SlideShare a Scribd company logo
1 of 42
Download to read offline
ความหมาย ระบบการโอนถ่ายข้อมูลหรือการแลกเปลี่ยน
ข้อมูลระหว่างต้นทางหรือปลายทางโดยใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น
โทรศัพท์ โทรสาร โมเด็ม คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์เครือข่ายต่างๆ
ดาวเทียม ควบคุมการส่งและการไหลของข้อมูลจากต้นทางไปยัง
ปลายทาง
การสื่อสารข้อมูลมีองค์ประกอบ 5 อย่าง ได้แก่
1. ผู้ส่ง (Sender) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการส่งข่าวสาร (Message) เป็นต้นทางของการ
สื่อสารข้อมูลมีหน้าที่เตรียมสร้างข้อมูล เช่น ผู้พูด โทรทัศน์ กล้องวิดีโอ เป็นต้น
2. ผู้รับ (Receiver) เป็นปลายทางการสื่อสาร มีหน้าที่รับข้อมูลที่ส่งมาให้ เช่น ผู้ฟัง
เครื่องรับโทรทัศน์ เครื่องพิมพ์ เป็นต้น
3. สื่อกลาง (Medium) หรือตัวกลาง เป็นเส้นทางการสื่อสารเพื่อนาข้อมูลจากต้นทาง
ไปยังปลายทาง สื่อส่งข้อมูลอาจเป็นสายคู่บิดเกลียว สายโคแอกเชียล สายใยแก้วนาแสง
หรือคลื่นที่ส่งผ่านทางอากาศ เช่น เลเซอร์ คลื่นไมโครเวฟ คลื่นวิทยุภาคพื้นดิน หรือ
คลื่นวิทยุผ่านดาวเทียม
4. ข้อมูลข่าวสาร (Message) คือสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ที่ส่งผ่านไปในระบบสื่อสาร ซึ่งอาจถูก
เรียกว่า สารสนเทศ (Information) โดยแบ่งเป็น 5รูปแบบ ดังนี้
4.1 ข้อความ (Text) ใช้แทนตัวอักขระต่าง ๆ ซึ่งจะแทนด้วยรหัสต่าง ๆ เช่น รหัสแอสกี เป็นต้น
4.2 ตัวเลข (Number) ใช้แทนตัวเลขต่าง ๆ ซึ่งตัวเลขไม่ได้ถูกแทนด้วยรหัสแอสกีแต่จะถูกแปลงเป็น
เลขฐานสองโดยตรง
4.3 รูปภาพ (Images) ข้อมูลของรูปภาพจะแทนด้วยจุดสีเรียงกันไปตามขนาดของรูปภาพ
4.4 เสียง (Audio) ข้อมูลเสียงจะแตกต่างจากข้อความ ตัวเลข และรูปภาพเพราะข้อมูลเสียงจะเป็น
สัญญาณต่อเนื่องกันไป
4.5 วิดีโอ (Video) ใช้แสดงภาพเคลื่อนไหว ซึ่งเกิดจากการรวมกันของรูปภาพหลาย ๆ รูป
5. โปรโตคอล (Protocol) คือ วิธีการหรือกฎระเบียบที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลเพื่อให้ผู้รับและผู้
ส่งสามารถเข้าใจกันหรือคุยกันรู้เรื่อง โดยทั้งสองฝั่งทั้งผู้รับและผู้ส่งได้ตกลงกันไว้ก่อนล่วงหน้า
แล้ว ในคอมพิวเตอร์โปรโตคอลอยู่ในส่วนของซอฟต์แวร์ที่มีหน้าที่ทาให้การดาเนินงาน ในการ
สื่อสารข้อมูลเป็นไปตามโปรแกรมที่กาหนดไว้ ตัวอย่างเช่น X.25, SDLC, HDLC, และ
TCP/IP เป็นต้น
1. การส่งสัญญาณแบบอนาลอก(Analog Transmission)
การส่งสัญญาณแบบอนาลอกจะไม่คานึงถึงสิ่งต่าง ๆ ที่รวมอยู่ในสัญญาณเลย โดย
สัญญาณจะแทนข้อมูล อนาลอก เช่น สัญญาณเสียง เป็นต้น ซึ่งสัญญาณอนาลอกที่ส่งออกไปนั้นเมื่อ
ระยะห่างออกไปสัญญาณก็จะอ่อนลงเรื่อย ๆ ทาให้สัญญาณไม่ค่อยดี ดังนั้นเมื่อระยะห่างไกลออกไป
สามารถแก้ไขได้โดยใช้เครื่องขยายสัญญาณ (Amplifier) แต่ก็มีผลทาให้เกิดสัญญาณรบกวน (Noise)
ขึ้น ยิ่งระยะไกลมากขึ้นสัญญาณรบกวนก็เพิ่มมากขึ้น ซึ่งสามารถแก้ไขสัญญาณรบกวนนี้ได้โดยใช้
เครื่องกรองสัญญาณ (Filter) เพื่อกรองเอาสัญญาณรบกวนออกไป
2. การส่งสัญญาณแบบดิจิตอล(Digital Transmission)
การส่งสัญญาณแบบดิจิตอลจะใช้เมื่อต้องการข้อมูลที่ถูกต้องชัดเจนแน่นอน ดังนั้นจึง
จาเป็นต้องสนใจรายละเอียดทุกอย่างที่บรรจุมากับสัญญาณ ในทานองเดียวกันกับการส่ง
สัญญาณแบบอนาลอก กล่าวคือ เมื่อระยะทางในการส่งมากขึ้น สัญญาณดิจิตอลก็จะจางลง
ซึ่งสามารถแก้ไขได้โดยใช้อุปกรณ์ทาสัญญาณซ้า หรือรีพีตเตอร์ (Repeater)
1. การส่งข้อมูลแบบทิศทางเดียว ( simplex transmission )
เป็นการสื่อสารข้อมูลที่ทาหน้าที่ส่งเพียงอย่างเดียว และผู้รับข้อมูลก็ทาหน้าที่
รับข้อมูลเพียงอย่างเดียวด้วยเช่นเดียวกัน การส่งข้อมูลในลักษณะนี้ เช่นการส่งสัญญาณ
ของสถานีโทรทัศน์ โดยที่สถานีส่งสัญญาณโทรทัศน์จะทาหน้าที่ส่งสัญญาณเท่านั้น และ
เครื่องรับโทรทัศน์ก็จะทาหน้าที่ รับสัญญาณเท่านั้นเช่นกัน
2. การส่งข้อมูลแบบสองทิศทางสลับกัน ( half-duplex transmission )
เป็นการสื่อสารข้อมูลที่มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลของผู้รับและผู้ส่ง โดยแต่ละฝ่าย
สามารถเป็นทั้งผู้ส่งและผู้รับข้อมูล จะเป็นผู้ส่งข้อมูลพร้อมกัน ทั้งสองฝ่ายไม่ได้ ลักษณะ
การส่งข้อมูลแบบนี้ เช่น การสื่อสารแบบวิทยุสื่อสาร ซึ่งผู้ที่จะส่งข้อมูลที่จะส่งข้อมูลต้อง
กดปุ่มเพื่อส่งข้อมูล ในขณะนั้นผู้อื่นจะเป็นผู้รับข้อมูล
3. การส่งข้อมูลแบบสองทิศทางพร้อมกัน(full- duplex transmission )
เป็นการสื่อสารข้อมูลทีมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลของผูส่งและผู้รับข้อมูล โดยทั้ง
สองฝ่ายสามารถเป็นผู้ส่งและผู้รับได้ในเวลาเดียวกัน และสามารถ ส่งข้อมูลได้พร้อมกัน
ลักษณะการส่งข้อมูลแบบสองทิศทางพร้อมกัน เช่น การสื่อสารโดยใช้โทรศัพท์ ซึ่งทั้งสอ
องฝ่ายสามารถพูดพร้อมกันได้ ในเวลาเดียวกัน
โพรโทคอล (protocol) คือ ข้อกาหนดหรือข้อตกลงที่ใช้ควบคุมการสื่อสาร
ข้อมูลในเครือข่าย ไม่ว่าจะเป็นการสื่อสารข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์หือ
ระหว่างคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์อื่นๆ เครื่องคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์
เครือข่ายที่ใช้โพรโทคอลชนิดเดียวกันเท่านั้นจึงจะสามารถติดต่อและส่งข้อมูล
ระหว่างกันได้ โพรโทคอลจึงมีลักษณะเช่นเดียวกับภาษาที่ใช้ในการสื่อสารของ
มนุษย์ที่ต้องใช้ภาษาเดียวกัน
จึงจะสามารถสื่อสารกันได้เข้าใจ
ชั้นการประยุกต์ (application layer)
เป็นส่วนติดต่อระหว่างโปรแกรมประยุกต์ของเครือข่ายกับผู้ใช้ โดยคอมพิวเตอร์
จะแปลงข้อมูลที่ได้รับจากผู้ใช้เข้าสู่ระบบ เช่น การเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ที่อยู่ใน
เครือข่าย การถ่ายโอนข้อมูลและไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์
ชั้นการนาเสนอ (presentation layer)
ซึ่งจะแปลงข้อมูลที่ส่งมาให้อยู่ในรูปแบบที่โปรแกรมของเครื่องผู้รับเข้าใจ รวมทั้ง
การจัดรูปแบบการนาเสนอข้อมูล โดยกาหนดรูปแบบภาษา ชนิด และวิธีการเข้าถึงข้อมูล
ของเครื่องผู้ส่งให้เครื่องผู้รับเข้าใจ เช่น การนาเสนอผ่านเว็บ การเข้ารหัสและถอดรหัส
ข้อมูล
ชั้นส่วนงาน (session layer)
ทาหน้าที่สร้างการติดต่อระหว่างเครื่องต้นทางและปลายทาง ตลอดจนดูแลการ
ส่งข้อมูลระหว่างเครื่องทั้งสองให้ถูกต้องและมีประสิทธิภาพโดยกาหนดขอบเขตการรับ -
ส่ง คือ กาหนดจุดผู้รับและผู้ส่งโดยจะเพิ่มเติมรูปแบบการรับ - ส่งข้อมูลว่าเป็นแบบข้อมูล
ชุดเดียว หรือหลายชุดพร้อมๆ กัน เช่น โมดูล (module) ของการนาเสนอผ่านเว็บ
ชั้นขนส่ง (transport layer)
เป็นชั้นของการตรวจสอบและควบคุมการส่งข้อมูลระหว่างเครื่องต้นทางและ
เครื่องปลายทางให้ถูกต้อง
ชั้นเครือข่าย (network layer)
ทาหน้าที่ควบคุมการส่งผ่านข้อมูลระหว่างต้นทางและปลายทางโดยผ่านจุดต่างๆบนเครือข่าย
ให้เป็นไปตามเส้นทางที่กาหนด รวบรวมและแยกแยะข้อมูลเพื่อหาเส้นทางในการส่งข้อมูลที่เหมาะสม
ชั้นเชื่อมโยงข้อมูล (data link layer)
ทาหน้าที่เหมือนเป็นผู้บริการส่งข้อมูล กล่าวคือ เป็นชั้นที่ควบคุมความถูกต้องระหว่างการ
ส่งข้อมูลระหว่างจุด (node) 2 จุดที่อยู่ติดกันในเครือข่ายผ่านทางสายส่งโดยมีกระบวนการตรวจสอบ
ความผิดพลาดของข้อมูลอันเนื่องมาจากสัญญาณรบกวนที่เกิดขึ้นในสาย รวมทั้งมีการแก้ไขความ
ผิดพลาดดังกล่าวด้วย
ชั้นกายภาพ (physical layer)
ซึ่งจะทาหน้าที่แปลงข้อมูลในรูปของสัญญาณดิจิทัลให้ผ่านตัวกลางแต่ละชนิดได้
ตัวอย่างชนิดของโพรโทคอล
1. โปรโตคอล HTTP หรือ Hypertext Transfer Protocol จะใช้เมื่อเรียกโปรแกรม
บราวเซอร์ (Browser)
2. โปรโตคอล TCP/IP หรือ Transfer Control Protocol/Internet Protocol คือ
เครือข่ายโปรโตคอลที่สาคัญมากที่สุด เนื่องจากเป็นโปรโตคอลที่ใช้ในระบบเครือข่าย Internet
รวมทั้ง Intranet ซึ่งประกอบด้วย 2 โปรโตคอลคือ TCP และ IP
3. โปรโตคอล SMTP หรือ Simple Mail Transfer Protocol คือ โปรโตคอล ที่ใช้ในการ
รับส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
เครือข่ายแบบวงแหวน (Ring Topology) คือ ไมโครโปรเซสเซอร์ทุกเครื่องจะสื่อสารกัน
ภายในเครือข่ายผ่านสายสัญญาณที่มีลักษณะเป็นวงแหวน สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์จะถูกส่ง
วิ่งไป รอบวงแหวนจนกระทั่งไปถึงยังเครื่องปลายทางโดยไม่จาเป็นต้องมีเครื่องเซิร์ฟเวอร์เป็น
ศูนย์กลาง โดยมีโทเคนซึ่งเป็นบิต แบบมีแบบแผนจะวิ่งไปรอบๆ วงแหวนทาหน้าที่พิจารณาว่า
เครื่องใดในเครือข่ายจะ เป็นผู้ส่งสารสนเทศ
ข้อดี ข่าวสารจะเคลื่อนที่เป็นลาดับไปในทิศทางเดียว
ขจัดปัญหาการชนกันของสัญญาณ
ข้อจากัด ถ้าเครื่องใดเครื่องหนึ่งในเครือข่ายเสียหาย
อาจทาให้ทั้งระบบหยุดทางานได้
เครือข่ายแบบดาว (Star Topology)คือ จะมีไมโครคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งทาหน้าที่เป็นเครื่อง
ศูนย์กลางแม่ข่าย ไมโครคอมพิวเตอร์ที่เหลือและอุปกรณ์สื่อสารอื่นๆ ทั้งหมดจะเชื่อมต่อไปยัง
เครื่องแม่ข่ายโดยมีฮับ (HUB) เป็นอุปกรณ์คอยจัดการรับส่งข่าวสารจากเครื่องหนึ่งๆไปสู่เครื่อง
อื่นๆ สายสื่อสารจะเชื่อมต่อจากไมโครคอมพิวเตอร์เข้าสู่ฮับแยกไปแต่ละเครื่อง สัญญาณ
อิเล็กทรอนิกส์จะถูกส่งผ่านจากเครื่องหนึ่งผ่านฮับไปยังเครื่องปลายทาง ฮับจะคอยตรวจสอบ
ลาดับการจราจรที่วิ่งไปมาในเครือข่าย
ข้อดี ฮับจะทาหน้าที่คอยปกป้องการชนกันของข่าวสาร
เมื่อเครื่องใดเครื่องหนึ่งเสียหาย ก็จะไม่มีผลกระทบต่อ
เครื่องอื่นๆทั้งระบบ
ข้อจากัด ถ้าฮับเสียหายจะทาให้ทั้งระบบต้องหยุดซะงัก
และมีความสิ้นเปลืองสายสัญญาณมากกว่าแบบอื่นๆ
เครือข่ายแบบผสม (Hybrid Topology) คือ เป็นเครือข่ายที่ผสมผสานกัน
ทั้งแบบดาว,วงแหวน และบัส เช่น วิทยาเขตขนาดเล็กที่มีหลายอาคาร
เครือข่ายของแต่ละอาคารอาจใช้แบบบัสเชื่อมต่อกับอาคารอื่นๆที่ใช้แบบดาว
และแบบวงแหวน
เครือข่ายสามารถจาแนกออกได้หลายประเภทแล้วแต่เกณฑ์ที่ใช้ เช่น ขนาด ลักษณะการ
แลกเปลี่ยนข้อมูลของคอมพิวเตอร์ เป็นต้น โดยทั่วไปการจาแนกประเภทของเครือข่ายมีอยู่ 3 วิธีคือ
1. ใช้ขนาดทางกายภาพของเครือข่ายเป็นเกณฑ์ แบ่งออกได้เป็น 3 ประเภทดังนี้
1.1 LAN (Local Area Network) : ระบบเครือข่ายระดับท้องถิ่น
เป็นระบบเครือข่ายที่ใช้งานอยู่ในบริเวณที่ไม่กว้างนัก อาจใช้อยู่ภายในอาคารเดียวกันหรืออาคารที่อยู่
ใกล้กัน เช่น ภายในมหาวิทยาลัย อาคารสานักงาน คลังสินค้า
หรือโรงงาน เป็นต้น การส่งข้อมูลสามารถทาได้ด้วยความเร็วสูง
และมีข้อผิดพลาดน้อย ระบบเครือข่ายระดับท้องถิ่นจึงถูกออกแบบมา
ให้ช่วยลดต้นทุนและเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทางาน
และใช้งานอุปกรณ์ต่าง ๆ ร่วมกัน
1.2 MAN (Metropolitan Area Network) : ระบบเครือข่ายระดับเมือง
เป็นระบบเครือข่ายที่มีขนาดอยู่ระหว่าง Lanและ Wan เป็นระบบเครือข่ายที่ใช้
ภายในเมืองหรือจังหวัดเท่านั้น การเชื่อมโยงจะต้องอาศัยระบบบริการเครือข่ายสาธารณะ
จึงเป็นเครือข่ายที่ใช้กับองค์การที่มีสาขาห่างไกลและต้องการเชื่อมสาขาเหล่านั้นเข้า
ด้วยกัน เช่น ธนาคาร เครือข่ายแวนเชื่อมโยงระยะไกลมาก จึงมีความเร็วในการ
สื่อสารไม่สูง เนื่องจากมีสัญญาณรบกวนในสาย เทคโนโลยีที่ใช้กับเครือข่ายแวนมีความ
หลากหลาย มีการเชื่อมโยงระหว่างประเทศด้วย
ช่องสัญญาณดาวเทียม เส้นใยนาแสง คลื่นวิทยุ
สายเคเบิล คลื่นไมโครเวฟ
1.3 WAN (Wide Area Network) : ระบบเครือข่ายระดับประเทศ หรือเครือข่ายบริเวณกว้าง
เป็นระบบเครือข่ายที่ติดตั้งใช้งานอยู่ในบริเวณกว้าง เช่น ระบบเครือข่ายที่
ติดตั้งใช้งานทั่วโลก เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ที่อยู่ห่างไกลกันเข้า
ด้วยกัน อาจจะต้องเป็นการติดต่อสื่อสารกันในระดับประเทศ ข้ามทวีปหรือทั่วโลกก็ได้ ใน
การเชื่อมการติดต่อนั้น จะต้องมีการต่อเข้ากับระบบสื่อสารขององค์การโทรศัพท์หรือ
การสื่อสารแห่งประเทศไทยเสียก่อน เพราะจะเป็นการส่งข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์ในการ
ติดต่อสื่อสารกันโดยปกติมีอัตราการส่งข้อมูลที่ต่า
และมีโอกาสเกิดข้อผิดพลาด การส่งข้อมูลอาจใช้
อุปกรณ์ในการสื่อสาร เช่น โมเด็ม
การส่งข้อมูลในระบบเครือข่าย สามารถทาได้ 2 ลักษณะ คือ
การส่งแบบขนาน (parallel transmission) คือการส่งข้อมูลพร้อมกันทีละหลาย ๆ
บิตในหนึ่งรอบสัญญาณนาฬิกา โดยการส่งจะรวมบิต 0 และ 1 หลาย ๆ บิตเข้าเป็นกลุ่ม
จานวน n บิต ผู้ส่งส่งครั้งละ n บิต ผู้รับจะรับครั้งละ n บิตเช่นกัน ซึ่งจะคล้ายกับเวลาที่เรา
พูดคุยเราจะพูดเป็นคา ๆ ไม่พูดทีละตัวอักษร
กลไกการส่งข้อมูลแบบขนานใช้หลักการง่าย ๆ เมื่อส่งครั้งละ n บิต ต้องใ้ช้สาย n
เส้น แต่ละบิตมีสายของตนเอง ในการส่งแต่ละครั้งทุกเส้น
ต้องใช้สัญญาณนาฬิกาอันเดียวกัน ทาให้สามารถส่งออกไปยัง
อุปกรณ์อื่นพร้อมกันได้
การส่งข้อมูลแบบอนุกรม (serial transmission) จะใช้วิธีการส่งทีละ 1 บิตในหนึ่ง
รอบสัญญาณนาฬิกา ทาให้ดูเหมือนว่าบิตต่าง ๆ เรียงต่อเนื่องกันไป จากอุปกรณ์หนึ่งไป
ยังอีกอุปกรณ์หนึ่ง
ข้อดีของการส่งข้อมูลแบบอนุกรม คือการใช้ช่องทางการสื่อสารเพียง 1 ช่อง
ทาให้ลดค่าใช้จ่ายลง แต่ข้อเสียคือ ความเร็วของการส่งที่ต่า ตัวอย่างของการส่งข้อมูล
แบบอนุกรม เช่น โมเด็มจะใช้การส่งแบบอนุกรม
เนื่องจากในสัญญาณโทรศัพท์มีสายสัญญาณ
เส้นเดียว และอีกเส้นหนึ่งเป็นสายดิน
1.การส่งข้อมูลแบบไม่ประสานจังหวะ (asynchronous transmission)
เป็นวิธีการส่งข้อมูลไปบนสื่อนาข้อมูล โดยข้อมูลที่ส่งไปนั้นไม่มีจังหวะการส่ง
ข้อมูล แต่จะส่งเป็นชุด ๆ มีช่องว่าง (gap) อยู่ระหว่างข้อมูล แต่ละชุดเพื่อใช้แบ่งข้อมูล
ออกเป็นชุด ๆ เมื่อเริ่มต้นส่งข้อมูลแต่ละชุดจะมีสีญญาณบอกจุดเริ่มต้นของข้อมูลขนาด
1 บิต (start bit) และมีสัญญาณบอกจุดสิ้นสุดของข้อมูลขนาด 1 บิต (stop bit)
ตัวอย่างเช่น ถ้าขนาดข้อมูลแต่ละชุดมีขนาด 8 บิต ลักษณะของการส่งข้อมูลจะมีลาดับ
ดังนี้คือ สัญญาณบอกจุดเริ่มต้นขนาด 1 บิต ข้อมูล 8 บิต และสัญญาณบอก
จุดสิ้นสุด 1 บิต ตัวอย่างการส่งข้อมูลแบบไม่ประสานจังหวะ เช่น การส่งข้อมูลของ
แป้นพิมพ์ และโมเด็ม เป็นต้น
2.การส่งข้อมูลแบบประสานจังหวะ (synchronous transmission)
เป็นการส่งข้อมูลไปบนสื่อนาข้อมูลที่มีลักษณะเป็นกลุ่มของข้อมูลที่
ต่อเนื่องกันอย่างเป็นจังหวะ โดยใช้สัญญาณนาฬิกาเป็นตัวบอกจังหวะ
เหล่านั้น การส่งข้อมูลวิธีนี้จะไม่มีช่องว่าง (gap) ระหว่างข้อมูลแต่ละชุด และ
ไม่มีสัญญาณบอกจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุด การส่งข้อมูลแบบประสานจังหวะ
นิยม ใช้กับ การส่งข้อมูลของระบบคอมพิวเตอร์ที่มีการส่งข้อมูลปริมาณมาก
ๆ ด้วยความเร็วสูง
ตัวกลางหรือสายเชื่อมโยง เป็นส่วนที่ทาให้เกิดการเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์
ต่างๆ เข้าด้วยกัน และอุปกรณ์นี้ยอมให้ข่าวสารข้อมูลเดินทางผ่าน จากผู้ส่งไปสู่ผู้รับ
สื่อกลางที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลมีอยู่หลายประเภท แต่ละประเภทมีความแตกต่างกันใน
ด้านของปริมาณข้อมูล ที่สื่อกลางนั้น ๆ สามารถนาผ่านไปได้ในเวลาขณะใดขณะหนึ่ง
การวัดปริมาณหรือความจุในการนาข้อมูลหรือ ที่เรียกกันว่าแบบด์วิดท์ (bandwidth)
มีหน่วยเป็น
จานวนบิตข้อมูลต่อวินาที (bit per second : bps) ลักษณะของตัวกลาง
ต่างๆ มีดังต่อไปนี้
1) สายคู่บิดเกลียว
ลักษณะของสายคู่บิดเกลี่ยวแต่ละคู่จะทาด้วยสายทองแดง 2 เส้น แต่ละเส้นจะมีฉนวนหุ้ม พันกัน
เป็นเกลียวเพื่อป้องกันการรบกวนจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ประเภทของสายคู่บิดเกลียว แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ
1. สายคู่บิดเกลียวชนิดไม่มีฉนวนโลหะหุ้ม (Unshield Twisted Pairs)
- ประกอบด้วยสายคู่บิดเกลียว 4 คู่ (8 เส้น)
- เหมาะสาหรับเชื่อมต่ออุปกรณ์ที่มีระยะห่างไม่เกิน 30 เมตร
- ราคาถูก
- ถูกรบกวนได้ง่าย
- ไม่ค่อยทนทาน
2. สายคู่บิดเกลียวชนิดมีฉนวนหุ้ม (Shield Twisted Pairs)
- ประกอบด้วยสายคู่บิดเกลียว 4 คู่ (8 เส้น)
- สายแต่ละเส้นมีฉนวนหุ้มโลหะเพื่อป้องการรบกวนจากภายนอก
- คุณภาพการใช้งานสูงกว่าสาย UTP
- ราคาแพงกว่าสาย UTP
- ถูกรบกวนทางไฟฟ้าต่า
2) สัญญาณดาวเทียม
- ลักษณะของการรับส่งสัญญาณข้อมูลอาจจะเป็นแบบจุดต่อจุด (Point-to-Point) หรือแบบ
แพร่สัญญาณ (Broadcast)
- สถานีดาวเทียม 1 ดวง สามารถมีเครื่องทบทวนสัญญาณดาวเทียมได้ถึง 25 เครื่อง
- เครื่อง และสามารถครอบคลุมพื้นที่การส่งสัญญาณได้ถึง 1 ใน 3 ของพื้นผิวโลก
- เครื่องทบทวนสัญญาณของดาวเทียมเรียกว่า (Transponder)
- ไปยังสถานีปลายทาง การส่งสัญญาณข้อมูลขึ้นไปยังดาวเทียม
เรียกว่า "สัญญาณอัปลิงก์"
- และการส่งสัญญาณข้อมูลกลับลงมายังพื้นโลกเรียกว่า
"สัญญาณ ดาวน์-ลิงก์"
ข้อเสีย ของการส่งสัญญาณข้อมูลทางดาวเทียมคือ
- สัญญาณข้อมูลสามารถถูกรบกวนจากสัญญาณภาคพื้นอื่น ๆ ได้
- - ถูกรบกวนจากสัญญาณภายนอกได้้ง่าย เช่น ฝนตก ฟ้าผ่า พายุ
- เกิดความล่าช้าของสัญญาณข้อมูล เรียกว่า ความหน่วยในการแพร่สัญญาณ (Delay
Time)
- ในการส่งสัญญาณเนื่องจากระยะทางขึ้น-ลง ของสัญญาณ และที่สาคัญคือ มีราคาสูงใน
การลงทุนทาให้ค่าบริการสูงตามขึ้นมาเช่นกัน
3) คลื่นไมโครเวฟ
การส่งสัญญาณข้อมูลไปกลับคลื่นไมโครเวฟเป็นการส่งสัญญาณข้อมูลแบบรับช่วงต่อๆ
กันจากหอ (สถานี) ส่ง-รับสัญญาณหนึ่งไปยังอีกหอหนึ่ง แต่ละหอจะครอบคลุมพื้นที่
รับสัญญาณประมาณ 30-50 กม.
ข้อเสีย
- การส่งสัญญาณข้อมูลไมโครเวฟมักใช้กันในกรณีที่การติดตั้งสายเคเบิลทาได้ไม่สะดวก
- ถูกรบกวนจากสัญญาณภายนอกได้้ง่าย เช่น ฝนตก ฟ้าผ่า พายุ
ข้อดี
- แพร่หลาย สาหรับการสื่อสารข้อมูลในระยะทางไกล ๆ หรือ ระหว่างอา้คาร
- ไมโครเวฟยังมีราคาถูกกว่า และติดตั้งได้ง่ายกว่า และสามารถส่งข้อมูลได้คราวละมาก ๆ
4) บลูทูธ (Bluetooth)
ลักษณะของบลูทูธ
- เป็นเทคโนโลยีสมัยใหม่ เกิดขึ้นประมาณปี ค.ศ. 1998
- ใช้ความถี่ในการส่งสัญญาณข้อมูล 2.5 GHz.
- สื่อสารได้ในระยะทางไม่เกิน 10 เมตร
- สื่อสารระหว่างอุปกรณ์หลาย ๆ อุปกรณ์ได้
ข้อดี
- เป็นระบบการสื่อสารที่มีมาตรฐาน สามารถนาไปใช้งานได้ทั่วโลก
- เป็นระบบสื่อสารที่ใช้งานได้ทั้งข้อมูลเสียง และ multimedia
ข้อเสีย
- เนื่องจากสามารถสื่อสารระหว่างอุปกรณ์หลายๆ อุปกรณ์ จึงทาให้เกิดการชนกันของข้อมูล
5) อินฟราเรด (Infrared)
ลักษณะของแสงอินฟราเรด
- ใช้ในการสื่อสารข้อมูลระยะใกล้ เท่านั้น
- ใช้ในการสื่อสารข้อมูลระหว่าง 2 อุปกรณ์เท่า้้นั้น
- มีอัตราความเร็วในการส่งข้อมูลไม่สูง
ข้อดี
- ราคาถูก
- ใช้งานได้โดยไม่ต้องขอคลื่นความถี่จากองค์กรควบคุมการสื่อสาร
ข้อเสีย
- แสงอินฟราเรดไม่สามารถผ่านวัตถุทึบแสงได้
- แสงอินฟราเรดถูกรบกวนด้วยแสงอาทิตย์ได้ง่าย
5. ระบบสื่อสารวิทยุ (Radio Link)
ลักษณะของระบบสื่อสารวิทยุ
- ระบบสื่อสารวิทยุ 1 ช่องสัญญาณ สามารถใช้ได้กับหลายสถานี โดย
มีการควบคุมสัญญาณข้อมูลไม่ให้ชนกันโดยวิธี CSMA
(Carrier Sense Multiple Access)
- ใช้ความถี่ในการส่งสัญญาณข้อมูลในช่วง 400-900 MHz.
ข้อดี
- สามารถใช้งานได้โดยไม่ต้องขอความถี่จากองค์กรควบคุมการสื่อสาร
- สามารถส่งสัญยาณข้อมูลกับสถานีเคลื่อนที่ได้ จึงสามารถสร้างเครือข่ายที่มีอาณาเขตกว้างไกล
- มีค่าแบนด์วิตธ์สูง ซึ่งมีผลทาให้อัตราความเร็วการส่งข้อมูลสูงด้วย
ข้อเสีย
- เป็นสื่อกลางที่ถูกรบกวนจากสัญญาณภายนอกได้ง่าย
- ระบบสื่อสารวิทยุเป็นการส่งสัญญาณข้อมูลแบบแพร่กระจาย ดังนั้นความปลอดภัยข้อมูลจึงต่า
5. ระบบสื่อสารวิทยุ (Radio Link)
ลักษณะของระบบสื่อสารวิทยุ
- ระบบสื่อสารวิทยุ 1 ช่องสัญญาณ สามารถใช้ได้กับหลายสถานี โดยมีการควบคุมสัญญาณข้อมูล
ไม่ให้ชนกันโดยวิธี CSMA (Carrier Sense Multiple Access)
- ใช้ความถี่ในการส่งสัญญาณข้อมูลในช่วง 400-900 MHz.
ข้อดี
- สามารถใช้งานได้โดยไม่ต้องขอความถี่จากองค์กรควบคุมการสื่อสาร
- สามารถส่งสัญยาณข้อมูลกับสถานีเคลื่อนที่ได้ จึงสามารถสร้างเครือข่ายที่มีอาณาเขตกว้างไกล
- มีค่าแบนด์วิตธ์สูง ซึ่งมีผลทาให้อัตราความเร็วการส่งข้อมูลสูงด้วย
ข้อเสีย
- เป็นสื่อกลางที่ถูกรบกวนจากสัญญาณภายนอกได้ง่าย
- ระบบสื่อสารวิทยุเป็นการส่งสัญญาณข้อมูลแบบแพร่กระจาย ดังนั้นความปลอดภัยข้อมูลจึง
โมเด็ม (Modems)
เป็นอุปกรณ์สาหรับคอมพิวเตอร์อย่างหนึ่งที่ช่วยให้คุณสัมผัสกับโลกภายนอกได้
อย่างง่ายดาย โมเด็มเป็นเสมือนโทรศัพท์สาหรับคอมพิวเตอร์ที่จะช่วยให้ระบบคอมพิวเตอร์ของ
คุณสามารถสื่อสารกับคอมพิวเตอร์อื่นๆ ได้ทั่วโลก โมเด็มจะสามารถทางานของคุณให้สาเร็จได้ก็
ด้วยการเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์ของคุณเข้าคู่สายของโทรศัพท์ธรรมดาคู่หนึ่งซึ่งโมเด็มจะ
ทาการแปลงสัญญาณดิจิตอล (digital signals) จากเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เป็นสัญญาณ
อนาล็อก (analog signals) เพื่อให้สามารถส่งไปบนคู่สายโทรศัพท์
ฮับ หรือ รีพีทเตอร์ (Hub, Repeater)
เป็นอุปกรณ์ที่ทวน และขยายสัญญาณ เพื่อส่งต่อไปยังอุปกรณ์อื่น ให้ได้ระยะทาง
ที่ยาวไกลขึ้น ไม่มีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลก่อนและหลัง การรับ - ส่ง และไม่มีการใช้ซอฟท์แวร์
ใดๆ มาเกี่ยวข้องกับอุปกรณ์ชนิดนี้ การติดตั้งจึงทาได้ง่าย ข้อเสียคือ ความเร็วในการส่งข้อมูล
จะเฉลี่ยลดลงเท่ากันทุกเครื่อง เมื่อมีคอมพิวเตอร์มาเชื่อมต่อมากขึ้น
สวิทช์ หรือ บริดจ์ (Switch, Bridge)
เป็นอุปกรณ์สาหรับเชื่อมต่อ เครือข่ายท้องถิ่น หรือ แลน (LAN) ประเภทเดียวกัน
ใช้โปรโตคอลเดียวกัน สองวงเข้าด้วยกัน เช่น ใช้เชื่อมต่อ อีเธอร์เน็ตแลน (Ethernet LAN)
หรือ โทเคนริงก์แลน (Token Ring LAN) ทั้งนี้ สวิทช์ หรือ บริดจ์ จะมีความสามารถใน
การเชื่อมต่อ ฮาร์ดแวร์ และตรวจสอบข้อผิดพลาด ของการส่งข้อมูลได้ด้วย ความเร็วในการส่ง
ข้อมูล ก็มิได้ลดลง และติดตั้งง่าย
เร้าเตอร์ (Router )
เป็นอุปกรณ์ที่ทางานคล้าย สวิทช์ แต่จะสามารถเชื่อมต่อ ระบบที่ใช้สื่อ หรือ
สายสัญญาณต่างชนิดกันได้ เช่น เชื่อมต่อ อีเธอร์เน็ตแลน (Ethernet LAN) ที่ส่งข้อมูลแบบ
ยูทีพี (UTP: Unshield Twisted Pair) เข้ากับ อีเธอร์เน็ตอีกเครือข่าย แต่ใช้สายแบบโคแอ็ก
เชียล (Coaxial cable) ได้ นอกจากนี้ยังช่วยเลือก หรือกาหนดเส้นทางที่จะส่งข้อมูลผ่าน และ
แปลงข้อมูลให้เหมาะสมกับการนาส่ง แน่นอนว่าการติดตั้งย่อมยุ่งยากมากขึ้น
เกทเวย์ (Gateway)
เป็นอุปกรณ์ที่มีความสามารถสูงสุด ในการเชื่อมต่อเครือข่ายต่างๆ เข้าด้วยกัน โดย
ไม่มีขีดจากัด ทั้งระหว่างเครือข่ายต่างระบบ หรือแม้กระทั่งโปรโตคอล จะแตกต่างกันออกไป เกท
เวย์ จะแปลงโปรโตคอล ให้เหมาะสมกับอุปกรณ์ที่ต่างชนิดกัน จัดเป็นอุปกรณ์ที่มีราคาแพง และ
ติดตั้งใช้งานยุ่งยาก เกตเวย์บางตัว จะรวมคุณสมบัติในการเป็น เร้าเตอร์ ด้วยในตัว หรือ
แม้กระทั่ง อาจรวมเอาฟังก์ชั่นการทางาน ด้านการรักษาความปลอดภัย ที่เรียกว่า ไฟร์วอลล์
(Firewall) เข้าไว้ด้วย
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์

More Related Content

What's hot

ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2Nattapon
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ Sirinat Sansom
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3Nattapon
 
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ดุลยวัต วิไลพันธุ์
 
2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์Siratcha Wongkom
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1Morn Suwanno
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1Nattapon
 
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์jzturbo
 
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์Krusine soyo
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์Mind's Am'i
 
ระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายMorn Suwanno
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลMorn Suwanno
 
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ตประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ตguest832105
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and networkNidzy Krajangpat
 
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ธีรภัฎ คำปู่
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2อรยา ม่วงมนตรี
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลchukiat008
 

What's hot (19)

ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3
 
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่าย
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ตประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ต
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 

Viewers also liked

บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Natcha Wannakot
 
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Aon Onuma
 
powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้
powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้
powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้Kanatip Sriwarom
 
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้นสื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้นNoppakhun Suebloei
 
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...Nakhon Phanom University
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 1มาณวิกา นาคนอก
 
สื่อการสอน Microsoft Power point 2010
สื่อการสอน Microsoft Power point 2010สื่อการสอน Microsoft Power point 2010
สื่อการสอน Microsoft Power point 2010Krongkaew kumpet
 
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์kruchanon2555
 
PPT นวัตกรรมการศึกษา7ประเภท : การบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนวิถีพุทธ
PPT นวัตกรรมการศึกษา7ประเภท : การบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนวิถีพุทธPPT นวัตกรรมการศึกษา7ประเภท : การบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนวิถีพุทธ
PPT นวัตกรรมการศึกษา7ประเภท : การบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนวิถีพุทธauei angkana
 
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทนวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทNGamtip
 
สื่อการสอนคอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น 1
สื่อการสอนคอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น 1สื่อการสอนคอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น 1
สื่อการสอนคอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น 1Chaiyaporn Puttachot
 

Viewers also liked (13)

Cai
CaiCai
Cai
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้
powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้
powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้
 
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้นสื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 1
 
สื่อการสอน Microsoft Power point 2010
สื่อการสอน Microsoft Power point 2010สื่อการสอน Microsoft Power point 2010
สื่อการสอน Microsoft Power point 2010
 
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
 
PPT นวัตกรรมการศึกษา7ประเภท : การบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนวิถีพุทธ
PPT นวัตกรรมการศึกษา7ประเภท : การบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนวิถีพุทธPPT นวัตกรรมการศึกษา7ประเภท : การบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนวิถีพุทธ
PPT นวัตกรรมการศึกษา7ประเภท : การบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนวิถีพุทธ
 
ใบความรู้ Powerpoint 2010
ใบความรู้ Powerpoint 2010 ใบความรู้ Powerpoint 2010
ใบความรู้ Powerpoint 2010
 
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทนวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
 
สื่อการสอนคอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น 1
สื่อการสอนคอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น 1สื่อการสอนคอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น 1
สื่อการสอนคอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น 1
 

Similar to ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์

Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and networkkamol
 
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลMareeyalosocity
 
หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8ratiporn555
 
หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8niramon_gam
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์Warayut Pakdee
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลNattapon
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลchukiat008
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์nipaporn333
 
ความหมายและความสำคัญของการสื่อสารข้อมูล
ความหมายและความสำคัญของการสื่อสารข้อมูลความหมายและความสำคัญของการสื่อสารข้อมูล
ความหมายและความสำคัญของการสื่อสารข้อมูลPinku Inthira
 
Ch4 communication and network
Ch4 communication and networkCh4 communication and network
Ch4 communication and networkNittaya Intarat
 
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์อยู่ไหน เหงา
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเคลือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเคลือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเคลือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเคลือข่ายคอมพิวเตอร์wutichai koedklang
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูล
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูลเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูล
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูลnamfonsatsin
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครื่อข่ายสำหรับคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครื่อข่ายสำหรับคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครื่อข่ายสำหรับคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครื่อข่ายสำหรับคอมพิวเตอร์janemeeee
 
ใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
ใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูลใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
ใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูลkruumawan
 
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์T'tle Tanwarat
 
การสื่อสาร
การสื่อสารการสื่อสาร
การสื่อสารTuaLek Kitkoot
 
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายบทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายPokypoky Leonardo
 

Similar to ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (20)

Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศหน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
 
PPT WORK
PPT WORKPPT WORK
PPT WORK
 
หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8
 
หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ความหมายและความสำคัญของการสื่อสารข้อมูล
ความหมายและความสำคัญของการสื่อสารข้อมูลความหมายและความสำคัญของการสื่อสารข้อมูล
ความหมายและความสำคัญของการสื่อสารข้อมูล
 
Ch4 communication and network
Ch4 communication and networkCh4 communication and network
Ch4 communication and network
 
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเคลือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเคลือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเคลือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเคลือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูล
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูลเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูล
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูล
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครื่อข่ายสำหรับคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครื่อข่ายสำหรับคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครื่อข่ายสำหรับคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครื่อข่ายสำหรับคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
ใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูลใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
ใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
 
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสาร
การสื่อสารการสื่อสาร
การสื่อสาร
 
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายบทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
 

ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์

  • 1.
  • 2. ความหมาย ระบบการโอนถ่ายข้อมูลหรือการแลกเปลี่ยน ข้อมูลระหว่างต้นทางหรือปลายทางโดยใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น โทรศัพท์ โทรสาร โมเด็ม คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์เครือข่ายต่างๆ ดาวเทียม ควบคุมการส่งและการไหลของข้อมูลจากต้นทางไปยัง ปลายทาง
  • 3. การสื่อสารข้อมูลมีองค์ประกอบ 5 อย่าง ได้แก่ 1. ผู้ส่ง (Sender) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการส่งข่าวสาร (Message) เป็นต้นทางของการ สื่อสารข้อมูลมีหน้าที่เตรียมสร้างข้อมูล เช่น ผู้พูด โทรทัศน์ กล้องวิดีโอ เป็นต้น 2. ผู้รับ (Receiver) เป็นปลายทางการสื่อสาร มีหน้าที่รับข้อมูลที่ส่งมาให้ เช่น ผู้ฟัง เครื่องรับโทรทัศน์ เครื่องพิมพ์ เป็นต้น 3. สื่อกลาง (Medium) หรือตัวกลาง เป็นเส้นทางการสื่อสารเพื่อนาข้อมูลจากต้นทาง ไปยังปลายทาง สื่อส่งข้อมูลอาจเป็นสายคู่บิดเกลียว สายโคแอกเชียล สายใยแก้วนาแสง หรือคลื่นที่ส่งผ่านทางอากาศ เช่น เลเซอร์ คลื่นไมโครเวฟ คลื่นวิทยุภาคพื้นดิน หรือ คลื่นวิทยุผ่านดาวเทียม
  • 4. 4. ข้อมูลข่าวสาร (Message) คือสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ที่ส่งผ่านไปในระบบสื่อสาร ซึ่งอาจถูก เรียกว่า สารสนเทศ (Information) โดยแบ่งเป็น 5รูปแบบ ดังนี้ 4.1 ข้อความ (Text) ใช้แทนตัวอักขระต่าง ๆ ซึ่งจะแทนด้วยรหัสต่าง ๆ เช่น รหัสแอสกี เป็นต้น 4.2 ตัวเลข (Number) ใช้แทนตัวเลขต่าง ๆ ซึ่งตัวเลขไม่ได้ถูกแทนด้วยรหัสแอสกีแต่จะถูกแปลงเป็น เลขฐานสองโดยตรง 4.3 รูปภาพ (Images) ข้อมูลของรูปภาพจะแทนด้วยจุดสีเรียงกันไปตามขนาดของรูปภาพ 4.4 เสียง (Audio) ข้อมูลเสียงจะแตกต่างจากข้อความ ตัวเลข และรูปภาพเพราะข้อมูลเสียงจะเป็น สัญญาณต่อเนื่องกันไป 4.5 วิดีโอ (Video) ใช้แสดงภาพเคลื่อนไหว ซึ่งเกิดจากการรวมกันของรูปภาพหลาย ๆ รูป
  • 5. 5. โปรโตคอล (Protocol) คือ วิธีการหรือกฎระเบียบที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลเพื่อให้ผู้รับและผู้ ส่งสามารถเข้าใจกันหรือคุยกันรู้เรื่อง โดยทั้งสองฝั่งทั้งผู้รับและผู้ส่งได้ตกลงกันไว้ก่อนล่วงหน้า แล้ว ในคอมพิวเตอร์โปรโตคอลอยู่ในส่วนของซอฟต์แวร์ที่มีหน้าที่ทาให้การดาเนินงาน ในการ สื่อสารข้อมูลเป็นไปตามโปรแกรมที่กาหนดไว้ ตัวอย่างเช่น X.25, SDLC, HDLC, และ TCP/IP เป็นต้น
  • 6. 1. การส่งสัญญาณแบบอนาลอก(Analog Transmission) การส่งสัญญาณแบบอนาลอกจะไม่คานึงถึงสิ่งต่าง ๆ ที่รวมอยู่ในสัญญาณเลย โดย สัญญาณจะแทนข้อมูล อนาลอก เช่น สัญญาณเสียง เป็นต้น ซึ่งสัญญาณอนาลอกที่ส่งออกไปนั้นเมื่อ ระยะห่างออกไปสัญญาณก็จะอ่อนลงเรื่อย ๆ ทาให้สัญญาณไม่ค่อยดี ดังนั้นเมื่อระยะห่างไกลออกไป สามารถแก้ไขได้โดยใช้เครื่องขยายสัญญาณ (Amplifier) แต่ก็มีผลทาให้เกิดสัญญาณรบกวน (Noise) ขึ้น ยิ่งระยะไกลมากขึ้นสัญญาณรบกวนก็เพิ่มมากขึ้น ซึ่งสามารถแก้ไขสัญญาณรบกวนนี้ได้โดยใช้ เครื่องกรองสัญญาณ (Filter) เพื่อกรองเอาสัญญาณรบกวนออกไป
  • 7. 2. การส่งสัญญาณแบบดิจิตอล(Digital Transmission) การส่งสัญญาณแบบดิจิตอลจะใช้เมื่อต้องการข้อมูลที่ถูกต้องชัดเจนแน่นอน ดังนั้นจึง จาเป็นต้องสนใจรายละเอียดทุกอย่างที่บรรจุมากับสัญญาณ ในทานองเดียวกันกับการส่ง สัญญาณแบบอนาลอก กล่าวคือ เมื่อระยะทางในการส่งมากขึ้น สัญญาณดิจิตอลก็จะจางลง ซึ่งสามารถแก้ไขได้โดยใช้อุปกรณ์ทาสัญญาณซ้า หรือรีพีตเตอร์ (Repeater)
  • 8. 1. การส่งข้อมูลแบบทิศทางเดียว ( simplex transmission ) เป็นการสื่อสารข้อมูลที่ทาหน้าที่ส่งเพียงอย่างเดียว และผู้รับข้อมูลก็ทาหน้าที่ รับข้อมูลเพียงอย่างเดียวด้วยเช่นเดียวกัน การส่งข้อมูลในลักษณะนี้ เช่นการส่งสัญญาณ ของสถานีโทรทัศน์ โดยที่สถานีส่งสัญญาณโทรทัศน์จะทาหน้าที่ส่งสัญญาณเท่านั้น และ เครื่องรับโทรทัศน์ก็จะทาหน้าที่ รับสัญญาณเท่านั้นเช่นกัน
  • 9. 2. การส่งข้อมูลแบบสองทิศทางสลับกัน ( half-duplex transmission ) เป็นการสื่อสารข้อมูลที่มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลของผู้รับและผู้ส่ง โดยแต่ละฝ่าย สามารถเป็นทั้งผู้ส่งและผู้รับข้อมูล จะเป็นผู้ส่งข้อมูลพร้อมกัน ทั้งสองฝ่ายไม่ได้ ลักษณะ การส่งข้อมูลแบบนี้ เช่น การสื่อสารแบบวิทยุสื่อสาร ซึ่งผู้ที่จะส่งข้อมูลที่จะส่งข้อมูลต้อง กดปุ่มเพื่อส่งข้อมูล ในขณะนั้นผู้อื่นจะเป็นผู้รับข้อมูล
  • 10. 3. การส่งข้อมูลแบบสองทิศทางพร้อมกัน(full- duplex transmission ) เป็นการสื่อสารข้อมูลทีมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลของผูส่งและผู้รับข้อมูล โดยทั้ง สองฝ่ายสามารถเป็นผู้ส่งและผู้รับได้ในเวลาเดียวกัน และสามารถ ส่งข้อมูลได้พร้อมกัน ลักษณะการส่งข้อมูลแบบสองทิศทางพร้อมกัน เช่น การสื่อสารโดยใช้โทรศัพท์ ซึ่งทั้งสอ องฝ่ายสามารถพูดพร้อมกันได้ ในเวลาเดียวกัน
  • 11. โพรโทคอล (protocol) คือ ข้อกาหนดหรือข้อตกลงที่ใช้ควบคุมการสื่อสาร ข้อมูลในเครือข่าย ไม่ว่าจะเป็นการสื่อสารข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์หือ ระหว่างคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์อื่นๆ เครื่องคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ เครือข่ายที่ใช้โพรโทคอลชนิดเดียวกันเท่านั้นจึงจะสามารถติดต่อและส่งข้อมูล ระหว่างกันได้ โพรโทคอลจึงมีลักษณะเช่นเดียวกับภาษาที่ใช้ในการสื่อสารของ มนุษย์ที่ต้องใช้ภาษาเดียวกัน จึงจะสามารถสื่อสารกันได้เข้าใจ
  • 12. ชั้นการประยุกต์ (application layer) เป็นส่วนติดต่อระหว่างโปรแกรมประยุกต์ของเครือข่ายกับผู้ใช้ โดยคอมพิวเตอร์ จะแปลงข้อมูลที่ได้รับจากผู้ใช้เข้าสู่ระบบ เช่น การเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ที่อยู่ใน เครือข่าย การถ่ายโอนข้อมูลและไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ชั้นการนาเสนอ (presentation layer) ซึ่งจะแปลงข้อมูลที่ส่งมาให้อยู่ในรูปแบบที่โปรแกรมของเครื่องผู้รับเข้าใจ รวมทั้ง การจัดรูปแบบการนาเสนอข้อมูล โดยกาหนดรูปแบบภาษา ชนิด และวิธีการเข้าถึงข้อมูล ของเครื่องผู้ส่งให้เครื่องผู้รับเข้าใจ เช่น การนาเสนอผ่านเว็บ การเข้ารหัสและถอดรหัส ข้อมูล
  • 13. ชั้นส่วนงาน (session layer) ทาหน้าที่สร้างการติดต่อระหว่างเครื่องต้นทางและปลายทาง ตลอดจนดูแลการ ส่งข้อมูลระหว่างเครื่องทั้งสองให้ถูกต้องและมีประสิทธิภาพโดยกาหนดขอบเขตการรับ - ส่ง คือ กาหนดจุดผู้รับและผู้ส่งโดยจะเพิ่มเติมรูปแบบการรับ - ส่งข้อมูลว่าเป็นแบบข้อมูล ชุดเดียว หรือหลายชุดพร้อมๆ กัน เช่น โมดูล (module) ของการนาเสนอผ่านเว็บ ชั้นขนส่ง (transport layer) เป็นชั้นของการตรวจสอบและควบคุมการส่งข้อมูลระหว่างเครื่องต้นทางและ เครื่องปลายทางให้ถูกต้อง
  • 14. ชั้นเครือข่าย (network layer) ทาหน้าที่ควบคุมการส่งผ่านข้อมูลระหว่างต้นทางและปลายทางโดยผ่านจุดต่างๆบนเครือข่าย ให้เป็นไปตามเส้นทางที่กาหนด รวบรวมและแยกแยะข้อมูลเพื่อหาเส้นทางในการส่งข้อมูลที่เหมาะสม ชั้นเชื่อมโยงข้อมูล (data link layer) ทาหน้าที่เหมือนเป็นผู้บริการส่งข้อมูล กล่าวคือ เป็นชั้นที่ควบคุมความถูกต้องระหว่างการ ส่งข้อมูลระหว่างจุด (node) 2 จุดที่อยู่ติดกันในเครือข่ายผ่านทางสายส่งโดยมีกระบวนการตรวจสอบ ความผิดพลาดของข้อมูลอันเนื่องมาจากสัญญาณรบกวนที่เกิดขึ้นในสาย รวมทั้งมีการแก้ไขความ ผิดพลาดดังกล่าวด้วย ชั้นกายภาพ (physical layer) ซึ่งจะทาหน้าที่แปลงข้อมูลในรูปของสัญญาณดิจิทัลให้ผ่านตัวกลางแต่ละชนิดได้
  • 15. ตัวอย่างชนิดของโพรโทคอล 1. โปรโตคอล HTTP หรือ Hypertext Transfer Protocol จะใช้เมื่อเรียกโปรแกรม บราวเซอร์ (Browser) 2. โปรโตคอล TCP/IP หรือ Transfer Control Protocol/Internet Protocol คือ เครือข่ายโปรโตคอลที่สาคัญมากที่สุด เนื่องจากเป็นโปรโตคอลที่ใช้ในระบบเครือข่าย Internet รวมทั้ง Intranet ซึ่งประกอบด้วย 2 โปรโตคอลคือ TCP และ IP 3. โปรโตคอล SMTP หรือ Simple Mail Transfer Protocol คือ โปรโตคอล ที่ใช้ในการ รับส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
  • 16. เครือข่ายแบบวงแหวน (Ring Topology) คือ ไมโครโปรเซสเซอร์ทุกเครื่องจะสื่อสารกัน ภายในเครือข่ายผ่านสายสัญญาณที่มีลักษณะเป็นวงแหวน สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์จะถูกส่ง วิ่งไป รอบวงแหวนจนกระทั่งไปถึงยังเครื่องปลายทางโดยไม่จาเป็นต้องมีเครื่องเซิร์ฟเวอร์เป็น ศูนย์กลาง โดยมีโทเคนซึ่งเป็นบิต แบบมีแบบแผนจะวิ่งไปรอบๆ วงแหวนทาหน้าที่พิจารณาว่า เครื่องใดในเครือข่ายจะ เป็นผู้ส่งสารสนเทศ ข้อดี ข่าวสารจะเคลื่อนที่เป็นลาดับไปในทิศทางเดียว ขจัดปัญหาการชนกันของสัญญาณ ข้อจากัด ถ้าเครื่องใดเครื่องหนึ่งในเครือข่ายเสียหาย อาจทาให้ทั้งระบบหยุดทางานได้
  • 17. เครือข่ายแบบดาว (Star Topology)คือ จะมีไมโครคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งทาหน้าที่เป็นเครื่อง ศูนย์กลางแม่ข่าย ไมโครคอมพิวเตอร์ที่เหลือและอุปกรณ์สื่อสารอื่นๆ ทั้งหมดจะเชื่อมต่อไปยัง เครื่องแม่ข่ายโดยมีฮับ (HUB) เป็นอุปกรณ์คอยจัดการรับส่งข่าวสารจากเครื่องหนึ่งๆไปสู่เครื่อง อื่นๆ สายสื่อสารจะเชื่อมต่อจากไมโครคอมพิวเตอร์เข้าสู่ฮับแยกไปแต่ละเครื่อง สัญญาณ อิเล็กทรอนิกส์จะถูกส่งผ่านจากเครื่องหนึ่งผ่านฮับไปยังเครื่องปลายทาง ฮับจะคอยตรวจสอบ ลาดับการจราจรที่วิ่งไปมาในเครือข่าย ข้อดี ฮับจะทาหน้าที่คอยปกป้องการชนกันของข่าวสาร เมื่อเครื่องใดเครื่องหนึ่งเสียหาย ก็จะไม่มีผลกระทบต่อ เครื่องอื่นๆทั้งระบบ ข้อจากัด ถ้าฮับเสียหายจะทาให้ทั้งระบบต้องหยุดซะงัก และมีความสิ้นเปลืองสายสัญญาณมากกว่าแบบอื่นๆ
  • 18. เครือข่ายแบบผสม (Hybrid Topology) คือ เป็นเครือข่ายที่ผสมผสานกัน ทั้งแบบดาว,วงแหวน และบัส เช่น วิทยาเขตขนาดเล็กที่มีหลายอาคาร เครือข่ายของแต่ละอาคารอาจใช้แบบบัสเชื่อมต่อกับอาคารอื่นๆที่ใช้แบบดาว และแบบวงแหวน
  • 19. เครือข่ายสามารถจาแนกออกได้หลายประเภทแล้วแต่เกณฑ์ที่ใช้ เช่น ขนาด ลักษณะการ แลกเปลี่ยนข้อมูลของคอมพิวเตอร์ เป็นต้น โดยทั่วไปการจาแนกประเภทของเครือข่ายมีอยู่ 3 วิธีคือ 1. ใช้ขนาดทางกายภาพของเครือข่ายเป็นเกณฑ์ แบ่งออกได้เป็น 3 ประเภทดังนี้ 1.1 LAN (Local Area Network) : ระบบเครือข่ายระดับท้องถิ่น เป็นระบบเครือข่ายที่ใช้งานอยู่ในบริเวณที่ไม่กว้างนัก อาจใช้อยู่ภายในอาคารเดียวกันหรืออาคารที่อยู่ ใกล้กัน เช่น ภายในมหาวิทยาลัย อาคารสานักงาน คลังสินค้า หรือโรงงาน เป็นต้น การส่งข้อมูลสามารถทาได้ด้วยความเร็วสูง และมีข้อผิดพลาดน้อย ระบบเครือข่ายระดับท้องถิ่นจึงถูกออกแบบมา ให้ช่วยลดต้นทุนและเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทางาน และใช้งานอุปกรณ์ต่าง ๆ ร่วมกัน
  • 20. 1.2 MAN (Metropolitan Area Network) : ระบบเครือข่ายระดับเมือง เป็นระบบเครือข่ายที่มีขนาดอยู่ระหว่าง Lanและ Wan เป็นระบบเครือข่ายที่ใช้ ภายในเมืองหรือจังหวัดเท่านั้น การเชื่อมโยงจะต้องอาศัยระบบบริการเครือข่ายสาธารณะ จึงเป็นเครือข่ายที่ใช้กับองค์การที่มีสาขาห่างไกลและต้องการเชื่อมสาขาเหล่านั้นเข้า ด้วยกัน เช่น ธนาคาร เครือข่ายแวนเชื่อมโยงระยะไกลมาก จึงมีความเร็วในการ สื่อสารไม่สูง เนื่องจากมีสัญญาณรบกวนในสาย เทคโนโลยีที่ใช้กับเครือข่ายแวนมีความ หลากหลาย มีการเชื่อมโยงระหว่างประเทศด้วย ช่องสัญญาณดาวเทียม เส้นใยนาแสง คลื่นวิทยุ สายเคเบิล คลื่นไมโครเวฟ
  • 21. 1.3 WAN (Wide Area Network) : ระบบเครือข่ายระดับประเทศ หรือเครือข่ายบริเวณกว้าง เป็นระบบเครือข่ายที่ติดตั้งใช้งานอยู่ในบริเวณกว้าง เช่น ระบบเครือข่ายที่ ติดตั้งใช้งานทั่วโลก เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ที่อยู่ห่างไกลกันเข้า ด้วยกัน อาจจะต้องเป็นการติดต่อสื่อสารกันในระดับประเทศ ข้ามทวีปหรือทั่วโลกก็ได้ ใน การเชื่อมการติดต่อนั้น จะต้องมีการต่อเข้ากับระบบสื่อสารขององค์การโทรศัพท์หรือ การสื่อสารแห่งประเทศไทยเสียก่อน เพราะจะเป็นการส่งข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์ในการ ติดต่อสื่อสารกันโดยปกติมีอัตราการส่งข้อมูลที่ต่า และมีโอกาสเกิดข้อผิดพลาด การส่งข้อมูลอาจใช้ อุปกรณ์ในการสื่อสาร เช่น โมเด็ม
  • 22. การส่งข้อมูลในระบบเครือข่าย สามารถทาได้ 2 ลักษณะ คือ การส่งแบบขนาน (parallel transmission) คือการส่งข้อมูลพร้อมกันทีละหลาย ๆ บิตในหนึ่งรอบสัญญาณนาฬิกา โดยการส่งจะรวมบิต 0 และ 1 หลาย ๆ บิตเข้าเป็นกลุ่ม จานวน n บิต ผู้ส่งส่งครั้งละ n บิต ผู้รับจะรับครั้งละ n บิตเช่นกัน ซึ่งจะคล้ายกับเวลาที่เรา พูดคุยเราจะพูดเป็นคา ๆ ไม่พูดทีละตัวอักษร กลไกการส่งข้อมูลแบบขนานใช้หลักการง่าย ๆ เมื่อส่งครั้งละ n บิต ต้องใ้ช้สาย n เส้น แต่ละบิตมีสายของตนเอง ในการส่งแต่ละครั้งทุกเส้น ต้องใช้สัญญาณนาฬิกาอันเดียวกัน ทาให้สามารถส่งออกไปยัง อุปกรณ์อื่นพร้อมกันได้
  • 23. การส่งข้อมูลแบบอนุกรม (serial transmission) จะใช้วิธีการส่งทีละ 1 บิตในหนึ่ง รอบสัญญาณนาฬิกา ทาให้ดูเหมือนว่าบิตต่าง ๆ เรียงต่อเนื่องกันไป จากอุปกรณ์หนึ่งไป ยังอีกอุปกรณ์หนึ่ง ข้อดีของการส่งข้อมูลแบบอนุกรม คือการใช้ช่องทางการสื่อสารเพียง 1 ช่อง ทาให้ลดค่าใช้จ่ายลง แต่ข้อเสียคือ ความเร็วของการส่งที่ต่า ตัวอย่างของการส่งข้อมูล แบบอนุกรม เช่น โมเด็มจะใช้การส่งแบบอนุกรม เนื่องจากในสัญญาณโทรศัพท์มีสายสัญญาณ เส้นเดียว และอีกเส้นหนึ่งเป็นสายดิน
  • 24. 1.การส่งข้อมูลแบบไม่ประสานจังหวะ (asynchronous transmission) เป็นวิธีการส่งข้อมูลไปบนสื่อนาข้อมูล โดยข้อมูลที่ส่งไปนั้นไม่มีจังหวะการส่ง ข้อมูล แต่จะส่งเป็นชุด ๆ มีช่องว่าง (gap) อยู่ระหว่างข้อมูล แต่ละชุดเพื่อใช้แบ่งข้อมูล ออกเป็นชุด ๆ เมื่อเริ่มต้นส่งข้อมูลแต่ละชุดจะมีสีญญาณบอกจุดเริ่มต้นของข้อมูลขนาด 1 บิต (start bit) และมีสัญญาณบอกจุดสิ้นสุดของข้อมูลขนาด 1 บิต (stop bit) ตัวอย่างเช่น ถ้าขนาดข้อมูลแต่ละชุดมีขนาด 8 บิต ลักษณะของการส่งข้อมูลจะมีลาดับ ดังนี้คือ สัญญาณบอกจุดเริ่มต้นขนาด 1 บิต ข้อมูล 8 บิต และสัญญาณบอก จุดสิ้นสุด 1 บิต ตัวอย่างการส่งข้อมูลแบบไม่ประสานจังหวะ เช่น การส่งข้อมูลของ แป้นพิมพ์ และโมเด็ม เป็นต้น
  • 25. 2.การส่งข้อมูลแบบประสานจังหวะ (synchronous transmission) เป็นการส่งข้อมูลไปบนสื่อนาข้อมูลที่มีลักษณะเป็นกลุ่มของข้อมูลที่ ต่อเนื่องกันอย่างเป็นจังหวะ โดยใช้สัญญาณนาฬิกาเป็นตัวบอกจังหวะ เหล่านั้น การส่งข้อมูลวิธีนี้จะไม่มีช่องว่าง (gap) ระหว่างข้อมูลแต่ละชุด และ ไม่มีสัญญาณบอกจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุด การส่งข้อมูลแบบประสานจังหวะ นิยม ใช้กับ การส่งข้อมูลของระบบคอมพิวเตอร์ที่มีการส่งข้อมูลปริมาณมาก ๆ ด้วยความเร็วสูง
  • 26. ตัวกลางหรือสายเชื่อมโยง เป็นส่วนที่ทาให้เกิดการเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ ต่างๆ เข้าด้วยกัน และอุปกรณ์นี้ยอมให้ข่าวสารข้อมูลเดินทางผ่าน จากผู้ส่งไปสู่ผู้รับ สื่อกลางที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลมีอยู่หลายประเภท แต่ละประเภทมีความแตกต่างกันใน ด้านของปริมาณข้อมูล ที่สื่อกลางนั้น ๆ สามารถนาผ่านไปได้ในเวลาขณะใดขณะหนึ่ง การวัดปริมาณหรือความจุในการนาข้อมูลหรือ ที่เรียกกันว่าแบบด์วิดท์ (bandwidth) มีหน่วยเป็น จานวนบิตข้อมูลต่อวินาที (bit per second : bps) ลักษณะของตัวกลาง ต่างๆ มีดังต่อไปนี้
  • 27. 1) สายคู่บิดเกลียว ลักษณะของสายคู่บิดเกลี่ยวแต่ละคู่จะทาด้วยสายทองแดง 2 เส้น แต่ละเส้นจะมีฉนวนหุ้ม พันกัน เป็นเกลียวเพื่อป้องกันการรบกวนจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ประเภทของสายคู่บิดเกลียว แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ 1. สายคู่บิดเกลียวชนิดไม่มีฉนวนโลหะหุ้ม (Unshield Twisted Pairs) - ประกอบด้วยสายคู่บิดเกลียว 4 คู่ (8 เส้น) - เหมาะสาหรับเชื่อมต่ออุปกรณ์ที่มีระยะห่างไม่เกิน 30 เมตร - ราคาถูก - ถูกรบกวนได้ง่าย - ไม่ค่อยทนทาน
  • 28. 2. สายคู่บิดเกลียวชนิดมีฉนวนหุ้ม (Shield Twisted Pairs) - ประกอบด้วยสายคู่บิดเกลียว 4 คู่ (8 เส้น) - สายแต่ละเส้นมีฉนวนหุ้มโลหะเพื่อป้องการรบกวนจากภายนอก - คุณภาพการใช้งานสูงกว่าสาย UTP - ราคาแพงกว่าสาย UTP - ถูกรบกวนทางไฟฟ้าต่า
  • 29. 2) สัญญาณดาวเทียม - ลักษณะของการรับส่งสัญญาณข้อมูลอาจจะเป็นแบบจุดต่อจุด (Point-to-Point) หรือแบบ แพร่สัญญาณ (Broadcast) - สถานีดาวเทียม 1 ดวง สามารถมีเครื่องทบทวนสัญญาณดาวเทียมได้ถึง 25 เครื่อง - เครื่อง และสามารถครอบคลุมพื้นที่การส่งสัญญาณได้ถึง 1 ใน 3 ของพื้นผิวโลก - เครื่องทบทวนสัญญาณของดาวเทียมเรียกว่า (Transponder) - ไปยังสถานีปลายทาง การส่งสัญญาณข้อมูลขึ้นไปยังดาวเทียม เรียกว่า "สัญญาณอัปลิงก์" - และการส่งสัญญาณข้อมูลกลับลงมายังพื้นโลกเรียกว่า "สัญญาณ ดาวน์-ลิงก์"
  • 30. ข้อเสีย ของการส่งสัญญาณข้อมูลทางดาวเทียมคือ - สัญญาณข้อมูลสามารถถูกรบกวนจากสัญญาณภาคพื้นอื่น ๆ ได้ - - ถูกรบกวนจากสัญญาณภายนอกได้้ง่าย เช่น ฝนตก ฟ้าผ่า พายุ - เกิดความล่าช้าของสัญญาณข้อมูล เรียกว่า ความหน่วยในการแพร่สัญญาณ (Delay Time) - ในการส่งสัญญาณเนื่องจากระยะทางขึ้น-ลง ของสัญญาณ และที่สาคัญคือ มีราคาสูงใน การลงทุนทาให้ค่าบริการสูงตามขึ้นมาเช่นกัน
  • 31. 3) คลื่นไมโครเวฟ การส่งสัญญาณข้อมูลไปกลับคลื่นไมโครเวฟเป็นการส่งสัญญาณข้อมูลแบบรับช่วงต่อๆ กันจากหอ (สถานี) ส่ง-รับสัญญาณหนึ่งไปยังอีกหอหนึ่ง แต่ละหอจะครอบคลุมพื้นที่ รับสัญญาณประมาณ 30-50 กม.
  • 32. ข้อเสีย - การส่งสัญญาณข้อมูลไมโครเวฟมักใช้กันในกรณีที่การติดตั้งสายเคเบิลทาได้ไม่สะดวก - ถูกรบกวนจากสัญญาณภายนอกได้้ง่าย เช่น ฝนตก ฟ้าผ่า พายุ ข้อดี - แพร่หลาย สาหรับการสื่อสารข้อมูลในระยะทางไกล ๆ หรือ ระหว่างอา้คาร - ไมโครเวฟยังมีราคาถูกกว่า และติดตั้งได้ง่ายกว่า และสามารถส่งข้อมูลได้คราวละมาก ๆ
  • 33. 4) บลูทูธ (Bluetooth) ลักษณะของบลูทูธ - เป็นเทคโนโลยีสมัยใหม่ เกิดขึ้นประมาณปี ค.ศ. 1998 - ใช้ความถี่ในการส่งสัญญาณข้อมูล 2.5 GHz. - สื่อสารได้ในระยะทางไม่เกิน 10 เมตร - สื่อสารระหว่างอุปกรณ์หลาย ๆ อุปกรณ์ได้ ข้อดี - เป็นระบบการสื่อสารที่มีมาตรฐาน สามารถนาไปใช้งานได้ทั่วโลก - เป็นระบบสื่อสารที่ใช้งานได้ทั้งข้อมูลเสียง และ multimedia ข้อเสีย - เนื่องจากสามารถสื่อสารระหว่างอุปกรณ์หลายๆ อุปกรณ์ จึงทาให้เกิดการชนกันของข้อมูล
  • 34. 5) อินฟราเรด (Infrared) ลักษณะของแสงอินฟราเรด - ใช้ในการสื่อสารข้อมูลระยะใกล้ เท่านั้น - ใช้ในการสื่อสารข้อมูลระหว่าง 2 อุปกรณ์เท่า้้นั้น - มีอัตราความเร็วในการส่งข้อมูลไม่สูง ข้อดี - ราคาถูก - ใช้งานได้โดยไม่ต้องขอคลื่นความถี่จากองค์กรควบคุมการสื่อสาร ข้อเสีย - แสงอินฟราเรดไม่สามารถผ่านวัตถุทึบแสงได้ - แสงอินฟราเรดถูกรบกวนด้วยแสงอาทิตย์ได้ง่าย
  • 35. 5. ระบบสื่อสารวิทยุ (Radio Link) ลักษณะของระบบสื่อสารวิทยุ - ระบบสื่อสารวิทยุ 1 ช่องสัญญาณ สามารถใช้ได้กับหลายสถานี โดย มีการควบคุมสัญญาณข้อมูลไม่ให้ชนกันโดยวิธี CSMA (Carrier Sense Multiple Access) - ใช้ความถี่ในการส่งสัญญาณข้อมูลในช่วง 400-900 MHz. ข้อดี - สามารถใช้งานได้โดยไม่ต้องขอความถี่จากองค์กรควบคุมการสื่อสาร - สามารถส่งสัญยาณข้อมูลกับสถานีเคลื่อนที่ได้ จึงสามารถสร้างเครือข่ายที่มีอาณาเขตกว้างไกล - มีค่าแบนด์วิตธ์สูง ซึ่งมีผลทาให้อัตราความเร็วการส่งข้อมูลสูงด้วย ข้อเสีย - เป็นสื่อกลางที่ถูกรบกวนจากสัญญาณภายนอกได้ง่าย - ระบบสื่อสารวิทยุเป็นการส่งสัญญาณข้อมูลแบบแพร่กระจาย ดังนั้นความปลอดภัยข้อมูลจึงต่า
  • 36. 5. ระบบสื่อสารวิทยุ (Radio Link) ลักษณะของระบบสื่อสารวิทยุ - ระบบสื่อสารวิทยุ 1 ช่องสัญญาณ สามารถใช้ได้กับหลายสถานี โดยมีการควบคุมสัญญาณข้อมูล ไม่ให้ชนกันโดยวิธี CSMA (Carrier Sense Multiple Access) - ใช้ความถี่ในการส่งสัญญาณข้อมูลในช่วง 400-900 MHz. ข้อดี - สามารถใช้งานได้โดยไม่ต้องขอความถี่จากองค์กรควบคุมการสื่อสาร - สามารถส่งสัญยาณข้อมูลกับสถานีเคลื่อนที่ได้ จึงสามารถสร้างเครือข่ายที่มีอาณาเขตกว้างไกล - มีค่าแบนด์วิตธ์สูง ซึ่งมีผลทาให้อัตราความเร็วการส่งข้อมูลสูงด้วย ข้อเสีย - เป็นสื่อกลางที่ถูกรบกวนจากสัญญาณภายนอกได้ง่าย - ระบบสื่อสารวิทยุเป็นการส่งสัญญาณข้อมูลแบบแพร่กระจาย ดังนั้นความปลอดภัยข้อมูลจึง
  • 37. โมเด็ม (Modems) เป็นอุปกรณ์สาหรับคอมพิวเตอร์อย่างหนึ่งที่ช่วยให้คุณสัมผัสกับโลกภายนอกได้ อย่างง่ายดาย โมเด็มเป็นเสมือนโทรศัพท์สาหรับคอมพิวเตอร์ที่จะช่วยให้ระบบคอมพิวเตอร์ของ คุณสามารถสื่อสารกับคอมพิวเตอร์อื่นๆ ได้ทั่วโลก โมเด็มจะสามารถทางานของคุณให้สาเร็จได้ก็ ด้วยการเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์ของคุณเข้าคู่สายของโทรศัพท์ธรรมดาคู่หนึ่งซึ่งโมเด็มจะ ทาการแปลงสัญญาณดิจิตอล (digital signals) จากเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เป็นสัญญาณ อนาล็อก (analog signals) เพื่อให้สามารถส่งไปบนคู่สายโทรศัพท์
  • 38. ฮับ หรือ รีพีทเตอร์ (Hub, Repeater) เป็นอุปกรณ์ที่ทวน และขยายสัญญาณ เพื่อส่งต่อไปยังอุปกรณ์อื่น ให้ได้ระยะทาง ที่ยาวไกลขึ้น ไม่มีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลก่อนและหลัง การรับ - ส่ง และไม่มีการใช้ซอฟท์แวร์ ใดๆ มาเกี่ยวข้องกับอุปกรณ์ชนิดนี้ การติดตั้งจึงทาได้ง่าย ข้อเสียคือ ความเร็วในการส่งข้อมูล จะเฉลี่ยลดลงเท่ากันทุกเครื่อง เมื่อมีคอมพิวเตอร์มาเชื่อมต่อมากขึ้น
  • 39. สวิทช์ หรือ บริดจ์ (Switch, Bridge) เป็นอุปกรณ์สาหรับเชื่อมต่อ เครือข่ายท้องถิ่น หรือ แลน (LAN) ประเภทเดียวกัน ใช้โปรโตคอลเดียวกัน สองวงเข้าด้วยกัน เช่น ใช้เชื่อมต่อ อีเธอร์เน็ตแลน (Ethernet LAN) หรือ โทเคนริงก์แลน (Token Ring LAN) ทั้งนี้ สวิทช์ หรือ บริดจ์ จะมีความสามารถใน การเชื่อมต่อ ฮาร์ดแวร์ และตรวจสอบข้อผิดพลาด ของการส่งข้อมูลได้ด้วย ความเร็วในการส่ง ข้อมูล ก็มิได้ลดลง และติดตั้งง่าย
  • 40. เร้าเตอร์ (Router ) เป็นอุปกรณ์ที่ทางานคล้าย สวิทช์ แต่จะสามารถเชื่อมต่อ ระบบที่ใช้สื่อ หรือ สายสัญญาณต่างชนิดกันได้ เช่น เชื่อมต่อ อีเธอร์เน็ตแลน (Ethernet LAN) ที่ส่งข้อมูลแบบ ยูทีพี (UTP: Unshield Twisted Pair) เข้ากับ อีเธอร์เน็ตอีกเครือข่าย แต่ใช้สายแบบโคแอ็ก เชียล (Coaxial cable) ได้ นอกจากนี้ยังช่วยเลือก หรือกาหนดเส้นทางที่จะส่งข้อมูลผ่าน และ แปลงข้อมูลให้เหมาะสมกับการนาส่ง แน่นอนว่าการติดตั้งย่อมยุ่งยากมากขึ้น
  • 41. เกทเวย์ (Gateway) เป็นอุปกรณ์ที่มีความสามารถสูงสุด ในการเชื่อมต่อเครือข่ายต่างๆ เข้าด้วยกัน โดย ไม่มีขีดจากัด ทั้งระหว่างเครือข่ายต่างระบบ หรือแม้กระทั่งโปรโตคอล จะแตกต่างกันออกไป เกท เวย์ จะแปลงโปรโตคอล ให้เหมาะสมกับอุปกรณ์ที่ต่างชนิดกัน จัดเป็นอุปกรณ์ที่มีราคาแพง และ ติดตั้งใช้งานยุ่งยาก เกตเวย์บางตัว จะรวมคุณสมบัติในการเป็น เร้าเตอร์ ด้วยในตัว หรือ แม้กระทั่ง อาจรวมเอาฟังก์ชั่นการทางาน ด้านการรักษาความปลอดภัย ที่เรียกว่า ไฟร์วอลล์ (Firewall) เข้าไว้ด้วย