประเมินผล) จัด กระบวนการเรียนรู้ตามที่กำาหนดในแผนการ จัดการเรียนรู้ มีการวัดและประเมินผลด้วย เครื่องมือและวิธการที่หลากหลาย โดยมีร่อง ี รอยหลักฐานของการวัด และนำาผลไปปรับปรุง โดยแสดงหลักฐาน คือ แบบบันทึกการตรวจ สอบข้อมูลแผนการจัดการเรียนรู้ เอกสาร ประกอบการจัดการเรียนรู้ สารสนเทศที่ เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้ บันทึกผลการ
  • 17. ตัว บ่ง ชี้ท ี่ 3 ได้แก่ การพัฒ นาสื่อ นวัต กรรม เทคโนโลยี และแหล่ง การเรีย นรู้ท างการศึก ษา ซึงหมายถึง สารสนเทศแผนปฏิบัติการ และมีการ ่ ระดมทุนเพือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี และ ่ แหล่งเรียนรู้ตรงตามทีหลักสูตรกำาหนด ครูและ ่ นักเรียนสามารถใช้สอ นวัตกรรม เทคโนโลยี และ ื่ แหล่งการเรียนรู้บรรลุตามวัตถุประสงค์ มีการติดตาม ประเมินผลการใช้สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี มีการ รายงานผล และนำาผลไปปรับปรุง โดยแสดงหลักฐาน คือ แบบบันทึกการตรวจสอบข้อมูล แผนพัฒนาสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการศึกษาโดยพิจารณา รายละเอียด ดังนี้ (1) การระดมทุนเพือจัดหาและ ่ พัฒนาสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการศึกษา (2) การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาเกี่ยวกับ การผลิตและการใช้สื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยี
  • 18. ตัว บ่ง ชีท ี่ 4 ได้แก่ การจัด ทำา ระบบประกัน ้ คุณ ภาพการศึก ษา ซึ่งหมายถึง มีการดำาเนิน การตามระบบการประกันคุณภาพภายในที่ระบุ ไว้ในคู่มือ มีการประเมินตนเอง และจัดทำา รายงานการประเมินตนเอง (SAR) มีการเตรี ยมการเพื่อการประเมินภายนอก มีการเผยแพร่ ผลการประเมินคุณภาพ และนำาผลการประเมิน ไปปรับปรุง โดยแสดงหลักฐานคือแบบบันทึก การตรวจสอบข้อมูล คูมือการประกันคุณภาพ ่ ภายในสถานศึกษา แผนปฏิบติการประจำาปี ั แผนกลยุทธ์ โครงการการประกันคุณภาพการ ศึกษาของ รายงานการประเมินตนเอง (SAR) รายงานการประเมินคุณภาพสถานศึกษา
  • 19. 4.1.4 การบริห ารงบประมาณ (4 คะแนน) มี 1. ตัวบ่งชี้ คือ การบริห ารงบประมาณ ซึ่งหมายถึง มีสารสนเทศและแผนปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้งบประมาณ จัดทำามาตรฐานภาระงานงบประมาณ มีการชี้แจงให้ ครูและบุคลากรทางการศึกษาทราบ การมอบหมาย งานให้รับผิดชอบโดยคำานึงถึงความรู้ความสามารถ และความต้องการของสถานศึกษา มีการระดม ทรัพยากรเพื่อการศึกษา ใช้งบประมาณตรงตามกรอบ และวัตถุประสงค์ถูกต้องตามระเบียบ มีระบบควบคุม ตรวจสอบภายใน รายงานการใช้งบประมาณเป็นปัจุ บัน และมีการประเมินผลและนำาผลไปปรับปรุง โดย แสดงหลักฐานคือ บันทึกการตรวจสอบข้อมูล แผน ปฏิบัติการ หรือแผนการใช้งบประมาณ คำาสังมอบ ่ หมายงาน หลักฐานการจัดซือจัดจ้าง รายงานเงินคง ้ เหลือ รายงานการตรวจสอบพัสดุประจำาปี รายงาน
  • 20. 4.1.5 การบริห ารงานบุค คล (8 คะแนน) มี 2 ตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชี้ละ 4 คะแนน คือ ตัว บ่ง ชี้ท ี่ 1 ได้แ ก่ การจัด ระบบบริก ารงานบุค คล ซึงหมายถึงมีสารสนเทศและแผนปฏิบัติงานเกี่ยวกับ ่ การบริหารงานบุคคล สอดคล้องกับนโยบาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ หลักเกณฑ์และวิธีการตามที่ ก.ค.ศ. และ อ.ก.ค.ศ เขตพื้นทีการศึกษากำาหนดและครอบคลุม ่ ความต้องการอัตรากำาลังและสาขาวิชาทีต้องการ จัด ่ ทำามาตรฐานภาระงานของคน และชี้แจงให้ครูและ บุคลากรทางการศึกษาทราบ มีการมอบหมายงาน สอดคล้องกับความรู้ความสามารถและความต้องการ ของสถานศึกษา มีระบบประเมินผลการปฏิบัติงาน และ มีการรายงานผลปฏิบัติงานและนำาผลการประเมินไป ปรับปรุง โดยแสดงหลักฐานคือ แบบบันทึกการตรวจ
  • 21. ตัว บ่ง ชีท ี่ 2 ได้แ ก่ การพัฒ นาข้า ราชการครู ้ และบุค ลากรทางการศึก ษา ซึ่งหมายถึง มี สารสนเทศและแผนปฏิบติการเกี่ยวกับการ ั พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา และแผน พัฒนาเป็นรายบุคคล (ID-Plan) ตรงตามข้อมูล ความจำาเป็นของสถานศึกษา จัดสวัสดิการเพื่อ เสริมสร้างขวัญกำาลังใจ เสริมสร้างวินยั คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ส่งเสริมให้เข้าศึกษาฝึกอบรม ดูงาน ปฏิบัติงาน วิจัยและพัฒนา ประชุมเผยแพร่ แลกเปลี่ยน เรียนรู้ผลงาน เพื่อเพิ่มความรู้และประสบการณ์ ทำางาน ความก้าวหน้าในวิชาชีพ มีการติดตาม ผลการประเมินผลการพัฒนามีการรายงานผล การพัฒนา และนำาผลไปปรับปรุง โดยแสดง
  • 22. 4.1.6 การบริห ารทัว ไป (12 คะแนน) มี 3 ตัวบ่งชี้ ่ ตัวบ่งชีละ 4 คะแนน คือ ้ ตัว บ่ง ชี้ท ี่ 1 ได้แ ก่ การบริห ารอาคารสถานทีแ ละ ่ สภาพแวดล้อ ม ซึ่ง หมายถึง มีแ ผนแม่บ ทในการ พัฒ นาอาคารสถานทีแ ละสภาพแวดล้อ ม ซึ่งหมาย ่ ถึง เพื่อพัฒนาเป็นแหล่งการเรียนรู้ในสถานศึกษา จัด ทำามาตรฐานภาระด้านอาคารสถานทีฯ เน้นการบำารุง ่ รักษาและการใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย มีการชี้แจงให้บุคลากรทราบ มีการมอบหมายโดย คำานึงถึงความรู้ความสามารถ และความต้องการของ สถานศึกษา ส่งเสริมให้ผู้เรียนผู้ปกครองและชุมชนมี ส่วนร่วมในการพัฒนา และใช้อาคารสถานทีและสภาพ ่ แวดล้อม จัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่างประหยัดและคุ้ม ค่า มีการติดตามประเมินผล รายงานผลการใช้อาคาร
  • 23. ตัว บ่ง ชีท ี่ 2 ได้แ ก่ การบริห ารกิจ การ ้ นัก เรีย น ซึ่งหมายถึง มีสารสนเทศและแผน ปฏิบัติการเกี่ยวกับการบริหารกิจการนักเรียน จัดทำามาตรฐานภาระงานกิจการนักเรียนและ ชีแจงให้บุคลากรทราบ มีการมอบหมายงานให้ ้ บุคลากร มีกรรมการนักเรียน เครือข่ายผู้ ปกครองรับผิดชอบดำาเนินการตามแผนและจัด กิจกรรมระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน มีการ ติดตามประเมินผล และรายงานผลการดำาเนิน การ และนำาผลไปปรับปรุง โดยแสดงหลักฐาน คือ แบบบันทึกตรวจสอบข้อมูล แผนปฏิบัติการ คำาสังมอบหมายงาน มาตรฐานภาระงานกิจการ ่ นักเรียน รายงานผลการดำาเนินงานกิจการ
  • 24. ตัว บ่ง ชีท ี่ 3 ได้แ ก่ การบริห ารงานธุร กาจ ้ และงานสัม พัน ธ์ช ม ชน ซึ่งหมายถึง มี ุ สารสนเทศและแผนปฏิบติการเกี่ยวกับการ ั บริหารงานธุรการและงานสัมพันธ์ชมชน จัดทำาุ มาตรฐานภาระงานธุรการและงานสัมพันธ์ ชุมชน โดยเน้นระบบ ถูกต้อง สะดวกและทั่วถึง และชีแจงให้บุคลากรทราบ มอบหมายงานโดย ้ คำานึงถึงความรู้ความสามารถ เทคโนโลยี และ ความต้องการของสถานศึกษา ใช้สอ เครือข่าย ื่ และเพื่องานธุรการ มีการจัดกิจกรรมสัมพันธ์ ชุมชนโดยเน้นการมีส่วนร่วมของผูเกี่ยวข้อง มี ้ การติดตามและประเมินผล มีการรายงานผลและ นำาผลไปปรับปรุง โดยแสดงหลักฐานคือ แบบ บันทึกตรวจสอบข้อมูล แผนปฏิบติการ คำาสั่ง ั
  • 25. 4.1.7 การเป็น ผู้น ำา ด้า นนวัต กรรมการบริห ารการ ศึก ษา (8 คะแนน) มี 2 ตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชี้ละ 4 คะแนน คือ ตัว บ่ง ชี้ท ี่ 1 ได้แ ก่ การใช้น วัต กรรมการ บริห ารการศึก ษา ซึ่งหมายถึง มีสารสนเทศและ แผนการปฏิบัติการทีเกี่ยวกับการใช้นวัตกรรมการ ่ บริหาร มีการสรรหาคณะทำางานทีมประสิทธิภาพ รับ ่ ี ผิดชอบการใช้นวัตกรรมการบริหาร และชี้แจงคณะ ทำางานเกียวกับการใช้และเลือกใช้นวัตกรรมการ ่ บริหารที่เหมาะสมสอดคล้องกับมาตรฐานภาระงาน บริหาร โดยคำานึงถึงประโยชน์และความคุ้มค่า มีผล การใช้เป็นทียอมรับของวงวิชาชีพบริหาร เช่นได้รับ ่ เชิญให้นำาเสนอ โดยได้รับการประเมินจากหน่วยงาน หรือได้รับรางวัลเกี่ยวกับนวัตกรรมทีนำามาใช้ เป็นต้น ่ มีการติดตามและประเมินผลการใช้ และมีรายงานผล และนำาผลไปปรับปรุง โดยแสดงหลักฐานคือ แบบ
  • 26. ตัว บ่ง ชีท ี่ 2 ได้แก่ การคิด ริเ ริ่ม นวัต กรรม ้ การบริห ารการศึก ษา ซึ่งหมายถึง มีการ ศึกษาองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการสร้าง นวัตกรรม การออกแบบนวัตกรรมการบริหาร การศึกษา และชีแจงครูและผูเกี่ยวข้องทราบ มี ้ ้ การทดลองใช้ มีการติดตามและประเมินผลการ ใช้ มีรายงานผลการใช้และนำาผลไปปรับปรุง เผยแพร่ และนวัตกรรมเป็นที่ยอมรับในวง วิชาชีพบริหาร โดยแสดงหลักฐานคือ แบบ บันทึกข้อมูลหลักฐานที่แสดงถึงการศึกษาองค์ ความรู้ที่เกี่ยวกับการสร้างนวัตกรรม นวัตกรรม การบริหารการศึกษา รายงานผลการใช้ นวัตกรรมการบริหาร หลักฐานการเผยแพร่
  • 27. 4.2 การพัฒ นาตนเองเพือ เพิ่ม พูน ความรูแ ละทัก ษะ ่ ้ ในการบริห ารจัด การสถานศึก ษา (คะแนนเต็ม40 ) มีรายการประเมิน 4 รายการ มี 5 ตัวบ่งชี้ ดังนี้ 4.2.1 มีก ารศึก ษาค้น คว้า ความรูด ว ยวิธ ีต ่า งๆ (10 คะแนน) ้ ้ มี 1 ตัวบ่งชี้ คือ มีว ธ ีก ารศึก ษาค้น คว้า หาความรูเ พื่อ พัฒ นาตนเอง ิ ้ 9 วิธ ี ดังนี้ 1. การศึกษาต่อเพื่อเพิ่มคุณวุฒิ 2. การฝึกอบรมตามหลักสูตรที่เกี่ยวกับการบริหารสถานศึกษา อย่างน้อยปีละ 3 ครั้ง 3. การประชุมทางวิชาการอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง 4. การสัมมนาทางวิชาการอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง 5. การศึกษาดูงานที่เกี่ยวกับการบริหารสถานศึกษาอย่างน้อยปี ละ 2 ครั้ง 6. การศึกษาค้นคว้าผลการวิจัยอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง 7. การเป็นคณะทำางานที่เกี่ยวกับบริหารศึกษา อย่างน้อย 3 คณะ
  • 28. 4.2.2 การประมวลความรู้ท ี่เ กี่ย วกับ การ พัฒ นาวิช าการและวิช าชีพ (10 คะแนน) มี 2 ตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชีละ 5้ คะแนน คือ ตัว บ่ง ชีท ี่ 1 ได้แ ก่ การประมวลความรู้ ้ เกี่ย วกับ การพัฒ นาวิช าการ ซึ่งหมายถึง มี การประมวลความรู้เชิงวิชาการเป็นหมวดหมู่ โดยทำาเป็นเอกสารหรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ซึ่ง รวบรวมจากผลการพัฒนาตนเองและจากแหล่ง ความรู้ต่างๆ ที่เชือมั่นได้ และมีการปรับปรุง ่ เนื้อหาสาระให้ทันสมัย โดยแสดงหลักฐานคือ แบบบันทึกการตรวจสอบข้อมูล รายงานการ
  • 29. ตัว บ่ง ชีท ี่ 2 ได้แ ก่ การประมวลความรู้ท ี่ ้ เกี่ย วกับ การพัฒ นาวิช าชีพ ซึ่งหมายถึง มี การประมวลความรู้ในวิชาชีพเกี่ยวกับการ บริหารจัดการสถานศึกษาด้านวิชาการ งบ ประมาณ บุคลากร บริหารทั่วไป และ กฎหมาย ที่เกี่ยวข้องเป็นหมวดหมู่ โดยจัดทำาเป็นเอกสาร หรือสืออิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งรวบรวมผลจากการ ่ พัฒนาตนเองและจากแหล่งความรู้ต่างๆ ที่เชื่อ ถือได้ และมีการปรับปรุงเนื้อหาสาระให้ทันสมัย โดยแสดงหลักฐานคือ แบบบันทึกตรวจสอบ ข้อมูล รายงานการประมวลความรู้ในวิชาชีพที่ เกี่ยวกับการบริหาร เอกสารที่เกี่ยวกับกฎหมาย ระเบียบที่เกี่ยวข้อง เอกสารวิชาการ สื่อ
  • 30. 4.2.3 การนำา ความรู้แ ละทัก ษะมาใช้ใ นการบริห าร จัด การสถานศึก ษา (10 คะแนน) มี 1 ตัวบ่งชี้ คือ ตัว บ่ง ชี้ท ี่ 1 ได้แ ก่ การนำา ความรู้แ ละทัก ษะมาใช้ ในการบริห ารจัด การสถานศึก ษา ซึ่งหมายถึง มี การกำาหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายของการนำาเสนอ ความรู้และทักษะมาใช้ในการบริหาจัดการสถานศึกษา จัดทำาเป็นแนวทางหรือนำาเห็นการปฏิบัติ มีการประชุม วางแผนการนำาความรู้หรือทักษะมาใช้ มีการปฏิบัติจริง ตามแนวทางหรือขั้นตอนทีกำาหนด มีรายงานผลการใช้ ่ นวัตกรรมการบริหารและนำาผลไปปรับปรุง และเกิดผล ดีเป็นแบบอย่างได้ โดยแสดงหลักฐาน คือ แบบบันทึก การตรวจสอบข้อมูล แผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการ ประจำาปี หลักฐานทีเกี่ยวข้องกับการนำาความรู้และ ่ ทักษะมาใช้ในการบริหารจัดการสถานศึกษา รางวัลที่
  • 31. 4.2.4 การให้บ ริก ารทางวิช าการและวิช าชีพ (10 คะแนน) มี 1 ตัวบ่งชี้ คือ การให้บ ริก ารทาง วิช าการและวิช าชีพ ซึงหมายถึง มีการดำาเนินการ ่ ให้บริการทางวิชาการและวิชาชีพ ในลักษณะต่างๆ ดังนี้ 1. การนำาเสนอต่อทีประชุมระดับเครือข่ายอย่างน้อยปีละ ่ 2 ครั้ง 2. การจัดนิทรรศการแสดงผลงานในระดับเขตพื้นที่ขึ้น ไปอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง 3. การนำาเสนอในระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต อย่างน้อย ปีละ 5 ครั้ง 4. การรวบรวมเป็นเอกสารเผยแพร่อย่างน้อยปีละ 2 ฉบับ 5. การเป็นวิทยากรระดับเครือข่ายอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง 6. การนำาเสนอในวารสารทางวิชาการทียอมรับในวง ่ วิชาการอย่างน้อยปีละ 1 ฉบับ โดยแสดงหลักฐาน คือ แบบบันทึกการตรวจสอบข้อมูล
  • 32. 5. การรายงานด้า นที่ 3 ด้า นผลการปฏิบ ต ิ ั งานสายงานการสอน (ครู) คะแนนเต็ม 100 คะแนน (60+40 = 100) ประกอบ ด้วย 2 ส่วนดังนี้ 5.1 ส่ว นที่ 1 ผลการพัฒ นาคุณ ภาพผู้ เรีย น คะแนนเต็ม 60 คะแนน มีรายการ ประเมิน 3 รายการ มี 7 ตัวบ่งชี้ ดังนี้ 5.1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (30 คะแนน) มี 3 ตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชี้ละ 10 คะแนน คือ ตัว บ่ง ชีท ี่ 1 ได้แ ก่ ผลสัม ฤทธิท างการ ้ ์ เรีย นก่อ นเรีย นและหลัง เรีย น ซึ่งหมายถึง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผูเรียนอันเป็น ผลจากการเรียนการสอนของผูสอนและสถาน ้
  • 33. ตัว บ่ง ชี้ท ี่ 2 ได้แ ก่ ค่า เฉลีย ผลสัม ฤทธิ์ ่ ทางการเรีย นของวิช าทีส อน ซึ่งหมายถึง ค่า ่ เฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ของผูเรียนเปรียบเทียบปีปัจจุบันกับ ้ ปีทผ่านมา (กรณีสาขาการศึกษาปฐมวัยหมายถึง ี่ ความก้าวหน้าทางพัฒนาการของผูเรียนทีศึกษาใน ้ ่ ปีการศึกษาต่างกัน) โดยแสดงหลักฐานคือ แบบ สรุปผลการเรียนรู้ตามเกณฑ์ของหน่วยงาน ผล การวิเคราะห์ค่าเฉลียผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ่ เอกสาร/หลักฐานที่เกียวข้อง (สาขาปฐมวัยแบบ ่ สรุปผลการพัฒนาการของผูเรียนทัง 4 ด้าน ผล ้ ้ การวิเคราะห์ระดับ/คะแนนพัฒนาการของผูเรียน) ้ เอกสาร/หลักฐานที่เกียวข้อง ่ ตัว บ่ง ชี้ท ี่ 3 ได้แก่ ผลการประเมิน และหรือ
  • 34. 5.1.2 ผลการพัฒ นาผูเ รีย นด้า นอื่น ๆ (20 ้ คะแนน) มี 2 ตัวบ่งชี้ คือ ตัว บ่ง ชีท ี่ 1 ได้แ ก่ ผลการพัฒ นาผูเ รีย น ้ ้ ด้า นสุข ภาพ ร่า งกาย สติป ญ ญา อารมณ์ ั และสัง คม (15 คะแนน) ซึ่งหมาย ถึง ผลจากการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้ เรียนที่เกิดจากการจัดการเรียนรู้กิจกรรมประจำา วัน/กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนด้านสุขภาพ ร่างกาย สติปัญญา อารมณ์และสังคม ตามหลักสูตร และตามสถานศึกษากำาหนด (สาขาการศึกษา ปฐมวัยจะกำาหนดเพิ่มเติม) โดยแสดงหลักฐาน คือรายงานผลการพัฒนาผู้เรียนด้านสุขภาพ ร่างกาย สติปัญญา อารมณ์และสังคม โดย
  • 35. ตัว บ่ง ชีท ี่ 2 ได้แ ก่ ความพึง พอใจของผูร ับ ้ ้ บริก ารและผูเ กี่ย วข้อ งต่อ การพัฒ นาผู้ ้ เรีย นด้า นสุข ภาพ ร่า งกาย สติป ญ ญา ั อารมณ์แ ละสัง คม (5 คะแนน) ซึ่งหมายถึง ความรู้สึก / ความคิดเห็นของบุคคลหลายฝ่าย ที่เกี่ยวข้องที่มีต่อคุณภาพของผลงาน โดย แสดงหลักฐานคือ รายงานผลการประเมินความ พึงพอใจของผู้รับบริการและผูเกี่ยวข้องได้แก่ ้ นักเรียน ผู้ปกครอง บุคคลในชุมชน และ บุคลากรในสถานศึกษา เครื่องมือที่ผู้สอนใช้ใน การประเมินความพึงพอใจ (มาตรประมาณค่า 5 ระดับ) เอกสาร / หลักฐานที่เกี่ยวข้อง
  • 36. 5.1.3 ปริม าณงานและสภาพของงาน (10 คะแนน) มี 2 ตัวบ่งชี้ คือ ตัว บ่ง ชีท ี่ 1 ได้แก่ ปริมาณงาน (5 คะแนน) ้ ซึ่งหมายถึง ความมากน้อยของจำานวนชัวโมง่ จำานวนกลุ่มสาระการเรียนรู้ / กลุ่มประสบการณ์ สาขาวิชาที่รับผิดชอบและจำานวนนักเรียนที่รับ ผิดชอบ (สาขาปฐมวัยจะเพิ่มเติมจากนี้) โดย แสดงหลักฐานคือ คำาสั่งของสถานศึกษาที่มอบ หมายให้ปฏิบติงาน ตารางสอนที่สถานศึกษา ั ให้การรับรอง แผนการจัดการเรียนรู้ / แผนการจัดประสบการณ์ แผนการจัดการ ศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) เอกสาร / หลัฐานที่ เกี่ยวข้อง
  • 37. ตัว บ่ง ชีท ี่ 2 ได้แก่ สภาพของงาน (5 ้ คะแนน) ซึ่งหมายถึง ความรับผิดชอบของผู้ สอนที่ต่อผูเรียนที่มีความต้องการจำาเป็นพิเศษ ้ นักเรียนมีความหลากหลายทางเศรษฐกิจ / วัฒนธรรม / สังคม / พัฒนาการตามวัย และ สถานศึกษาที่ตั้งอยู่บนพื้นที่ปกติ พื้นที่เขา เกาะแก่ง ชายแดน ถิ่นทุรกันดารหรือพื้นที่มี ลักษณะพิเศษ โดยแสดงหลักฐานคือ คำาสัง ่ ของสถานศึกษาที่มอบหมายให้ปฏิบติงาน ั ข้อมูล สารสนเทศของฝ่ายแนะแนวหรือกลุ่ม บริหารวิชาการที่แสดงจำานวนนักเรียนที่มีความ ต้องการจำาเป็นพิเศษ เอกสารสรุปลักษณะความ หลากหลายด้านต่างๆ ของผูเรียน หลักฐาน ้
  • 38. 5.2 ส่ว นที่ 2 ผลงานทางวิช าการ สายงาน ผูส อน (ครู) คะแนนเต็ม 40 คะแนน มี ้ รายการประเมิน 2 รายการ มี 6 ตัวบ่งชี้ ดังนี้ 5.2.1 คุณ ภาพของผลงานทางวิช าการ (20 คะแนน) มี 4 ตัวบ่งชี้คอ ื ตัว บ่ง ชีท ี่ 1 ได้แ ก่ ความถูก ต้อ งตาม ้ หลัก วิช าการ (7 คะแนน) ตัว บ่ง ชีท ี่ 2 ได้แ ก่ ความสมบูร ณ์ข อง ้ เนื้อ หาสาระ (6 คะแนน) ตัว บ่ง ชีท ี่ 3 ได้แ ก่ ความคิด ริเ ริ่ม ้ สร้า งสรรค์ (4 คะแนน)
  • 39. 5.2.2 ประโยชน์ข องผลงานทางวิช าการ (20 คะแนน) มี 2 ตัวบ่งชี้ คือ ตัว บ่ง ชีท ี่ 1 ได้แ ก่ ประโยชน์ต ่อ ผูเ รีย น ้ ้ ครู บุค ลากรทางการศึก ษา การจัด การ ศึก ษา หน่ว ยงานการศึก ษา และชุม ชน (10 คะแนน) ตัว บ่ง ชีท ี่ 2 ได้แ ก่ ประโยชน์ต ่อ ความ ้ ก้า วหน้า ทางวิช าการและการเผยแพร่ใ น วงวิช าการ (10 คะแนน)
  • 40. 6. การรายงานด้า นที่ 3 ด้า นผลการปฏิบ ัต ิง าน สายงานบริห ารสถานศึก ษา คะแนนเต็ม 100 คะแนน (60 + 40 = 100 คะแนน) ประกอบด้วย 2 ส่วนดังนี้ 6.1 ส่ว นที่ 1 ผลการพัฒ นาคุณ ภาพในการ บริห ารจัด การศึก ษา คะแนนเต็ม 60 คะแนน มี รายการประเมิน 4 รายการ มี 15 ตัวบ่งชี้ดังนี้ 6.1.1 ผลการพัฒนาทีเกิดกับผู้เรียน (24 ่ คะแนน) มี 6 ตัวบ่งชี้ คือ ตัว บ่ง ชีท ี่ 1 ได้แ ก่ ผลสัม ฤทธิ์ท างการเรีย น ้ ของผู้เ รีย น 4 คะแนน ซึงหมายถึง ผู้เรียนมีค่า ่ เฉลี่ยของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5 กลุ่มสาระการ เรียนรู้หลักคือ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม และภาษาต่าง
  • 41. ตัว บ่ง ชี้ท ี่ 2 ได้แ ก่ ผลการประเมิน คุณ ลัก ษณะอัน พึง ประสงค์ข องผู้เ รีย นตามหลัก สูต รทุก ข้อ (4 คะแนน) ซึงหมายถึง ผู้เรียนมีคุณลักษณะอัน ่ พึงประสงค์ตามหลักสูตรสถานศึกษาทุกข้อเพิมขึ้น ่ หรือมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์อยูในระดับดี – ดีเยี่ยม ่ โดยคำานวณจากผู้เรียนทั้งหมด โดยแสดงหลักฐานคือ แบบบันทึกการตรวจสอบข้อมูลสารสนเทศผลการเรียน ของผู้เรียน แบบรายงานผลการประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ 2 ปีการศึกษา เอกสาร / หลักฐานที่ เกี่ยวข้อง สัมภาษณ์ สอบถามบุคคลทีเกียวข้อง ่ ่ ตัว บ่ง ชี้ท ี่ 3 ได้แ ก่ ผลการประเมิน คุณ ภาพ ภายนอกของผู้เ รีย นทุก มาตรฐาน (4 คะแนน) ซึงหมายถึง ผลการประเมินคุณถาพภายนอกของผู้ ่ เรียนตามมาตรฐานด้านผู้เรียน โดยแสดงหลักฐานคือ
  • 42. ตัว บ่ง ชี้ท ี่ 4 ได้แ ก่ ผลการทดสอบ O-NET หรือ NT หรือ LAS หรือ ผลการทดสอบอื่น ๆ ของ ระดับ ชาติ ในระดับ ชัน สูง สุด ของสถานศึก ษา ้ (4 คะแนน) ซึงหมายถึงผู้เรียนมีผลการทดสอบ O- ่ NET หรือ NT หรือ LAS หรือ ผลการทดสอบอื่นๆ ของระดับชาติ ในระดับชั้นสูงสุดของสถานศึกษา 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้หลักคือ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม และ ภาษาต่างประเทศเพิมขึ้น 2 ปีการศึกษา โดยแสดง ่ หลักฐานคือ แบบบันทึกการตรวจสอบข้อมูลรายงาน ผลการตรวจสอบ ผู้เรียน เอกสาร / หลักฐานที่ เกี่ยวข้อง สัมภาษณ์ สอบถามบุคคลทีเกียวข้อง ่ ่ ตัว บ่ง ชี้ท ี่ 5 ได้แ ก่ ผลการพัฒ นาความสามารถ ของผู้เ รีย น (4 คะแนน) ซึ่งหมายถึง ผู้เรียนมี ความสามารถด้านศิลปะ ภาษา ดนตรี กีฬา คอมพิวเตอร์ มนุษยสัมพันธ์ เข้าใจตนเอง และรอบรู้
  • 43. ตัว บ่ง ชีท ี่ 6 ได้แ ก่ ผลการพัฒ นาคุณ ภาพ ้ ผูเ รีย นกลุม เสีย งและกลุ่ม ที่ม ป ญ หาใน ้ ่ ่ ี ั ระบบดูแ ละช่ว ยเหลือ นัก เรีย น (4 คะแนน) ซึ่งหมายถึง ลดจำานวนผูเรียนกลุ่มเสียงแลกลุ่ม ้ ่ ที่มีปญหาในระบบดูและช่วยเหลือนักเรียน โดย ั แสดงหลักฐานคือ แบบบันทึกการตรวจสอบ ข้อมูลสารสนเทศผลการเรียนของผูเรียนกลุ่ม ้ เสี่ยงและกลุ่มที่มีปญหา รายงายผลการจัด ั ระบบดูแลช่วยเหลือผูเรียนกลุ่มเสียงและกลุ่มที่มี ้ ่ ปัญหา เอกสาร / หลักฐานที่เกี่ยวข้อง สัมภาษณ์ สอบถามบุคคลที่เกี่ยวข้อง
  • 44. 6.1.2 ผลการพัฒ นาทีเ กิด กับ ครู (20 คะแนน) มี ่ 5 ตัวบ่งชี้คือ ตัว บ่ง ชี้ท ี่ 1 ได้แ ก่ การประเมิน คุณ ภาพภายนอก ของครูท ก มาตรฐานครั้ง สุด ท้า ย (4 คะแน) ซึง ุ ่ หมายถึงผลการประเมินคุณภาพภายนอกของครูตาม มาตรฐานด้านครูทั้ง 12 มาตรฐาน 13 ตัวบ่งชี้ ยกเว้น ตัว บ่ง ชี้ท ี่ 5 ของมาตรฐานที่ 8 คือ สถาน ศึกษามีจำานวนครูตามเกณฑ์ โดยแสดงหลักฐานคือ แบบบันทึกการตรวจสอบข้อมูลรายงานผลการประเมิน คุณภาพภายนอก เอกสาร / หลักฐานทีเกี่ยวข้อง ่ สัมภาษณ์ สอบถามบุคคลทีเกี่ยวข้อง ่ ตัว บ่ง ชี้ท ี่ 2 ได้แ ก่ ผลการพัฒ นาทางวิช าชีพ (4 คะแนน) ซึ่งหมายถึง จำานวนข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษา ฝึกอบรม ดูงาน ปฏิบัติงาน
  • 45. ตัว บ่ง ชีท ี่ 3 ได้แ ก่ ความก้า วหน้า ทาง ้ วิช าชีพ (4 คะแนน) ซึ่งหมายถึง ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับ ความก้าวหน้าทางวิชาชีพคือ การมีและเลื่อน วิทยฐานะ การเปลี่ยนตำาแหน่ง โดยแสดงหลัก ฐานคือ แบบบันทึกการตรวจสอบข้อมูล สารสนเทศเกี่ยวกับการมีและเลื่อนวิทยฐานะ การเปลี่ยนตำาแหน่ง และอื่นๆ เอกสาร / หลัก ฐานที่เกี่ยวข้อง สัมภาษณ์ สอบถามบุคคลที่ เกี่ยวข้อง ตัว บ่ง ชีท ี่ 4 ได้แ ก่ ผลการเสริม สร้า งวิน ย ้ ั (4 คะแนน) ซึ่งหมายถึง ผลการประเมิน คุณภาพภายนอกมาตรฐานด้านครู “ครูมี
  • 46. ตัว บ่ง ชีท ี่ 5 ได้แ ก่ ข้า ราชการครูแ ละ ้ บุค ลากรทางการศึก ษาได้ร ับ การยกย่อ ง เชิด ชูเ กีย รติจ ากหน่ว ยงานของรัฐ และ หน่ว ยงานเอกชนในระยะเวลา 5 ปี (4 คะแนน) ซึ่งหมายถึงข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษาได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติจาก หน่วยงานของรัฐ และหน่วยงานเอกชนใน ระยะเวลา 5 ปี โดยคำานวณจากค่าเฉลี่ยของ จำานวนข้าราชการครูฯ ทั้งหมดในสถานศึกษาร ในระยะเวลา 5 ปี โดยแสดงหลักฐานคือ แบบบันทึกการตรวจสอบข้อมูลสารสนเทศเกี่ยว กับการเชิดชูเกียรติของข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษา รายงานผลการพัฒนา
  • 47. 6.1.3 ผลการพัฒ นาทีเ กิด กับ สถานศึก ษา (12 ่ คะแนน) มี 3 ตัวบ่งชี้ คือ ตัว บ่ง ชีท ี่ 1 ได้แ ก่ ผลการประเมิน คุณ ภาพ ้ ภายนอกของสถานศึก ษาตามมาตรฐานด้า นผู้ บริห ารครั้ง สุด ท้า ย (4 คะแนน) ซึ่งหมายถึงผล การประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษาตาม มาตรฐานด้านผู้บริหาร 5 มาตรฐาน โดยแสดงหลัก ฐานคือ แบบบันทึกการตรวจสอบข้อมูลสารสนเทศ คุณภาพของผู้บริหารจากรายงานการประเมินภายนอก เอกสาร / หลักฐานที่เกี่ยวข้อง สัมภาษณ์ สอบถาม บุคคลที่เกียวข้อง ่ ตัว บ่ง ชี้ท ี่ 2 ได้แ ก่ ผู้บ ริห ารหรือ สถานศึก ษาได้ รับ การยกย่อ งเชิด ชูเ กีย รติใ นระยะเวลา 5 ปี (4 คะแนน) ซึ่งหมายถึง ผู้บริหารหรือ สถานศึกษาได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติจากหน่วย งานของรัฐและหน่วยงานเอกชน ในระยะเวลา 5 ปี
  • 48. ตัว บ่ง ชีท ี่ 3 ได้แ ก่ สถานศึก ษาเป็น ที่ย อมรับ ใน ้ คุณ ภาพการบริห ารด้า นต่า งๆ ในระยะเวลา 5 ปี (4 คะแนน) ซึ่งหมายถึงสถานศึกษาเป็นที่ยอมรับ ในคุณภาพการบริหารด้านต่าง ๆ ดังนี้ (1) สถานศึกษามีบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สะอาด ร่มรื่น เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้และปลอดภัย (2) สถานศึกษาใช้งบประมาณเป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ประหยัด คุ้มค่า ตรงตามกรอบและวัตถุประสงค์ ของการ ใช้งบประมาณที่กำาหนดและถูกต้องตามระเบียบ (3) สถานศึกษามีคุณภาพตามมาตรฐานของสถานศึกษาและ บรรลุผลตามนโยบายของรัฐบาล (4) สถานศึกษามีผลการปฏิบัติงานดีเด่นของภาระงานด้าน ต่าง ๆ อย่างน้อย 1 รายการ (5) ผู้มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษามีความพึงพอใจต่อ คุณภาพการบริหารสถานศึกษาไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 โดยแสดงหลักฐานคือ แบบบันทึกการตรวจสอบข้อมูล ภูมิส
  • 49. 6.1.4 ผลที่เ กิด จากชุม ชนหรือ ท้อ งถิ่น (4 คะแนน) มี 1 ตัวบ่งชี้ คือ ผลการพัฒ นาที่ เกิด กับ ชุม ชนหรือ ท้อ งถิ่น (4 คะแนน) ซึ่ง หมายถึง ผลการประเมินคุณภาพภายนอก มาตรฐานด้านสถานศึกษา “ส่งเสริมความ สัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชนในการ พัฒนาการศึกษาครั้งสุดท้าย” โดยแสดงหลัก ฐานคือ แบบบันทึกการตรวจสอบข้อมูล จาก รายงานการประเมินภายนอก เอกสาร / หลัก ฐานที่เกี่ยวข้อง สัมภาษณ์ สอบถามบุคคลที่ เกี่ยวข้อง
  • 50. 6.2 ส่ว นที่ 2 ผลงานทางวิช าการ สายงาน บริหารสถานศึกษา คะแนนเต็ม 40 คะแนน มีรายการประเมิน 2 รายการ มี 6 ตัวบ่งชี้ เหมือนสายงานผูสอน (ครู) คือ ้ 6.2.1 คุณภาพของผลงานทางวิชาการ (20 คะแนน) มี 4 ตัวบ่งชี้ 6.2.2 ประโยชน์ของผลงานทางวิชาการ (20 คะแนน) มี 2 ตัวบ่งชี้ * หมายเหตุ สำาหรับด้านที่ 3 ด้านผลการ ปฏิบัติงานสายงานนิเทศการศึกษา (ศึกษานิเทศ) และสายงานบริหารการศึกษา
  • 51. ข้อ คิด เห็น ทีเ กีย วกับ งานวิจ ย ทางการศึก ษาเพือ ขอ ่ ่ ั ่ มีแ ละเลื่อ นวิท ยฐานะของราชการครูแ ละ บุค ลากรทางการศึก ษาตาม ว. 17/2552 1. งานวิจ ัย ในการขอมีและเลื่อนวิทยฐานะฯตาม ว.17 ต้อ งเป็น งานวิจ ัย ทางการศึก ษา เกี่ยวข้องกับงาน ในหน้าทีของตำาแหน่งครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้ ่ บริหารการศึกษา และศึกษานิเทศก์ 2. งานวิจ ัย ทางการศึก ษา ตาม ว.17 ต้องเน้นทีการ ่ ส่งเสริมเรียนรู้ของผู้เรียนหรือการเรียนการสอนทียด่ ึ ผู้เรียนเป็นสำาคัญในการปฏิบัติหน้าทีของครู การ ่ บริหารจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพ บรรลุเป้าหมาย ตามเกณฑ์มาตรฐานของชาติ เกณฑ์มาตรฐาน ปฐมวัยและตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของผู้บริหารการศึกษาและผู้บริหารการศึกษา และ เกี่ยวข้องกับกระบวนการนิเทศการศึกษาของ ศึกษานิเทศก์ในการส่งเสริมประสิทธิภาพ ประสิทธิผล
  • 52. 3. งานวิจ ัย ทางการศึก ษา ตาม ว.17 ต้องเน้น ประโยชน์ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครูและบุคลากรทางการ ศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชนหรือท้องถิ่นเป็นลำาดับแรก และประโยชน์ความก้าวหน้าทางวิชาการ วิชาชีพ เป็นลำาดับต่อไป 4. งานวิจ ัย ทางการศึก ษา ตาม ว.17 อาจเป็นงาน วิจัยปฏิบัติการ (Action Research) หรือวิจัยชั้น เรียน(Classroom Research) การวิจัยเชิง ปริมาณ การวิจัยเชิงคุณภาพ หรือการวิจัยแบบผสม เชิงปริมาณและคุณภาพ (Mixed ) ทังนี้ขึ้นอยูกับ ้ ่ การออกแบบวิจัยทีสอดคล้องกับปัญหาทีต้องการ ่ ่ ศึกษา 5. งานวิจ ัย ทางการศึก ษา ต้องเริ่มโดยการค้นหรือ ระบุปัญหาในการปฏิบัติหน้าทีของครู ผู้บริหารสถาน ่ ศึกษา ผู้บริหารการศึกษา และศึกษานิเทศก์ ให้พบ และต้องมีหลักฐานมาแสดงหรืออ้างอิง จากนันก็มา้
  • 53. 6. กรอบแนวคิด การวิจ ัย เป็นโครงสร้างสำาคัญซึ่งผู้ วิจัยจะต้องกำาหนดให้ชัดเจนเป็นอันดับแรก เพราะ จากกรอบแนวคิดการวิจัยจะนำาไปเป็นกรอบพิจารณา (1) กำาหนดหัวข้อการวิจัยที่เป็นเหตุเป็นผลและเหมาะสม (2) การกำาหนดวัตถุประสงค์การวิจัยที่สอดคล้องกับหัวข้อเรื่อง สภาพปัญหา โจทย์หรือคำาถามการวิจัย (3) ใช้เป็นสาระสำาคัญในการเขียนขอบเขตการวิจัยด้านเนื้อหา (4) นำามาเป็นหัวข้อสำาคัญในการนำาเสนอหัวข้อเกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องในบทที่ 2 7. เมือพบปัญหาการวิจัย ได้ศึกษาค้นคว้าเอกสาร ่ แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยจนสร้างกรอบแนวคิด การวิจัยสำาเร็จแล้ว ได้กำาหนดหัวข้อเรื่องทีจะทำาการ ่ ศึกษาวิจัยได้แล้ว ก็น ำา มาจัด ทำา เค้า โครงการวิจ ัย ( Research Proposal) โดยการ เขียน 3 บทแรก คือ (1) บทที่ 1 (บทนำา)
  • 54. 8. การเขีย นบทที่ 1 หรือ บทนำา มีหัวข้อย่อยคือ 1. ความเป็น มาและความสำา คัญ ของปัญ หา โดยต้องระบุปัญหา พร้อมหลักฐานอ้างอิง 2. โจทย์ห รือ คำา ถามการวิจ ัย เพื่อเป็นแนวทางในการศึกษา ค้นคว้าดำาเนินการและช่วยตั้งวัตถุประสงค์การวิจัยให้จัดเจน ขึ้น 3. วัต ถุป ระสงค์ก ารวิจ ัย คือ การกำาหนดสิ่งที่ต้องปฏิบัติเพื่อให้ ได้คำาตอบ มาตอบโจทย์การวิจัย / คำาถามการวิจัย หรือสิ่งที่ เราต้องการคำาตอบ 4. สมมุต ิฐ านการวิจ ัย อาจมีหรือไม่มีก็ได้ ถ้ามีจะต้องทดสอบ สมมุติฐานทุกข้อที่ตั้งไว้ โดยใช้ข้อมูลเชิงปริมาณ 5. ขอบเขตการวิจ ัย เป็นการกำาหนดขอบเขตของสิ่งที่เราจะ ศึกษาวิจัยให้ภาพกว้างกว่ากรอบแนวคิดการวิจัย โดยทั่วไป ขอบเขตการวิจัยจะนำาเสนอสาระสำาคัญอย่างย่อใน ด้า น เนื้อ หา, ด้า นประชากรและกลุ่ม ตัว อย่า ง , ด้า นตัว แปรที่ศ ึก ษา, และ ด้า นสถานที่แ ละระยะเวลาในการวิจ ัย 6. นิย ามศัพ ท์ เพื่อให้ความหมายคำาสำาคัญคือตัวแปรที่จะศึกษา
  • 55. 9. บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีแ ละงานวิจ ัย ที่ เกี่ย วข้อ ง ขอให้นำากรอบแนวคิดการวิจัยนำา มาเป็นกรอบในการกำาหนดหัวข้อเสนอหัวข้อ เรื่อง ขั้นการพิจ ารณาหัว ข้อ ที่จ ะนำา เสนอ ในบทที่ 2 จะได้เสนอเกี่ยวข้องสอดคล้องกับ เรื่องราวกับการวิจัยโดยแท้จริง มิใช้นำาเสนอ หัวข้อที่ไม่ตรงและเกี่ยวข้องกับเรื่องราวที่วิจัย เรียกว่านำาขยะมาใส่ไว้ ขอให้นำาเอกสารใหม่ๆ มาใช้ (อย่าให้เกิน 5 ปี) หน้าสุดท้ายขอให้ใส่ แผนภูมิแสดงกรอบแนวคิดการวิจัยไว้ในบทที่ 2 ด้วย สำาหรับหัว ข้อ รองสุด ท้า ยคือ งาน วิจ ัย ที่เ กี่ย วข้อ ง ขอให้เกี่ยวข้องจริงๆ เพราะในบทที่ 5 หัว ข้อ การอภิป รายผล
  • 56. 10. บทที่ 3 วิธ ีด ำา เนิน การวิจ ัย ผู้วิจัยจะบอกว่าการ วิจัยเรื่องอะไร มีวัตถุประสงค์ว่าอย่างไร ใช้รูปแบบ การวิจัยหรือวิธีการวิจัยแบบใด ในบทนี้ควรนำาเสนอ 2 ส่วน ส่ว นแรกคือ ขั้น ตอนการวิจ ัย ว่ามีขั้นตอนใน การวิจัยจนถึงขั้นได้คำาตอบในกระบวนการวิจัย (ส่วนใหญ่ขั้นตอนการวิจัยจะยึดขั้นตอนตามจำานวน ของวัตถุประสงค์) ส่ว นทีส องคือ วิธีดำาเนินการวิจัยประกอบด้วย ่ 1.) ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ต้องบอกให้ชดว่าเลือก ั ลุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีใด 2.) เครื่องมือการวิจัยโดยเน้นการสร้างเครื่องมือ และ การพัฒนาหาความเชื่อมันต้องรายงานค่าความเชื่อ ่ มัน ของเครื่องมือทุกชุด ่ 3.) การเก็บรวบรวมข้อมูล ใช้วิธีใด ได้กลับคืนมาเป็น
  • 57. 11. บทที่ 4 การวิเ คราะห์ผ ล ให้นำา วัตถุประสงค์การวิจัยมากำาหนดเป็น ตอนของ การวิเคราะห์ผล เช่นมีวัตถุประสงค์การวิจัย 3 ข้อ ก็ก ำา หนดตอนการนำา เสนอผลการ วิเ คราะห์เ ป็น 3 ตอน และในแต่ละตอนมี กิจกรรมการวิจัยอย่างไรก็วิเคราะห์ตาม กิจกรรมนัน (ดูขั้นตอนการวิจัยประกอบด้วย) ้ และเมื่อวิเคราะห์เสร็จในแต่ละตอน ก็ให้ผวิจัย ู้ สรุปเป็นภาพรวมเพื่อตอบวัตถุประสงค์โดย เขียนอย่างสันๆ กะทัดรัดประมาณ 3-4 ้ บรรทัด ซึ่งผลการสรุปเป็นคำาตอบ (วัตถุประสงค์) นี้จะนำาไปใช้ใ นการสรุป ผล การวิจ ัย ในบทที่ 5 และนำา ไปใช้ใ นการ
  • 58. 12. บทที่ 5 สรุป ผล อภิป รายผล และข้อ เสนอแนะ ให้ผวิจัยนำาเสนอชือเรื่อง ู้ ่ วัตถุประสงค์การวิจัย และสรุปขั้นตอนการวิจัย และวิธดำาเนินการวิจัยอย่างย่อๆ ประมาณ 1 ี หน้าหรือ 1หน้าครึ่ง จากนั้นก็สรุปผลการวิจัย โดยนำาข้อสรุปในแต่ละขั้นตอน (3-4 บรรทัด) ในบทที่ 4 มาใส่ไว้ในสรุปผลบทที่ 5 ซึ่งการสรุปผลจะตอบวัตถุประสงค์การวิจัย แต่ละข้อ (ต้องสรุปผลให้เท่าและตรงกันกับ วัตถุประสงค์ อย่าน้อยหรือมากกว่า วัตถุประสงค์ไม่ได้) จากนันขอให้อภิปรายผล ้ โดยนำาสรุปผลแต่ละข้อมาอภิปรายโดยใช้งาน วิจัยที่เกี่ยวข้องมาเทียบเคียง
  • 59. 13. งานวิจ ัย ทางการศึก ษาทีด ี ต้องมีการเผยแพร่ให้ ่ คนเอาไปใช้ การเผยแพร่ ตาม ว.17 ต้องเขียนเป็น บทความวิจยราว 8-10 หน้ากระดาษ A 4 เพื่อนำาไป ั ลงในวารสารวิจัยหรือวารสารทางวิชาการทีคณะ่ กรรมการตรวจสอบการวิจัยรับรองหรือยอมรับ เช่น วิทยาจารย์ของคุรุสภา จะทำาให้ผลงานวิจัยมีคุณค่า ได้คะแนนการเผยแพร่สูง (ดีกว่าส่งไปตามโรงเรียน ต่างๆ แล้วแสดงจดหมายตอบรับ) บทความวิจยต้องั ทำาสำาเนามาลงไว้ในภาคผนวกด้วย ซึงบทความวิจัย ่ ประกอบด้วย 1. ชื่อเรื่อง - ชื่อผู้วิจัย 2. บทคัดย่อ ภาษาไทย - ภาษาอังกฤษ 3. บทนำา ความเป็นมาวัตถุประสงค์การวิจัยขอบเขตการวิจัย ประโยชน์ที่คาดว่าจะรับ 4. วิธีดำาเนินการวิจัย 5. การวิเคราะห์ผล 6. สรุปผล 7. ข้อเสนอแนะ
  • 60. 14. หน้า สุด ท้า ยของภาคผนวกขอให้ใ ส่ ประวัต ิผ ู้ว ิจ ัย ด้ว ย 15. การวิจ ัย ทางการศึก ษา ขอให้ตรวจพิสูจน์ ความถูกต้องตัวอักษร และการพิมพ์ขอให้ยึด รูปแบบมาตรฐานการเขียนรายงานการวิจัย การจัดทำารูปเล่มขอให้เรียบร้อย
  • 61. ขอให้โ ชคดีค รับ ดร.พล สัณ ท์ โพธิ์ศ รีท อง