SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
                       (Computer network)
          เป็นการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงเข้าด้วยกัน
เพื่ อให้สามารถใช้ ข้อมูลและทรั พยากรร่ วมกั นได้ เช่นสามารถใช้
เครื่ อ งพิ ม พ์ ร่ ว มกั น สามารถใช้ ฮ าร์ ด ดิ ส ก์ ร่ ว มกั น แบ่ ง ปั น การใช้
อุ ป กรณ์ อื่ น ๆ ที่ มี ร าคาแพงหรื อ ไม่ ส ามารถจั ด หาให้ ทุ ก คนได้
แม้ ก ระทั่ ง สามารถใช้ โ ปรแกรมร่ ว มกั น ได้ เป็ น การลดต้ น ทุ น ของ
องค์กร
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
   แบ่งประเภทตามพื้นที่ที่ครอบคลุมการใช้งานของเครือข่าย
1) เครือข่ายส่วนบุคคล หรือแพน (Personal Area Network :
PAN) เป็นเครือข่ายที่ใช้ส่วนบุคคล เช่น การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
เข้ากับโทรศัพท์มือถือ การเชื่อมต่อพีดีเอกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่ง
การเชื่อมต่อแบบนี้จะอยู่ในระยะใกล้ และมีการเชื่อมต่อแบบไร้สาย
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
แบ่งประเภทตามพื้นที่ที่ครอบคลุมการใช้งานของเครือข่าย (ต่อ)
2) เครือข่ายเฉพาะที่ หรือแลน (Local Area Network: LAN) เป็น
เครือข่ายที่ใช้ในการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆ ที่อยู่ใน
พื้ น ที่ เ ดี ย ว กั น ห รื อ ใ ก ล้ เ คี ย ง กั น เ ช่ น ภ า ย ใ น บ้ า น ภ า ย ใ น
สานักงาน และภายในอาคาร สาหรับการใช้งานภายในบ้านนั้นอาจ
เรียกเครือข่ายประเภทนี้ว่าเครือข่ายที่พักอาศัย (home network) ซึ่งอาจใช้
การเชื่อมต่อแบบใช้สายหรือไร้สาย
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
แบ่งประเภทตามพื้นที่ที่ครอบคลุมการใช้งานของเครือข่าย (ต่อ)
3) เครือข่ายนครหลวง หรือแมน (Metropolitan Area Network: MAN)
เป็นเครือข่ายที่ใช้เชื่อมโยงแลนที่อยู่ห่างไกลออกไป เช่น การเชื่อมต่อ
เครือข่ายระหว่างสานักงานที่อาจอยู่คนละอาคารและมีระยะทางไกล
กัน การเชื่อมต่อเครือข่ายชนิดนี้อาจใช้สายไฟเบอร์ ออพติกหรือบาง
ครั้งอาจใช้ไมโครเวฟเชื่อมต่อ เครือข่ายแบบนี้ที่ใช้ในสถานศึกษามีชื่อ
เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าเครือข่าย แคมปัส (Campus Area Network:
CAN)

  เครือข่ายนครหลวง
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
แบ่งประเภทตามพื้นที่ที่ครอบคลุมการใช้งานของเครือข่าย (ต่อ)
4) เครือข่ายวงกว้าง หรือแวน (Wide Area Network:                     WAN) เป็น
เครื อ ข่า ยที่ใ ช้ ใ นการเชื่ อมโยงกั บเครื อข่า ยอื่น ที่อยู่ไ กลจากกั น มาก
เช่น เครือข่ายระหว่างจังหวัด หรือระหว่างภาค รวมไปถึงเครือข่าย
ระหว่างประเทศ


                                                    เครือข่ายวงกว้าง หรือแวน
ลักษณะของเครือข่าย

      เราสามารถแบ่งลักษณะของเครือข่ายตามบทบาทของเครื่อง
คอมพิวเตอร์ในการสื่อสารได้ ดังนี้
ลักษณะของเครือข่าย (ต่อ)

           1) เ ค รื อ ข่ า ย แ บ บ รั บ -ใ ห้ บ ริ ก า ร ห รื อ ไ ค ล เ อ น ท์ /
เซิร์ฟเวอร์ (client-server network) จะมีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่
เ ป็ น เ ค รื่ อ ง ใ ห้ บ ริ ก า ร ต่ า ง ๆ เ ช่ น บ ริ ก า ร เ ว็ บ แ ล ะ บ ริ ก า ร
ฐานข้ อ มู ล การให้ บ ริ ก ารขึ้ น กั บ การร้ อ งขอบริ ก ารจากเครื่ อ งรั บ
บริการ เช่น การเปิดเว็บเพจ เครื่องรับบริการจะร้องขอบริการไปที่
เครื่องให้บริการเว็บ จากนั้นเครื่องให้บริการเว็บจะตอบรับและส่ง
ข้ อ มู ล กลั บ มาให้ เ ครื่ อ งรั บ บริ ก าร ข้ อ ดี ข องระบบนี้ คื อ สามารถ
ให้บริการแก่เครื่องรับบริการได้เป็นจานวนมาก ข้อด้อยคือระบบนี้มี
ค่าใช้จ่ายในการติดตั้งและการบารุงรักษาค่อนข้างสูง
ลักษณะของเครือข่าย (ต่อ)




                   เครือข่ายแบบรับ-ให้บริการ
ลักษณะของเครือข่าย (ต่อ)

          2) เครือข่ายระดับเดียวกัน (Peer- to- Peer network:
P2P network) เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเป็นได้ทั้งเครื่องให้บริการ
และเครื่ องรับบริ การในขณะเดียวกัน การใช้งานส่ว นใหญ่มัก ใช้ในการ
แบ่งปันข้อมูล เช่น เพลง ภาพยนตร์ โปรแกรม และเกม เครือข่ายแบบ
นี้เริ่มแพร่หลายมากขึ้นในผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ต การใช้งานจะมีซอฟต์แวร์
เฉพาะ เช่น โปรแกรม eDonkey, BitTorrent และ LimeWire ข้อดีของ
ระบบแบบนี้คือง่ายต่อการใช้งาน และราคาไม่แพง ข้อด้อยคือไม่มีการ
ควบคุมเรื่องความปลอดภัย จึงอาจพบว่าถูกนาไปใช้ประโยชน์ในทางไม่
ถูกต้อง เช่น การแบ่งปันเพลง ภาพยนตร์ และโปรแกรมที่มีลิขสิทธิ์ซึ่ง
เป็นการกระทาผิดกฎหมาย
ลักษณะของเครือข่าย (ต่อ)




                     เครือข่ายระดับเดียวกัน
รูปร่างเครือข่าย

          สามารถแบ่งออกตามลักษณะของการเชื่อมต่อได้ 4 รูปแบบ คือ
          1) เครือข่ายแบบบัส (bus topology) เป็นรูปแบบที่มีโครงสร้าง
ไม่ยุ่งยาก สถานีทุกสถานีในเครือข่ายจะเชื่อมต่อเข้ากับสายสื่อสารหลักเพียง
สายเดียวที่ เรียกว่าบัส (bus)        การจัดส่งข้อมูลลงบนบัสจึงไปถึงทุกสถานี
ได้      ซึ่งการจัดส่งวิธีนี้ต้องกาหนดวิธีการที่จะไม่ให้ทุกสถานีส่งข้อมูล พร้อม
กัน เพราะจะทาให้เกิดการชนกัน (collision) ของข้อมูล โดยวิธีการที่ใช้อาจ
เป็นการแบ่งช่วงเวลาหรือให้แต่ละสถานีใช้คลื่นความถี่ในการส่งสัญญาณที่
แตกต่ า งกั น อย่ า งไรก็ ต ามเครื อ ข่ า ยแบบบั ส ไม่ ไ ด้ รั บ ความนิ ย มใน
ปัจจุบัน เนื่องจากความเสียหายที่เกิดขึ้นกับบัสเพียงจุดเดียวก็จะส่งผลให้ทุก
อุปกรณ์ ไม่สามารถสื่อสารถึงกันได้เลย
รูปร่างเครือข่าย (ต่อ)




 รูปร่างเครือข่ายแบบบัส
รูปร่างเครือข่าย (ต่อ)

        2) เครือข่ายแบบวงแหวน (ring               topology) เป็นการ
เชื่อมแต่ละสถานีเข้าด้วยกันแบบวงแหวน สัญญาณข้อมูลจะส่งอยู่ใน
วงแหวนไปในทิศทางเดียวกันจนถึงผู้รับ             หากข้อมูลที่ส่งเป็นของ
สถานีใด       สถานีนั้นก็รับไว้ ถ้าไม่ใช่ก็ส่งต่อไป ซึ่งระบบเครือข่าย
แบบวงแหวนนี้ สามารถรองรั บ จ านวนสถานี ไ ด้ เ ป็ น จ านวน
มาก ข้อด้อยของเครือข่ายแบบวงแหวน คือ สถานีจะต้องรอจนถึง
รอบของตนเองก่อนที่จะสามารถส่งข้อมูลได้
รูปร่างเครือข่าย (ต่อ)




รูปร่างเครือข่ายแบบวงแหวน
รูปร่างเครือข่าย (ต่อ)

          3) เครือข่ายแบบดาว (star topology) เป็นการเชื่อมต่อ
สถานีในเครือข่าย           โดยทุกสถานีจะต่อเข้ากับหน่วยสลับสาย
กลา ง เช่ น ฮั บ (hub) หรื อ สวิ ต ซ์ (switch) ซึ่ ง ท าหน้ า ที่ เ ป็ น
ศู น ย์ ก ลางของการเชื่ อ มต่ อ ระหว่ า งสถานี ต่ า งๆ ที่ ต้ อ งการ
ติดต่อกัน ข้อดีของการเชื่อมต่อแบบดาว คือ ถ้าสถานีใดเสีย หรือ
สายเชื่อมต่อระหว่างฮับ/สวิตซ์กับสถานีใดชารุด ก็จะไม่กระทบกับ
การเชื่อมต่อของสถานีอื่น ดังนั้นการเชื่อมต่อแบบนี้จึงเป็นที่นิยมใช้
กันในปัจจุบัน
รูปร่างเครือข่าย (ต่อ)




 รูปร่างเครือข่ายแบบดาว
รูปร่างเครือข่าย (ต่อ)

         4) เครือข่ายแบบเมช (mesh topology) เป็นรูปแบบของ
การเชื่อมต่อที่มีความนิยมมาก และมีประสิทธิภาพสูงเนื่องจากถ้ามี
เส้นทางของการเชื่อมต่อคู่ใ ดคู่หนึ่ง ขาดจากกั น การติดต่อสื่อสาร
ระหว่างคู่นั้นยังสามารถติดต่อได้โดยอุปกรณ์จัด เส้นทาง (router) จะ
ทาการเชื่อมต่อเส้นทางใหม่ไปยังจุดหมายปลายทางอัตโนมัติ การ
เชื่อมต่อแบบนี้มักนิยมสร้างบนเครือข่ายแบบไร้สาย
รูปร่างเครือข่าย (ต่อ)




 รูปร่างเครือข่ายแบบเมช
เครือข่ายคอมพิวเตอร์

More Related Content

What's hot

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ครู อินดี้
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์hisogakung
 
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูลบทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูลNattapon
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3Nattapon
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1Morn Suwanno
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1Nattapon
 
สื่อการเรียน เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
สื่อการเรียน  เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสื่อการเรียน  เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
สื่อการเรียน เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีKhunakon Thanatee
 
ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2Nattapon
 
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6ครู อินดี้
 
หน่วยที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยที่  3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งานหน่วยที่  3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งานอรยา ม่วงมนตรี
 
สื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสาร
สื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสารสื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสาร
สื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสารKhunakon Thanatee
 
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลการสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลBebearjang1
 
สื่อการเรียน เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สื่อการเรียน เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์สื่อการเรียน เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สื่อการเรียน เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์Khunakon Thanatee
 
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์Piyanoot Ch
 
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ตประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ตguest832105
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2อรยา ม่วงมนตรี
 
ระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายMorn Suwanno
 
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์Krusine soyo
 

What's hot (20)

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูลบทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3
 
เวิลด์ไวด์เว็บ
เวิลด์ไวด์เว็บเวิลด์ไวด์เว็บ
เวิลด์ไวด์เว็บ
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
สื่อการเรียน เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
สื่อการเรียน  เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสื่อการเรียน  เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
สื่อการเรียน เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
 
ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2
 
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
 
หน่วยที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยที่  3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งานหน่วยที่  3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
 
สื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสาร
สื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสารสื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสาร
สื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสาร
 
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลการสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
 
สื่อการเรียน เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สื่อการเรียน เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์สื่อการเรียน เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สื่อการเรียน เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ตประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ต
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
 
ระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่าย
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 

Similar to เครือข่ายคอมพิวเตอร์

ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์nuchanad
 
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์Meaw Sukee
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์Obigo Cast Gaming
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)Obigo Cast Gaming
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์kru P
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77Tophit Sampootong
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77Tophit Sampootong
 
บทที่5.1
บทที่5.1บทที่5.1
บทที่5.1chu1991
 
บทที่5.1
บทที่5.1บทที่5.1
บทที่5.1chushi1991
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ARAM Narapol
 
คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407
คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407
คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407Pitchayut Wongsriphuak
 
อุปกรณ์เคลือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เคลือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เคลือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เคลือข่ายคอมพิวเตอร์thecommander2
 

Similar to เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (20)

ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
 
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
Datacom
DatacomDatacom
Datacom
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
รายงาน1233
รายงาน1233รายงาน1233
รายงาน1233
 
บทที่5.1
บทที่5.1บทที่5.1
บทที่5.1
 
บทที่5.1
บทที่5.1บทที่5.1
บทที่5.1
 
Network System
Network SystemNetwork System
Network System
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407
คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407
คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407
 
Learning network
Learning networkLearning network
Learning network
 
อุปกรณ์เคลือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เคลือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เคลือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เคลือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Communication Concept
Communication ConceptCommunication Concept
Communication Concept
 

More from ปิยะดนัย วิเคียน

กลุ่ม 1 วิวัฒนาการของการสื่อสารและเทคโนโลยี
กลุ่ม 1 วิวัฒนาการของการสื่อสารและเทคโนโลยีกลุ่ม 1 วิวัฒนาการของการสื่อสารและเทคโนโลยี
กลุ่ม 1 วิวัฒนาการของการสื่อสารและเทคโนโลยีปิยะดนัย วิเคียน
 
ตัวอย่างเอกสารการจัดทำวีดิทัศน์และภาพยนตร์
ตัวอย่างเอกสารการจัดทำวีดิทัศน์และภาพยนตร์ตัวอย่างเอกสารการจัดทำวีดิทัศน์และภาพยนตร์
ตัวอย่างเอกสารการจัดทำวีดิทัศน์และภาพยนตร์ปิยะดนัย วิเคียน
 
ตัวอย่างบทวีดีทัศน์และภาพยนตร์
ตัวอย่างบทวีดีทัศน์และภาพยนตร์ตัวอย่างบทวีดีทัศน์และภาพยนตร์
ตัวอย่างบทวีดีทัศน์และภาพยนตร์ปิยะดนัย วิเคียน
 
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ตผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ตปิยะดนัย วิเคียน
 

More from ปิยะดนัย วิเคียน (20)

การแทรกรูปภาพในเว็บเพจ
การแทรกรูปภาพในเว็บเพจการแทรกรูปภาพในเว็บเพจ
การแทรกรูปภาพในเว็บเพจ
 
การจัดรูปแบบข้อความ
การจัดรูปแบบข้อความการจัดรูปแบบข้อความ
การจัดรูปแบบข้อความ
 
การจัดรูปแบบหน้าเว็บเพจ
การจัดรูปแบบหน้าเว็บเพจการจัดรูปแบบหน้าเว็บเพจ
การจัดรูปแบบหน้าเว็บเพจ
 
เริ่มต้นสร้างเว็บไซต์
เริ่มต้นสร้างเว็บไซต์เริ่มต้นสร้างเว็บไซต์
เริ่มต้นสร้างเว็บไซต์
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
อุปกรณ์การสื่อสาร
อุปกรณ์การสื่อสารอุปกรณ์การสื่อสาร
อุปกรณ์การสื่อสาร
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
กลุ่ม 1 วิวัฒนาการของการสื่อสารและเทคโนโลยี
กลุ่ม 1 วิวัฒนาการของการสื่อสารและเทคโนโลยีกลุ่ม 1 วิวัฒนาการของการสื่อสารและเทคโนโลยี
กลุ่ม 1 วิวัฒนาการของการสื่อสารและเทคโนโลยี
 
ตัวอย่างเอกสารการจัดทำวีดิทัศน์และภาพยนตร์
ตัวอย่างเอกสารการจัดทำวีดิทัศน์และภาพยนตร์ตัวอย่างเอกสารการจัดทำวีดิทัศน์และภาพยนตร์
ตัวอย่างเอกสารการจัดทำวีดิทัศน์และภาพยนตร์
 
ตัวอย่างบทวีดีทัศน์และภาพยนตร์
ตัวอย่างบทวีดีทัศน์และภาพยนตร์ตัวอย่างบทวีดีทัศน์และภาพยนตร์
ตัวอย่างบทวีดีทัศน์และภาพยนตร์
 
เฉลยแบบทดสอบ html
เฉลยแบบทดสอบ htmlเฉลยแบบทดสอบ html
เฉลยแบบทดสอบ html
 
เฉลยแบบทดสอบ
เฉลยแบบทดสอบเฉลยแบบทดสอบ
เฉลยแบบทดสอบ
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูลสื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
 
โครงการสอน 1.56
โครงการสอน 1.56โครงการสอน 1.56
โครงการสอน 1.56
 
ผลงานการออกแบบ Logo
ผลงานการออกแบบ Logoผลงานการออกแบบ Logo
ผลงานการออกแบบ Logo
 
เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5
เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5
เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5
 
โปรแกรมไม่พึงประสงค์
โปรแกรมไม่พึงประสงค์โปรแกรมไม่พึงประสงค์
โปรแกรมไม่พึงประสงค์
 
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ตผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 

เครือข่ายคอมพิวเตอร์

  • 2. เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer network) เป็นการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงเข้าด้วยกัน เพื่ อให้สามารถใช้ ข้อมูลและทรั พยากรร่ วมกั นได้ เช่นสามารถใช้ เครื่ อ งพิ ม พ์ ร่ ว มกั น สามารถใช้ ฮ าร์ ด ดิ ส ก์ ร่ ว มกั น แบ่ ง ปั น การใช้ อุ ป กรณ์ อื่ น ๆ ที่ มี ร าคาแพงหรื อ ไม่ ส ามารถจั ด หาให้ ทุ ก คนได้ แม้ ก ระทั่ ง สามารถใช้ โ ปรแกรมร่ ว มกั น ได้ เป็ น การลดต้ น ทุ น ของ องค์กร
  • 3. เครือข่ายคอมพิวเตอร์ แบ่งประเภทตามพื้นที่ที่ครอบคลุมการใช้งานของเครือข่าย 1) เครือข่ายส่วนบุคคล หรือแพน (Personal Area Network : PAN) เป็นเครือข่ายที่ใช้ส่วนบุคคล เช่น การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ เข้ากับโทรศัพท์มือถือ การเชื่อมต่อพีดีเอกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่ง การเชื่อมต่อแบบนี้จะอยู่ในระยะใกล้ และมีการเชื่อมต่อแบบไร้สาย
  • 4. เครือข่ายคอมพิวเตอร์ แบ่งประเภทตามพื้นที่ที่ครอบคลุมการใช้งานของเครือข่าย (ต่อ) 2) เครือข่ายเฉพาะที่ หรือแลน (Local Area Network: LAN) เป็น เครือข่ายที่ใช้ในการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆ ที่อยู่ใน พื้ น ที่ เ ดี ย ว กั น ห รื อ ใ ก ล้ เ คี ย ง กั น เ ช่ น ภ า ย ใ น บ้ า น ภ า ย ใ น สานักงาน และภายในอาคาร สาหรับการใช้งานภายในบ้านนั้นอาจ เรียกเครือข่ายประเภทนี้ว่าเครือข่ายที่พักอาศัย (home network) ซึ่งอาจใช้ การเชื่อมต่อแบบใช้สายหรือไร้สาย
  • 5. เครือข่ายคอมพิวเตอร์ แบ่งประเภทตามพื้นที่ที่ครอบคลุมการใช้งานของเครือข่าย (ต่อ) 3) เครือข่ายนครหลวง หรือแมน (Metropolitan Area Network: MAN) เป็นเครือข่ายที่ใช้เชื่อมโยงแลนที่อยู่ห่างไกลออกไป เช่น การเชื่อมต่อ เครือข่ายระหว่างสานักงานที่อาจอยู่คนละอาคารและมีระยะทางไกล กัน การเชื่อมต่อเครือข่ายชนิดนี้อาจใช้สายไฟเบอร์ ออพติกหรือบาง ครั้งอาจใช้ไมโครเวฟเชื่อมต่อ เครือข่ายแบบนี้ที่ใช้ในสถานศึกษามีชื่อ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าเครือข่าย แคมปัส (Campus Area Network: CAN) เครือข่ายนครหลวง
  • 6. เครือข่ายคอมพิวเตอร์ แบ่งประเภทตามพื้นที่ที่ครอบคลุมการใช้งานของเครือข่าย (ต่อ) 4) เครือข่ายวงกว้าง หรือแวน (Wide Area Network: WAN) เป็น เครื อ ข่า ยที่ใ ช้ ใ นการเชื่ อมโยงกั บเครื อข่า ยอื่น ที่อยู่ไ กลจากกั น มาก เช่น เครือข่ายระหว่างจังหวัด หรือระหว่างภาค รวมไปถึงเครือข่าย ระหว่างประเทศ เครือข่ายวงกว้าง หรือแวน
  • 7. ลักษณะของเครือข่าย เราสามารถแบ่งลักษณะของเครือข่ายตามบทบาทของเครื่อง คอมพิวเตอร์ในการสื่อสารได้ ดังนี้
  • 8. ลักษณะของเครือข่าย (ต่อ) 1) เ ค รื อ ข่ า ย แ บ บ รั บ -ใ ห้ บ ริ ก า ร ห รื อ ไ ค ล เ อ น ท์ / เซิร์ฟเวอร์ (client-server network) จะมีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ เ ป็ น เ ค รื่ อ ง ใ ห้ บ ริ ก า ร ต่ า ง ๆ เ ช่ น บ ริ ก า ร เ ว็ บ แ ล ะ บ ริ ก า ร ฐานข้ อ มู ล การให้ บ ริ ก ารขึ้ น กั บ การร้ อ งขอบริ ก ารจากเครื่ อ งรั บ บริการ เช่น การเปิดเว็บเพจ เครื่องรับบริการจะร้องขอบริการไปที่ เครื่องให้บริการเว็บ จากนั้นเครื่องให้บริการเว็บจะตอบรับและส่ง ข้ อ มู ล กลั บ มาให้ เ ครื่ อ งรั บ บริ ก าร ข้ อ ดี ข องระบบนี้ คื อ สามารถ ให้บริการแก่เครื่องรับบริการได้เป็นจานวนมาก ข้อด้อยคือระบบนี้มี ค่าใช้จ่ายในการติดตั้งและการบารุงรักษาค่อนข้างสูง
  • 9. ลักษณะของเครือข่าย (ต่อ) เครือข่ายแบบรับ-ให้บริการ
  • 10. ลักษณะของเครือข่าย (ต่อ) 2) เครือข่ายระดับเดียวกัน (Peer- to- Peer network: P2P network) เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเป็นได้ทั้งเครื่องให้บริการ และเครื่ องรับบริ การในขณะเดียวกัน การใช้งานส่ว นใหญ่มัก ใช้ในการ แบ่งปันข้อมูล เช่น เพลง ภาพยนตร์ โปรแกรม และเกม เครือข่ายแบบ นี้เริ่มแพร่หลายมากขึ้นในผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ต การใช้งานจะมีซอฟต์แวร์ เฉพาะ เช่น โปรแกรม eDonkey, BitTorrent และ LimeWire ข้อดีของ ระบบแบบนี้คือง่ายต่อการใช้งาน และราคาไม่แพง ข้อด้อยคือไม่มีการ ควบคุมเรื่องความปลอดภัย จึงอาจพบว่าถูกนาไปใช้ประโยชน์ในทางไม่ ถูกต้อง เช่น การแบ่งปันเพลง ภาพยนตร์ และโปรแกรมที่มีลิขสิทธิ์ซึ่ง เป็นการกระทาผิดกฎหมาย
  • 11. ลักษณะของเครือข่าย (ต่อ) เครือข่ายระดับเดียวกัน
  • 12. รูปร่างเครือข่าย สามารถแบ่งออกตามลักษณะของการเชื่อมต่อได้ 4 รูปแบบ คือ 1) เครือข่ายแบบบัส (bus topology) เป็นรูปแบบที่มีโครงสร้าง ไม่ยุ่งยาก สถานีทุกสถานีในเครือข่ายจะเชื่อมต่อเข้ากับสายสื่อสารหลักเพียง สายเดียวที่ เรียกว่าบัส (bus) การจัดส่งข้อมูลลงบนบัสจึงไปถึงทุกสถานี ได้ ซึ่งการจัดส่งวิธีนี้ต้องกาหนดวิธีการที่จะไม่ให้ทุกสถานีส่งข้อมูล พร้อม กัน เพราะจะทาให้เกิดการชนกัน (collision) ของข้อมูล โดยวิธีการที่ใช้อาจ เป็นการแบ่งช่วงเวลาหรือให้แต่ละสถานีใช้คลื่นความถี่ในการส่งสัญญาณที่ แตกต่ า งกั น อย่ า งไรก็ ต ามเครื อ ข่ า ยแบบบั ส ไม่ ไ ด้ รั บ ความนิ ย มใน ปัจจุบัน เนื่องจากความเสียหายที่เกิดขึ้นกับบัสเพียงจุดเดียวก็จะส่งผลให้ทุก อุปกรณ์ ไม่สามารถสื่อสารถึงกันได้เลย
  • 14. รูปร่างเครือข่าย (ต่อ) 2) เครือข่ายแบบวงแหวน (ring topology) เป็นการ เชื่อมแต่ละสถานีเข้าด้วยกันแบบวงแหวน สัญญาณข้อมูลจะส่งอยู่ใน วงแหวนไปในทิศทางเดียวกันจนถึงผู้รับ หากข้อมูลที่ส่งเป็นของ สถานีใด สถานีนั้นก็รับไว้ ถ้าไม่ใช่ก็ส่งต่อไป ซึ่งระบบเครือข่าย แบบวงแหวนนี้ สามารถรองรั บ จ านวนสถานี ไ ด้ เ ป็ น จ านวน มาก ข้อด้อยของเครือข่ายแบบวงแหวน คือ สถานีจะต้องรอจนถึง รอบของตนเองก่อนที่จะสามารถส่งข้อมูลได้
  • 16. รูปร่างเครือข่าย (ต่อ) 3) เครือข่ายแบบดาว (star topology) เป็นการเชื่อมต่อ สถานีในเครือข่าย โดยทุกสถานีจะต่อเข้ากับหน่วยสลับสาย กลา ง เช่ น ฮั บ (hub) หรื อ สวิ ต ซ์ (switch) ซึ่ ง ท าหน้ า ที่ เ ป็ น ศู น ย์ ก ลางของการเชื่ อ มต่ อ ระหว่ า งสถานี ต่ า งๆ ที่ ต้ อ งการ ติดต่อกัน ข้อดีของการเชื่อมต่อแบบดาว คือ ถ้าสถานีใดเสีย หรือ สายเชื่อมต่อระหว่างฮับ/สวิตซ์กับสถานีใดชารุด ก็จะไม่กระทบกับ การเชื่อมต่อของสถานีอื่น ดังนั้นการเชื่อมต่อแบบนี้จึงเป็นที่นิยมใช้ กันในปัจจุบัน
  • 18. รูปร่างเครือข่าย (ต่อ) 4) เครือข่ายแบบเมช (mesh topology) เป็นรูปแบบของ การเชื่อมต่อที่มีความนิยมมาก และมีประสิทธิภาพสูงเนื่องจากถ้ามี เส้นทางของการเชื่อมต่อคู่ใ ดคู่หนึ่ง ขาดจากกั น การติดต่อสื่อสาร ระหว่างคู่นั้นยังสามารถติดต่อได้โดยอุปกรณ์จัด เส้นทาง (router) จะ ทาการเชื่อมต่อเส้นทางใหม่ไปยังจุดหมายปลายทางอัตโนมัติ การ เชื่อมต่อแบบนี้มักนิยมสร้างบนเครือข่ายแบบไร้สาย