SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
เอกสารประกอบการเรี ยน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.4 โดยครูณฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com]
                                                                           ั



                                ใบความรู้ที่ 1 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
      วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ                           เวลา 2 ชั่วโมง                    ครูผสอน ครูณัฐพล บัวอุไร
                                                                                            ู้

1. ความหมายของระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
         ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ หมายถึง ระบบการโอนถ่ายข้อมูลหรือการแลกเปลี่ยนข้อมูล
ระหว่างต้นทางหรือปลายทางโดยใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น โทรศัพท์ โทรสาร โมเด็ม คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์เครือข่าย
ต่างๆ ดาวเทียม ควบคุมการส่งและการไหลของข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทาง

2. องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
           1. ผู้ส่ง (Sender) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการส่งข่าวสาร (Message) เป็นต้นทางของการสื่อสารข้อมูลมีหน้าที่เตรียม
สร้างข้อมูล เช่น ผู้พูด โทรทัศน์ กล้องวิดีโอ เป็นต้น
           2. ผู้รับ (Receiver) เป็นปลายทางการสื่อสาร มีหน้าที่รับข้อมูลที่ส่งมาให้ เช่น ผู้ฟัง เครื่องรับโทรทัศน์ เครื่องพิมพ์
เป็นต้น
           3. สื่อกลาง (Medium) หรือตัวกลาง เป็นเส้นทางการสื่อสารเพื่อนาข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทาง สื่อส่งข้อมูล
อาจเป็นสายคู่บิดเกลียว สายโคแอกเชียล สายใยแก้วนาแสง หรือคลื่นที่ส่งผ่านทางอากาศ เช่น เลเซอร์ คลื่นไมโครเวฟ
คลื่นวิทยุภาคพื้นดิน หรือคลื่นวิทยุผ่านดาวเทียม
           4. ข้อมูลข่าวสาร (Message) คือสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ที่ส่งผ่านไปในระบบสื่อสาร ซึ่งอาจถูกเรียกว่า สารสนเทศ
(Information) โดยแบ่งเป็น 5รูปแบบ ดังนี้
                       4.1 ข้อความ (Text) ใช้แทนตัวอักขระต่าง ๆ ซึ่งจะแทนด้วยรหัสต่าง ๆ เช่น รหัสแอสกี เป็นต้น
                       4.2 ตัวเลข (Number) ใช้แทนตัวเลขต่าง ๆ ซึ่งตัวเลขไม่ได้ถูกแทนด้วยรหัสแอสกีแต่จะถูกแปลงเป็น
           เลขฐานสองโดยตรง
                       4.3 รูปภาพ (Images) ข้อมูลของรูปภาพจะแทนด้วยจุดสีเรียงกันไปตามขนาดของรูปภาพ
                       4.4 เสียง (Audio) ข้อมูลเสียงจะแตกต่างจากข้อความ ตัวเลข และรูปภาพเพราะข้อมูลเสียงจะเป็น
           สัญญาณต่อเนื่องกันไป
                       4.5 วิดีโอ (Video) ใช้แสดงภาพเคลื่อนไหว ซึ่งเกิดจากการรวมกันของรูปภาพหลาย ๆ รูป
           5. โปรโตคอล (Protocol) คือ วิธีการหรือกฎระเบียบที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลเพื่อให้ผู้รับและผู้ส่ง สามารถเข้าใจกัน
หรือคุยกันรู้เรื่อง โดยทั้งสองฝั่งทั้งผู้รับและผู้ส่งได้ตกลงกันไว้ก่อนล่วงหน้าแล้ว ในคอมพิวเตอร์โปรโตคอลอยู่ในส่วนของ
ซอฟต์แวร์ที่มีหน้าที่ทาให้การดาเนินงาน ในการสื่อสารข้อมูลเป็นไปตามโปรแกรมที่กาหนดไว้ ตัวอย่างเช่น X.25, SDLC,
HDLC, และ TCP/IP เป็นต้น

3. สื่อกลางหรือตัวกลางของระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
          ตัวกลางหรือสายเชื่อมโยง เป็นส่วนที่ทาให้เกิดการเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ต่าง ๆ เข้าด้วยกัน และอุปกรณ์นี้ยอม
ให้ข่าวสารข้อมูลเดินทางผ่านจากผู้ส่งไปยังผู้รับ สื่อกลางที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลมีอยู่หลายประเภท แต่ละประเภทมีความ
แตกต่างกันในด้านของปริมาณข้อมูลที่สื่อกลางนั้น ๆ สามารถนาผ่านไปได้ในเวลาขณะใดขณะหนึ่ง การวัดปริมาณหรือความจุ
ในการนาข้อมูล หรือที่เรียกกันว่า “แบนด์วิดท์” (Bandwidth) มีหน่วยเป็นจานวนบิตข้อมูลต่อวินาที (Bit Per Second :
BPS) ลักษณะของตัวกลางต่างๆ มีดังต่อไปนี้


                                                                                                                             1
เอกสารประกอบการเรี ยน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.4 โดยครูณฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com]
                                                                               ั

                         3.1 สื่อกลางประเภทมีสาย
                    1) สายคู่บิดเกลียว (Twisted Pair)
                   สายคู่บิดเกลียว ประกอบด้วยเส้นลวดทองแดงที่หุ้มด้วยฉนวนพลาสติก 2 เส้นพันบิดเป็นเกลียว ทั้งนี้เพื่อลดการ
     รบกวนจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากคู่สายข้างเคียงภายในสาย เดียวกันหรือจากภายนอกเนื่องจากสายคู่ บิดเกลียวนี้ยอมให้
     สัญญาณไฟฟ้าความถี่ สูงผ่านได้ สาหรับอัตราการส่งข้อมูลผ่านสายคู่บิดเกลียวจะขึ้นอยู่กับความหนาของสายด้วย กล่าวคือ
     สายทองแดงที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางกว้าง จะสามารถส่งสัญญาณไฟฟ้ากาลังแรงได้ ทาให้สามารถส่งข้อมูลด้วยอัตราส่งสูง
     โดยทั่วไปแล้วสาหรับการส่งข้อมูลแบบดิจิตอล สัญญาณที่ส่งเป็นลักษณะคลื่นสี่เหลี่ยม สายคู่บิดเกลียวสามารถใช้ส่งข้อมูลได้
     ถึงร้อยเมกะบิตต่อวินาที ในระยะทางไม่เกินร้อยเมตร เนื่องจากสายคู่บิดเกลียวมีราคาไม่แพงมาก ใช้ส่งข้อมูลได้ดี จึงมีการใช้
     งานอย่างกว้างขวาง ตัวอย่างเช่น
                  ก. สายคู่บิดเกลียวชนิดหุ้มฉนวน (Shielded Twisted Pair : STP) เป็นสายคู่บิดเกลียวที่หุ้มด้วยลวดถักชั้นนอก
     ที่หนาอีกชั้น ดังรูปที่ 1 เพื่อป้องกันการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
                         ข. สายคู่เกลียวชนิดไม่หุ้มฉนวน (Unshielded Twisted Pair : UTP) เป็นสายคู่บิดเกลียวมีฉนวน
     ชั้นนอกที่บางอีกชั้น ดังรูปที่ 2 ทาให้สะดวกในการโค้งงอ แต่สามารถป้องกันการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้น้อยกว่า
     ชนิดแรก แต่ก็มีราคาต่ากว่าจึงนิยมใช้ในการเชื่อมต่ออุปกรณ์ในเครือข่าย ตัวอย่างของสายคู่บิ ดเกลียวชนิดไม่หุ้มฉนวน ที่เห็น
     ในชีวิตประจาวัน คือ สายโทรศัพท์ที่ใช้อยู่ในบ้าน




                          รู ปที่ 1 สายคู่บิดเกลียวชนิดหุ มฉนวน
                                                          ้
                                                                                  รู ปที่ 2 สายคู่บิดเกลียวชนิดไม่หุมฉนวน
                                                                                                                    ้




รู ปที่ 3 การต่อสายคู่บิดเกลียวชนิดไม่หุมฉนวนเข้ากับหัวต่อชนิ ด RJ-45 เพื่อให้เป็ นสื่ อกลางที่สามารถต่อเชื่อมกับเครื่ องคอมพิวเตอร์ ได้
                                        ้




                                                                                                                               2
เอกสารประกอบการเรี ยน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.4 โดยครูณฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com]
                                                                          ั

           2) สายโคแอกเชียล (Twisted Pair)
               สายโคแอกเชียล เป็นตัวกลางเชื่อมโยงที่มีลักษณะเช่นเดียวกับสายที่ต่อจากเสาอากาศของโทรทัศน์ สายโคแอก
เชียลที่ใช้ทั่วไปมี 2 ชนิดคือ 50 โอห์ม ซึ่งใช้ส่งข้อมูลแบบดิจิตอล และชนิด 75 โอห์ม ซึ่งใช้ส่งข้อมูลสัญญาณแอนะล็อก สาย
ประกอบด้วยลวดทองแดงที่เป็นแกนหลักหนึ่งเส้นที่หุ้มด้วยฉนวนชั้นหนึ่ง เพื่อป้องกันกระแสไฟรั่ว จากนั้นจะหุ้มด้วยตัวนาซึ่ง
ทาจากลวดทองแดงถักเป็นเปีย เพื่อป้องกันการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและสัญญาณรบกวนอื่นๆ ก่อนจะหุ้มชั้นนอกสุด
ด้วยฉนวนพลาสติก ลวดทองแดงที่ถักเป็นเปียนี้เอง เป็นส่วนหนึ่งที่ทาให้สายแบบนี้มีช่วงความถี่สัญญาณไฟฟ้าสามารถผ่านได้
สูง มากและนิยมใช้เป็นช่องสื่อสารสัญญาณแอนะล็อกเชื่อมโยงผ่านใต้ทะเลและใต้ดิน




                            (ก) ตัวอย่างสายโคแอกเชียล                         (ข) ส่ วนประกอบของสายโคแอกเชียล
                                                         รู ปที่ 4 สายโคแอกเชียล




                          (ก) ข้อต่อสายโคแอกเชียล                    (ข) ข้อต่อสายโคแอกเชียลบริ เวณที่เป็ นส่ วนปลายของเครื อข่าย
                                          รู ปที่ 5 ข้อต่อสายโคแอกเชียลที่สามารถนาไปต่อเชื่อมกับเครื่ องคอมพิวเตอร์

         3)   เส้นใยนาแสง (Fiber Optic)
          เส้นใยนาแสง มีแกนกลางของสายซึ่งประกอบด้วยเส้นใยแก้วหรือพลาสติกขนาดเล็กหลาย ๆ เส้นอยู่รวมกัน เส้นใย
แต่ละเส้นมีขนาดเล็กเท่าเส้นผมและภายในกลวง และเส้นใยเหล่านั้นได้รับการห่อหุ้มด้วยเส้นใยอีกชั้นหนึ่ง ก่อนจะหุ้มชั้นนอก
สุดด้วยฉนวน การส่งข้อมูลผ่านทางสื่อกลางชนิดนี้จากแตกต่างจากชนิดอื่น ๆ ซึ่งใช้สัญญาณไฟฟ้าในการส่ง แต่การทางานของ
สื่อกลางชนิดนี้ จะใช้เลเซอร์วิ่งผ่านช่องกลวงของเส้นใยแต่ละเส้น และอาศัยหลักการหักเหของแสง โดยใช้ใยแก้วชั้นนอกเป็น
กระจกสะท้อนแสง การให้แสงเคลื่อนที่ไปในท่อแก้ว สามารถส่งข้อมูลด้วยอัตราความหนาแน่นของสัญญาณข้อมูลสูงมาก และ
ไม่มีการก่อกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ปัจจุบันถ้าใช้เส้นใยนาแสงกับระบบอีเทอร์เน็ต จะใช้ได้ด้วยความเร็วหลายร้อยเมกะบิต
และเนื่องจากความสามารถในการส่งข้อมูลด้วยอัตราความหนาแน่นสูง ทาให้สามารถส่งข้อมูลทั้งตัวอักษร เสียง ภาพกราฟิก
หรือวีดิทัศน์ได้ในเวลาเดียวกัน อีกทั้งยังมีความปลอดภัยในการส่งสูง แต่อย่างไรก็มีข้อเสียเนื่องจากการบิดงอสายสัญญาณจะ
ทาให้เส้นใยหัก จึงไม่สามารถใช้สื่อกลางชนิดนี้ในการเดินทางตามมุมตึกได้ เส้นใยนาแสงมีลักษณะพิเศษที่ใช้สาหรับเชื่อมโยง
แบบจุดไปจุด ดังนั้นจึงเหมาะที่จะใช้กับการเชื่อมโยงระหว่างอาคารกับอาคาร หรือระหว่างเมืองกับเมือง เส้นใยนาแสงจึงถูก
นาไปใช้เป็นสายแกนหลัก

                                                                                                                      3
เอกสารประกอบการเรี ยน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.4 โดยครูณฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com]
                                                                             ั




                                                 รู ปที่ 6 ส่ วนประกอบของเส้นใยนาแสง

               3.2 สื่อกลางประเภทไร้สาย
                    1) ไมโครเวฟ (Microwave)
                 สัญญาณไมโครเวฟ เป็นสื่อกลางในการสื่อสารที่มี
ความเร็ว สูง ส่ง ข้ อมูล โดยอาศั ย สัญญาณไมโครเวฟ ซึ่ ง เป็ น
สั ญ ญาณคลื่ น แม่ เ หล็ ก ไฟฟ้ า ไปในอากาศพร้ อ มกั บ ข้ อ มู ล ที่
ต้องการส่ง และจะต้องมีสถานีที่ทาหน้าที่ส่งและรับข้อมูล และ
เนื่องจากสัญญาณไมโครเวฟจะเดินทางเป็นเส้นตรง ไม่สามารถ
เลี้ยวหรือโค้งตามขอบโลกที่มีความโค้งได้ จึงต้องมีการตั้งสถานี
รั บ -ส่ ง ข้ อ มู ล เป็ น ระยะ ๆ และส่ ง ข้ อ มู ล ต่ อ กั น เป็ น ทอด ๆ

ระหว่างสถานีต่อสถานีจนกว่าจะถึงสถานีปลายทาง แต่ละสถานี
                                                                 รู ปที่ 7 การส่ งสัญญาณไมโครเวฟ ต้องมีสถานีรับส่ งที่เป็ นเสาสู ง
จะตั้งอยู่ในที่สูง เช่น ดาดฟ้า ตึกสูง หรือยอดดอย เพื่อหลีกเลี่ยง
การชนหากมีสิ่งกีดขวาง เนื่องจากแนวการเดินทางที่เป็นเส้นตรงของสัญญาณดังที่กล่าวมาแล้ว การส่งข้อมูลด้วยสื่อกลางชนิ ด
นี้เหมาะกับการส่งข้อมูลในพื้นที่ห่างไกลมาก ๆ และทุรกันดาร

          2) ดาวเทียม (Satellite)
            ดาวเทียมได้รับการพัฒนาขึ้นมาเพื่อหลีกเลี่ยงข้อจากัดของสถานีรับ -ส่งไมโครเวฟบนผิวโลก วัตถุประสงค์ในการ
สร้างดาวเทียม เพื่อเป็นสถานีรับ -ส่งสัญญาณไมโครเวฟบนอวกาศและทวนสัญญาณในแนวโคจรของโลก ในการส่งสัญญาณ
ดาวเทียมจะต้องมีสถานีภาคพื้นดินคอยทาหน้าที่รับและส่งสัญญาณขึ้นไปบนดาวเทียมที่โคจรอยู่สูงจากพื้นโลก 22,300 ไมล์
โดยดาวเทียมเหล่านั้นจะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วที่เท่ากับการหมุนของโลก จึงเสมือนกั บดาวเทียมนั้นนิ่งอยู่กับที่ขณะที่โลก
หมุนรอบตัวเอง ทาให้การส่งสัญญาณไมโครเวฟจากสถานีหนึ่งขึ้นไปบนดาวเทียม และการกระจายสัญญาณจากดาวเทียมลง
มายังสถานีตามจุดต่าง ๆ บนผิวโลกเป็นไปอย่างแม่นยา ดาวเทียมสามารถโคจรอยู่ได้โดยอาศัยพลังงานแสงอาทิตย์ โดยแผง
โซลาร์ (Solar Cell) บนดาวเทียมจะรับพลังงานจากแสงอาทิตย์มาเปลี่ยนใช้งาน




                                                                                                                       4
เอกสารประกอบการเรี ยน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.4 โดยครูณฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com]
                                                           ั




                            ่
รู ปที่ 8 ดาวเทียมที่โคจรอยูในอวกาศ      รู ปที่ 9 สถานีภาคพื้นดินคอยรับส่ งสัญญาณดาวเทียม




                                                                                             5

More Related Content

What's hot

การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลการสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
Bebearjang1
 
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Piyanoot Ch
 
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ปิยะดนัย วิเคียน
 
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
อยู่ไหน เหงา
 
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
Mareeyalosocity
 

What's hot (20)

เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลการสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
 
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copyบทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copy
 
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Datacom
DatacomDatacom
Datacom
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
 
หน่วยที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยที่  3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งานหน่วยที่  3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
 
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์การสื่อสาร
อุปกรณ์การสื่อสารอุปกรณ์การสื่อสาร
อุปกรณ์การสื่อสาร
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
รูปร่างเครือข่าย
รูปร่างเครือข่ายรูปร่างเครือข่าย
รูปร่างเครือข่าย
 
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
 
สื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสาร
สื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสารสื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสาร
สื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 4
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 4เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 4
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 4
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
 
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 

Viewers also liked

ใบความรู้ที่ 3 การเขียนโปรแกรมภาษา
ใบความรู้ที่ 3 การเขียนโปรแกรมภาษาใบความรู้ที่ 3 การเขียนโปรแกรมภาษา
ใบความรู้ที่ 3 การเขียนโปรแกรมภาษา
Nattapon
 
มาตรฐานการศึกษาโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลำลูกกา
มาตรฐานการศึกษาโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลำลูกกามาตรฐานการศึกษาโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลำลูกกา
มาตรฐานการศึกษาโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลำลูกกา
Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 8 เรื่องโปรแกรมเปิดรูปภาพ
ใบความรู้ที่ 8 เรื่องโปรแกรมเปิดรูปภาพใบความรู้ที่ 8 เรื่องโปรแกรมเปิดรูปภาพ
ใบความรู้ที่ 8 เรื่องโปรแกรมเปิดรูปภาพ
Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 1 คุณธรรมจริยธรรม
ใบความรู้ที่ 1 คุณธรรมจริยธรรมใบความรู้ที่ 1 คุณธรรมจริยธรรม
ใบความรู้ที่ 1 คุณธรรมจริยธรรม
Nattapon
 
ใบงานที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบงานที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdfใบงานที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบงานที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
Nattapon
 
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
Kriangx Ch
 
ใบงานที่ 3 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์2
ใบงานที่ 3 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์2ใบงานที่ 3 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์2
ใบงานที่ 3 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์2
Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
Nattapon
 
ใบงานที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์1
ใบงานที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์1ใบงานที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์1
ใบงานที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์1
Nattapon
 
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...
Nattapon
 
ทัศนธาตุ
ทัศนธาตุทัศนธาตุ
ทัศนธาตุ
Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
Nattapon
 

Viewers also liked (20)

ใบความรู้ที่ 3 การเขียนโปรแกรมภาษา
ใบความรู้ที่ 3 การเขียนโปรแกรมภาษาใบความรู้ที่ 3 การเขียนโปรแกรมภาษา
ใบความรู้ที่ 3 การเขียนโปรแกรมภาษา
 
มาตรฐานการศึกษาโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลำลูกกา
มาตรฐานการศึกษาโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลำลูกกามาตรฐานการศึกษาโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลำลูกกา
มาตรฐานการศึกษาโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลำลูกกา
 
ใบความรู้ที่ 8 เรื่องโปรแกรมเปิดรูปภาพ
ใบความรู้ที่ 8 เรื่องโปรแกรมเปิดรูปภาพใบความรู้ที่ 8 เรื่องโปรแกรมเปิดรูปภาพ
ใบความรู้ที่ 8 เรื่องโปรแกรมเปิดรูปภาพ
 
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 คุณธรรมจริยธรรม
ใบความรู้ที่ 1 คุณธรรมจริยธรรมใบความรู้ที่ 1 คุณธรรมจริยธรรม
ใบความรู้ที่ 1 คุณธรรมจริยธรรม
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบงานที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdfใบงานที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบงานที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
 
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 3 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์2
ใบงานที่ 3 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์2ใบงานที่ 3 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์2
ใบงานที่ 3 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์2
 
ใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculatorใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculator
 
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานีมาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
 
ใบงานที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์1
ใบงานที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์1ใบงานที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์1
ใบงานที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์1
 
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
 
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...
 
Resume
ResumeResume
Resume
 
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
 
ทัศนธาตุ
ทัศนธาตุทัศนธาตุ
ทัศนธาตุ
 
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
 

Similar to ใบความรู้ที่ 1

2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
Meaw Sukee
 
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูลใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
watnawong
 
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสารเทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
Mrpopovic Popovic
 
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
jansaowapa
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
Tharathep Chumchuen
 
Mindmap เลขที่ 13
Mindmap เลขที่ 13Mindmap เลขที่ 13
Mindmap เลขที่ 13
mook_suju411
 
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Meaw Sukee
 
Comunication netw01 11
Comunication netw01 11Comunication netw01 11
Comunication netw01 11
paween
 
แบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
แบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสารแบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
แบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
GreenteaICY
 
แบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
แบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสารแบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
แบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
GreenteaICY
 

Similar to ใบความรู้ที่ 1 (20)

2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
รายงาน1233
รายงาน1233รายงาน1233
รายงาน1233
 
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูลใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
 
รายงาน การสื่อสารข้อมูล
รายงาน การสื่อสารข้อมูลรายงาน การสื่อสารข้อมูล
รายงาน การสื่อสารข้อมูล
 
Communication Concept 3
Communication Concept 3Communication Concept 3
Communication Concept 3
 
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสารเทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
 
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
Mindmap เลขที่ 13
Mindmap เลขที่ 13Mindmap เลขที่ 13
Mindmap เลขที่ 13
 
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
รายงาน 1
รายงาน  1 รายงาน  1
รายงาน 1
 
Comunication netw01 11
Comunication netw01 11Comunication netw01 11
Comunication netw01 11
 
แบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
แบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสารแบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
แบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
 
แบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
แบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสารแบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
แบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
 

More from Nattapon

รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
Nattapon
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
Nattapon
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
Nattapon
 
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
Nattapon
 
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่าย
ใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่ายใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่าย
ใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่าย
Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องการเพิ่มฟอร์มและคำสั่งเปิดฟอร์ม
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องการเพิ่มฟอร์มและคำสั่งเปิดฟอร์มใบความรู้ที่ 3 เรื่องการเพิ่มฟอร์มและคำสั่งเปิดฟอร์ม
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องการเพิ่มฟอร์มและคำสั่งเปิดฟอร์ม
Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรม
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรมใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรม
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรม
Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้นใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
Nattapon
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555
Nattapon
 

More from Nattapon (20)

About Python
About PythonAbout Python
About Python
 
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
 
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
 
ใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint potใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint pot
 
ใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to meใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to me
 
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventorใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
 
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventorใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
 
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
 
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ applicationใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
 
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา applicationใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
 
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่าย
ใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่ายใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่าย
ใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่าย
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องการเพิ่มฟอร์มและคำสั่งเปิดฟอร์ม
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องการเพิ่มฟอร์มและคำสั่งเปิดฟอร์มใบความรู้ที่ 3 เรื่องการเพิ่มฟอร์มและคำสั่งเปิดฟอร์ม
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องการเพิ่มฟอร์มและคำสั่งเปิดฟอร์ม
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรม
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรมใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรม
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรม
 
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้นใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555
 

ใบความรู้ที่ 1

  • 1. เอกสารประกอบการเรี ยน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.4 โดยครูณฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com] ั ใบความรู้ที่ 1 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เวลา 2 ชั่วโมง ครูผสอน ครูณัฐพล บัวอุไร ู้ 1. ความหมายของระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ หมายถึง ระบบการโอนถ่ายข้อมูลหรือการแลกเปลี่ยนข้อมูล ระหว่างต้นทางหรือปลายทางโดยใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น โทรศัพท์ โทรสาร โมเด็ม คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์เครือข่าย ต่างๆ ดาวเทียม ควบคุมการส่งและการไหลของข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทาง 2. องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1. ผู้ส่ง (Sender) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการส่งข่าวสาร (Message) เป็นต้นทางของการสื่อสารข้อมูลมีหน้าที่เตรียม สร้างข้อมูล เช่น ผู้พูด โทรทัศน์ กล้องวิดีโอ เป็นต้น 2. ผู้รับ (Receiver) เป็นปลายทางการสื่อสาร มีหน้าที่รับข้อมูลที่ส่งมาให้ เช่น ผู้ฟัง เครื่องรับโทรทัศน์ เครื่องพิมพ์ เป็นต้น 3. สื่อกลาง (Medium) หรือตัวกลาง เป็นเส้นทางการสื่อสารเพื่อนาข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทาง สื่อส่งข้อมูล อาจเป็นสายคู่บิดเกลียว สายโคแอกเชียล สายใยแก้วนาแสง หรือคลื่นที่ส่งผ่านทางอากาศ เช่น เลเซอร์ คลื่นไมโครเวฟ คลื่นวิทยุภาคพื้นดิน หรือคลื่นวิทยุผ่านดาวเทียม 4. ข้อมูลข่าวสาร (Message) คือสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ที่ส่งผ่านไปในระบบสื่อสาร ซึ่งอาจถูกเรียกว่า สารสนเทศ (Information) โดยแบ่งเป็น 5รูปแบบ ดังนี้ 4.1 ข้อความ (Text) ใช้แทนตัวอักขระต่าง ๆ ซึ่งจะแทนด้วยรหัสต่าง ๆ เช่น รหัสแอสกี เป็นต้น 4.2 ตัวเลข (Number) ใช้แทนตัวเลขต่าง ๆ ซึ่งตัวเลขไม่ได้ถูกแทนด้วยรหัสแอสกีแต่จะถูกแปลงเป็น เลขฐานสองโดยตรง 4.3 รูปภาพ (Images) ข้อมูลของรูปภาพจะแทนด้วยจุดสีเรียงกันไปตามขนาดของรูปภาพ 4.4 เสียง (Audio) ข้อมูลเสียงจะแตกต่างจากข้อความ ตัวเลข และรูปภาพเพราะข้อมูลเสียงจะเป็น สัญญาณต่อเนื่องกันไป 4.5 วิดีโอ (Video) ใช้แสดงภาพเคลื่อนไหว ซึ่งเกิดจากการรวมกันของรูปภาพหลาย ๆ รูป 5. โปรโตคอล (Protocol) คือ วิธีการหรือกฎระเบียบที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลเพื่อให้ผู้รับและผู้ส่ง สามารถเข้าใจกัน หรือคุยกันรู้เรื่อง โดยทั้งสองฝั่งทั้งผู้รับและผู้ส่งได้ตกลงกันไว้ก่อนล่วงหน้าแล้ว ในคอมพิวเตอร์โปรโตคอลอยู่ในส่วนของ ซอฟต์แวร์ที่มีหน้าที่ทาให้การดาเนินงาน ในการสื่อสารข้อมูลเป็นไปตามโปรแกรมที่กาหนดไว้ ตัวอย่างเช่น X.25, SDLC, HDLC, และ TCP/IP เป็นต้น 3. สื่อกลางหรือตัวกลางของระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ตัวกลางหรือสายเชื่อมโยง เป็นส่วนที่ทาให้เกิดการเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ต่าง ๆ เข้าด้วยกัน และอุปกรณ์นี้ยอม ให้ข่าวสารข้อมูลเดินทางผ่านจากผู้ส่งไปยังผู้รับ สื่อกลางที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลมีอยู่หลายประเภท แต่ละประเภทมีความ แตกต่างกันในด้านของปริมาณข้อมูลที่สื่อกลางนั้น ๆ สามารถนาผ่านไปได้ในเวลาขณะใดขณะหนึ่ง การวัดปริมาณหรือความจุ ในการนาข้อมูล หรือที่เรียกกันว่า “แบนด์วิดท์” (Bandwidth) มีหน่วยเป็นจานวนบิตข้อมูลต่อวินาที (Bit Per Second : BPS) ลักษณะของตัวกลางต่างๆ มีดังต่อไปนี้ 1
  • 2. เอกสารประกอบการเรี ยน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.4 โดยครูณฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com] ั 3.1 สื่อกลางประเภทมีสาย 1) สายคู่บิดเกลียว (Twisted Pair) สายคู่บิดเกลียว ประกอบด้วยเส้นลวดทองแดงที่หุ้มด้วยฉนวนพลาสติก 2 เส้นพันบิดเป็นเกลียว ทั้งนี้เพื่อลดการ รบกวนจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากคู่สายข้างเคียงภายในสาย เดียวกันหรือจากภายนอกเนื่องจากสายคู่ บิดเกลียวนี้ยอมให้ สัญญาณไฟฟ้าความถี่ สูงผ่านได้ สาหรับอัตราการส่งข้อมูลผ่านสายคู่บิดเกลียวจะขึ้นอยู่กับความหนาของสายด้วย กล่าวคือ สายทองแดงที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางกว้าง จะสามารถส่งสัญญาณไฟฟ้ากาลังแรงได้ ทาให้สามารถส่งข้อมูลด้วยอัตราส่งสูง โดยทั่วไปแล้วสาหรับการส่งข้อมูลแบบดิจิตอล สัญญาณที่ส่งเป็นลักษณะคลื่นสี่เหลี่ยม สายคู่บิดเกลียวสามารถใช้ส่งข้อมูลได้ ถึงร้อยเมกะบิตต่อวินาที ในระยะทางไม่เกินร้อยเมตร เนื่องจากสายคู่บิดเกลียวมีราคาไม่แพงมาก ใช้ส่งข้อมูลได้ดี จึงมีการใช้ งานอย่างกว้างขวาง ตัวอย่างเช่น ก. สายคู่บิดเกลียวชนิดหุ้มฉนวน (Shielded Twisted Pair : STP) เป็นสายคู่บิดเกลียวที่หุ้มด้วยลวดถักชั้นนอก ที่หนาอีกชั้น ดังรูปที่ 1 เพื่อป้องกันการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ข. สายคู่เกลียวชนิดไม่หุ้มฉนวน (Unshielded Twisted Pair : UTP) เป็นสายคู่บิดเกลียวมีฉนวน ชั้นนอกที่บางอีกชั้น ดังรูปที่ 2 ทาให้สะดวกในการโค้งงอ แต่สามารถป้องกันการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้น้อยกว่า ชนิดแรก แต่ก็มีราคาต่ากว่าจึงนิยมใช้ในการเชื่อมต่ออุปกรณ์ในเครือข่าย ตัวอย่างของสายคู่บิ ดเกลียวชนิดไม่หุ้มฉนวน ที่เห็น ในชีวิตประจาวัน คือ สายโทรศัพท์ที่ใช้อยู่ในบ้าน รู ปที่ 1 สายคู่บิดเกลียวชนิดหุ มฉนวน ้ รู ปที่ 2 สายคู่บิดเกลียวชนิดไม่หุมฉนวน ้ รู ปที่ 3 การต่อสายคู่บิดเกลียวชนิดไม่หุมฉนวนเข้ากับหัวต่อชนิ ด RJ-45 เพื่อให้เป็ นสื่ อกลางที่สามารถต่อเชื่อมกับเครื่ องคอมพิวเตอร์ ได้ ้ 2
  • 3. เอกสารประกอบการเรี ยน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.4 โดยครูณฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com] ั 2) สายโคแอกเชียล (Twisted Pair) สายโคแอกเชียล เป็นตัวกลางเชื่อมโยงที่มีลักษณะเช่นเดียวกับสายที่ต่อจากเสาอากาศของโทรทัศน์ สายโคแอก เชียลที่ใช้ทั่วไปมี 2 ชนิดคือ 50 โอห์ม ซึ่งใช้ส่งข้อมูลแบบดิจิตอล และชนิด 75 โอห์ม ซึ่งใช้ส่งข้อมูลสัญญาณแอนะล็อก สาย ประกอบด้วยลวดทองแดงที่เป็นแกนหลักหนึ่งเส้นที่หุ้มด้วยฉนวนชั้นหนึ่ง เพื่อป้องกันกระแสไฟรั่ว จากนั้นจะหุ้มด้วยตัวนาซึ่ง ทาจากลวดทองแดงถักเป็นเปีย เพื่อป้องกันการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและสัญญาณรบกวนอื่นๆ ก่อนจะหุ้มชั้นนอกสุด ด้วยฉนวนพลาสติก ลวดทองแดงที่ถักเป็นเปียนี้เอง เป็นส่วนหนึ่งที่ทาให้สายแบบนี้มีช่วงความถี่สัญญาณไฟฟ้าสามารถผ่านได้ สูง มากและนิยมใช้เป็นช่องสื่อสารสัญญาณแอนะล็อกเชื่อมโยงผ่านใต้ทะเลและใต้ดิน (ก) ตัวอย่างสายโคแอกเชียล (ข) ส่ วนประกอบของสายโคแอกเชียล รู ปที่ 4 สายโคแอกเชียล (ก) ข้อต่อสายโคแอกเชียล (ข) ข้อต่อสายโคแอกเชียลบริ เวณที่เป็ นส่ วนปลายของเครื อข่าย รู ปที่ 5 ข้อต่อสายโคแอกเชียลที่สามารถนาไปต่อเชื่อมกับเครื่ องคอมพิวเตอร์ 3) เส้นใยนาแสง (Fiber Optic) เส้นใยนาแสง มีแกนกลางของสายซึ่งประกอบด้วยเส้นใยแก้วหรือพลาสติกขนาดเล็กหลาย ๆ เส้นอยู่รวมกัน เส้นใย แต่ละเส้นมีขนาดเล็กเท่าเส้นผมและภายในกลวง และเส้นใยเหล่านั้นได้รับการห่อหุ้มด้วยเส้นใยอีกชั้นหนึ่ง ก่อนจะหุ้มชั้นนอก สุดด้วยฉนวน การส่งข้อมูลผ่านทางสื่อกลางชนิดนี้จากแตกต่างจากชนิดอื่น ๆ ซึ่งใช้สัญญาณไฟฟ้าในการส่ง แต่การทางานของ สื่อกลางชนิดนี้ จะใช้เลเซอร์วิ่งผ่านช่องกลวงของเส้นใยแต่ละเส้น และอาศัยหลักการหักเหของแสง โดยใช้ใยแก้วชั้นนอกเป็น กระจกสะท้อนแสง การให้แสงเคลื่อนที่ไปในท่อแก้ว สามารถส่งข้อมูลด้วยอัตราความหนาแน่นของสัญญาณข้อมูลสูงมาก และ ไม่มีการก่อกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ปัจจุบันถ้าใช้เส้นใยนาแสงกับระบบอีเทอร์เน็ต จะใช้ได้ด้วยความเร็วหลายร้อยเมกะบิต และเนื่องจากความสามารถในการส่งข้อมูลด้วยอัตราความหนาแน่นสูง ทาให้สามารถส่งข้อมูลทั้งตัวอักษร เสียง ภาพกราฟิก หรือวีดิทัศน์ได้ในเวลาเดียวกัน อีกทั้งยังมีความปลอดภัยในการส่งสูง แต่อย่างไรก็มีข้อเสียเนื่องจากการบิดงอสายสัญญาณจะ ทาให้เส้นใยหัก จึงไม่สามารถใช้สื่อกลางชนิดนี้ในการเดินทางตามมุมตึกได้ เส้นใยนาแสงมีลักษณะพิเศษที่ใช้สาหรับเชื่อมโยง แบบจุดไปจุด ดังนั้นจึงเหมาะที่จะใช้กับการเชื่อมโยงระหว่างอาคารกับอาคาร หรือระหว่างเมืองกับเมือง เส้นใยนาแสงจึงถูก นาไปใช้เป็นสายแกนหลัก 3
  • 4. เอกสารประกอบการเรี ยน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.4 โดยครูณฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com] ั รู ปที่ 6 ส่ วนประกอบของเส้นใยนาแสง 3.2 สื่อกลางประเภทไร้สาย 1) ไมโครเวฟ (Microwave) สัญญาณไมโครเวฟ เป็นสื่อกลางในการสื่อสารที่มี ความเร็ว สูง ส่ง ข้ อมูล โดยอาศั ย สัญญาณไมโครเวฟ ซึ่ ง เป็ น สั ญ ญาณคลื่ น แม่ เ หล็ ก ไฟฟ้ า ไปในอากาศพร้ อ มกั บ ข้ อ มู ล ที่ ต้องการส่ง และจะต้องมีสถานีที่ทาหน้าที่ส่งและรับข้อมูล และ เนื่องจากสัญญาณไมโครเวฟจะเดินทางเป็นเส้นตรง ไม่สามารถ เลี้ยวหรือโค้งตามขอบโลกที่มีความโค้งได้ จึงต้องมีการตั้งสถานี รั บ -ส่ ง ข้ อ มู ล เป็ น ระยะ ๆ และส่ ง ข้ อ มู ล ต่ อ กั น เป็ น ทอด ๆ ระหว่างสถานีต่อสถานีจนกว่าจะถึงสถานีปลายทาง แต่ละสถานี รู ปที่ 7 การส่ งสัญญาณไมโครเวฟ ต้องมีสถานีรับส่ งที่เป็ นเสาสู ง จะตั้งอยู่ในที่สูง เช่น ดาดฟ้า ตึกสูง หรือยอดดอย เพื่อหลีกเลี่ยง การชนหากมีสิ่งกีดขวาง เนื่องจากแนวการเดินทางที่เป็นเส้นตรงของสัญญาณดังที่กล่าวมาแล้ว การส่งข้อมูลด้วยสื่อกลางชนิ ด นี้เหมาะกับการส่งข้อมูลในพื้นที่ห่างไกลมาก ๆ และทุรกันดาร 2) ดาวเทียม (Satellite) ดาวเทียมได้รับการพัฒนาขึ้นมาเพื่อหลีกเลี่ยงข้อจากัดของสถานีรับ -ส่งไมโครเวฟบนผิวโลก วัตถุประสงค์ในการ สร้างดาวเทียม เพื่อเป็นสถานีรับ -ส่งสัญญาณไมโครเวฟบนอวกาศและทวนสัญญาณในแนวโคจรของโลก ในการส่งสัญญาณ ดาวเทียมจะต้องมีสถานีภาคพื้นดินคอยทาหน้าที่รับและส่งสัญญาณขึ้นไปบนดาวเทียมที่โคจรอยู่สูงจากพื้นโลก 22,300 ไมล์ โดยดาวเทียมเหล่านั้นจะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วที่เท่ากับการหมุนของโลก จึงเสมือนกั บดาวเทียมนั้นนิ่งอยู่กับที่ขณะที่โลก หมุนรอบตัวเอง ทาให้การส่งสัญญาณไมโครเวฟจากสถานีหนึ่งขึ้นไปบนดาวเทียม และการกระจายสัญญาณจากดาวเทียมลง มายังสถานีตามจุดต่าง ๆ บนผิวโลกเป็นไปอย่างแม่นยา ดาวเทียมสามารถโคจรอยู่ได้โดยอาศัยพลังงานแสงอาทิตย์ โดยแผง โซลาร์ (Solar Cell) บนดาวเทียมจะรับพลังงานจากแสงอาทิตย์มาเปลี่ยนใช้งาน 4
  • 5. เอกสารประกอบการเรี ยน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.4 โดยครูณฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com] ั ่ รู ปที่ 8 ดาวเทียมที่โคจรอยูในอวกาศ รู ปที่ 9 สถานีภาคพื้นดินคอยรับส่ งสัญญาณดาวเทียม 5