SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
ใบความรู้
                                 เรื่อง วิธีและตัวกลางการสื่ อสารข้ อมูล

ตัวกลางการสื่ อสาร

        1. สื่ อนาข้ อมูลแบบมีสาย(Wired Media) สื่ อข้อมูลแบบมีสายที่นิยมใช้มี 3 ชนิดดังนี้

        - สายคู่บิดเกลียว (Twisted-Pair Cable)

      สายคู่ บิ ด เกลี ย ว เป็ นสายสั ญ ญาณนาข้อมู ล ไฟฟ้ า สายแต่ ล ะเส้ นมี ล ัก ษณะคล้า ยสายไฟทั่วไป
จานวนสายจะมีเป็ นคู่ เช่ น 2 , 4 หรื อ 6 เส้น แต่ละคู่จะมีพนบิดเกลี ยว การบิดเกลี ยวนี้ จะช่ วยลดสัญญาณ
                                                           ั
รบกวนที่เกิดขึ้นในการส่ งข้อมูล ทาให้สามารถส่ งข้อมูลได้ไกลกว่าปกติ




        - สายโคแอกเชียล (Coaxial Cable)

      สายโคแอกเชียล เป็ นสายสัญญาณนาข้อมูล ไฟฟ้ า มีความถี่ในการส่ งข้อมูลประมาณ 100 MHz ถึง
500 MHz สายโคแอกเชียลมีความเร็ วในการส่ งข้อมูลและราคาสู งกว่าสายบิดเกลียว
- สายใยแก้วนาแสง(Optical Fiber Cable)

         สายสัญญาณทาจากใยแก้วหรื อสารนาแสงหุ ้มด้วยวัสดุ ป้องกันแสง มี ความเร็ วในการส่ งสู งกับ
ความเร็ วแสง สามารถใช้ในการส่ งข้อมูลที่มีความถี่สูงได้ สัญญาณที่ส่งผ่านสายใยแก้วนาแสง คือ แสง และ
สัญญาณรบกวนจากภายนอกมีเพียงอย่างเดียว คือ แสงจากภายนอก




       2. สื่ อนาข้ อมู ลแบบไร้ สาย(Wireless Media) การสื่ อสารข้อมูลแบบไร้ สาย จะใช้อากาศเป็ น
ตัวกลางของการสื่ อสาร เช่น
- แสงอินฟราเรด (Infrared) เป็ นการสื่ อสารข้อมูลโดยใช้แสงอินฟราเรดเป็ นสื่ อกลาง การสื่ อสาร
ประเภทนี้ นิยมใช้สาหรับการสื่ อสารข้อมูลระยะใกล้ เช่ น การสื่ อการจากรี โมทคอนโทรลไปยังเครื่ องรับ
วิทยุหรื อโทรทัศน์
- สั ญญาณวิทยุ (Radio Wave) เป็ นสื่ อนาข้อมูลแบบไร้สาย (Wireless Media) ที่มีการส่ งข้อมูล
เป็ นสัญญาณคลื่อนวิทยุไปในอากาศไปยังตัวรับสัญญาณ




         - ไมโครเวฟภาคพืนดิน (Terrestrial Microwave) เป็ นการสื่ อสารไรสายอีกประเภทหนึ่ง การ
                             ้
สื่ อสารประเภทนี้ จะมีเสาส่ งสัญญาณไมโครเวฟที่อยู่ห่างๆ กัน ทาการส่ งข้อมูลไปในอากาศไปยังเสารั บ
ข้อมูล
- การสื่ อสารผ่านดาวเทียม (Satellite Communication) เป็ นการสื่ อสารจากพื้นโลกที่มีการ
              ส่ งสัญญาณข้อมูลไปยังดาวเทียม โดยดาวเทียมจะทาหน้าที่เป็ นสถานี ทวนสัญญาณ เพื่อ
              จัดส่ ง สั ญญาณต่ อไปยัง สถานี ภาพพื้ น ดิ นอื่ นๆ ระยะทางจะโลกถึ ง ดาวเที ย มประมาณ
              22,000 ไมล์




หลักเกณฑ์ การพิจารณาเลือกสื่ อนาข้ อมูล
1. ราคา
2. ความเร็ ว
3. ระยะทาง
4. สัญญาณรบกวนที่อาจจะเกิดขึ้น
5. ความปลอดภัยของข้อมูล

มาตรฐานเครื่อข่ ายไร้ สาย (Wireless Networking Protocols)
      1. บลูทูธ (Bluetooth)
      2. ไวไฟ (Wi-Fi)
      3. ไว-แมกซ์ (Wi-MAX)
รู ปแบบในการส่ งข้ อมูล (transmission mode)

     การส่ งข้อมูลในระบบเครื อข่าย สามารถทาได้ 2 ลักษณะ คือ การส่ งแบบขนาน และการส่ งแบบอนุกรม
     การส่ งแบบขนาน (parallel transmission) คือการส่ งข้อมูลพร้อมกันทีละหลาย ๆ บิตในหนึ่งรอบ
สัญญาณนาฬิกา โดยการส่ งจะรวมบิต 0 และ 1 หลาย ๆ บิตเข้าเป็ นกลุ่มจานวน n บิต ผูส่งส่ งครั้งละ n บิต
                                                                                      ้
ผูรับจะรับครั้งละ n บิตเช่นกัน ซึ่ งจะคล้ายกับเวลาที่เราพูดคุยเราจะพูดเป็ นคา ๆ ไม่พดทีละตัวอักษร
  ้                                                                                 ู
     กลไกการส่ งข้อมูลแบบขนานใช้หลักการง่าย ๆ เมื่อส่ งครั้งละ n บิต ต้องใช้สาย n เส้น แต่ละบิตมีสาย
ของตนเอง ในการส่ งแต่ละครั้งทุกเส้นต้องใช้สัญญาณนาฬิกาอันเดียวกัน ทาให้สามารถส่ งออกไปยัง
อุปกรณ์อื่นพร้อมกันได้




         รู ปแสดงการส่ งข้อมูลแบบขนาน โดยให้ n=8 โดยทัวไปแล้วปลายของสายทั้ง 2 ข้างจะถูกต่อด้วย
                                                               ่
คอนเน็กเตอร์ ดานละ 1 ตัว ข้อดีของการส่ งข้อมูลแบบขนานคือ ความเร็ ว เพราะส่ งข้อมูลได้ครั้งละ n บิต
                 ้
ดังนั้น ความเร็ วจึงเป็ น n เท่าของการส่ งแบบอนุกรม แต่ขอเสี ยที่สาคัญคือ ค่าใช้จ่าย ทั้งนี้เพราะต้องใช้สาย
                                                            ้
จานวน n เส้น
    ตัวอย่างการส่ งข้อมูลแบบขนาน เช่น การส่ งข้อมูลภายในระบบบัสของเครื่ องคอมพิวเตอร์ หรื อการส่ ง
ข้อมูลจากเครื่ องคอมพิวเตอร์ ไปยังเครื่ องพิมพ์ (printer) เป็ นต้น

   การส่ งข้ อมูลแบบอนุกรม (serial transmission) จะใช้วธีการส่ งทีละ 1 บิตในหนึ่งรอบสัญญาณนาฬิกา
                                                           ิ
ทาให้ดูเหมือนว่าบิตต่าง ๆ เรี ยงต่อเนื่ องกันไป จากอุปกรณ์หนึ่งไปยังอีกอุปกรณ์หนึ่ง ดังรู ป
ข้อดีของการส่ งข้อมูลแบบอนุกรม คือการใช้ช่องทางการสื่ อสารเพียง 1 ช่อง ทาให้ลดค่าใช้จ่ายลง แต่
ข้อเสี ยคือ ความเร็ วของการส่ งที่ต่า ตัวอย่างของการส่ งข้อมูลแบบอนุกรม เช่น โมเด็มจะใช้การส่ งแบบ
อนุกรมเนื่องจากในสัญญาณโทรศัพท์มีสายสัญญาณเส้นเดียว และอีกเส้นหนึ่งเป็ นสายดิน
ใบงาน
                                เรื่อง วิธีและตัวกลางการสื่ อสารข้ อมูล


กิจกรรมที่ 1 เปรี ยบเทียบข้อดีและข้อเสี ยของวิธีการสื่ อสารข้อมูลแบบอนุกรมกับแบบขนาน โดยรวบรวม
ข้อมูลจากเว็บไซต์ แล้วสรุ ปลงในตาราง (พิจารณาจากคาตอบของนักเรี ยน)
เว็บไซต์ที่ใช้ในการค้นหาข้อมูล ได้แก่




       รายการ                 สื่ อสารข้ อมูลแบบอนุกรม     สื่ อสารข้ อมูลแบบขนาน
ข้อดี       ข้อเสี ย
กิจกรรมที่ 2 สื่ อสารข้อมูลกับเพื่อน 1 วิธี แล้วบันทึกผลลงในช่องว่าง (พิจารณาจากคาตอบ
            ของนักเรี ยน)
วิธีการสื่ อสารข้อมูลที่นกเรี ยนใช้ คือ
                          ั



ตัวกลางและองค์ประกอบของการสื่ อสารข้อมูลของนักเรี ยน คือ

More Related Content

What's hot

การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลการสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลBebearjang1
 
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ปิยะดนัย วิเคียน
 
สื่อการเรียน เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
สื่อการเรียน  เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสื่อการเรียน  เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
สื่อการเรียน เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีKhunakon Thanatee
 
สื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสาร
สื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสารสื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสาร
สื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสารKhunakon Thanatee
 
สื่อการเรียน เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สื่อการเรียน เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์สื่อการเรียน เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สื่อการเรียน เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์Khunakon Thanatee
 
ระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายMorn Suwanno
 
การกำหนดที่อยู่บนอินเทอร์เน็ต
การกำหนดที่อยู่บนอินเทอร์เน็ตการกำหนดที่อยู่บนอินเทอร์เน็ต
การกำหนดที่อยู่บนอินเทอร์เน็ตปิยะดนัย วิเคียน
 
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสารบทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสารBeauso English
 
แบบฝึกหัด ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร 8
แบบฝึกหัด ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร 8แบบฝึกหัด ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร 8
แบบฝึกหัด ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร 8zodiacppat
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์Rijin7
 
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ตประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ตguest832105
 
การสือสารข้อมูล
การสือสารข้อมูลการสือสารข้อมูล
การสือสารข้อมูลelecthoeng
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 4
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 4เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 4
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 4Nuttapoom Tossanut
 

What's hot (20)

การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลการสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
 
อุปกรณ์การสื่อสาร
อุปกรณ์การสื่อสารอุปกรณ์การสื่อสาร
อุปกรณ์การสื่อสาร
 
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
สื่อการเรียน เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
สื่อการเรียน  เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสื่อการเรียน  เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
สื่อการเรียน เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
 
สื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสาร
สื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสารสื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสาร
สื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสาร
 
สื่อการเรียน เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สื่อการเรียน เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์สื่อการเรียน เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สื่อการเรียน เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เทอม 1 คาบ 9
เทอม 1 คาบ 9เทอม 1 คาบ 9
เทอม 1 คาบ 9
 
ระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่าย
 
Media
MediaMedia
Media
 
การกำหนดที่อยู่บนอินเทอร์เน็ต
การกำหนดที่อยู่บนอินเทอร์เน็ตการกำหนดที่อยู่บนอินเทอร์เน็ต
การกำหนดที่อยู่บนอินเทอร์เน็ต
 
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสารบทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
 
แบบฝึกหัด ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร 8
แบบฝึกหัด ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร 8แบบฝึกหัด ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร 8
แบบฝึกหัด ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร 8
 
โพรโทคอล
โพรโทคอลโพรโทคอล
โพรโทคอล
 
รายงาน1233
รายงาน1233รายงาน1233
รายงาน1233
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ตประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ต
 
การสือสารข้อมูล
การสือสารข้อมูลการสือสารข้อมูล
การสือสารข้อมูล
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 4
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 4เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 4
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 4
 

Similar to ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล

การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)supatra2011
 
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์Meaw Sukee
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์kru P
 
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copyบทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copyครู อินดี้
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and networkkamol
 
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์jzturbo
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and networkNidzy Krajangpat
 
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์Meaw Sukee
 
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลMareeyalosocity
 
งานนำเสนอบทที่ 4
งานนำเสนอบทที่ 4งานนำเสนอบทที่ 4
งานนำเสนอบทที่ 4sawitri555
 
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายบทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายPokypoky Leonardo
 
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ดุลยวัต วิไลพันธุ์
 
การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!Nattha Nganpakamongkhol
 
การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!Nattha Nganpakamongkhol
 
เทอม 1 คาบ 8 การถ่ายโอนข้อมูลและรูปแบบการรับส่งข้อมูล
เทอม 1 คาบ 8 การถ่ายโอนข้อมูลและรูปแบบการรับส่งข้อมูลเทอม 1 คาบ 8 การถ่ายโอนข้อมูลและรูปแบบการรับส่งข้อมูล
เทอม 1 คาบ 8 การถ่ายโอนข้อมูลและรูปแบบการรับส่งข้อมูลMrpopovic Popovic
 

Similar to ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล (20)

Communication Concept 3
Communication Concept 3Communication Concept 3
Communication Concept 3
 
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
 
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
Datacom
DatacomDatacom
Datacom
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copyบทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copy
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
รายงาน 1
รายงาน  1 รายงาน  1
รายงาน 1
 
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
 
งานนำเสนอบทที่ 4
งานนำเสนอบทที่ 4งานนำเสนอบทที่ 4
งานนำเสนอบทที่ 4
 
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายบทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
 
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!
 
การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!
 
เทอม 1 คาบ 8 การถ่ายโอนข้อมูลและรูปแบบการรับส่งข้อมูล
เทอม 1 คาบ 8 การถ่ายโอนข้อมูลและรูปแบบการรับส่งข้อมูลเทอม 1 คาบ 8 การถ่ายโอนข้อมูลและรูปแบบการรับส่งข้อมูล
เทอม 1 คาบ 8 การถ่ายโอนข้อมูลและรูปแบบการรับส่งข้อมูล
 

ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล

  • 1. ใบความรู้ เรื่อง วิธีและตัวกลางการสื่ อสารข้ อมูล ตัวกลางการสื่ อสาร 1. สื่ อนาข้ อมูลแบบมีสาย(Wired Media) สื่ อข้อมูลแบบมีสายที่นิยมใช้มี 3 ชนิดดังนี้ - สายคู่บิดเกลียว (Twisted-Pair Cable) สายคู่ บิ ด เกลี ย ว เป็ นสายสั ญ ญาณนาข้อมู ล ไฟฟ้ า สายแต่ ล ะเส้ นมี ล ัก ษณะคล้า ยสายไฟทั่วไป จานวนสายจะมีเป็ นคู่ เช่ น 2 , 4 หรื อ 6 เส้น แต่ละคู่จะมีพนบิดเกลี ยว การบิดเกลี ยวนี้ จะช่ วยลดสัญญาณ ั รบกวนที่เกิดขึ้นในการส่ งข้อมูล ทาให้สามารถส่ งข้อมูลได้ไกลกว่าปกติ - สายโคแอกเชียล (Coaxial Cable) สายโคแอกเชียล เป็ นสายสัญญาณนาข้อมูล ไฟฟ้ า มีความถี่ในการส่ งข้อมูลประมาณ 100 MHz ถึง 500 MHz สายโคแอกเชียลมีความเร็ วในการส่ งข้อมูลและราคาสู งกว่าสายบิดเกลียว
  • 2. - สายใยแก้วนาแสง(Optical Fiber Cable) สายสัญญาณทาจากใยแก้วหรื อสารนาแสงหุ ้มด้วยวัสดุ ป้องกันแสง มี ความเร็ วในการส่ งสู งกับ ความเร็ วแสง สามารถใช้ในการส่ งข้อมูลที่มีความถี่สูงได้ สัญญาณที่ส่งผ่านสายใยแก้วนาแสง คือ แสง และ สัญญาณรบกวนจากภายนอกมีเพียงอย่างเดียว คือ แสงจากภายนอก 2. สื่ อนาข้ อมู ลแบบไร้ สาย(Wireless Media) การสื่ อสารข้อมูลแบบไร้ สาย จะใช้อากาศเป็ น ตัวกลางของการสื่ อสาร เช่น
  • 3. - แสงอินฟราเรด (Infrared) เป็ นการสื่ อสารข้อมูลโดยใช้แสงอินฟราเรดเป็ นสื่ อกลาง การสื่ อสาร ประเภทนี้ นิยมใช้สาหรับการสื่ อสารข้อมูลระยะใกล้ เช่ น การสื่ อการจากรี โมทคอนโทรลไปยังเครื่ องรับ วิทยุหรื อโทรทัศน์
  • 4. - สั ญญาณวิทยุ (Radio Wave) เป็ นสื่ อนาข้อมูลแบบไร้สาย (Wireless Media) ที่มีการส่ งข้อมูล เป็ นสัญญาณคลื่อนวิทยุไปในอากาศไปยังตัวรับสัญญาณ - ไมโครเวฟภาคพืนดิน (Terrestrial Microwave) เป็ นการสื่ อสารไรสายอีกประเภทหนึ่ง การ ้ สื่ อสารประเภทนี้ จะมีเสาส่ งสัญญาณไมโครเวฟที่อยู่ห่างๆ กัน ทาการส่ งข้อมูลไปในอากาศไปยังเสารั บ ข้อมูล
  • 5. - การสื่ อสารผ่านดาวเทียม (Satellite Communication) เป็ นการสื่ อสารจากพื้นโลกที่มีการ ส่ งสัญญาณข้อมูลไปยังดาวเทียม โดยดาวเทียมจะทาหน้าที่เป็ นสถานี ทวนสัญญาณ เพื่อ จัดส่ ง สั ญญาณต่ อไปยัง สถานี ภาพพื้ น ดิ นอื่ นๆ ระยะทางจะโลกถึ ง ดาวเที ย มประมาณ 22,000 ไมล์ หลักเกณฑ์ การพิจารณาเลือกสื่ อนาข้ อมูล 1. ราคา 2. ความเร็ ว 3. ระยะทาง 4. สัญญาณรบกวนที่อาจจะเกิดขึ้น 5. ความปลอดภัยของข้อมูล มาตรฐานเครื่อข่ ายไร้ สาย (Wireless Networking Protocols) 1. บลูทูธ (Bluetooth) 2. ไวไฟ (Wi-Fi) 3. ไว-แมกซ์ (Wi-MAX)
  • 6. รู ปแบบในการส่ งข้ อมูล (transmission mode) การส่ งข้อมูลในระบบเครื อข่าย สามารถทาได้ 2 ลักษณะ คือ การส่ งแบบขนาน และการส่ งแบบอนุกรม การส่ งแบบขนาน (parallel transmission) คือการส่ งข้อมูลพร้อมกันทีละหลาย ๆ บิตในหนึ่งรอบ สัญญาณนาฬิกา โดยการส่ งจะรวมบิต 0 และ 1 หลาย ๆ บิตเข้าเป็ นกลุ่มจานวน n บิต ผูส่งส่ งครั้งละ n บิต ้ ผูรับจะรับครั้งละ n บิตเช่นกัน ซึ่ งจะคล้ายกับเวลาที่เราพูดคุยเราจะพูดเป็ นคา ๆ ไม่พดทีละตัวอักษร ้ ู กลไกการส่ งข้อมูลแบบขนานใช้หลักการง่าย ๆ เมื่อส่ งครั้งละ n บิต ต้องใช้สาย n เส้น แต่ละบิตมีสาย ของตนเอง ในการส่ งแต่ละครั้งทุกเส้นต้องใช้สัญญาณนาฬิกาอันเดียวกัน ทาให้สามารถส่ งออกไปยัง อุปกรณ์อื่นพร้อมกันได้ รู ปแสดงการส่ งข้อมูลแบบขนาน โดยให้ n=8 โดยทัวไปแล้วปลายของสายทั้ง 2 ข้างจะถูกต่อด้วย ่ คอนเน็กเตอร์ ดานละ 1 ตัว ข้อดีของการส่ งข้อมูลแบบขนานคือ ความเร็ ว เพราะส่ งข้อมูลได้ครั้งละ n บิต ้ ดังนั้น ความเร็ วจึงเป็ น n เท่าของการส่ งแบบอนุกรม แต่ขอเสี ยที่สาคัญคือ ค่าใช้จ่าย ทั้งนี้เพราะต้องใช้สาย ้ จานวน n เส้น ตัวอย่างการส่ งข้อมูลแบบขนาน เช่น การส่ งข้อมูลภายในระบบบัสของเครื่ องคอมพิวเตอร์ หรื อการส่ ง ข้อมูลจากเครื่ องคอมพิวเตอร์ ไปยังเครื่ องพิมพ์ (printer) เป็ นต้น การส่ งข้ อมูลแบบอนุกรม (serial transmission) จะใช้วธีการส่ งทีละ 1 บิตในหนึ่งรอบสัญญาณนาฬิกา ิ ทาให้ดูเหมือนว่าบิตต่าง ๆ เรี ยงต่อเนื่ องกันไป จากอุปกรณ์หนึ่งไปยังอีกอุปกรณ์หนึ่ง ดังรู ป
  • 7. ข้อดีของการส่ งข้อมูลแบบอนุกรม คือการใช้ช่องทางการสื่ อสารเพียง 1 ช่อง ทาให้ลดค่าใช้จ่ายลง แต่ ข้อเสี ยคือ ความเร็ วของการส่ งที่ต่า ตัวอย่างของการส่ งข้อมูลแบบอนุกรม เช่น โมเด็มจะใช้การส่ งแบบ อนุกรมเนื่องจากในสัญญาณโทรศัพท์มีสายสัญญาณเส้นเดียว และอีกเส้นหนึ่งเป็ นสายดิน
  • 8. ใบงาน เรื่อง วิธีและตัวกลางการสื่ อสารข้ อมูล กิจกรรมที่ 1 เปรี ยบเทียบข้อดีและข้อเสี ยของวิธีการสื่ อสารข้อมูลแบบอนุกรมกับแบบขนาน โดยรวบรวม ข้อมูลจากเว็บไซต์ แล้วสรุ ปลงในตาราง (พิจารณาจากคาตอบของนักเรี ยน) เว็บไซต์ที่ใช้ในการค้นหาข้อมูล ได้แก่ รายการ สื่ อสารข้ อมูลแบบอนุกรม สื่ อสารข้ อมูลแบบขนาน ข้อดี ข้อเสี ย กิจกรรมที่ 2 สื่ อสารข้อมูลกับเพื่อน 1 วิธี แล้วบันทึกผลลงในช่องว่าง (พิจารณาจากคาตอบ ของนักเรี ยน) วิธีการสื่ อสารข้อมูลที่นกเรี ยนใช้ คือ ั ตัวกลางและองค์ประกอบของการสื่ อสารข้อมูลของนักเรี ยน คือ