SlideShare a Scribd company logo
1 of 31
Download to read offline
1
คาชี้แจงเกี่ยวกับชุดการเรียนการสอน
1. ชุดการเรียนการสอนรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม 4 รหัสวิชา ค30204
เรื่อง จานวนเชิงซ้อน สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ประกอบด้วย
ชุดการเรียนการสอน จานวน 12 ชุด ดังนี้
1.1 ชุดการเรียนการสอน ชุดที่ 1 เรื่อง การเขียนจานวนเชิงซ้อนในรูป (a,b) หรือ a + bi
1.2 ชุดการเรียนการสอน ชุดที่ 2 เรื่อง การหาผลบวกของจานวนเชิงซ้อน
1.3 ชุดการเรียนการสอน ชุดที่ 3 เรื่อง การหาผลลบของจานวนเชิงซ้อน
1.4 ชุดการเรียนการสอน ชุดที่ 4 เรื่อง การหาผลคูณจานวนเชิงซ้อน
1.5 ชุดการเรียนการสอน ชุดที่ 5 เรื่อง การหาผลหารจานวนเชิงซ้อน
1.6 ชุดการเรียนการสอน ชุดที่ 6 เรื่อง รากที่ 2 ของจานวนเชิงซ้อน
1.7 ชุดการเรียนการสอน ชุดที่ 7 เรื่อง การหาคาตอบของสมการกาลังสองที่มี
สัมประสิทธิ์เป็นจานวนจริง
1.8 ชุดการเรียนการสอน ชุดที่ 8 เรื่อง ค่าสัมบูรณ์ของจานวนเชิงซ้อน
1.9 ชุดการเรียนการสอน ชุดที่ 9 เรื่อง การเขียนจานวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขั้ว
2
2. เอกสารฉบับนี้เป็นเอกสารชุดการเรียนการสอนรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม 4
รหัสวิชา ค30204 เรื่อง จานวนเชิงซ้อน ชุดที่ 1 เรื่อง การเขียนจานวนเชิงซ้อน
ในรูป (a,b) หรือ a + bi ใช้สาหรับสอนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
3. ชุดการเรียนการสอนนี้ ประกอบด้วย
- คาชี้แจงเกี่ยวกับชุดการเรียนการสอน
- คาแนะนาสาหรับครู
- คาแนะนาสาหรับนักเรียน
- สาระการเรียนรู้ สาระสาคัญและจุดประสงค์การเรียนรู้
- ลาดับขั้นตอนการเรียนชุดการเรียนการสอน
- บัตรคาสั่ง
- แบบทดสอบก่อนเรียน
- บัตรเนื้อหา, บัตรคาถาม, บัตรเฉลยบัตรคาถาม
- บัตรสรุปผลการเรียนรู้
- แบบทดสอบหลังเรียน
- บัตรบันทึกประจาวันในการเรียนของนักเรียน
4. ชุดการเรียนการสอนนี้ได้แบ่งสาระการเรียนรู้ออกเป็น 1 เรื่องย่อย ใช้เวลาทั้งสิ้น
2 ชั่วโมง
1.10 ชุดการเรียนการสอน ชุดที่ 10 เรื่อง การหาผลคูณของจานวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขั้ว
1.11 ชุดการเรียนการสอน ชุดที่ 11 เรื่อง การหาผลหารของจานวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขั้ว
1.12 ชุดการเรียนการสอน ชุดที่ 12 เรื่อง การหาค่าของจานวนเชิงซ้อนยกกาลัง n
3
คาแนะนาสาหรับครู
1. ครูควรเตรียมชุดการเรียนการสอน ซึ่งประกอบด้วย บัตรคาสั่ง แบบทดสอบ
ก่อนเรียน บัตรเนื้อหา บัตรคาถาม บัตรเฉลยบัตรคาถาม บัตรสรุปผลการเรียนรู้
แบบทดสอบหลังเรียน และบัตรบันทึกประจาวันในการเรียนของนักเรียนตลอดจน
อุปกรณ์ต่าง ๆ ให้ครบถ้วน
2. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน ชุดที่ 1 เพื่อประเมินความรู้เดิม
ของนักเรียน
3. แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ
4. แจกชุดการเรียนการสอนให้นักเรียนศึกษา และแนะนาวิธีการใช้ชุดการเรียน
การสอน เพื่อนักเรียนจะได้ปฏิบัติอย่างถูกต้อง
5. ดาเนินการสอนตามกิจกรรมการเรียนรู้ที่กาหนดไว้ในแผนการจัดการเรียนรู้
6. หากนักเรียนคนใดเรียนไม่ทันหรือขาดเรียน ครูควรให้คาแนะนาหรือมอบหมาย
งานหรือให้ศึกษาชุดการเรียนการสอนในเวลาว่าง
7. หลังจากนักเรียนศึกษาชุดการเรียนการสอน ชุดที่ 1 เรียบร้อยแล้วให้นักเรียน
ทาแบบฝึกหัดจากบัตรคาถาม พร้อมทั้งตรวจคาตอบจากบัตรเฉลย
8. ให้นักเรียนทาบัตรสรุปผลการเรียนรู้ เพื่อส่งเสริมความแม่นยาในการเรียนรู้
ของนักเรียน
9. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน ชุดที่ 1 เพื่อประเมินความก้าวหน้า
ของนักเรียนหลังจากเรียนชุดการเรียนการสอน ชุดที่ 1 จบแล้ว และบันทึก
คะแนนแต่ละคนไว้ หากนักเรียนคนใดได้คะแนนไม่ผ่านเกณฑ์ครูควรจัดสอน
ซ่อมเสริม หรือให้นักเรียนศึกษาชุดการเรียนการสอนใหม่อีกครั้ง
10. ให้นักเรียนทาบัตรบันทึกประจาวันในการเรียนของนักเรียน เพื่อส่งเสริม
การคิดวิเคราะห์ อ่าน เขียน และสื่อความหมายของนักเรียน
11. การจัดชั้นเรียนจะจัดให้นักเรียนศึกษาเป็นกลุ่มหรือรายบุคคลก็ได้
4
1. อ่านคาชี้แจงเกี่ยวกับชุดการเรียนการสอน และคาแนะนาสาหรับนักเรียน
ให้เข้าใจก่อนที่จะลงมือศึกษาชุดการเรียนการสอน
2. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน ชุดที่ 1 เพื่อประเมินความรู้เดิมของนักเรียน
3. ศึกษาชุดการเรียนการสอนจากบัตรเนื้อหาที่ครูจัดเตรียมไว้ให้ด้วยความตั้งใจ
โดยปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนที่กาหนดไว้ในบัตรคาสั่ง
4. เมื่อนักเรียนศึกษาบัตรเนื้อหาเสร็จเรียบร้อยแล้วให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด
จากบัตรคาถามที่ครูจัดเตรียมไว้ให้ พร้อมทั้งตรวจคาตอบจากบัตรเฉลยบัตรคาถาม
5. หากนักเรียนคนใดยังไม่เข้าใจในเนื้อหาใด ก็ให้กลับไปศึกษาอีกครั้ง เพื่อให้
เกิดความเข้าใจในเนื้อหาดียิ่งขึ้น
6. ทาบัตรสรุปผลการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมความแม่นยาในการเรียนรู้ของนักเรียน
7. ทาแบบทดสอบหลังเรียน ชุดที่ 1 เพื่อประเมินความก้าวหน้าของนักเรียน
หลังจากเรียนชุดการเรียนการสอน ชุดที่ 1 จบแล้ว
8. ทาบัตรบันทึกประจาวันในการเรียนของนักเรียน เพื่อฝึกการคิดวิเคราะห์ อ่าน
เขียน และสื่อความหมายของนักเรียน
9. ในการทาแบบฝึกหัด แบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน ขอให้นักเรียนทาด้วย
ความตั้งใจ และมีความซื่อสัตย์ต่อตนเองให้มากที่สุด โดยไม่เปิดดูเฉลยก่อน
คาแนะนาสาหรับนักเรียน
5
สาระการเรียนรู้
การเขียนจานวนเชิงซ้อนในรูป (a,b) หรือ a + bi
จานวนเชิงซ้อน เป็นจานวนที่เขียนอยู่ในรูปของคู่อันดับ (a,b)
หรือ a + bi เมื่อ a, b เป็นจานวนจริงใด ๆ ซึ่งจะเรียก a ว่าส่วน
จริง(real part) และเรียก b ว่าส่วนจินตภาพ (imaginary part)
เมื่อส่วนจริงและส่วนจินตภาพมีค่าเปลี่ยนแปลงไป จะทาให้เกิดจานวน
เชิงซ้อนอยู่ในรูปลักษณะที่แตกต่างกัน
สาระสาคัญ
1. บอกความหมายของจานวนเชิงซ้อนได้
2. เขียนจานวนเชิงซ้อนในรูป (a,b) ให้อยู่ในรูป a + bi และเขียน
จานวนเชิงซ้อนในรูป a + bi ให้อยู่ในรูป (a,b) ได้
3. บอกส่วนจริงและส่วนจินตภาพของจานวนเชิงซ้อนได้
4. ระบุความแตกต่างของจานวนเชิงซ้อนแต่ละชนิดได้
5. บอกความหมายของ i และหาค่าของ i
n
เมื่อ n เป็นจานวนเต็มบวกได้
จุดประสงค์การเรียนรู้
6
ลาดับขั้นตอนการเรียนชุดการเรียนการสอน
ชุดที่ 1 เรื่อง การเขียนจานวนเชิงซ้อนในรูป (a,b) หรือ a + bi
1. อ่านคาแนะนาและบัตรคาสั่ง
2. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน
3. ศึกษาชุดการเรียนการสอน
โดยปฏิบัติกิจกรรม
- ศึกษาบัตรเนื้อหา
- ทาบัตรคาถาม
- ทาบัตรสรุปผลการเรียนรู้
4. ทาแบบทดสอบหลัง
เรียน
ไม่ผ่านเกณฑ์
การประเมินผล
ผ่านเกณฑ์
ศึกษาชุดการเรียนการสอน ชุดที่ 2 ต่อไป
5. ทาบัตรบันทึกประจาวัน
ในการเรียนของนักเรียน
7
1. อ่านคาแนะนาสาหรับนักเรียนให้เข้าใจก่อนลงมือศึกษาชุดการเรียนการสอน
2. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน ชุดที่ 1 เพื่อประเมินความรู้เดิมของนักเรียน
3. ศึกษาบัตรเนื้อหา เรื่อง การเขียนจานวนเชิงซ้อนในรูป (a,b) หรือ a + bi
ที่ครูแจกให้ด้วยความตั้งใจ
4. ทาแบบฝึกหัดจากบัตรคาถามที่ครูจัดเตรียมไว้ให้ และเมื่อนักเรียนทาแบบฝึกหัด
เสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้นักเรียนตรวจคาตอบจากบัตรเฉลยบัตรคาถาม
5. ทาบัตรสรุปผลการเรียนรู้ เพื่อส่งเสริมความแม่นยาในการเรียนรู้
6. ทาแบบทดสอบหลังเรียน ชุดที่ 1 เพื่อประเมินความก้าวหน้าของนักเรียน
หลังจากเรียนชุดการเรียนการสอน ชุดที่ 1 จบแล้ว
7. ทาบัตรบันทึกประจาวันในการเรียนของนักเรียน เพื่อฝึกการคิดวิเคราะห์ อ่าน
เขียน และสื่อความหมายของนักเรียน
8. หากนักเรียนคนใดทาแบบทดสอบหลังเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ให้นักเรียนศึกษา
ชุดการเรียนการสอนอีกครั้ง หรือปรึกษาครูผู้สอน
9. ในการทาแบบฝึกหัด แบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน ขอให้นักเรียน
ซื่อสัตย์ต่อตนเองให้มากที่สุด ห้ามเปิดดูเฉลยก่อน
บัตรคาสั่ง
เข้าใจไหมคะ
8
คาชี้แจง
คำชี้แจง 1. แบบทดสอบก่อนเรียน ใช้ทดสอบนักเรียนก่อนเรียน ชุดที่ 1
เรื่อง การเขียนจานวนเชิงซ้อนในรูป (a,b) หรือ a + bi จานวน 10 ข้อ
2. การตอบแบบทดสอบ ให้นักเรียนกาเครื่องหมาย × ลงในช่อง 
ใต้ตัวอักษร ก , ข , ค และ ง ที่เป็นคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงคาตอบ
เดียวลงในกระดาษคาตอบ ใช้เวลาสอบ 10 นาที
1. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
ก. 6i3(3,6) 
ข. 2i1(1,2) 
ค. 5i44,5)( 
ง. 2i62)6,( 
2. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
ก. 1)2,(i2 
ข. (6,2)2i6 
ค. 4)3,(4i3 
ง. 8,5)(5i8 
3. ค่าของ 3)(2, เขียนอยู่ในรูป bia
ตรงกับข้อใด
ก. 3i2
ข. 3i2
ค. 3i2
ง. 3i2
4. กาหนดให้ 5)(1,Z  แล้วส่วนจริง
ของจานวนเชิงซ้อนมีค่าตรงกับข้อใด
ก. 5
ข. 0
ค. 1
ง. 2
แบบทดสอบก่อนเรียน
ชุดที่ 1 เรื่อง การเขียนจานวนเชิงซ้อนในรูป (a,b) หรือ a + bi
9
5. ค่าของ i8 เขียนอยู่ในรูป b)(a,
คือจานวนในข้อใด
ก. 1)(8,
ข. (8,1)
ค. 1)8,( 
ง. 8,1)(
6. กาหนดให้ 3i4Z  แล้วส่วน
จินตภาพของจานวนเชิงซ้อนมีค่าตรงกับ
ข้อใด
ก. 4
ข. 3
ค. 4
ง. 3
7. ค่าของ 25i มีค่าตรงกับข้อใด
ก. i
ข. 1
ค. 1
ง. i
8. จานวนจินตภาพแท้ คือจานวนในข้อใด
ก. 5
ข. 2i5
ค. i3
ง. i2
9. ค่าของ 24i20i16i8i  มีค่า
ตรงกับข้อใด
ก. 0
ข. 2
ค. 4
ง. 8
10. ค่าของ 8)1002(i2i  มีค่าตรงกับ
ข้อใด
ก. 9
ข. 7
ค. 5
ง. 3
ทดสอบความรู้เดิมก่อนนะค่ะ
10
กระดาษคาตอบแบบทดสอบก่อนเรียน
ชุดที่ 1 เรื่อง การเขียนจานวนเชิงซ้อนในรูป (a,b) หรือ a + bi
ตัวเลือก
ข้อที่
ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
คะแนนที่ได้ ...................................
ผู้ตรวจ ..........................................
วันที่ ...... เดือน .......... พ.ศ. .......
ชื่อ ............................... นามสกุล ................................ ชั้น ..................... เลขที่ .......
11
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
ชุดที่ 1 เรื่อง การเขียนจานวนเชิงซ้อนในรูป (a,b) หรือ a + bi
1. ข
2. ก
3. ง
4. ค
5. ข
6. ง
7. ก
8. ง
9. ค
10. ข
อย่าพึ่งดูเฉลยนะคะเด็ก ๆ
12
บัตรเนื้อหา
1. การเขียนจานวนเชิงซ้อนในรูป (a,b) หรือ a + bi
จากบทนิยาม จานวนเชิงซ้อน a + bi จะเรียก a ว่าส่วนจริง (real part) และ
b ว่าส่วนจินตภาพ (imaginary part) ซึ่งจะแสดงลักษณะต่าง ๆ ของจานวน
เชิงซ้อนดังตารางต่อไปนี้
ตารางแสดงลักษณะต่าง ๆ ของจานวนเชิงซ้อน
ข้อที่
จานวน
เชิงซ้อน
ในรูป (a,b)
จานวน
เชิงซ้อน
ในรูป a + bi
ส่วนจริง
ส่วน
จินตภาพ
ลักษณะของ
จานวนเชิงซ้อน
1 (4,0) 4 + 0i 4 0 (a,b) หรือ a + bi
2 (–8,0) –8 + 0i –8 0 เมื่อ a  0 และ
b = 0
3 (9,0) 9 + 0i 9 0
4 (2,7) 2 + 7i 2 7 (a,b) หรือ a + bi
5 (–4,8) –4 + 8i –4 8 เมื่อ a  0 และ
b  0
6 (–3, –5) –3 – 5i –3 –5
7 (0,3) 0 + 3i 0 3 (a,b) หรือ a + bi
8 (0, –7) 0 – 7i 0 –7 เมื่อ a = 0 และ
9 (0,15) 0 + 15i 0 15 b  0
บทนิยาม จานวนเชิงซ้อน คือจานวนที่เขียนอยู่ในรูป (a,b)
หรือ a + bi เมื่อ a, b เป็นจานวนจริงใด ๆ
และ i
2
= –1 โดยที่ i คือ (0,1)
13
จากตารางสามารถสรุปลักษณะต่าง ๆ ของจานวนเชิงซ้อนได้ ดังนี้
1. จานวนเชิงซ้อนที่อยู่ในรูป (a,b) หรือ a + bi เมื่อ a  0 และb = 0
เรียก จานวนเชิงซ้อนนี้ว่า จานวนจริง a (ดังปรากฏในตารางข้อ 1 – ข้อ 3)
2. จานวนเชิงซ้อนที่อยู่ในรูป (a,b) หรือ a + bi เมื่อ a  0 และb  0
เรียก จานวนเชิงซ้อนนี้ว่า จานวนจินตภาพ (ดังปรากฏในตารางข้อ 4 – ข้อ 6)
3. จานวนเชิงซ้อนที่อยู่ในรูป (a,b) หรือ a + bi เมื่อ a = 0 และb  0
เรียก จานวนเชิงซ้อนนี้ว่า จานวนจินตภาพแท้ (ดังปรากฏในตารางข้อ 7 – ข้อ 9)
ตัวอย่างที่ 1 จงเขียนจานวนเชิงซ้อน (a,b) ให้อยู่ในรูป a + bi พร้อมทั้งบอก
ส่วนจริงและส่วนจินตภาพ
1. (2, –4)
2. (1,8)
3. ( 5 ,–1)
วิธีทา 1. (2,–4) = 2 – 4i ส่วนจริง คือ 2 ส่วนจินตภาพ คือ –4
2. (1,8) = 1 + 8i ส่วนจริง คือ 1 ส่วนจินตภาพ คือ 8
3. ( 5 ,–1) = 5 – i ส่วนจริง คือ 5 ส่วนจินตภาพ คือ –1
14
iรi
ตัวอย่างที่ 2 จงเขียนจานวนเชิงซ้อน a + bi ให้อยู่ในรูป (a,b) พร้อมทั้งบอก
ส่วนจริงและส่วนจินตภาพ
1. 4 + 4i
2. –2i
3. 11
วิธีทา 1. 4 + 4i = (4,4) ส่วนจริงคือ 4 ส่วนจินตภาพคือ 4
2. –2i = (0,–2) ส่วนจริงคือ 0 ส่วนจินตภาพคือ –2
3. 11 = ( 11,0) ส่วนจริงคือ 11 ส่วนจินตภาพคือ 0
จากนิยาม จะได้ว่า i คือ 1
ตัวอย่างที่ 3 จงหาคาตอบของจานวนเชิงซ้อนในข้อต่อไปนี้
1. 3
2. 9
3. 8
4. 1442 
5. 121 
วิธีทา 1. 3 = 13  = i3
2. 9 = 19  = 3i
3. 8 = 18  = i22
4. 1442  = 11442  = 12i2
5. 121  = 1121  = i321
บทนิยาม ถ้า a เป็นจานวนจริงบวก แล้ว ia1aa 
15
2. การหาค่า i
n
เมื่อ n เป็นจานวนเต็มบวก
ข้อที่ i อยู่ในรูปยกกาลัง ค่าของ i
1 i i
2 i
2 –1
3 i
3 –i
4 i
4 1
5 i
5 i
6 i
6 –1
7 i
7 –i
8 i
8 1
9 i
9 i
10 i
10 –1
11 i
11 –i
12 i
12 1
13 i
13 i
จากตาราง จะเห็นว่าค่าของ i
n
จะมีคาตอบ 1 ,–1 ,i ,–i เพียง 4 คาตอบ
เท่านั้นไม่ว่า i จะยกกาลังเท่าไรก็ตาม ดังนั้นจึงสามารถสรุปการหาค่าของ i
n
ได้ดังนี้








0ศษแล้วเหลือเ4หารด้วยnเมื่อ1
3ศษแล้วเหลือเ4หารด้วยnเมื่อi-
2ศษแล้วเหลือเ4หารด้วยnเมื่อ1-
1ศษแล้วเหลือเ4หารด้วยnเมื่อi
ni
16
ตัวอย่างที่ 1 จงหา ค่าของ i
136
และ i
2345
วิธีทา i
136
= 1 ( 4 หาร 136 แล้วเหลือเศษ 0 หรือหารลงตัว )
i
2345
= i ( 4 หาร 2345 แล้วเหลือเศษ 1 )
ตัวอย่างที่ 2 จงหาผลสาเร็จของจานวนต่อไปนี้
1. 20i18i15i9i 
2. )49i28(i36i 
วิธีทา จากข้อสรุปของ ni จะได้ว่า
1. 20i18i15i9i  = 11)(i)(i 
= 11ii 
= 2
ตอบ 20i18i15i9i  คือ 2
2. )49i28(i36i  = i)1(1
= i1
ตอบ )49i28(i36i  คือ i1
17
1. จงเติมคาตอบลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
ข้อที่
จานวน
เชิงซ้อน
เขียนให้อยู่
ในรูป a + bi
ข้อที่
จานวน
เชิงซ้อน
เขียนให้อยู่
ในรูป (a,b)
1.1 (6,2) 1.4 5 + 12i
1.2 (–3,4) 1.5 –3 + 6i
1.3 (7, –12) 1.6 –4 – 5i
2. จงเติมคาตอบลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
ข้อที่ จานวนเชิงซ้อน ส่วนจริง ส่วนจินตภาพ
ลักษณะของ
จานวนเชิงซ้อน
2.1 12 – 5i
2.2 (–7,2)
2.3 –12 + 0i
2.4 0 + 9i
3. จงหาผลลัพธ์ของ i
n
ต่อไปนี้
3.1 i
28
= ..……………………………..
3.2 i
2375
= …………………………..
บัตรคาถาม 1.1
คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคาตอบในแต่ละข้อต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
18
คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคาตอบในแต่ละข้อต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
1. จงเติมคาตอบลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
ข้อที่
จานวน
เชิงซ้อน
เขียนให้อยู่
ในรูป a + bi
ข้อที่
จานวน
เชิงซ้อน
เขียนให้อยู่
ในรูป (a,b)
1.1 (6,2) 6 + 2i 1.4 5 + 12i (5,12)
1.2 (–3,4) –3 + 4i 1.5 –3 + 6i (–3,6)
1.3 (7, –12) 7 – 12i 1.6 –4 – 5i (–4, –5)
2. จงเติมคาตอบลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
ข้อที่ จานวนเชิงซ้อน ส่วนจริง ส่วนจินตภาพ
ลักษณะของ
จานวนเชิงซ้อน
2.1 12 – 5i 12 –5 จำนวนจินตภำพ
2.2 (–7,2) –7 2 จำนวนจินตภำพ
2.3 –12 + 0i –12 0 จำนวนจริง
2.4 0 + 9i 0 9 จำนวนจินตภำพแท้
3. จงหาผลลัพธ์ของ i
n
ต่อไปนี้
3.1 i
28
= 1
3.2 i
2375
= –i
บัตรเฉลยบัตรคาถาม 1.1
เก่งจังเลย
19
คาชี้แจง จงพิจารณาข้อความที่กาหนดให้ต่อไปนี้ข้อใดถูกให้ใส่เครื่องหมาย ()
และข้อใดผิดให้ใส่เครื่องหมาย ()
บัตรคาถาม 1.2
...........1. 20i มีค่าเท่ากับ –1
...........2. 19i มีค่าเท่ากับ –i
...........3. 9 มีค่าเท่ากับ 3i
...........4. 4 มีค่าเท่ากับ –2
...........5. 25 มีค่าเท่ากับ 5i
...........6. 2 มีค่าเท่ากับ i2
...........7. 18i17i16i15i  มีค่าเท่ากับ 1
...........8. )3i5(i20i  มีค่าเท่ากับ 0
...........9. 40i30i20i10i  มีค่าเท่ากับ 1
...........10. 4)(3, เขียนในรูป bia คือ 3 – 4i
...........11. 1)(5, เขียนในรูป bia คือ 5 + i
...........12. ,2)2( เขียนในรูป bia คือ 2i2 
...........13. 8i2 เขียนในรูป b)(a, คือ 8)(2,
...........14. i53  เขียนในรูป b)(a, คือ )5,3( 
...........15. จานวน bi เมื่อ 0b  เรียกว่าจานวนจินตภาพแท้
ตั้งใจทานะ
20
คาชี้แจง จงพิจารณาข้อความที่กาหนดให้ต่อไปนี้ข้อใดถูกให้ใส่เครื่องหมาย ()
และข้อใดผิดให้ใส่เครื่องหมาย ()
บัตรเฉลยบัตรคาถาม 1.2
..... ..... 1. 20i มีค่าเท่ากับ –1
..... ..... 2. 19i มีค่าเท่ากับ –i
.....  ..... 3. 9 มีค่าเท่ากับ 3i
.....  ….. 4. 4 มีค่าเท่ากับ –2
.....  ..... 5. 25 มีค่าเท่ากับ 5i
.....  ..... 6. 2 มีค่าเท่ากับ i2
.....  ….. 7. 18i17i16i15i  มีค่าเท่ากับ 1
.....  ..... 8. )3i5(i20i  มีค่าเท่ากับ 0
.....  ….. 9. 40i30i20i10i  มีค่าเท่ากับ 1
..... ..... 10. 4)(3, เขียนในรูป bia คือ 3 - 4i
.....  ….. 11. 1)(5, เขียนในรูป bia คือ 5 + i
.....  ..... 12. ,2)2( เขียนในรูป bia คือ 2i2 
.....  ..... 13. 8i2 เขียนในรูป b)(a, คือ 8)(2,
.....  ….. 14. i53  เขียนในรูป b)(a, คือ )5,3( 
.....  ..... 15. จานวน bi เมื่อ 0b  เรียกว่าจานวนจินตภาพแท้
เก่งมากเลยทุกคน
21
บัตรสรุปผลการเรียนรู้
คาชี้แจง ให้นักเรียนสรุปผลการเรียนรู้จากบัตรเนื้อหาของชุดการเรียนการสอน
ชุดที่ 1 เรื่อง การเขียนจานวนเชิงซ้อนในรูป (a,b) หรือ a + bi ตามหัวข้อต่อไปนี้
1. จานวนเชิงซ้อนสามารถเขียนได้ 2 รูปแบบ ดังนี้
1.1……………………………………………………………………….
1.2……………………………………………………………………….
2. จานวนเชิงซ้อน biaZ  เรียกชื่อส่วนต่าง ๆ ได้ดังนี้
2.1 ส่วน a เรียกว่า.................................................
2.2 ส่วน b เรียกว่า..................................................
22
3. ถ้า a เป็นจานวนจริงบวก แล้ว a จะถูกเรียกว่าอะไร
..................................................................................................
4. 1 ถูกเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ ว่าอย่างไร
....................................................................................................
5. ข้อสรุปเกี่ยวกับ “ ni ” เมื่อ n เป็นจานวนเต็มบวก ได้ดังนี้
1………………………………………………….
2………………………………………………….
3…………………………………………………..
4…………………………………………………..
23
คาชี้แจง 1. แบบทดสอบหลังเรียน ใช้ทดสอบนักเรียนหลังเรียน ชุดที่ 1
เรื่อง การเขียนจานวนเชิงซ้อนในรูป (a,b) หรือ a + bi จานวน 10 ข้อ
2. การตอบแบบทดสอบ ให้นักเรียนกาเครื่องหมาย × ลงในช่อง
ใต้ตัวอักษร ก , ข , ค และ ง ที่เป็นคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงคาตอบเดียว
ลงในกระดาษคาตอบ ใช้เวลาสอบ 10 นาที
1. ค่าของ 24i20i16i8i  มีค่า
ตรงกับข้อใด
ก. 8
ข. 4
ค. 2
ง. 0
2. ค่าของ i8 เขียนอยู่ในรูป b)(a,
คือจานวนในข้อใด
ก. 1)8,( 
ข. 8,1)(
ค. 1)(8,
ง. (8,1)
3. ค่าของ 25i มีค่าตรงกับข้อใด
ก. i
ข. i
ค. 1
ง. 1
4. กาหนดให้ 3i4Z  แล้ว
ส่วนจินตภาพของจานวนเชิงซ้อนมีค่า
ตรงกับข้อใด
ก. 4
ข. 3
ค. 3
ง. 4
แบบทดสอบหลังเรียน
ชุดที่ 1 เรื่อง การเขียนจานวนเชิงซ้อนในรูป (a,b) หรือ a + bi
24
5. ค่าของ 8)1002(i2i  มีค่าตรงกับ
ข้อใด
ก. 3
ข. 5
ค. 7
ง. 9
6. กาหนดให้ 5)(1,Z  แล้วส่วนจริง
ของจานวนเชิงซ้อนมีค่าตรงกับข้อใด
ก. 2
ข. 1
ค. 0
ง. 5
7. ค่าของ 3)(2, เขียนอยู่ในรูป bia
ตรงกับข้อใด
ก. 3i2
ข. 3i2
ค. 2 + 3i
ง. 3i2
8. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
ก. 4)3,(4i3 
ข. 8,5)(5i8 
ค. 1)2,(i2 
ง. (6,2)2i6 
9. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
ก. 2i62)6,( 
ข. 5i44,5)( 
ค. 6i3(3,6) 
ง. 2i1(1,2) 
10. จานวนจินตภาพแท้ คือจานวนในข้อใด
ก. i2
ข. i3
ค. 2i5
ง. 5
สู้ สู้ นะคะทุกคน
25
กระดาษคาตอบแบบทดสอบหลังเรียน
ชุดที่ 1 เรื่อง การเขียนจานวนเชิงซ้อนในรูป (a,b) หรือ a + bi
ชื่อ ............................... นามสกุล ................................ ชั้น ..................... เลขที่ .......
ตัวเลือก
ข้อที่
ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
คะแนนที่ได้ ...................................
ผู้ตรวจ ..........................................
วันที่ ........ เดือน ................ พ.ศ......
26
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
ชุดที่ 1 เรื่อง การเขียนจานวนเชิงซ้อนในรูป (a,b) หรือ a + bi
1. ข
2. ง
3. ก
4. ข
5. ค
6. ข
7. ก
8. ค
9. ง
10. ก
เก่งมาก...ถูกทุกข้อเลย
...
27
บัตรบันทึกประจาวันในการเรียนของนักเรียน
ชื่อ .................................. นามสกุล ................................ ชั้น ......... เลขที่ ..........
บันทึกครั้งที่ ..................... วันที่ ............... เดือน .......................... พ.ศ. .............
คาชี้แจง ให้นักเรียนบันทึกสิ่งที่เกิดขึ้นจากความรู้สึกจริง ๆ ของนักเรียน
จากประสบการณ์ในการเรียนโดยใช้ชุดการเรียนการสอน ตามหัวข้อต่อไปนี้
1. สิ่งที่ชอบที่สุดในการเรียน
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
..........................................................................................................................
2. สิ่งที่ข้าพเจ้าได้ช่วยเหลือเพื่อนในการเรียน
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
..........................................................................................................................
28
3. สิ่งที่เพื่อนได้ช่วยเหลือข้าพเจ้าในการเรียน
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
4. การมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
..........................................................................................................................
5. การมีปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนในการเรียน
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
..........................................................................................................................
29
6. บรรยากาศในการเรียน
.....................................................................................................................................
.....................................................................................................................................
.....................................................................................................................................
7. ปัญหาที่พบในการเรียน
.....................................................................................................................................
.....................................................................................................................................
.....................................................................................................................................
8. วิธีแก้ปัญหาในการเรียน
.....................................................................................................................................
.....................................................................................................................................
.....................................................................................................................................
30
9. ประโยชน์ที่ได้รับในการเรียน
.....................................................................................................................................
.....................................................................................................................................
.....................................................................................................................................
10. ความคิดเห็นอื่น ๆ
.....................................................................................................................................
.....................................................................................................................................
.....................................................................................................................................
คณิตศาสตร์ไม่ได้ยากอย่างที่คิดเลย …เย้...
31
บรรณานุกรม
เจริญ ภูภัทรพงศ์ และศรีลัดดา ภูภัทรพงศ์. คู่มือและเทคนิคคิดลัดโจทย์คณิตศาสตร์
ม.5 เล่ม 4 ค014, ค044. กรุงเทพฯ : SIENCE CENTER, ม.ป.ป.
จารัส อินสม. “จานวนเชิงซ้อน” วารสารแม็ค ม.ปลาย. 16(7) : 145–152
พฤศจิกายน 2539.
นงเยาว์ เป็นสุข. “จานวนเชิงซ้อน” วารสารแม็ค ม.ปลาย. 8(18) : 26–31 ; ธันวาคม
2541.
ประสงค์ ปานเจริญ. แบบเรียนคณิตศาสตร์ ค412 คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษา
ตอนปลาย. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2520.
ไพรัตน์ วงษ์นาม และคณะ. คู่มือหลักสูตรใหม่คณิตศาสตร์ ค014 ม.5. กรุงเทพฯ :
ประสานมิต, ม.ป.ป.
ศุภกิจ เฉลิมวิสุตย์กุล. “จานวนเชิงซ้อน ตอนที่ 1” วารสารแม็ค ม.ปลาย. 10(7) :
182–188 ; พฤศจิกายน 2540.
ศุภกิจ เฉลิมวิสุตย์กุล. “จานวนเชิงซ้อน ตอนที่ 2” วารสารแม็ค ม.ปลาย. 10(8) :
176–181 ; ธันวาคม 2540.
สมัย เหล่าวานิชย์ และพัวพรรณ เหล่าวานิชย์. Modern Acadamic Math
คณิตศาสตร์ ม.5 เล่ม 4. กรุงเทพฯ : ไฮเอ็ดพับลิชชิ่ง, 2535.
ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้
เพิ่มเติมคณิตศาสตร์ เล่ม 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 5. กรุงเทพฯ : คุรุสภา, 2547.
ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. คู่มือครูสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม
คณิตศาสตร์เพิ่มเติม เล่ม 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี
ที่ 5. นครปฐม : นครปฐมการพิมพ์, 2548.
สุรศักดิ์ ชาญฤทธิรณ และพรชัย กุนยมานนท์. “จานวนเชิงซ้อน (Complex
Number).” วารสารแม็ค ม.ปลายศิลป์. 1(6) : 79-87 ; ตุลาคม 2531.
อเนก หิรัญ. คณิตศาสตร์ ค014. กรุงเทพฯ : ฟิสิกส์เซนเตอร์, 2535.

More Related Content

What's hot

เซเรบอส Brands วิชาคณิตศาสตร์ (224 หน้า)
เซเรบอส Brands วิชาคณิตศาสตร์ (224 หน้า)เซเรบอส Brands วิชาคณิตศาสตร์ (224 หน้า)
เซเรบอส Brands วิชาคณิตศาสตร์ (224 หน้า)findgooodjob
 
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001Thidarat Termphon
 
Math aos ebook
Math aos ebookMath aos ebook
Math aos ebookaossy
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซตเอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซตPoochai Bumroongta
 
Pat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒ
Pat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒPat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒ
Pat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒMajolica-g
 
77100967 1 20140702-135514
77100967 1 20140702-13551477100967 1 20140702-135514
77100967 1 20140702-135514lim way
 
ข้อสอบ O net คณิต ม.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ม.3 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ม.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ม.3 ชุด 1Manas Panjai
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551ครู กรุณา
 
Pat1 มีค57 type
Pat1 มีค57 typePat1 มีค57 type
Pat1 มีค57 typeTKAomerz
 
Test o net ม.6 51
Test o net ม.6 51Test o net ม.6 51
Test o net ม.6 51seelopa
 
เฉลย O net 53
เฉลย O net 53เฉลย O net 53
เฉลย O net 53GiveAGift
 

What's hot (19)

เซเรบอส Brands วิชาคณิตศาสตร์ (224 หน้า)
เซเรบอส Brands วิชาคณิตศาสตร์ (224 หน้า)เซเรบอส Brands วิชาคณิตศาสตร์ (224 หน้า)
เซเรบอส Brands วิชาคณิตศาสตร์ (224 หน้า)
 
Basic m3-2-chapter1
Basic m3-2-chapter1Basic m3-2-chapter1
Basic m3-2-chapter1
 
Basic m3-1-chapter2
Basic m3-1-chapter2Basic m3-1-chapter2
Basic m3-1-chapter2
 
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
 
Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3
 
Math aos ebook
Math aos ebookMath aos ebook
Math aos ebook
 
Onet52 55 m3
Onet52 55 m3Onet52 55 m3
Onet52 55 m3
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซตเอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
 
Pat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒ
Pat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒPat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒ
Pat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒ
 
เซต
เซตเซต
เซต
 
77100967 1 20140702-135514
77100967 1 20140702-13551477100967 1 20140702-135514
77100967 1 20140702-135514
 
ข้อสอบ O net คณิต ม.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ม.3 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ม.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ม.3 ชุด 1
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
 
ข้อสอบโควตา
ข้อสอบโควตาข้อสอบโควตา
ข้อสอบโควตา
 
Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4
 
Pat1 มีค57 type
Pat1 มีค57 typePat1 มีค57 type
Pat1 มีค57 type
 
Test o net ม.6 51
Test o net ม.6 51Test o net ม.6 51
Test o net ม.6 51
 
เฉลย O net 53
เฉลย O net 53เฉลย O net 53
เฉลย O net 53
 
เซต
เซตเซต
เซต
 

Viewers also liked

ชุดที่ 1
ชุดที่ 1ชุดที่ 1
ชุดที่ 1jutatip3059
 
การเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ของนางสุมาลี อุดารักษ์
การเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ของนางสุมาลี  อุดารักษ์ การเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ของนางสุมาลี  อุดารักษ์
การเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ของนางสุมาลี อุดารักษ์ jutatip3059
 
ชุดฝึกเสริมทักษะการอ่า่นจับใจความภาษาอังกฤษ เล่มที่ 1เรื่อง The ice hotel
ชุดฝึกเสริมทักษะการอ่า่นจับใจความภาษาอังกฤษ เล่มที่ 1เรื่อง The ice hotelชุดฝึกเสริมทักษะการอ่า่นจับใจความภาษาอังกฤษ เล่มที่ 1เรื่อง The ice hotel
ชุดฝึกเสริมทักษะการอ่า่นจับใจความภาษาอังกฤษ เล่มที่ 1เรื่อง The ice hoteljutatip3059
 
การเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ของนางอนงค์ ภูหัวตลาด
การเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ของนางอนงค์  ภูหัวตลาด การเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ของนางอนงค์  ภูหัวตลาด
การเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ของนางอนงค์ ภูหัวตลาด jutatip3059
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 i live in bua yai
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 i live in bua yaiแผนการจัดการเรียนรู้ที่1 i live in bua yai
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 i live in bua yaijutatip3059
 
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิดจำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิดOwen Inkeaw
 

Viewers also liked (10)

ชุดที่ 1
ชุดที่ 1ชุดที่ 1
ชุดที่ 1
 
การเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ของนางสุมาลี อุดารักษ์
การเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ของนางสุมาลี  อุดารักษ์ การเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ของนางสุมาลี  อุดารักษ์
การเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ของนางสุมาลี อุดารักษ์
 
ชุดฝึกเสริมทักษะการอ่า่นจับใจความภาษาอังกฤษ เล่มที่ 1เรื่อง The ice hotel
ชุดฝึกเสริมทักษะการอ่า่นจับใจความภาษาอังกฤษ เล่มที่ 1เรื่อง The ice hotelชุดฝึกเสริมทักษะการอ่า่นจับใจความภาษาอังกฤษ เล่มที่ 1เรื่อง The ice hotel
ชุดฝึกเสริมทักษะการอ่า่นจับใจความภาษาอังกฤษ เล่มที่ 1เรื่อง The ice hotel
 
การเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ของนางอนงค์ ภูหัวตลาด
การเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ของนางอนงค์  ภูหัวตลาด การเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ของนางอนงค์  ภูหัวตลาด
การเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ของนางอนงค์ ภูหัวตลาด
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 i live in bua yai
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 i live in bua yaiแผนการจัดการเรียนรู้ที่1 i live in bua yai
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 i live in bua yai
 
Math3
Math3Math3
Math3
 
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิดจำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
 
Math4
Math4Math4
Math4
 
Math5
Math5Math5
Math5
 
Math8
Math8Math8
Math8
 

Similar to เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ของ นางอนงค์ ภูหัวตลาด

คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001Thidarat Termphon
 
จำนวนจริง
จำนวนจริงจำนวนจริง
จำนวนจริงKruGift Girlz
 
ตัวอย่างข้อสอบ Pre o net คณิตศาสตร์ม.6
ตัวอย่างข้อสอบ Pre o net คณิตศาสตร์ม.6ตัวอย่างข้อสอบ Pre o net คณิตศาสตร์ม.6
ตัวอย่างข้อสอบ Pre o net คณิตศาสตร์ม.6ทับทิม เจริญตา
 
แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
แบบทดสอบก่อนและหลังเรียนแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
แบบทดสอบก่อนและหลังเรียนaoynattaya
 
Real number2555
Real number2555Real number2555
Real number2555wongsrida
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนAon Narinchoti
 

Similar to เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ของ นางอนงค์ ภูหัวตลาด (11)

คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
 
จำนวนจริง
จำนวนจริงจำนวนจริง
จำนวนจริง
 
ตัวอย่างข้อสอบ Pre o net คณิตศาสตร์ม.6
ตัวอย่างข้อสอบ Pre o net คณิตศาสตร์ม.6ตัวอย่างข้อสอบ Pre o net คณิตศาสตร์ม.6
ตัวอย่างข้อสอบ Pre o net คณิตศาสตร์ม.6
 
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
 
แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
แบบทดสอบก่อนและหลังเรียนแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
 
Brands math
Brands mathBrands math
Brands math
 
Real number2555
Real number2555Real number2555
Real number2555
 
Pat1 มีค57
Pat1 มีค57 Pat1 มีค57
Pat1 มีค57
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
 
ระบบจำนวนจริง
ระบบจำนวนจริงระบบจำนวนจริง
ระบบจำนวนจริง
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอน
เอกสารประกอบการเรียนการสอนเอกสารประกอบการเรียนการสอน
เอกสารประกอบการเรียนการสอน
 

เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ของ นางอนงค์ ภูหัวตลาด

  • 1. 1 คาชี้แจงเกี่ยวกับชุดการเรียนการสอน 1. ชุดการเรียนการสอนรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม 4 รหัสวิชา ค30204 เรื่อง จานวนเชิงซ้อน สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ประกอบด้วย ชุดการเรียนการสอน จานวน 12 ชุด ดังนี้ 1.1 ชุดการเรียนการสอน ชุดที่ 1 เรื่อง การเขียนจานวนเชิงซ้อนในรูป (a,b) หรือ a + bi 1.2 ชุดการเรียนการสอน ชุดที่ 2 เรื่อง การหาผลบวกของจานวนเชิงซ้อน 1.3 ชุดการเรียนการสอน ชุดที่ 3 เรื่อง การหาผลลบของจานวนเชิงซ้อน 1.4 ชุดการเรียนการสอน ชุดที่ 4 เรื่อง การหาผลคูณจานวนเชิงซ้อน 1.5 ชุดการเรียนการสอน ชุดที่ 5 เรื่อง การหาผลหารจานวนเชิงซ้อน 1.6 ชุดการเรียนการสอน ชุดที่ 6 เรื่อง รากที่ 2 ของจานวนเชิงซ้อน 1.7 ชุดการเรียนการสอน ชุดที่ 7 เรื่อง การหาคาตอบของสมการกาลังสองที่มี สัมประสิทธิ์เป็นจานวนจริง 1.8 ชุดการเรียนการสอน ชุดที่ 8 เรื่อง ค่าสัมบูรณ์ของจานวนเชิงซ้อน 1.9 ชุดการเรียนการสอน ชุดที่ 9 เรื่อง การเขียนจานวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขั้ว
  • 2. 2 2. เอกสารฉบับนี้เป็นเอกสารชุดการเรียนการสอนรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม 4 รหัสวิชา ค30204 เรื่อง จานวนเชิงซ้อน ชุดที่ 1 เรื่อง การเขียนจานวนเชิงซ้อน ในรูป (a,b) หรือ a + bi ใช้สาหรับสอนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 3. ชุดการเรียนการสอนนี้ ประกอบด้วย - คาชี้แจงเกี่ยวกับชุดการเรียนการสอน - คาแนะนาสาหรับครู - คาแนะนาสาหรับนักเรียน - สาระการเรียนรู้ สาระสาคัญและจุดประสงค์การเรียนรู้ - ลาดับขั้นตอนการเรียนชุดการเรียนการสอน - บัตรคาสั่ง - แบบทดสอบก่อนเรียน - บัตรเนื้อหา, บัตรคาถาม, บัตรเฉลยบัตรคาถาม - บัตรสรุปผลการเรียนรู้ - แบบทดสอบหลังเรียน - บัตรบันทึกประจาวันในการเรียนของนักเรียน 4. ชุดการเรียนการสอนนี้ได้แบ่งสาระการเรียนรู้ออกเป็น 1 เรื่องย่อย ใช้เวลาทั้งสิ้น 2 ชั่วโมง 1.10 ชุดการเรียนการสอน ชุดที่ 10 เรื่อง การหาผลคูณของจานวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขั้ว 1.11 ชุดการเรียนการสอน ชุดที่ 11 เรื่อง การหาผลหารของจานวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขั้ว 1.12 ชุดการเรียนการสอน ชุดที่ 12 เรื่อง การหาค่าของจานวนเชิงซ้อนยกกาลัง n
  • 3. 3 คาแนะนาสาหรับครู 1. ครูควรเตรียมชุดการเรียนการสอน ซึ่งประกอบด้วย บัตรคาสั่ง แบบทดสอบ ก่อนเรียน บัตรเนื้อหา บัตรคาถาม บัตรเฉลยบัตรคาถาม บัตรสรุปผลการเรียนรู้ แบบทดสอบหลังเรียน และบัตรบันทึกประจาวันในการเรียนของนักเรียนตลอดจน อุปกรณ์ต่าง ๆ ให้ครบถ้วน 2. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน ชุดที่ 1 เพื่อประเมินความรู้เดิม ของนักเรียน 3. แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ 4. แจกชุดการเรียนการสอนให้นักเรียนศึกษา และแนะนาวิธีการใช้ชุดการเรียน การสอน เพื่อนักเรียนจะได้ปฏิบัติอย่างถูกต้อง 5. ดาเนินการสอนตามกิจกรรมการเรียนรู้ที่กาหนดไว้ในแผนการจัดการเรียนรู้ 6. หากนักเรียนคนใดเรียนไม่ทันหรือขาดเรียน ครูควรให้คาแนะนาหรือมอบหมาย งานหรือให้ศึกษาชุดการเรียนการสอนในเวลาว่าง 7. หลังจากนักเรียนศึกษาชุดการเรียนการสอน ชุดที่ 1 เรียบร้อยแล้วให้นักเรียน ทาแบบฝึกหัดจากบัตรคาถาม พร้อมทั้งตรวจคาตอบจากบัตรเฉลย 8. ให้นักเรียนทาบัตรสรุปผลการเรียนรู้ เพื่อส่งเสริมความแม่นยาในการเรียนรู้ ของนักเรียน 9. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน ชุดที่ 1 เพื่อประเมินความก้าวหน้า ของนักเรียนหลังจากเรียนชุดการเรียนการสอน ชุดที่ 1 จบแล้ว และบันทึก คะแนนแต่ละคนไว้ หากนักเรียนคนใดได้คะแนนไม่ผ่านเกณฑ์ครูควรจัดสอน ซ่อมเสริม หรือให้นักเรียนศึกษาชุดการเรียนการสอนใหม่อีกครั้ง 10. ให้นักเรียนทาบัตรบันทึกประจาวันในการเรียนของนักเรียน เพื่อส่งเสริม การคิดวิเคราะห์ อ่าน เขียน และสื่อความหมายของนักเรียน 11. การจัดชั้นเรียนจะจัดให้นักเรียนศึกษาเป็นกลุ่มหรือรายบุคคลก็ได้
  • 4. 4 1. อ่านคาชี้แจงเกี่ยวกับชุดการเรียนการสอน และคาแนะนาสาหรับนักเรียน ให้เข้าใจก่อนที่จะลงมือศึกษาชุดการเรียนการสอน 2. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน ชุดที่ 1 เพื่อประเมินความรู้เดิมของนักเรียน 3. ศึกษาชุดการเรียนการสอนจากบัตรเนื้อหาที่ครูจัดเตรียมไว้ให้ด้วยความตั้งใจ โดยปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนที่กาหนดไว้ในบัตรคาสั่ง 4. เมื่อนักเรียนศึกษาบัตรเนื้อหาเสร็จเรียบร้อยแล้วให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด จากบัตรคาถามที่ครูจัดเตรียมไว้ให้ พร้อมทั้งตรวจคาตอบจากบัตรเฉลยบัตรคาถาม 5. หากนักเรียนคนใดยังไม่เข้าใจในเนื้อหาใด ก็ให้กลับไปศึกษาอีกครั้ง เพื่อให้ เกิดความเข้าใจในเนื้อหาดียิ่งขึ้น 6. ทาบัตรสรุปผลการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมความแม่นยาในการเรียนรู้ของนักเรียน 7. ทาแบบทดสอบหลังเรียน ชุดที่ 1 เพื่อประเมินความก้าวหน้าของนักเรียน หลังจากเรียนชุดการเรียนการสอน ชุดที่ 1 จบแล้ว 8. ทาบัตรบันทึกประจาวันในการเรียนของนักเรียน เพื่อฝึกการคิดวิเคราะห์ อ่าน เขียน และสื่อความหมายของนักเรียน 9. ในการทาแบบฝึกหัด แบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน ขอให้นักเรียนทาด้วย ความตั้งใจ และมีความซื่อสัตย์ต่อตนเองให้มากที่สุด โดยไม่เปิดดูเฉลยก่อน คาแนะนาสาหรับนักเรียน
  • 5. 5 สาระการเรียนรู้ การเขียนจานวนเชิงซ้อนในรูป (a,b) หรือ a + bi จานวนเชิงซ้อน เป็นจานวนที่เขียนอยู่ในรูปของคู่อันดับ (a,b) หรือ a + bi เมื่อ a, b เป็นจานวนจริงใด ๆ ซึ่งจะเรียก a ว่าส่วน จริง(real part) และเรียก b ว่าส่วนจินตภาพ (imaginary part) เมื่อส่วนจริงและส่วนจินตภาพมีค่าเปลี่ยนแปลงไป จะทาให้เกิดจานวน เชิงซ้อนอยู่ในรูปลักษณะที่แตกต่างกัน สาระสาคัญ 1. บอกความหมายของจานวนเชิงซ้อนได้ 2. เขียนจานวนเชิงซ้อนในรูป (a,b) ให้อยู่ในรูป a + bi และเขียน จานวนเชิงซ้อนในรูป a + bi ให้อยู่ในรูป (a,b) ได้ 3. บอกส่วนจริงและส่วนจินตภาพของจานวนเชิงซ้อนได้ 4. ระบุความแตกต่างของจานวนเชิงซ้อนแต่ละชนิดได้ 5. บอกความหมายของ i และหาค่าของ i n เมื่อ n เป็นจานวนเต็มบวกได้ จุดประสงค์การเรียนรู้
  • 6. 6 ลาดับขั้นตอนการเรียนชุดการเรียนการสอน ชุดที่ 1 เรื่อง การเขียนจานวนเชิงซ้อนในรูป (a,b) หรือ a + bi 1. อ่านคาแนะนาและบัตรคาสั่ง 2. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน 3. ศึกษาชุดการเรียนการสอน โดยปฏิบัติกิจกรรม - ศึกษาบัตรเนื้อหา - ทาบัตรคาถาม - ทาบัตรสรุปผลการเรียนรู้ 4. ทาแบบทดสอบหลัง เรียน ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินผล ผ่านเกณฑ์ ศึกษาชุดการเรียนการสอน ชุดที่ 2 ต่อไป 5. ทาบัตรบันทึกประจาวัน ในการเรียนของนักเรียน
  • 7. 7 1. อ่านคาแนะนาสาหรับนักเรียนให้เข้าใจก่อนลงมือศึกษาชุดการเรียนการสอน 2. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน ชุดที่ 1 เพื่อประเมินความรู้เดิมของนักเรียน 3. ศึกษาบัตรเนื้อหา เรื่อง การเขียนจานวนเชิงซ้อนในรูป (a,b) หรือ a + bi ที่ครูแจกให้ด้วยความตั้งใจ 4. ทาแบบฝึกหัดจากบัตรคาถามที่ครูจัดเตรียมไว้ให้ และเมื่อนักเรียนทาแบบฝึกหัด เสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้นักเรียนตรวจคาตอบจากบัตรเฉลยบัตรคาถาม 5. ทาบัตรสรุปผลการเรียนรู้ เพื่อส่งเสริมความแม่นยาในการเรียนรู้ 6. ทาแบบทดสอบหลังเรียน ชุดที่ 1 เพื่อประเมินความก้าวหน้าของนักเรียน หลังจากเรียนชุดการเรียนการสอน ชุดที่ 1 จบแล้ว 7. ทาบัตรบันทึกประจาวันในการเรียนของนักเรียน เพื่อฝึกการคิดวิเคราะห์ อ่าน เขียน และสื่อความหมายของนักเรียน 8. หากนักเรียนคนใดทาแบบทดสอบหลังเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ให้นักเรียนศึกษา ชุดการเรียนการสอนอีกครั้ง หรือปรึกษาครูผู้สอน 9. ในการทาแบบฝึกหัด แบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน ขอให้นักเรียน ซื่อสัตย์ต่อตนเองให้มากที่สุด ห้ามเปิดดูเฉลยก่อน บัตรคาสั่ง เข้าใจไหมคะ
  • 8. 8 คาชี้แจง คำชี้แจง 1. แบบทดสอบก่อนเรียน ใช้ทดสอบนักเรียนก่อนเรียน ชุดที่ 1 เรื่อง การเขียนจานวนเชิงซ้อนในรูป (a,b) หรือ a + bi จานวน 10 ข้อ 2. การตอบแบบทดสอบ ให้นักเรียนกาเครื่องหมาย × ลงในช่อง  ใต้ตัวอักษร ก , ข , ค และ ง ที่เป็นคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงคาตอบ เดียวลงในกระดาษคาตอบ ใช้เวลาสอบ 10 นาที 1. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง ก. 6i3(3,6)  ข. 2i1(1,2)  ค. 5i44,5)(  ง. 2i62)6,(  2. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง ก. 1)2,(i2  ข. (6,2)2i6  ค. 4)3,(4i3  ง. 8,5)(5i8  3. ค่าของ 3)(2, เขียนอยู่ในรูป bia ตรงกับข้อใด ก. 3i2 ข. 3i2 ค. 3i2 ง. 3i2 4. กาหนดให้ 5)(1,Z  แล้วส่วนจริง ของจานวนเชิงซ้อนมีค่าตรงกับข้อใด ก. 5 ข. 0 ค. 1 ง. 2 แบบทดสอบก่อนเรียน ชุดที่ 1 เรื่อง การเขียนจานวนเชิงซ้อนในรูป (a,b) หรือ a + bi
  • 9. 9 5. ค่าของ i8 เขียนอยู่ในรูป b)(a, คือจานวนในข้อใด ก. 1)(8, ข. (8,1) ค. 1)8,(  ง. 8,1)( 6. กาหนดให้ 3i4Z  แล้วส่วน จินตภาพของจานวนเชิงซ้อนมีค่าตรงกับ ข้อใด ก. 4 ข. 3 ค. 4 ง. 3 7. ค่าของ 25i มีค่าตรงกับข้อใด ก. i ข. 1 ค. 1 ง. i 8. จานวนจินตภาพแท้ คือจานวนในข้อใด ก. 5 ข. 2i5 ค. i3 ง. i2 9. ค่าของ 24i20i16i8i  มีค่า ตรงกับข้อใด ก. 0 ข. 2 ค. 4 ง. 8 10. ค่าของ 8)1002(i2i  มีค่าตรงกับ ข้อใด ก. 9 ข. 7 ค. 5 ง. 3 ทดสอบความรู้เดิมก่อนนะค่ะ
  • 10. 10 กระดาษคาตอบแบบทดสอบก่อนเรียน ชุดที่ 1 เรื่อง การเขียนจานวนเชิงซ้อนในรูป (a,b) หรือ a + bi ตัวเลือก ข้อที่ ก ข ค ง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 คะแนนที่ได้ ................................... ผู้ตรวจ .......................................... วันที่ ...... เดือน .......... พ.ศ. ....... ชื่อ ............................... นามสกุล ................................ ชั้น ..................... เลขที่ .......
  • 11. 11 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน ชุดที่ 1 เรื่อง การเขียนจานวนเชิงซ้อนในรูป (a,b) หรือ a + bi 1. ข 2. ก 3. ง 4. ค 5. ข 6. ง 7. ก 8. ง 9. ค 10. ข อย่าพึ่งดูเฉลยนะคะเด็ก ๆ
  • 12. 12 บัตรเนื้อหา 1. การเขียนจานวนเชิงซ้อนในรูป (a,b) หรือ a + bi จากบทนิยาม จานวนเชิงซ้อน a + bi จะเรียก a ว่าส่วนจริง (real part) และ b ว่าส่วนจินตภาพ (imaginary part) ซึ่งจะแสดงลักษณะต่าง ๆ ของจานวน เชิงซ้อนดังตารางต่อไปนี้ ตารางแสดงลักษณะต่าง ๆ ของจานวนเชิงซ้อน ข้อที่ จานวน เชิงซ้อน ในรูป (a,b) จานวน เชิงซ้อน ในรูป a + bi ส่วนจริง ส่วน จินตภาพ ลักษณะของ จานวนเชิงซ้อน 1 (4,0) 4 + 0i 4 0 (a,b) หรือ a + bi 2 (–8,0) –8 + 0i –8 0 เมื่อ a  0 และ b = 0 3 (9,0) 9 + 0i 9 0 4 (2,7) 2 + 7i 2 7 (a,b) หรือ a + bi 5 (–4,8) –4 + 8i –4 8 เมื่อ a  0 และ b  0 6 (–3, –5) –3 – 5i –3 –5 7 (0,3) 0 + 3i 0 3 (a,b) หรือ a + bi 8 (0, –7) 0 – 7i 0 –7 เมื่อ a = 0 และ 9 (0,15) 0 + 15i 0 15 b  0 บทนิยาม จานวนเชิงซ้อน คือจานวนที่เขียนอยู่ในรูป (a,b) หรือ a + bi เมื่อ a, b เป็นจานวนจริงใด ๆ และ i 2 = –1 โดยที่ i คือ (0,1)
  • 13. 13 จากตารางสามารถสรุปลักษณะต่าง ๆ ของจานวนเชิงซ้อนได้ ดังนี้ 1. จานวนเชิงซ้อนที่อยู่ในรูป (a,b) หรือ a + bi เมื่อ a  0 และb = 0 เรียก จานวนเชิงซ้อนนี้ว่า จานวนจริง a (ดังปรากฏในตารางข้อ 1 – ข้อ 3) 2. จานวนเชิงซ้อนที่อยู่ในรูป (a,b) หรือ a + bi เมื่อ a  0 และb  0 เรียก จานวนเชิงซ้อนนี้ว่า จานวนจินตภาพ (ดังปรากฏในตารางข้อ 4 – ข้อ 6) 3. จานวนเชิงซ้อนที่อยู่ในรูป (a,b) หรือ a + bi เมื่อ a = 0 และb  0 เรียก จานวนเชิงซ้อนนี้ว่า จานวนจินตภาพแท้ (ดังปรากฏในตารางข้อ 7 – ข้อ 9) ตัวอย่างที่ 1 จงเขียนจานวนเชิงซ้อน (a,b) ให้อยู่ในรูป a + bi พร้อมทั้งบอก ส่วนจริงและส่วนจินตภาพ 1. (2, –4) 2. (1,8) 3. ( 5 ,–1) วิธีทา 1. (2,–4) = 2 – 4i ส่วนจริง คือ 2 ส่วนจินตภาพ คือ –4 2. (1,8) = 1 + 8i ส่วนจริง คือ 1 ส่วนจินตภาพ คือ 8 3. ( 5 ,–1) = 5 – i ส่วนจริง คือ 5 ส่วนจินตภาพ คือ –1
  • 14. 14 iรi ตัวอย่างที่ 2 จงเขียนจานวนเชิงซ้อน a + bi ให้อยู่ในรูป (a,b) พร้อมทั้งบอก ส่วนจริงและส่วนจินตภาพ 1. 4 + 4i 2. –2i 3. 11 วิธีทา 1. 4 + 4i = (4,4) ส่วนจริงคือ 4 ส่วนจินตภาพคือ 4 2. –2i = (0,–2) ส่วนจริงคือ 0 ส่วนจินตภาพคือ –2 3. 11 = ( 11,0) ส่วนจริงคือ 11 ส่วนจินตภาพคือ 0 จากนิยาม จะได้ว่า i คือ 1 ตัวอย่างที่ 3 จงหาคาตอบของจานวนเชิงซ้อนในข้อต่อไปนี้ 1. 3 2. 9 3. 8 4. 1442  5. 121  วิธีทา 1. 3 = 13  = i3 2. 9 = 19  = 3i 3. 8 = 18  = i22 4. 1442  = 11442  = 12i2 5. 121  = 1121  = i321 บทนิยาม ถ้า a เป็นจานวนจริงบวก แล้ว ia1aa 
  • 15. 15 2. การหาค่า i n เมื่อ n เป็นจานวนเต็มบวก ข้อที่ i อยู่ในรูปยกกาลัง ค่าของ i 1 i i 2 i 2 –1 3 i 3 –i 4 i 4 1 5 i 5 i 6 i 6 –1 7 i 7 –i 8 i 8 1 9 i 9 i 10 i 10 –1 11 i 11 –i 12 i 12 1 13 i 13 i จากตาราง จะเห็นว่าค่าของ i n จะมีคาตอบ 1 ,–1 ,i ,–i เพียง 4 คาตอบ เท่านั้นไม่ว่า i จะยกกาลังเท่าไรก็ตาม ดังนั้นจึงสามารถสรุปการหาค่าของ i n ได้ดังนี้         0ศษแล้วเหลือเ4หารด้วยnเมื่อ1 3ศษแล้วเหลือเ4หารด้วยnเมื่อi- 2ศษแล้วเหลือเ4หารด้วยnเมื่อ1- 1ศษแล้วเหลือเ4หารด้วยnเมื่อi ni
  • 16. 16 ตัวอย่างที่ 1 จงหา ค่าของ i 136 และ i 2345 วิธีทา i 136 = 1 ( 4 หาร 136 แล้วเหลือเศษ 0 หรือหารลงตัว ) i 2345 = i ( 4 หาร 2345 แล้วเหลือเศษ 1 ) ตัวอย่างที่ 2 จงหาผลสาเร็จของจานวนต่อไปนี้ 1. 20i18i15i9i  2. )49i28(i36i  วิธีทา จากข้อสรุปของ ni จะได้ว่า 1. 20i18i15i9i  = 11)(i)(i  = 11ii  = 2 ตอบ 20i18i15i9i  คือ 2 2. )49i28(i36i  = i)1(1 = i1 ตอบ )49i28(i36i  คือ i1
  • 17. 17 1. จงเติมคาตอบลงในช่องว่างให้ถูกต้อง ข้อที่ จานวน เชิงซ้อน เขียนให้อยู่ ในรูป a + bi ข้อที่ จานวน เชิงซ้อน เขียนให้อยู่ ในรูป (a,b) 1.1 (6,2) 1.4 5 + 12i 1.2 (–3,4) 1.5 –3 + 6i 1.3 (7, –12) 1.6 –4 – 5i 2. จงเติมคาตอบลงในช่องว่างให้ถูกต้อง ข้อที่ จานวนเชิงซ้อน ส่วนจริง ส่วนจินตภาพ ลักษณะของ จานวนเชิงซ้อน 2.1 12 – 5i 2.2 (–7,2) 2.3 –12 + 0i 2.4 0 + 9i 3. จงหาผลลัพธ์ของ i n ต่อไปนี้ 3.1 i 28 = ..…………………………….. 3.2 i 2375 = ………………………….. บัตรคาถาม 1.1 คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคาตอบในแต่ละข้อต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
  • 18. 18 คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคาตอบในแต่ละข้อต่อไปนี้ให้ถูกต้อง 1. จงเติมคาตอบลงในช่องว่างให้ถูกต้อง ข้อที่ จานวน เชิงซ้อน เขียนให้อยู่ ในรูป a + bi ข้อที่ จานวน เชิงซ้อน เขียนให้อยู่ ในรูป (a,b) 1.1 (6,2) 6 + 2i 1.4 5 + 12i (5,12) 1.2 (–3,4) –3 + 4i 1.5 –3 + 6i (–3,6) 1.3 (7, –12) 7 – 12i 1.6 –4 – 5i (–4, –5) 2. จงเติมคาตอบลงในช่องว่างให้ถูกต้อง ข้อที่ จานวนเชิงซ้อน ส่วนจริง ส่วนจินตภาพ ลักษณะของ จานวนเชิงซ้อน 2.1 12 – 5i 12 –5 จำนวนจินตภำพ 2.2 (–7,2) –7 2 จำนวนจินตภำพ 2.3 –12 + 0i –12 0 จำนวนจริง 2.4 0 + 9i 0 9 จำนวนจินตภำพแท้ 3. จงหาผลลัพธ์ของ i n ต่อไปนี้ 3.1 i 28 = 1 3.2 i 2375 = –i บัตรเฉลยบัตรคาถาม 1.1 เก่งจังเลย
  • 19. 19 คาชี้แจง จงพิจารณาข้อความที่กาหนดให้ต่อไปนี้ข้อใดถูกให้ใส่เครื่องหมาย () และข้อใดผิดให้ใส่เครื่องหมาย () บัตรคาถาม 1.2 ...........1. 20i มีค่าเท่ากับ –1 ...........2. 19i มีค่าเท่ากับ –i ...........3. 9 มีค่าเท่ากับ 3i ...........4. 4 มีค่าเท่ากับ –2 ...........5. 25 มีค่าเท่ากับ 5i ...........6. 2 มีค่าเท่ากับ i2 ...........7. 18i17i16i15i  มีค่าเท่ากับ 1 ...........8. )3i5(i20i  มีค่าเท่ากับ 0 ...........9. 40i30i20i10i  มีค่าเท่ากับ 1 ...........10. 4)(3, เขียนในรูป bia คือ 3 – 4i ...........11. 1)(5, เขียนในรูป bia คือ 5 + i ...........12. ,2)2( เขียนในรูป bia คือ 2i2  ...........13. 8i2 เขียนในรูป b)(a, คือ 8)(2, ...........14. i53  เขียนในรูป b)(a, คือ )5,3(  ...........15. จานวน bi เมื่อ 0b  เรียกว่าจานวนจินตภาพแท้ ตั้งใจทานะ
  • 20. 20 คาชี้แจง จงพิจารณาข้อความที่กาหนดให้ต่อไปนี้ข้อใดถูกให้ใส่เครื่องหมาย () และข้อใดผิดให้ใส่เครื่องหมาย () บัตรเฉลยบัตรคาถาม 1.2 ..... ..... 1. 20i มีค่าเท่ากับ –1 ..... ..... 2. 19i มีค่าเท่ากับ –i .....  ..... 3. 9 มีค่าเท่ากับ 3i .....  ….. 4. 4 มีค่าเท่ากับ –2 .....  ..... 5. 25 มีค่าเท่ากับ 5i .....  ..... 6. 2 มีค่าเท่ากับ i2 .....  ….. 7. 18i17i16i15i  มีค่าเท่ากับ 1 .....  ..... 8. )3i5(i20i  มีค่าเท่ากับ 0 .....  ….. 9. 40i30i20i10i  มีค่าเท่ากับ 1 ..... ..... 10. 4)(3, เขียนในรูป bia คือ 3 - 4i .....  ….. 11. 1)(5, เขียนในรูป bia คือ 5 + i .....  ..... 12. ,2)2( เขียนในรูป bia คือ 2i2  .....  ..... 13. 8i2 เขียนในรูป b)(a, คือ 8)(2, .....  ….. 14. i53  เขียนในรูป b)(a, คือ )5,3(  .....  ..... 15. จานวน bi เมื่อ 0b  เรียกว่าจานวนจินตภาพแท้ เก่งมากเลยทุกคน
  • 21. 21 บัตรสรุปผลการเรียนรู้ คาชี้แจง ให้นักเรียนสรุปผลการเรียนรู้จากบัตรเนื้อหาของชุดการเรียนการสอน ชุดที่ 1 เรื่อง การเขียนจานวนเชิงซ้อนในรูป (a,b) หรือ a + bi ตามหัวข้อต่อไปนี้ 1. จานวนเชิงซ้อนสามารถเขียนได้ 2 รูปแบบ ดังนี้ 1.1………………………………………………………………………. 1.2………………………………………………………………………. 2. จานวนเชิงซ้อน biaZ  เรียกชื่อส่วนต่าง ๆ ได้ดังนี้ 2.1 ส่วน a เรียกว่า................................................. 2.2 ส่วน b เรียกว่า..................................................
  • 22. 22 3. ถ้า a เป็นจานวนจริงบวก แล้ว a จะถูกเรียกว่าอะไร .................................................................................................. 4. 1 ถูกเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ ว่าอย่างไร .................................................................................................... 5. ข้อสรุปเกี่ยวกับ “ ni ” เมื่อ n เป็นจานวนเต็มบวก ได้ดังนี้ 1…………………………………………………. 2…………………………………………………. 3………………………………………………….. 4…………………………………………………..
  • 23. 23 คาชี้แจง 1. แบบทดสอบหลังเรียน ใช้ทดสอบนักเรียนหลังเรียน ชุดที่ 1 เรื่อง การเขียนจานวนเชิงซ้อนในรูป (a,b) หรือ a + bi จานวน 10 ข้อ 2. การตอบแบบทดสอบ ให้นักเรียนกาเครื่องหมาย × ลงในช่อง ใต้ตัวอักษร ก , ข , ค และ ง ที่เป็นคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงคาตอบเดียว ลงในกระดาษคาตอบ ใช้เวลาสอบ 10 นาที 1. ค่าของ 24i20i16i8i  มีค่า ตรงกับข้อใด ก. 8 ข. 4 ค. 2 ง. 0 2. ค่าของ i8 เขียนอยู่ในรูป b)(a, คือจานวนในข้อใด ก. 1)8,(  ข. 8,1)( ค. 1)(8, ง. (8,1) 3. ค่าของ 25i มีค่าตรงกับข้อใด ก. i ข. i ค. 1 ง. 1 4. กาหนดให้ 3i4Z  แล้ว ส่วนจินตภาพของจานวนเชิงซ้อนมีค่า ตรงกับข้อใด ก. 4 ข. 3 ค. 3 ง. 4 แบบทดสอบหลังเรียน ชุดที่ 1 เรื่อง การเขียนจานวนเชิงซ้อนในรูป (a,b) หรือ a + bi
  • 24. 24 5. ค่าของ 8)1002(i2i  มีค่าตรงกับ ข้อใด ก. 3 ข. 5 ค. 7 ง. 9 6. กาหนดให้ 5)(1,Z  แล้วส่วนจริง ของจานวนเชิงซ้อนมีค่าตรงกับข้อใด ก. 2 ข. 1 ค. 0 ง. 5 7. ค่าของ 3)(2, เขียนอยู่ในรูป bia ตรงกับข้อใด ก. 3i2 ข. 3i2 ค. 2 + 3i ง. 3i2 8. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง ก. 4)3,(4i3  ข. 8,5)(5i8  ค. 1)2,(i2  ง. (6,2)2i6  9. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง ก. 2i62)6,(  ข. 5i44,5)(  ค. 6i3(3,6)  ง. 2i1(1,2)  10. จานวนจินตภาพแท้ คือจานวนในข้อใด ก. i2 ข. i3 ค. 2i5 ง. 5 สู้ สู้ นะคะทุกคน
  • 25. 25 กระดาษคาตอบแบบทดสอบหลังเรียน ชุดที่ 1 เรื่อง การเขียนจานวนเชิงซ้อนในรูป (a,b) หรือ a + bi ชื่อ ............................... นามสกุล ................................ ชั้น ..................... เลขที่ ....... ตัวเลือก ข้อที่ ก ข ค ง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 คะแนนที่ได้ ................................... ผู้ตรวจ .......................................... วันที่ ........ เดือน ................ พ.ศ......
  • 26. 26 เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน ชุดที่ 1 เรื่อง การเขียนจานวนเชิงซ้อนในรูป (a,b) หรือ a + bi 1. ข 2. ง 3. ก 4. ข 5. ค 6. ข 7. ก 8. ค 9. ง 10. ก เก่งมาก...ถูกทุกข้อเลย ...
  • 27. 27 บัตรบันทึกประจาวันในการเรียนของนักเรียน ชื่อ .................................. นามสกุล ................................ ชั้น ......... เลขที่ .......... บันทึกครั้งที่ ..................... วันที่ ............... เดือน .......................... พ.ศ. ............. คาชี้แจง ให้นักเรียนบันทึกสิ่งที่เกิดขึ้นจากความรู้สึกจริง ๆ ของนักเรียน จากประสบการณ์ในการเรียนโดยใช้ชุดการเรียนการสอน ตามหัวข้อต่อไปนี้ 1. สิ่งที่ชอบที่สุดในการเรียน ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... .......................................................................................................................... 2. สิ่งที่ข้าพเจ้าได้ช่วยเหลือเพื่อนในการเรียน ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ..........................................................................................................................
  • 28. 28 3. สิ่งที่เพื่อนได้ช่วยเหลือข้าพเจ้าในการเรียน ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... 4. การมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... .......................................................................................................................... 5. การมีปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนในการเรียน ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ..........................................................................................................................
  • 29. 29 6. บรรยากาศในการเรียน ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... 7. ปัญหาที่พบในการเรียน ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... 8. วิธีแก้ปัญหาในการเรียน ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... .....................................................................................................................................
  • 30. 30 9. ประโยชน์ที่ได้รับในการเรียน ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... 10. ความคิดเห็นอื่น ๆ ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... คณิตศาสตร์ไม่ได้ยากอย่างที่คิดเลย …เย้...
  • 31. 31 บรรณานุกรม เจริญ ภูภัทรพงศ์ และศรีลัดดา ภูภัทรพงศ์. คู่มือและเทคนิคคิดลัดโจทย์คณิตศาสตร์ ม.5 เล่ม 4 ค014, ค044. กรุงเทพฯ : SIENCE CENTER, ม.ป.ป. จารัส อินสม. “จานวนเชิงซ้อน” วารสารแม็ค ม.ปลาย. 16(7) : 145–152 พฤศจิกายน 2539. นงเยาว์ เป็นสุข. “จานวนเชิงซ้อน” วารสารแม็ค ม.ปลาย. 8(18) : 26–31 ; ธันวาคม 2541. ประสงค์ ปานเจริญ. แบบเรียนคณิตศาสตร์ ค412 คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษา ตอนปลาย. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2520. ไพรัตน์ วงษ์นาม และคณะ. คู่มือหลักสูตรใหม่คณิตศาสตร์ ค014 ม.5. กรุงเทพฯ : ประสานมิต, ม.ป.ป. ศุภกิจ เฉลิมวิสุตย์กุล. “จานวนเชิงซ้อน ตอนที่ 1” วารสารแม็ค ม.ปลาย. 10(7) : 182–188 ; พฤศจิกายน 2540. ศุภกิจ เฉลิมวิสุตย์กุล. “จานวนเชิงซ้อน ตอนที่ 2” วารสารแม็ค ม.ปลาย. 10(8) : 176–181 ; ธันวาคม 2540. สมัย เหล่าวานิชย์ และพัวพรรณ เหล่าวานิชย์. Modern Acadamic Math คณิตศาสตร์ ม.5 เล่ม 4. กรุงเทพฯ : ไฮเอ็ดพับลิชชิ่ง, 2535. ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้ เพิ่มเติมคณิตศาสตร์ เล่ม 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 5. กรุงเทพฯ : คุรุสภา, 2547. ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. คู่มือครูสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม คณิตศาสตร์เพิ่มเติม เล่ม 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5. นครปฐม : นครปฐมการพิมพ์, 2548. สุรศักดิ์ ชาญฤทธิรณ และพรชัย กุนยมานนท์. “จานวนเชิงซ้อน (Complex Number).” วารสารแม็ค ม.ปลายศิลป์. 1(6) : 79-87 ; ตุลาคม 2531. อเนก หิรัญ. คณิตศาสตร์ ค014. กรุงเทพฯ : ฟิสิกส์เซนเตอร์, 2535.