SlideShare a Scribd company logo
1 of 55
การสื่อ สารข้อ มูล และ
      เครือ ข่า ยคอมพิว เตอร์
ศิวพร ชุณหวิทยะธีระ
siwaphon@eau.ac.th
การสื่อ สารข้อ มูล และเครือ ข่า ย
              คอมพิว เตอร์
   การสือสารข้อมูล เป็นการส่งข้อมูลข่าวสารจาก
          ่
    ต้นทางไปยังปลายทางโดยผ่านช่องทางการสื่อสารทั้ง
    สื่อแบบที่ต้องใช้สายและไม่ใช้สายนอกจากนันยัง
                                             ้
    เกี่ยวข้องกับชนิดของสัญญาณ ประเภทของการส่ง
    สัญญาณข้อมูล วิธีการสือสารข้อมูล ทิศทางการ
                           ่
    สื่อสารข้อมูล อุปกรณ์แปลงสัญญาณ วิธีการแปลง
    สัญญาณ
   เครือข่ายคอมพิวเตอร์ เป็นการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์
    ตั้งแต่สองเครื่องขึ้นไป เพื่อติดต่อสือสารแลกเปลี่ยน
                                         ่
    ข้อมูลระหว่างกัน โดยทั่วไปจะประกอบด้วย ระบบ
ความรู้ท ั่ว ไปเกี่ย วกับ การ
            สื่อ สารข้อ มูล
 ก่อนที่จะมีการใช้คอมพิวเตอร์ การติดต่อสือสารเพื่อ
                                             ่
  ส่งข้อมูลและข่าวสารจะผ่านทางสือต่างๆ เช่น
                                      ่
  ไปรษณีย์ โทรศัพท์ วิทยุ หนังสือพิมพ์ วารสาร
  เป็นต้น สื่อเหล่านี้เป็นสื่อหลักในการติดต่อสือสารเป็น
                                               ่
  เวลานาน
 ยุคแรกการนำาคอมพิวเตอร์มาใช้งาน การทำางานทุก
  อย่างจะเป็นแบบรวมศูนย์ นั่นคือจะมีคอมพิวเตอร์ซึ่ง
  เป็นเครื่องหลักทำางานที่ศูนย์กลาง งานต่างๆจะต้องส่ง
  มาประมวลผลที่ศูนย์กลาง
 ยุคต่อมา พัฒนาเป็นระบบการประมวลผลทางไกล ซึ่ง
  จะประกอบด้วยเทอร์มินัลที่จะเชือมต่อกับคอมพิวเตอร์
                                    ่
ความรู้ท ั่ว ไปเกี่ย วกับ การ
         สื่อ สารข้อ มูล (ต่อ )
 เมื่อมีการนำาไมโครคอมพิวเตอร์มาใช้งาน ทำาให้เกิด
  การทำางานแบบกระจายศูนย์อย่างชัดเจนและแพร่
  หลายมากขึ้น ในขณะเดียวกันหากมีงานที่ซับซ้อน
  และไม่สามารถทำางานได้โดยไมโครคอมพิวเตอร์ก็
  สามารถที่จะประมวลผลภายใต้คอมพิวเตอร์ที่
  ศูนย์กลางได้ ซึ่งจะเห็นว่าการทำางานดังกล่าวเป็นรูป
  แบบการประมวลผลแบบกระจาย
 ในช่วงแรก จะทำางานเป็นเอกเทศโดยเป็นรูปแบบการ
  ทำางานแบบกระจายศูนย์ นันคือ ไม่มีการเชื่อมโยง
                             ่
  ถึงกัน จนกระทั่งเกิดระบบแลน การทำางานใดๆจะทำา
  โดยเจ้าของงานซึ่งเป็นต้นทางของข้อมูลเพื่อการ
ความหมายของการสื่อ สาร
          โทรคมนาคมและการสื่อ สาร
                  ข้อ มูล
   การสือ สารโทรคมนาคม
           ่
    (Telecommunication) หมายถึง การส่งผ่าน
    สัญญาณ หรือพลังงาน ซึ่งอาจจะเป็นข่าวสารหรือ
    ข้อมูลในรูปแบบต่างๆ ระหว่างผู้สงและผูรับที่อยู่ห่าง
                                    ่    ้
    ไกลกัน ในการส่งผ่านสัญญาณจะอาศัยช่องทางการ
    สื่อสารข้อมูล ซึ่งจะเป็นแบบใช้สายโดยใช้ลวดตัวนำา
    ฉนวน หรือแบบไม่ใช้สายโดยส่งสัญญาณผ่านชัน       ้
    บรรยากาศ เช่น การสือสารโดยการใช้โทรศัพท์
                            ่
    (tele+phone = การพูดระยะไกล) การแพร่ภาพ
    โทรทัศน์ (tele + vision = การดูระยะไกล)
ความหมายของการสือ สาร
                ่
โทรคมนาคมและการสือ สารข้อ มูล
                  ่
(ต่อ )
    การสือ สารข้อ มูล (Data
             ่
     communication) หมายถึง การส่งข้อมูล
     หรือข่าวสาร จากผู้สงต้นทางไปยังผู้รับปลาย
                         ่
     ทางที่อยู่ห่างไกล โดยผ่านช่องทางการสื่อสาร
     เพื่อเป็นสื่อกลางในการส่งข้อมูล ซึ่งอาจจะเป็น
     แบบใช้สาย หรือไม่ใช้สายก็ได้ ส่วนข้อมูลหรือ
     ข่าวสารนั้นอาจจะเป็นข้อความ เสียง ภาพ
     เคลื่อนไหว หรือข้อมูลที่เป็นมัลติมีเดียก็ได้ ดัง
     นั้นการสื่อสารข้อมูลจึงเป็นส่วนหนึ่งของการ
     สื่อสารโทรคมนาคม โดยเน้นการส่งผ่านข้อมูล
องค์ป ระกอบของการสื่อ สาร
               ข้อ มูล


   ผู้ส ่ง หรือ อุป กรณ์ส ง่
    ข้อ มูล (Sender)            •ข้อมูล
   ผู้ร ับ หรือ อุป กรณ์ร ับ   (Data)
    ข้อ มูล (Receiver)
                                • ข้อความ
   ข่า วสาร (Message)          (Text)
   ตัว กลาง (Medium)
                                • รูปภาพ
   โปรโตคอล (Protocol)         (Image)
ตัว อย่า งการสื่อ สารข้อ มูล
ปัจ จัย ที่ค วรคำา นึง ถึง ในการ
              เลือ กตัว กลาง
 อัตราเร็วในการส่งผ่านข้อมูล (Transmission
  Rate)
 ระยะทาง ระหว่างอุปกรณ์ที่ต้องการเชือมต่อ
                                       ่
 ค่าใช้จ่าย ซึ่งเป็นค่าใช้จ่ายในการติดตั้ง ค่าใช้จ่าย
  ประจำา และค่าบำารุงรักษา
 ความสะดวกในการติดตั้ง บางพื้นที่อาจเหมาะกับการ
  เดินสาย หรือบางพื้นที่อาจจะเหมาะกับสื่อแบบไร้สาย
 ความทนทานต่อสภาพแวดล้อม
 วิธที่ใช้ในการสือสาร เช่นการสื่อสารข้อมูลแบบ
     ี             ่
ชนิด ของสัญ ญาณที่ใ ช้ใ นการ
           สื่อ สารข้อ มูล
   สัญ ญาณอนาล็อ ก (Analog Signal)
    สัญญาณอนาล็อก คือ สัญญาณที่อยู่ในรูปแบบ
    ของคลื่น (Waveform) ที่มีความต่อเนื่องกัน
    (Continuous) มีการเปลี่ยนแปลงระดับของ
    สัญญาณขึ้น – ลงตามขนาดของสัญญาณ
    (Amplitude) และมีความถี่ (Frequency) ที่
    เรียกว่า Hertz (Hz) ตัวอย่างของสัญญาณ
    อนาล็อก เช่น เสียงพูด (Voice) กระแสไฟฟ้า
    สลับ เป็นต้น
ชนิด ของสัญ ญาณที่ใ ช้ใ นการ
สื่อ สารข้อ มูล (ต่อ )
   สัญ ญาณดิจ ิต อล (digital Signal)
    สัญญาณดิจิตอล หรือเรียกว่า “สัญญาณพัลซ์
    (Pulse Signal)” สัญญาณที่มีระบบของ
    สัญญาณเพียง 2 ระดับ คือ สูงและตำ่า การ
    เปลี่ยนระดับสัญญาณจะไม่มีความต่อเนืองกัน
                                        ่
    (Discrete) โดยปกติแล้วระดับสูงจะแทนด้วย
    ตัวเลข 1 และระดับตำ่าจะแทนด้วย 0
ชนิด ของสัญ ญาณที่ใ ช้ใ นการ
    สื่อ สารข้อ มูล (ต่อ )
 ในการส่งข้อมูลเป็นสัญญาณอนาล็อกนันเมื่อระยะ
                                         ้
  ทางในการส่งข้อมูลเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จะส่งผลให้
  พลังงานของสัญญาณอ่อนลงเรื่อย ๆ ดังนั้นในการส่ง
  สัญญาณอนาล็อกที่ระยะทางไกล ๆ จึงจำาเป็นต้องมี
  เครื่องขยายสัญญาณ (Amplifier) เพื่อเพิ่มพลังงาน
  ให้กับสัญญาณ แต่ข้อเสียของการใช้เครื่องขยาย
  สัญญาณคือจะทำาให้เกิดสัญญาณรบกวน (Noise)
  ดังนั้นจึงจำาเป็นต้องใช้วงจรกรองสัญญาณ (Filter)
  เพื่อกรองเอาสัญญาณรบกวนออก
 ส่วนสัญญาณดิจิตอลเมื่อเพิ่มระยะทางในการส่งขึ้นจะ
ประเภทของการรับ - ส่ง
            สัญ ญาณข้อ มูล
   แบบขนาน (Parallel
    Transmission)   • รับส่งข้อมูลครั้งละหลาย ๆ บิต

                         พร้อมกัน
                         • จำานวนของสายสื่อสารเท่ากับ
                         จำานวนบิตของข้อมูลที่ ต้องการส่ง
                         ไปแบบขนานกัน
                         • เสียค่าใช้จ่ายมากกว่าการรับส่ง
                         ข้อมูลแบบอนุกรม
                         •ไม่สามารถส่งไปในระยะทางที่
                         ไกล ๆ ได้เนื่องจากข้อมูลแต่ละบิต
ประเภทของการรับ - ส่ง
          สัญ ญาณข้อ มูล (ต่อ )
   แบบอนุก รม (Serial
    Transmission)      • รับส่งข้อมูลครั้งละ 1 บิตเรียง

                            ตามลำาดับกันไป
                            • ใช้สายสื่อสารเพียงเส้นเดียว
                            เท่านั้น
                            • สามารถส่งไปได้ในระยะทางที่
                            ไกล ๆ
                            • นิยมใช้ในการสื่อสารข้อมูล
                            ผ่านทางสายโทรศัพท์ เมาส์ และ
                            COM Port
ประเภทของการรับ - ส่ง
            สัญ ญาณข้อ มูล (ต่อ )
   Asynchronous Transmission
    เพิมบิตควบคุม Start Bit, Stop Bit และ Parity Bit เพือใช้
       ่                                                     ่
    แบ่งข้อมูลออกมาเป็น 1 ตัวอักขระ (1 Character) ความเร็ว
    ในการรับส่งข้อมูลจะช้า เนื่องจากต้องมีการเพิ่มทัง 3 บิตนั้น
                                                    ้
    ลงไปยังตัวอักขระทุกตัว พบการรับส่งข้อมูลแบบนีได้ใน้
    อุปกรณ์ทมีความเร็วในการรับส่งข้อมูลตำ่า เช่นโมเด็ม
              ี่
    คีย์บอร์ด เป็นต้น
   Synchronous Transmission
     เพิ่มไบต์ทเป็น Header Trailer และParity Bit ไว้ทส่วนหัว
                 ี่                                       ี่
    และท้ายของแพ็คเก็ตข้อมูลทำาให้สามารถรับ – ส่งข้อมูลได้
    เป็นจำานวนมาก ซึงการรับส่งข้อมูลนัน ทั้งฝั่งรับและฝั่งส่งจะ
                      ่                ้
ทิศ ทางของการสื่อ สารข้อ มูล
 แบบทิศ ทางเดีย ว (Simplex Transmission)
  ผูส่งสามารถส่งข้อมูลได้เพียงทางเดียวเท่านั้น ผูรับไม่
    ้                                            ้
  สามารถส่งข้อมูลตอบกลับมาได้ เช่น การกระจาย
  เสียงทางวิทยุและการแพร่ภาพทางโทรทัศน์ เป็นต้น
 แบบทางใดทางหนึง (Half-duplex
                      ่
  Transmission)
  แต่ละฝ่ายสามารถรับ – ส่งข้อมูลได้แต่จะไม่สามารถ
  ทำาได้ในเวลาเดียวกัน เช่น การใช้วิทยุสอสารของ
                                        ื่
  ตำารวจ กระดานสนทนา (Web board) อีเมล์ เป็นต้น
 แบบสองทิศ ทาง (Full-duplex Transmission)
ทิศ ทางของการสื่อ สารข้อ มูล
          (ต่อ )
ความรู้ท ั่ว ไปเกี่ย วกับ เครือ ข่า ย
               คอมพิว เตอร์
 ระบบเครือข่าย (Network) คือ กลุ่มของเทคโนโลยี
  (ประกอบด้วยฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ตัวกลาง และอื่นๆ)
  ที่สามารถเชือมโยงเครื่องคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกัน
               ่
  ทำาให้เครื่องคอมพิวเตอร์เหล่านันสามารถติดต่อ
                                 ้
  สื่อสารกัน และเปลี่ยนสารสนเทศระหว่างกัน และใช้
  แหล่งข้อมูลร่วมกันแบบเรียลไทม์ (real time)
 ในปัจจุบันองค์กรบางองค์กรใช้ระบบรวมศูนย์กลาง
  คือ ใช้เครื่องเมนเฟรมและเครื่องเทอร์มินัล แต่ใน
  ขณะเดียวกันระบบธุรกิจและโรงเรียนจำานวนมากได้
  เปลี่ยนจากระบบรวมศูนย์กลางเป็นระบบเครือข่าย
ประโยชน์ข องการใช้ร ะบบ
               เครือ ข่า ย
   การใช้ง านพร้อ มกัน
    ระบบเครือข่ายจะอนุญาตให้ผู้ใช้หลายๆ คนใช้โปรแกรม
    และข้อมูลต่างๆ ได้ในเวลาเดียวกัน
   การใช้อ ุป กรณ์ร อบข้า งร่ว มกัน
    ระบบเครือข่ายจะอนุญาตให้ผู้ใช้หลายๆ คน ใช้อุปกรณ์
    ต่างๆ ในเครือข่ายร่วมกันได้ เช่น เครื่องพิมพ์ เครื่องสแกน
    เนอร์ เป็นต้น
   การสือ สารส่ว นบุค คล
           ่
    ระบบเครือข่ายสามารถทำาให้ผู้ใช้ติดต่อสื่อสารกันได้ง่ายขึ้น
   การสำา รองข้อ มูล ทีง า ยขึ้น
                        ่ ่
ชนิด ของเครือ ข่า ยคอมพิว เตอร์
   เครือ ข่า ยระยะใกล้ห รือ เครือ ข่า ยแลน
    แลน คือระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในพื้น
    ที่ใกล้ๆ กัน เช่น ในแผนกเดียวกัน ใน
    สำานักงาน หรือตึกทำาการเดียวกัน โดยแต่ละ
    เครื่องสามารถติดต่อสือสารกันได้
                         ่
ชนิด ของเครือ ข่า ยคอมพิว เตอร์
                  (ต่อ )
   เครือข่ายแลนเป็นเครือข่ายสำาคัญที่ปรับเปลี่ยนการ
    ทำางานภายในสำานักงานให้เป็นระบบสำานักงาน
    อัตโนมัติ โดยการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และการ
    สื่อสารข้อมูลมาช่วยอำานวยความสะดวก ในการ
    ทำางานในสำานักงานด้านต่างๆ ได้แก่
    - การติดต่อสื่อสารภายในสำานักงาน เช่น การส่ง
    ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ระหว่างพนักงาน การนัด
    หมาย เป็นต้น
    - การใช้ทรัพยากรต่างๆ ร่วมกัน เช่น การใช้แฟ้ม
ชนิด ของเครือ ข่า ยคอมพิว เตอร์
                  (ต่อ )
   ชนิด ของเครือ ข่า ยแลน (แบ่งตามการจัดการทรัพยากร
    ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์)
     แบบลูกข่าย/แม่ข่าย (Client/Server)

      มีแม่ข่าย (Server) ซึ่งเป็นคอมพิวเตอร์ทมกจะใช้ควบคุม
                                             ี่ ั
      การทำางานในเครือข่ายเป็นผู้ให้บริการแก่คอมพิวเตอร์ลูก
      ข่าย (Client) ทีเชื่อมต่อในเครือข่ายแลน
                      ่
       - แบบแม่ข่ายกำาหนดหน้าทีเฉพาะ (Delicate Server)
                                  ่
       - แบบแม่ข่ายไม่กำาหนดหน้าทีเฉพาะ (Non delicate
                                    ่
      server)
     แบบเพียร์ทเพียร์ (Peer-to-Peer)
                  ู
ชนิด ของเครือ ข่า ยคอมพิว เตอร์
                  (ต่อ )
   เครือ ข่า ยระยะไกลหรือ เครือ ข่า ยแวน
    แวน คือ ระบบเครือข่ายแลนสองระบบเครือข่ายหรือ
    มากกว่าเชื่อมต่อกัน โดยส่วนมากจะครอบคลุมพื้นที่
    กว้าง ตัวอย่างเช่น บริษัทแห่งหนึ่งมีสำานักงานขนาด
    ใหญ่ และฝ่ายการผลิตตั้งอยู่ที่เมืองหนึ่ง ฝ่ายการ
    ตลาดตั้งอยู่อีกเมืองหนึ่ง แต่ละแผนกต้องมีการใช้
    ทรัพยากร ข้อมูล และโปรแกรม นอกจากนี้แต่ละ
    แผนกต้องการใช้ข้อมูลร่วมกับแผนกอื่นด้วย จึงต้องมี
    การระบบแวน
โครงสร้า งของเครือ ข่า ย
           คอมพิว เตอร์
   การเชือ มต่อ เครือ ข่า ยแบบบัส (Bus
            ่
    Network)
    ใช้สายสัญญาณต่อเชื่อม ซึ่งเรียกว่า “บัส
    (Bus)” เป็นทางเดินของข้อมูลร่วมกันระหว่าง
    เครื่องคอมพิวเตอร์โดยสัญญาณจะถูกกระจาย
    ไปตลอดทั้งเส้นทาง
โครงสร้า งของเครือ ข่า ย
            คอมพิว เตอร์ (ต่อ )
   ข้อ ดีข อง การเชือ มต่อ เครือ ข่า ยแบบบัส (Bus
                     ่
    Network)
     การใช้สายส่งข้อมูลจะใช้สายส่งข้อมูลร่วมกันทำาให้ใช้
      สายส่งข้อมูลได้อย่างงเต็มประสิทธิภาพช่วยลดค่าใช้จ่าย
      ในการติดตั้งและการบำารุง
     เครือข่ายแบบบัสมีโครงสร้างทีง่ายและมีความน่าเชื่อถือ
                                   ่
      เนืองจากใช้สายส่งข้อมูลเพียงเส้นเดียว
         ่
     การเพิ่มจุดใช้บริการใหม่เข้าไปในเครือข่ายสามารถทำาได้
      ง่าย เนื่องจากจุดใหม่จะใช้สายส่งข้อมูลทีมอยู่แล้วได้
                                              ่ ี
โครงสร้า งของเครือ ข่า ย
            คอมพิว เตอร์ (ต่อ )
   ข้อ เสีย ของการเชือ มต่อ เครือ ข่า ยแบบบัส (Bus
                      ่
    Network)
     การหาข้อผิดพลาดทำาได้ยาก เนืองจากในเครือข่ายจะ
                                        ่
     ไม่มศนย์กลางในการควบคุมอยู่ทจุดใดจุดหนึง ดังนันการ
           ี ู                            ี่      ่    ้
     ตรวจสอบข้อผิดพลาดจึงต้องทำาจากหลาย ๆ จุดในเครือ
     ข่าย
     ในกรณีทเกิดการเสียหายในสายส่งข้อมูล จะทำาให้ทง
                  ี่                                     ั้
     เครือข่ายไม่สามารถทำางานได้
     เมื่อมีผู้ใช้งานเพิมขึ้นอาจทำาให้เกิดการชนกันของข้อมูล
                         ่
     เมือมีการับส่งข้อมูล
        ่
โครงสร้า งของเครือ ข่า ย
            คอมพิว เตอร์ (ต่อ )
   การเชือ มต่อ เครือ ข่า ยแบบสตาร์ (Star
             ่
    Network)
    การเชือมต่อเครือข่ายแบบสตาร์ เป็นการเชื่อมต่อ
           ่
    เครื่องคอมพิวเตอร์ต่าง ๆ เข้าสูคอมพิวเตอร์ที่เป็น
                                   ่
    ศูนย์กลางโดยใช้ฮับ (Hub) หรือสวิตช์ (Switch)
    เป็นจุดเชื่อมต่อและจะเรียกคอมพิวเตอร์ที่เป็น
    ศูนย์กลางนั้นว่า “โฮสต์คอมพิวเตอร์ (Host
    Computer)”
โครงสร้า งของเครือ ข่า ย
         คอมพิว เตอร์ (ต่อ )
   ข้อ ดีข องการเชือ มต่อ เครือ ข่า ยแบบสตาร์
                       ่
    (Star Network)
      เครือข่ายแบบสตาร์จะมีโฮสต์คอมพิวเตอร์อยู่
       ที่จุดเดียวทำาให้ง่ายในการติดตั้งหรือจัดการ
       กับระบบ
      จุดใช้งาน 1 จุด ต่อกับสายส่งข้อมูล 1 เส้น
       เมื่อเกิดการเสียหายของจุดใช้งานใดในเครือ
       ข่ายจะไม่สงผลกระทบต่อการทำางานของจุด
                   ่
       อื่น ๆ
โครงสร้า งของเครือ ข่า ย
         คอมพิว เตอร์ (ต่อ )
   ข้อ เสีย ของการเชือ มต่อ เครือ ข่า ยแบบ
                         ่
    สตาร์ (Star Network)
     เนืองจากแต่ละจุดจะต่อโดยตรงกับโฮสต์
         ่
      คอมพิวเตอร์ ดังนันจึงต้องใช้สายส่งข้อมูล
                       ้
      จำานวนมากทำาให้ต้องเสียค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น
      ในการติดตั้งและบำารุงรักษา
     การเพิ่มจุดใหม่เข้าในระบบจะต้องเดินสาย
      จากโฮสต์คอมพิวเตอร์ออกมาส่งผลให้การ
      ขยายระบบทำาได้ยาก
โครงสร้า งของเครือ ข่า ย
           คอมพิว เตอร์ (ต่อ )
   การเชือ มต่อ เครือ ข่า ยแบบริง (Ring Network)
            ่
    การเชือมต่อเครือข่ายแบบริง มีการต่อเชื่อมกันเป็น
          ่
    วงแหวน (Ring Network) การรับส่งข้อมูลจะเป็น
    ไปในทิศทางเดียวกัน การติดต่อสื่อสารจะใช้ “โทเค็น
    (Token)” เป็นสื่อกลางในการติดต่อภายในเครือข่าย
โครงสร้า งของเครือ ข่า ย
            คอมพิว เตอร์ (ต่อ )
   ข้อ ดีข องการเชือ มต่อ เครือ ข่า ยแบบริง (Ring
                     ่
    Network)
     ใช้สายส่งข้อมูลน้อย ความยาวของสายส่งข้อมูล
      จะใกล้เคียงกับแบบบัส แต่จะน้อยกว่าแบบสตาร์
      ทำาให้เพิ่มความน่าเชือถือของการส่งข้อมูลได้มาก
                           ่
      ขึ้น
     เหมาะสำาหรับใช้กับเคเบิลเส้นใยแก้วนำาแสง
      เนื่องจากจะช่วยให้ส่งข้อมูลได้ด้วยความเร็วสูง
      ข้อมูลในวงแหวนจะเดินทางเดียว ในการส่งแต่ละ
โครงสร้า งของเครือ ข่า ย
           คอมพิว เตอร์ (ต่อ )
   ข้อ เสีย ของการเชือ มต่อ เครือ ข่า ยแบบริง (Ring
                          ่
    Network)
     การส่งข้อมูลบนวงแหวนจะต้องผ่านทุก ๆ จุดที่อยู่
      ในวงแหวน ดังนั้นหากมีจุดใดจุดหนึ่งเสียหาย ทั้ง
      เครือข่ายก็จะไม่สามารถติดต่อกันได้ จนกว่าจะนำา
      จุดที่เสียหายออกไป หรือแก้ไขให้ใช้งานได้
     ในการตรวจสอบข้อผิดพลาดอาจต้องทดสอบ
      ระหว่างจุดกับจุดถัดไป เพื่อหาดูว่าจุดใดเสียหาย
      ซึ่งเป็นเรื่องที่ยากและเสียเวลามาก
โครงสร้า งของเครือ ข่า ย
            คอมพิว เตอร์ (ต่อ )
 การเชือ มเครือ ข่า ยแบบผสม (Mesh Network)
        ่
 การเชือมต่อเครือข่ายแบบผสม เป็นเครือข่ายที่ไม่มีรูป
       ่
 แบบที่แน่นอน เครือข่ายแบบผสมนี้จะใช้การผสมรูป
 แบบการเชื่อมต่อหลาย ๆ แบบเข้าด้วยกัน เช่น ใช้
 เครือข่ายแบบบัสผสมกับเครือข่ายแบบสตาร์ เป็นต้น
โครงสร้า งของเครือ ข่า ย
           คอมพิว เตอร์ (ต่อ )
   การเชือ มต่อ เครือ ข่า ยแบบไร้ส าย (Wireless
            ่
    Network)
       เริ่มแรกนั้นสามารถรับส่งข้อมูลได้ 2 Mbps
    (Megabits per Second) จนพัฒนาให้สามารถส่ง
    ข้อมูลได้ 11 Mbps ด้วยราคาที่ถูกลง ทำาให้เครือ
    ข่ายไร้สายได้รับความนิยมมากขึ้น ซึ่งเครือข่ายไร้
    สายนี้จะใช้เทคโนโลยีที่สามารถส่งข้อมูลไปบน
    ความถี่ที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลาได้ ซึ่งเรียกว่า
    “Spread Spectrum” โดยข้อมูลที่แยกส่งออกไปนั้น
    จะประกอบกันเหมือนเดิมที่ ตัวรับสัญญาณ
โครงสร้า งของเครือ ข่า ย
         คอมพิว เตอร์ (ต่อ )
   การเชือ มต่อ เครือ ข่า ยแบบไร้ส าย
          ่
    (Wireless Network)
โครงสร้า งของเครือ ข่า ย
         คอมพิว เตอร์ (ต่อ )
   การเชือ มต่อ เครือ ข่า ยแบบไร้ส าย
          ่
    (Wireless Network)
อุป กรณ์เ ครือ ข่า ย (Network
                 Devices)
   อุป กรณ์ท วนสัญ ญาณ (Repeater)
    อุปกรณ์ทวนสัญญาณทำางานใน Layer ที่ 1 ของ
    OSI Model เป็นอุปกรณ์ที่ทำาหน้าที่รับสัญญาณ
    ดิจิตอลเข้ามาแล้วสร้างใหม่ (Regenerate) ให้เป็น
    เหมือนสัญญาณข้อมูลเดิมที่สงมาจากต้นทาง จากนั้น
                                ่
    ค่อยส่งต่อออกไปยังอุปกรณ์ตัวอื่น ทำาให้สามารถส่ง
    สัญญาณไปได้ไกลขึ้น โดยที่สัญญาณไม่สูญหาย
อุป กรณ์เ ครือ ข่า ย (Network
              Devices) (ต่อ )
   ฮับ (Hub)
    Hub ใช้ในการเชือมต่อคอมพิวเตอร์เข้ากับเครือข่าย
                     ่
    จะมี “พอร์ต (Port)” ใช้เชือมต่อระหว่าง Hub กับ
                               ่
    เครื่องคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์เครือข่ายตัวอื่น ๆ
    Hub จะทวนสัญญาณและส่งต่อข้อมูลนั้นออกไปที่
    เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่ออยู่กับ Hub
อุป กรณ์เ ครือ ข่า ย (Network
             Devices) (ต่อ )
   บริด จ์ (Bridge)
    บริดจ์ ทำางานใน Layer ที่ 2 ของ OSI Mode ใช้
    เชือมต่อ Segment ของเครือข่าย 2 Segment หรือ
       ่
    มากกว่าเข้าด้วยกัน โดยจะต้องเป็นเครือข่ายที่ใช้
    Data Link Protocol ตัวเดียวกัน และ Network
    Protocol ตัวเดียวกัน เช่น ต่อ Ethernet LAN (ใช้
    Topology แบบบัส และใช้โปรโตคอล Ethernet)
    2 Segment เข้าด้วยกัน
    Bridge สามารถกรองข้อมูลที่จะส่งต่อได้ โดยตรวจ
อุป กรณ์เ ครือ ข่า ย (Network
             Devices) (ต่อ )
   เราเตอร์ (Router)
    เราเตอร์ ทำางานใน Layer ที่ 3 ของ OSI Model ใช้
    เชือมต่อเครือข่าย 2 เครือข่ายหรือมากกว่าเข้าด้วย
       ่
    กัน โดยที่เครือข่ายนั้นจะต้องใช้ Network
    Protocol ตัวเดียวกัน แต่ใช้ Data Link Protocol
    ต่างกันได้ (ต่อ Ethernet LAN เข้ากับ Token LAN
    ได้) Router สามารถกรองข้อมูลได้เช่นเดียวกับ
    Bridge และสามารถหาเส้นทางในการส่งแพ็คเก็ต
    ข้อมูลไปยังเครื่องปลายทางได้สั้นที่สุดด้วย
OSI Model (Open Systems
     Interconnection Model)
   หน่วยงานกำาหนดมาตรฐานสากล หรือ ISO
    ระบุว่าควรแบ่งโปรโตคอลออกเป็น 7 เลเยอร์
    (Layer) และในแต่ละเลเยอร์ควรมีหน้าที่อะไร
    บ้าง ดังนั้นเมื่อบริษัทต่าง ๆ ได้ผลิตโปรโตคอล
    ใหม่ขึ้นมา ก็ออกแบบให้สอดคล้องกับ OSI
    Model นี้เพื่อให้สามารถติดต่อสือสารกับระบบ
                                      ่
    ของต่างบริษัทได้
OSI Model (Open Systems
     Interconnection Model) (ต่อ )
   Application Layer
    ประกอบไปด้วย Application
    Protocol ต่าง ๆ ทีมีผู้นิยมใช้งาน เช่น
                        ่
    E-mail, File Transfer เป็นต้น
   Presentation Layer
    จัดการเกี่ยวกับรูปแบบของข้อมูลโดย
    การแปลงข้อมูลให้อยูในรูปแบบทีเป็น
                          ่          ่
    มาตรฐานที่ทกเครื่องเข้าใจ
                  ุ
   Session Layer
    สร้างการเชื่อมต่อเชิงตรรกะระหว่าง
    เครื่องสองเครือง ทำาการ Synchronize
                    ่
    ข้อมูลเพื่อป้องกันปัญหาการเชื่อมต่อ
    หลุด
   Transport Layer
    ตัดข้อมูลออกเป็น segment ตรวจสอบ
    ความครบถ้วน ให้บริการเรื่องคุณภาพ
   Network layer
    แปลงข้อมูลเป็น packet และกำาหนด
    เส้นทาง
   Data Link Layer
    อธิบายการส่งข้อมูลไปบนสื่อกลาง เพิ่ม
โปรโตคอล (Protocol)
   โปรโตคอล คือ
    ระเบียบวิธีการ
    กฎ และข้อ
    กำาหนดต่าง ๆ
    ใน
    การติดต่อ
    สือสารรวมถึง
      ่
    มาตรฐานที่ใช้
    เพื่อให้สามารถ
    ส่งผ่านข้อมูล
โปรโตคอล (Protocol) (ต่อ )
   TCP/IP (Transmission Control
    Protocol/Internet Protocol)
    โปรโตคอลมาตรฐานที่ใช้ในการสื่อสารระหว่าง
    เครื่องคอมพิวเตอร์ที่แตกต่างกันใช้ระบบปฏิบัติ
    การที่ต่างกันและอยู่บนเครือข่ายที่ต่างกันให้
    สามารถสื่อสารกันผ่านทางเครือข่ายได้โดย
    TCP/IP จะประกอบไปด้วยโปรโคตอล 2 ตัว
    TCP (Transmission Control Protocol)
    และ IP (Internet Protocol)
โปรโตคอล (Protocol) (ต่อ )
 HTTP (Hyper Text Transfer Protocol)
  โปรโตคอลที่ใช้ในการส่งเว็บเพจ (Web Page) ที่อยู่
  บนเครื่องเซิร์ฟเวอร์มาให้เครื่องไคลเอ็นท์ที่ทำาการ
  ร้องขอไปทำาให้ผใช้งานสามารถท่องไปในเว็บไซต์
                    ู้
  ต่าง ๆ ทั่วโลกได้
 FTP (File Transfer Protocol )

  โปรโตคอลที่ใช้ในการส่งโอนไฟล์ข้อมูลผ่านเครือ
  ข่ายอินเตอร์โดยจะเรียกการโอนไฟล์จากเครื่อง
  เซิร์ฟเวอร์มาที่เคลื่อนไคลเอ็นท์ว่า “Download” และ
โปรโตคอล (Protocol) (ต่อ )
 SMTP (Simple Mail Transport
  Protocol)
  โปรโตคอลที่ใช้ในการส่ง E-mail ไปยัง
  Mailbox ที่จุดหมายปลายทาง
 POP3 (Post Office Protocol – 3)

  โปรโตคอลที่ใช้ในการดึง E-mail จาก
  Maibox ของผู้ให้บริการมาเก็บไว้ที่เครื่อง
  ตนเองเพื่อให้สะดวกต่อการจัดการับ E-Mail
การประยุก ต์ใ ช้เ ทคโนโลยีก าร
          สื่อ สารในธุร กิจ
   Videoconference
        เป็นการรวมเทคโนโลยี 2 อย่าง เข้าไว้ด้วยกัน
    นั่นคือ เทคโนโลยีวีดีโอและเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
    จุดประสงค์ของการใช้เทคโนโลยี
    Videoconference นั้นเพื่อสนับสนุนการประชุมทาง
    ไกลเป็นหลัก
        Videoconference เป็นเทคโนโลยีที่ต้องใช้
    อุปกรณ์ ได้แก่ เครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมการ์ดเสียง
    กล้องถ่ายวีดีโอขนาดเล็ก ไมโครโฟน ลำาโพง (หรือหู
การประยุก ต์ใ ช้เ ทคโนโลยีก าร
         สื่อ สารในธุร กิจ (ต่อ )
   Voice Mail
    Voice Mail เป็นเทคโนโลยีที่ทำาหน้าที่คล้ายกับ
    เครื่องตอบรับโทรศัพท์อัตโนมัติ โดยบันทึกเสียงของผู้
    พูดไว้ใน Voice Mailbox ของเครื่องคอมพิวเตอร์
    ด้วยสัญญาณดิจิตอล ภายใน Voice Mailbox นี้
    สามารถแบ่งเป็นโฟลเดอร์ย่อย ๆ ให้ผู้ใช้แต่ละคนได้
    ทำาให้สามารถเรียกข้อความขึ้นมาฟังตอบกลับหรือส่ง
    ต่อข้อความไปถึงผู้ใช้คนอื่น ๆ ได้และหากต้องการส่ง
    ข้อความไปถึงผู้รับพร้อมกันหลายคนก็สามารถทำาได้
การประยุก ต์ใ ช้เ ทคโนโลยีก าร
         สื่อ สารในธุร กิจ (ต่อ )
   Fax
    ข้อมูลอาจเป็นข้อความที่พิมพ์ขึ้นหรือเขียนขึ้นด้วยมือ
    และอาจจะมีรูปภาพด้วยก็ได้ ผูใช้สามารถเลือกใช้
                                 ้
    เครื่องแฟ็กซ์ หรือจะใช้คอมพิวเตอร์ที่มีการติดตั้ง
    แฟ็กซ์/โมเด็มเป็นอุปกรณ์สอสารก็ได้ ผู้ใช้สามารถดู
                              ื่
    ข้อความหรือรูปภาพผ่านทางหน้าจอได้ทันทีไม่จำาเป็น
    ต้องพิมพ์ออกมาเป็นเอกสาร นอกจากนียังเก็บข้อมูล
                                           ้
    ต่าง ๆ ไว้เป็นไฟล์ได้
การประยุก ต์ใ ช้เ ทคโนโลยีก าร
         สื่อ สารในธุร กิจ (ต่อ )
   Group Ware
    Group Ware คือ โปรแกรมที่ชวยสนับสนุนให้มีการ
                                  ่
    แบ่งปันสารสนเทศผ่านทางเครือข่าย (LAN และ
    WAN) โดย GroupWare เป็นองค์ประกอบของแนว
    ความคิดอิสระที่เรียกว่า “Workgroup
    Computing” ซึ่งประกอบไปด้วยฮาร์ดแวร์และ
    ซอฟต์แวร์ต่าง ๆ ของเครือข่ายซึ่งจะทำาให้ผู้ร่วมงาน
    ทุกคนสามารถสือสารถึงกัน และร่วมกันจัดการ
                    ่
    โครงการต่าง ๆ ร่วมประชุมตามหมายกำาหนดการ
การประยุก ต์ใ ช้เ ทคโนโลยีก าร
         สื่อ สารในธุร กิจ (ต่อ )
   Collaboration
    Collaboration เป็นความสามารถของซอฟต์แวร์
    แต่ละชนิดที่ทำาให้ผู้ใช้งานทำางานร่วมกันได้โดยต่อ
    เชือมถึงกันผ่าน Server เช่น โปรแกรม Microsoft
        ่
    Office XP ที่สามารถปฏิบติงานหรือติดต่องานร่วมกับ
                               ั
    ผูอื่นได้และมีความสามารถในการควบคุมการประชุม
      ้
    แบบออนไลน์ (Online Meeting) เช่น สามารถแบ่ง
    ปันไฟล์เอกสารให้กับผู้อื่นได้เปิดอ่านพร้อมกันและถ้า
    มีใครซักคนเปลี่ยนแปลงข้อมูลไฟล์คนอื่น ๆ ที่กำาลัง
การประยุก ต์ใ ช้เ ทคโนโลยีก าร
    สื่อ สารในธุร กิจ (ต่อ )
   EDI (Electronic Data Interchange)
    EDI คือ การแลกเปลี่ยนเอกสารทางธุรกิจ
    ระหว่างบริษัทคูคาในรูปแบบมาตรฐานสากล
                   ่ ้
    จากเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังเครื่อง
    คอมพิวเตอร์อีกเครื่องหนึ่ง โดยระบบ EDI จะมี
    องค์ประกอบที่สำาคัญอยู่ 2 อย่าง คือ การใช้
    เอกสารอิเล็กทรอนิกส์แทนเอกสารที่เป็นกระ
    ดาษและเอกสารอิเล็กทรอนิกส์เหล่านี้ต้องอยู่ใน
    รูปแบบมาตรฐานสากลด้วยสององค์ประกอบนี้
การประยุก ต์ใ ช้เ ทคโนโลยีก าร
         สื่อ สารในธุร กิจ (ต่อ )
   GPS (Global Positioning System)
       ระบบ GPS ประกอบไปด้วยเทคโนโลยีที่ใช้ตรวจ
    สอบตำาแหน่งที่ตั้งของ GPS Receiver (อุปกรณ์รับ
    สัญญาณ) ผ่านทางดาวเทียม
       ปัจจุบนนี้ได้มีผู้นำาระบบ GPS ไปประยุกต์ใช้
              ั
    มากมาย ตัวอย่างเช่น การป้องกันการโจรกรรม
    ทรัพย์สิน การนำาร่องเรือเดินสมุทร การควบคุมการบิน
    อัตโนมัติ เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีผนำาไปใช้ใน
                                     ู้
    โครงการวิจัยสัตว์ปา โดยฝัง GPS Receiver ไว้ที่ใน
                         ่
    ตัวสัตว์ (GPS Receiver จะถูกออกแบบและสร้างมา
การประยุก ต์ใ ช้เ ทคโนโลยีก าร
         สื่อ สารในธุร กิจ (ต่อ )
   อิน เตอร์เ น็ต (Internet)
    อินเตอร์เน็ต คือ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่
    มาก ซึ่งเกิดจากการเชือมเครือข่ายย่อย ๆ จำานวนมาก
                          ่
    เข้าไว้ด้วยกันทำาให้คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องทั่วโลกไม่
    ว่าจะเป็นชนิดใดหรือขนาดใดตาม สามารถส่งผ่าน
    และแลกเปลี่ยนข้อมูลและสารสนเทศซึ่งกันและกันได้
    โดยใช้โปรโตคอลเป็นสื่อกลางในการติดต่อสื่อสาร
    และแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างกันเหมือน
    เส้นใยแมงมุม หรือที่นิยมเรียกกันโดยทั่วไปว่า “เวิลด์
    ไวด์เว็บ (World Wide Web: WWW)”
การประยุก ต์ใ ช้เ ทคโนโลยีก าร
         สื่อ สารในธุร กิจ (ต่อ )
   ตัว อย่า งบริก ารบนอิน เตอร์เ น็ต (Internet)
     E-mail
     Telnet
     Gopher, Archie
     Instant Messaging, Chat Room
     Internet Telephony
     Newsgroup
     USENET

More Related Content

What's hot

การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)supatra2011
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8Nuttapat Sukcharoen
 
การสื่อสารและระบบเครือข่าย(Data communication and networking system)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย(Data communication and networking system)การสื่อสารและระบบเครือข่าย(Data communication and networking system)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย(Data communication and networking system)วิทยาลัยเทคนิคสุโขทัย
 
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5Aomsin Kittibullungkul
 
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์Krusine soyo
 
2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์Siratcha Wongkom
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์Mind's Am'i
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลMorn Suwanno
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์nipaporn333
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์Supicha Ploy
 
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ดุลยวัต วิไลพันธุ์
 
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์jzturbo
 
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูลบทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูลNattapon
 
Ch4 communication and network
Ch4 communication and networkCh4 communication and network
Ch4 communication and networkNittaya Intarat
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์Warayut Pakdee
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2Nattapon
 
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลการสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลBebearjang1
 
การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!Nattha Nganpakamongkhol
 

What's hot (20)

การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
 
การสื่อสารและระบบเครือข่าย(Data communication and networking system)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย(Data communication and networking system)การสื่อสารและระบบเครือข่าย(Data communication and networking system)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย(Data communication and networking system)
 
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5
 
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูลบทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
 
Ch4 communication and network
Ch4 communication and networkCh4 communication and network
Ch4 communication and network
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2
 
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลการสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
 
การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!
 

Viewers also liked

Effectiveness of business through SNS
Effectiveness of business through SNSEffectiveness of business through SNS
Effectiveness of business through SNSnickiwinston
 
年賀状/New Year's card
年賀状/New Year's card年賀状/New Year's card
年賀状/New Year's cardTanaka Toshiyuki
 
งานอาจารย์โบว์
งานอาจารย์โบว์งานอาจารย์โบว์
งานอาจารย์โบว์tippawanbay
 
ソーシャルゲストハウス
ソーシャルゲストハウスソーシャルゲストハウス
ソーシャルゲストハウスTanaka Toshiyuki
 
ภ ม ป_ญญาบางกอก
ภ ม ป_ญญาบางกอกภ ม ป_ญญาบางกอก
ภ ม ป_ญญาบางกอกProudd1
 
ภูมิปัญญาบางกอกห้องแปดกลุ่มสาม
ภูมิปัญญาบางกอกห้องแปดกลุ่มสามภูมิปัญญาบางกอกห้องแปดกลุ่มสาม
ภูมิปัญญาบางกอกห้องแปดกลุ่มสามProudd1
 
Taxiroot - How the solution works
Taxiroot - How the solution worksTaxiroot - How the solution works
Taxiroot - How the solution worksSarvinder Sandhu
 
SEJARAH MALAYSIA STPM : Wawasan 2020
SEJARAH MALAYSIA STPM : Wawasan 2020 SEJARAH MALAYSIA STPM : Wawasan 2020
SEJARAH MALAYSIA STPM : Wawasan 2020 Amer Hakimy
 
Pengajian Am Penggal 3- Nanoteknologi
Pengajian Am Penggal 3- NanoteknologiPengajian Am Penggal 3- Nanoteknologi
Pengajian Am Penggal 3- NanoteknologiAmer Hakimy
 
Resultados da auditoria ambiental 2015 2016 1º fase (1)
Resultados da auditoria ambiental 2015  2016 1º fase (1)Resultados da auditoria ambiental 2015  2016 1º fase (1)
Resultados da auditoria ambiental 2015 2016 1º fase (1)Áurea Oliveira Peneda Conde
 
Resultados da auditoria ambiental 2015 2016 2º fase-
Resultados da auditoria ambiental 2015  2016 2º fase- Resultados da auditoria ambiental 2015  2016 2º fase-
Resultados da auditoria ambiental 2015 2016 2º fase- Áurea Oliveira Peneda Conde
 
Hyundai global marketing strategy
Hyundai global marketing strategyHyundai global marketing strategy
Hyundai global marketing strategyJaeyeon Yoon
 
How to follow good manufacturing practices in food industry
How to follow good manufacturing practices in food industryHow to follow good manufacturing practices in food industry
How to follow good manufacturing practices in food industryRavi Damani
 

Viewers also liked (17)

Effectiveness of business through SNS
Effectiveness of business through SNSEffectiveness of business through SNS
Effectiveness of business through SNS
 
年賀状/New Year's card
年賀状/New Year's card年賀状/New Year's card
年賀状/New Year's card
 
งานอาจารย์โบว์
งานอาจารย์โบว์งานอาจารย์โบว์
งานอาจารย์โบว์
 
ソーシャルゲストハウス
ソーシャルゲストハウスソーシャルゲストハウス
ソーシャルゲストハウス
 
ภ ม ป_ญญาบางกอก
ภ ม ป_ญญาบางกอกภ ม ป_ญญาบางกอก
ภ ม ป_ญญาบางกอก
 
ภูมิปัญญาบางกอกห้องแปดกลุ่มสาม
ภูมิปัญญาบางกอกห้องแปดกลุ่มสามภูมิปัญญาบางกอกห้องแปดกลุ่มสาม
ภูมิปัญญาบางกอกห้องแปดกลุ่มสาม
 
Taxiroot - How the solution works
Taxiroot - How the solution worksTaxiroot - How the solution works
Taxiroot - How the solution works
 
SEJARAH MALAYSIA STPM : Wawasan 2020
SEJARAH MALAYSIA STPM : Wawasan 2020 SEJARAH MALAYSIA STPM : Wawasan 2020
SEJARAH MALAYSIA STPM : Wawasan 2020
 
Pengajian Am Penggal 3- Nanoteknologi
Pengajian Am Penggal 3- NanoteknologiPengajian Am Penggal 3- Nanoteknologi
Pengajian Am Penggal 3- Nanoteknologi
 
Resultados da auditoria ambiental 2015 2016 1º fase (1)
Resultados da auditoria ambiental 2015  2016 1º fase (1)Resultados da auditoria ambiental 2015  2016 1º fase (1)
Resultados da auditoria ambiental 2015 2016 1º fase (1)
 
Dia eco escolas
Dia eco escolasDia eco escolas
Dia eco escolas
 
Resultados da auditoria ambiental 2015 2016 2º fase-
Resultados da auditoria ambiental 2015  2016 2º fase- Resultados da auditoria ambiental 2015  2016 2º fase-
Resultados da auditoria ambiental 2015 2016 2º fase-
 
Sarau ecoesolas
Sarau ecoesolasSarau ecoesolas
Sarau ecoesolas
 
Ang sinaunang roma
Ang sinaunang romaAng sinaunang roma
Ang sinaunang roma
 
Hyundai global marketing strategy
Hyundai global marketing strategyHyundai global marketing strategy
Hyundai global marketing strategy
 
Eletro. domest vera soaraia
Eletro. domest vera soaraiaEletro. domest vera soaraia
Eletro. domest vera soaraia
 
How to follow good manufacturing practices in food industry
How to follow good manufacturing practices in food industryHow to follow good manufacturing practices in food industry
How to follow good manufacturing practices in food industry
 

Similar to Network

งานนำเสนอบทที่ 4
งานนำเสนอบทที่ 4งานนำเสนอบทที่ 4
งานนำเสนอบทที่ 4sawitri555
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลchukiat008
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลchukiat008
 
แม็พคอม
แม็พคอมแม็พคอม
แม็พคอมNattanaree
 
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายบทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายPokypoky Leonardo
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูล
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูลเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูล
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูลnamfonsatsin
 
ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1watnawong
 
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลMareeyalosocity
 
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ธีรภัฎ คำปู่
 
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ธีรภัฎ คำปู่
 
ใบความรู้หน่วยที่ 3
ใบความรู้หน่วยที่ 3 ใบความรู้หน่วยที่ 3
ใบความรู้หน่วยที่ 3 Ann Koklang
 
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์อยู่ไหน เหงา
 
ความหมายและความสำคัญของการสื่อสารข้อมูล
ความหมายและความสำคัญของการสื่อสารข้อมูลความหมายและความสำคัญของการสื่อสารข้อมูล
ความหมายและความสำคัญของการสื่อสารข้อมูลPinku Inthira
 

Similar to Network (20)

Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 
งานนำเสนอบทที่ 4
งานนำเสนอบทที่ 4งานนำเสนอบทที่ 4
งานนำเสนอบทที่ 4
 
Communication Concept 3
Communication Concept 3Communication Concept 3
Communication Concept 3
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
แม็พคอม
แม็พคอมแม็พคอม
แม็พคอม
 
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายบทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
 
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศหน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศหน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Datacom
DatacomDatacom
Datacom
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูล
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูลเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูล
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูล
 
ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1
 
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
 
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Chapter 1 com net basic
Chapter 1 com net basicChapter 1 com net basic
Chapter 1 com net basic
 
ใบความรู้หน่วยที่ 3
ใบความรู้หน่วยที่ 3 ใบความรู้หน่วยที่ 3
ใบความรู้หน่วยที่ 3
 
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
PPT WORK
PPT WORKPPT WORK
PPT WORK
 
ความหมายและความสำคัญของการสื่อสารข้อมูล
ความหมายและความสำคัญของการสื่อสารข้อมูลความหมายและความสำคัญของการสื่อสารข้อมูล
ความหมายและความสำคัญของการสื่อสารข้อมูล
 

Network

  • 1. การสื่อ สารข้อ มูล และ เครือ ข่า ยคอมพิว เตอร์ ศิวพร ชุณหวิทยะธีระ siwaphon@eau.ac.th
  • 2. การสื่อ สารข้อ มูล และเครือ ข่า ย คอมพิว เตอร์  การสือสารข้อมูล เป็นการส่งข้อมูลข่าวสารจาก ่ ต้นทางไปยังปลายทางโดยผ่านช่องทางการสื่อสารทั้ง สื่อแบบที่ต้องใช้สายและไม่ใช้สายนอกจากนันยัง ้ เกี่ยวข้องกับชนิดของสัญญาณ ประเภทของการส่ง สัญญาณข้อมูล วิธีการสือสารข้อมูล ทิศทางการ ่ สื่อสารข้อมูล อุปกรณ์แปลงสัญญาณ วิธีการแปลง สัญญาณ  เครือข่ายคอมพิวเตอร์ เป็นการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่สองเครื่องขึ้นไป เพื่อติดต่อสือสารแลกเปลี่ยน ่ ข้อมูลระหว่างกัน โดยทั่วไปจะประกอบด้วย ระบบ
  • 3. ความรู้ท ั่ว ไปเกี่ย วกับ การ สื่อ สารข้อ มูล  ก่อนที่จะมีการใช้คอมพิวเตอร์ การติดต่อสือสารเพื่อ ่ ส่งข้อมูลและข่าวสารจะผ่านทางสือต่างๆ เช่น ่ ไปรษณีย์ โทรศัพท์ วิทยุ หนังสือพิมพ์ วารสาร เป็นต้น สื่อเหล่านี้เป็นสื่อหลักในการติดต่อสือสารเป็น ่ เวลานาน  ยุคแรกการนำาคอมพิวเตอร์มาใช้งาน การทำางานทุก อย่างจะเป็นแบบรวมศูนย์ นั่นคือจะมีคอมพิวเตอร์ซึ่ง เป็นเครื่องหลักทำางานที่ศูนย์กลาง งานต่างๆจะต้องส่ง มาประมวลผลที่ศูนย์กลาง  ยุคต่อมา พัฒนาเป็นระบบการประมวลผลทางไกล ซึ่ง จะประกอบด้วยเทอร์มินัลที่จะเชือมต่อกับคอมพิวเตอร์ ่
  • 4. ความรู้ท ั่ว ไปเกี่ย วกับ การ สื่อ สารข้อ มูล (ต่อ )  เมื่อมีการนำาไมโครคอมพิวเตอร์มาใช้งาน ทำาให้เกิด การทำางานแบบกระจายศูนย์อย่างชัดเจนและแพร่ หลายมากขึ้น ในขณะเดียวกันหากมีงานที่ซับซ้อน และไม่สามารถทำางานได้โดยไมโครคอมพิวเตอร์ก็ สามารถที่จะประมวลผลภายใต้คอมพิวเตอร์ที่ ศูนย์กลางได้ ซึ่งจะเห็นว่าการทำางานดังกล่าวเป็นรูป แบบการประมวลผลแบบกระจาย  ในช่วงแรก จะทำางานเป็นเอกเทศโดยเป็นรูปแบบการ ทำางานแบบกระจายศูนย์ นันคือ ไม่มีการเชื่อมโยง ่ ถึงกัน จนกระทั่งเกิดระบบแลน การทำางานใดๆจะทำา โดยเจ้าของงานซึ่งเป็นต้นทางของข้อมูลเพื่อการ
  • 5. ความหมายของการสื่อ สาร โทรคมนาคมและการสื่อ สาร ข้อ มูล  การสือ สารโทรคมนาคม ่ (Telecommunication) หมายถึง การส่งผ่าน สัญญาณ หรือพลังงาน ซึ่งอาจจะเป็นข่าวสารหรือ ข้อมูลในรูปแบบต่างๆ ระหว่างผู้สงและผูรับที่อยู่ห่าง ่ ้ ไกลกัน ในการส่งผ่านสัญญาณจะอาศัยช่องทางการ สื่อสารข้อมูล ซึ่งจะเป็นแบบใช้สายโดยใช้ลวดตัวนำา ฉนวน หรือแบบไม่ใช้สายโดยส่งสัญญาณผ่านชัน ้ บรรยากาศ เช่น การสือสารโดยการใช้โทรศัพท์ ่ (tele+phone = การพูดระยะไกล) การแพร่ภาพ โทรทัศน์ (tele + vision = การดูระยะไกล)
  • 6. ความหมายของการสือ สาร ่ โทรคมนาคมและการสือ สารข้อ มูล ่ (ต่อ )  การสือ สารข้อ มูล (Data ่ communication) หมายถึง การส่งข้อมูล หรือข่าวสาร จากผู้สงต้นทางไปยังผู้รับปลาย ่ ทางที่อยู่ห่างไกล โดยผ่านช่องทางการสื่อสาร เพื่อเป็นสื่อกลางในการส่งข้อมูล ซึ่งอาจจะเป็น แบบใช้สาย หรือไม่ใช้สายก็ได้ ส่วนข้อมูลหรือ ข่าวสารนั้นอาจจะเป็นข้อความ เสียง ภาพ เคลื่อนไหว หรือข้อมูลที่เป็นมัลติมีเดียก็ได้ ดัง นั้นการสื่อสารข้อมูลจึงเป็นส่วนหนึ่งของการ สื่อสารโทรคมนาคม โดยเน้นการส่งผ่านข้อมูล
  • 7. องค์ป ระกอบของการสื่อ สาร ข้อ มูล  ผู้ส ่ง หรือ อุป กรณ์ส ง่ ข้อ มูล (Sender) •ข้อมูล  ผู้ร ับ หรือ อุป กรณ์ร ับ (Data) ข้อ มูล (Receiver) • ข้อความ  ข่า วสาร (Message) (Text)  ตัว กลาง (Medium) • รูปภาพ  โปรโตคอล (Protocol) (Image)
  • 8. ตัว อย่า งการสื่อ สารข้อ มูล
  • 9. ปัจ จัย ที่ค วรคำา นึง ถึง ในการ เลือ กตัว กลาง  อัตราเร็วในการส่งผ่านข้อมูล (Transmission Rate)  ระยะทาง ระหว่างอุปกรณ์ที่ต้องการเชือมต่อ ่  ค่าใช้จ่าย ซึ่งเป็นค่าใช้จ่ายในการติดตั้ง ค่าใช้จ่าย ประจำา และค่าบำารุงรักษา  ความสะดวกในการติดตั้ง บางพื้นที่อาจเหมาะกับการ เดินสาย หรือบางพื้นที่อาจจะเหมาะกับสื่อแบบไร้สาย  ความทนทานต่อสภาพแวดล้อม  วิธที่ใช้ในการสือสาร เช่นการสื่อสารข้อมูลแบบ ี ่
  • 10. ชนิด ของสัญ ญาณที่ใ ช้ใ นการ สื่อ สารข้อ มูล  สัญ ญาณอนาล็อ ก (Analog Signal) สัญญาณอนาล็อก คือ สัญญาณที่อยู่ในรูปแบบ ของคลื่น (Waveform) ที่มีความต่อเนื่องกัน (Continuous) มีการเปลี่ยนแปลงระดับของ สัญญาณขึ้น – ลงตามขนาดของสัญญาณ (Amplitude) และมีความถี่ (Frequency) ที่ เรียกว่า Hertz (Hz) ตัวอย่างของสัญญาณ อนาล็อก เช่น เสียงพูด (Voice) กระแสไฟฟ้า สลับ เป็นต้น
  • 11. ชนิด ของสัญ ญาณที่ใ ช้ใ นการ สื่อ สารข้อ มูล (ต่อ )  สัญ ญาณดิจ ิต อล (digital Signal) สัญญาณดิจิตอล หรือเรียกว่า “สัญญาณพัลซ์ (Pulse Signal)” สัญญาณที่มีระบบของ สัญญาณเพียง 2 ระดับ คือ สูงและตำ่า การ เปลี่ยนระดับสัญญาณจะไม่มีความต่อเนืองกัน ่ (Discrete) โดยปกติแล้วระดับสูงจะแทนด้วย ตัวเลข 1 และระดับตำ่าจะแทนด้วย 0
  • 12. ชนิด ของสัญ ญาณที่ใ ช้ใ นการ สื่อ สารข้อ มูล (ต่อ )  ในการส่งข้อมูลเป็นสัญญาณอนาล็อกนันเมื่อระยะ ้ ทางในการส่งข้อมูลเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จะส่งผลให้ พลังงานของสัญญาณอ่อนลงเรื่อย ๆ ดังนั้นในการส่ง สัญญาณอนาล็อกที่ระยะทางไกล ๆ จึงจำาเป็นต้องมี เครื่องขยายสัญญาณ (Amplifier) เพื่อเพิ่มพลังงาน ให้กับสัญญาณ แต่ข้อเสียของการใช้เครื่องขยาย สัญญาณคือจะทำาให้เกิดสัญญาณรบกวน (Noise) ดังนั้นจึงจำาเป็นต้องใช้วงจรกรองสัญญาณ (Filter) เพื่อกรองเอาสัญญาณรบกวนออก  ส่วนสัญญาณดิจิตอลเมื่อเพิ่มระยะทางในการส่งขึ้นจะ
  • 13. ประเภทของการรับ - ส่ง สัญ ญาณข้อ มูล  แบบขนาน (Parallel Transmission) • รับส่งข้อมูลครั้งละหลาย ๆ บิต พร้อมกัน • จำานวนของสายสื่อสารเท่ากับ จำานวนบิตของข้อมูลที่ ต้องการส่ง ไปแบบขนานกัน • เสียค่าใช้จ่ายมากกว่าการรับส่ง ข้อมูลแบบอนุกรม •ไม่สามารถส่งไปในระยะทางที่ ไกล ๆ ได้เนื่องจากข้อมูลแต่ละบิต
  • 14. ประเภทของการรับ - ส่ง สัญ ญาณข้อ มูล (ต่อ )  แบบอนุก รม (Serial Transmission) • รับส่งข้อมูลครั้งละ 1 บิตเรียง ตามลำาดับกันไป • ใช้สายสื่อสารเพียงเส้นเดียว เท่านั้น • สามารถส่งไปได้ในระยะทางที่ ไกล ๆ • นิยมใช้ในการสื่อสารข้อมูล ผ่านทางสายโทรศัพท์ เมาส์ และ COM Port
  • 15. ประเภทของการรับ - ส่ง สัญ ญาณข้อ มูล (ต่อ )  Asynchronous Transmission เพิมบิตควบคุม Start Bit, Stop Bit และ Parity Bit เพือใช้ ่ ่ แบ่งข้อมูลออกมาเป็น 1 ตัวอักขระ (1 Character) ความเร็ว ในการรับส่งข้อมูลจะช้า เนื่องจากต้องมีการเพิ่มทัง 3 บิตนั้น ้ ลงไปยังตัวอักขระทุกตัว พบการรับส่งข้อมูลแบบนีได้ใน้ อุปกรณ์ทมีความเร็วในการรับส่งข้อมูลตำ่า เช่นโมเด็ม ี่ คีย์บอร์ด เป็นต้น  Synchronous Transmission เพิ่มไบต์ทเป็น Header Trailer และParity Bit ไว้ทส่วนหัว ี่ ี่ และท้ายของแพ็คเก็ตข้อมูลทำาให้สามารถรับ – ส่งข้อมูลได้ เป็นจำานวนมาก ซึงการรับส่งข้อมูลนัน ทั้งฝั่งรับและฝั่งส่งจะ ่ ้
  • 16. ทิศ ทางของการสื่อ สารข้อ มูล  แบบทิศ ทางเดีย ว (Simplex Transmission) ผูส่งสามารถส่งข้อมูลได้เพียงทางเดียวเท่านั้น ผูรับไม่ ้ ้ สามารถส่งข้อมูลตอบกลับมาได้ เช่น การกระจาย เสียงทางวิทยุและการแพร่ภาพทางโทรทัศน์ เป็นต้น  แบบทางใดทางหนึง (Half-duplex ่ Transmission) แต่ละฝ่ายสามารถรับ – ส่งข้อมูลได้แต่จะไม่สามารถ ทำาได้ในเวลาเดียวกัน เช่น การใช้วิทยุสอสารของ ื่ ตำารวจ กระดานสนทนา (Web board) อีเมล์ เป็นต้น  แบบสองทิศ ทาง (Full-duplex Transmission)
  • 18. ความรู้ท ั่ว ไปเกี่ย วกับ เครือ ข่า ย คอมพิว เตอร์  ระบบเครือข่าย (Network) คือ กลุ่มของเทคโนโลยี (ประกอบด้วยฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ตัวกลาง และอื่นๆ) ที่สามารถเชือมโยงเครื่องคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกัน ่ ทำาให้เครื่องคอมพิวเตอร์เหล่านันสามารถติดต่อ ้ สื่อสารกัน และเปลี่ยนสารสนเทศระหว่างกัน และใช้ แหล่งข้อมูลร่วมกันแบบเรียลไทม์ (real time)  ในปัจจุบันองค์กรบางองค์กรใช้ระบบรวมศูนย์กลาง คือ ใช้เครื่องเมนเฟรมและเครื่องเทอร์มินัล แต่ใน ขณะเดียวกันระบบธุรกิจและโรงเรียนจำานวนมากได้ เปลี่ยนจากระบบรวมศูนย์กลางเป็นระบบเครือข่าย
  • 19. ประโยชน์ข องการใช้ร ะบบ เครือ ข่า ย  การใช้ง านพร้อ มกัน ระบบเครือข่ายจะอนุญาตให้ผู้ใช้หลายๆ คนใช้โปรแกรม และข้อมูลต่างๆ ได้ในเวลาเดียวกัน  การใช้อ ุป กรณ์ร อบข้า งร่ว มกัน ระบบเครือข่ายจะอนุญาตให้ผู้ใช้หลายๆ คน ใช้อุปกรณ์ ต่างๆ ในเครือข่ายร่วมกันได้ เช่น เครื่องพิมพ์ เครื่องสแกน เนอร์ เป็นต้น  การสือ สารส่ว นบุค คล ่ ระบบเครือข่ายสามารถทำาให้ผู้ใช้ติดต่อสื่อสารกันได้ง่ายขึ้น  การสำา รองข้อ มูล ทีง า ยขึ้น ่ ่
  • 20. ชนิด ของเครือ ข่า ยคอมพิว เตอร์  เครือ ข่า ยระยะใกล้ห รือ เครือ ข่า ยแลน แลน คือระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในพื้น ที่ใกล้ๆ กัน เช่น ในแผนกเดียวกัน ใน สำานักงาน หรือตึกทำาการเดียวกัน โดยแต่ละ เครื่องสามารถติดต่อสือสารกันได้ ่
  • 21. ชนิด ของเครือ ข่า ยคอมพิว เตอร์ (ต่อ )  เครือข่ายแลนเป็นเครือข่ายสำาคัญที่ปรับเปลี่ยนการ ทำางานภายในสำานักงานให้เป็นระบบสำานักงาน อัตโนมัติ โดยการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และการ สื่อสารข้อมูลมาช่วยอำานวยความสะดวก ในการ ทำางานในสำานักงานด้านต่างๆ ได้แก่ - การติดต่อสื่อสารภายในสำานักงาน เช่น การส่ง ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ระหว่างพนักงาน การนัด หมาย เป็นต้น - การใช้ทรัพยากรต่างๆ ร่วมกัน เช่น การใช้แฟ้ม
  • 22. ชนิด ของเครือ ข่า ยคอมพิว เตอร์ (ต่อ )  ชนิด ของเครือ ข่า ยแลน (แบ่งตามการจัดการทรัพยากร ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์)  แบบลูกข่าย/แม่ข่าย (Client/Server) มีแม่ข่าย (Server) ซึ่งเป็นคอมพิวเตอร์ทมกจะใช้ควบคุม ี่ ั การทำางานในเครือข่ายเป็นผู้ให้บริการแก่คอมพิวเตอร์ลูก ข่าย (Client) ทีเชื่อมต่อในเครือข่ายแลน ่ - แบบแม่ข่ายกำาหนดหน้าทีเฉพาะ (Delicate Server) ่ - แบบแม่ข่ายไม่กำาหนดหน้าทีเฉพาะ (Non delicate ่ server)  แบบเพียร์ทเพียร์ (Peer-to-Peer) ู
  • 23. ชนิด ของเครือ ข่า ยคอมพิว เตอร์ (ต่อ )  เครือ ข่า ยระยะไกลหรือ เครือ ข่า ยแวน แวน คือ ระบบเครือข่ายแลนสองระบบเครือข่ายหรือ มากกว่าเชื่อมต่อกัน โดยส่วนมากจะครอบคลุมพื้นที่ กว้าง ตัวอย่างเช่น บริษัทแห่งหนึ่งมีสำานักงานขนาด ใหญ่ และฝ่ายการผลิตตั้งอยู่ที่เมืองหนึ่ง ฝ่ายการ ตลาดตั้งอยู่อีกเมืองหนึ่ง แต่ละแผนกต้องมีการใช้ ทรัพยากร ข้อมูล และโปรแกรม นอกจากนี้แต่ละ แผนกต้องการใช้ข้อมูลร่วมกับแผนกอื่นด้วย จึงต้องมี การระบบแวน
  • 24. โครงสร้า งของเครือ ข่า ย คอมพิว เตอร์  การเชือ มต่อ เครือ ข่า ยแบบบัส (Bus ่ Network) ใช้สายสัญญาณต่อเชื่อม ซึ่งเรียกว่า “บัส (Bus)” เป็นทางเดินของข้อมูลร่วมกันระหว่าง เครื่องคอมพิวเตอร์โดยสัญญาณจะถูกกระจาย ไปตลอดทั้งเส้นทาง
  • 25. โครงสร้า งของเครือ ข่า ย คอมพิว เตอร์ (ต่อ )  ข้อ ดีข อง การเชือ มต่อ เครือ ข่า ยแบบบัส (Bus ่ Network)  การใช้สายส่งข้อมูลจะใช้สายส่งข้อมูลร่วมกันทำาให้ใช้ สายส่งข้อมูลได้อย่างงเต็มประสิทธิภาพช่วยลดค่าใช้จ่าย ในการติดตั้งและการบำารุง  เครือข่ายแบบบัสมีโครงสร้างทีง่ายและมีความน่าเชื่อถือ ่ เนืองจากใช้สายส่งข้อมูลเพียงเส้นเดียว ่  การเพิ่มจุดใช้บริการใหม่เข้าไปในเครือข่ายสามารถทำาได้ ง่าย เนื่องจากจุดใหม่จะใช้สายส่งข้อมูลทีมอยู่แล้วได้ ่ ี
  • 26. โครงสร้า งของเครือ ข่า ย คอมพิว เตอร์ (ต่อ )  ข้อ เสีย ของการเชือ มต่อ เครือ ข่า ยแบบบัส (Bus ่ Network)  การหาข้อผิดพลาดทำาได้ยาก เนืองจากในเครือข่ายจะ ่ ไม่มศนย์กลางในการควบคุมอยู่ทจุดใดจุดหนึง ดังนันการ ี ู ี่ ่ ้ ตรวจสอบข้อผิดพลาดจึงต้องทำาจากหลาย ๆ จุดในเครือ ข่าย  ในกรณีทเกิดการเสียหายในสายส่งข้อมูล จะทำาให้ทง ี่ ั้ เครือข่ายไม่สามารถทำางานได้  เมื่อมีผู้ใช้งานเพิมขึ้นอาจทำาให้เกิดการชนกันของข้อมูล ่ เมือมีการับส่งข้อมูล ่
  • 27. โครงสร้า งของเครือ ข่า ย คอมพิว เตอร์ (ต่อ )  การเชือ มต่อ เครือ ข่า ยแบบสตาร์ (Star ่ Network) การเชือมต่อเครือข่ายแบบสตาร์ เป็นการเชื่อมต่อ ่ เครื่องคอมพิวเตอร์ต่าง ๆ เข้าสูคอมพิวเตอร์ที่เป็น ่ ศูนย์กลางโดยใช้ฮับ (Hub) หรือสวิตช์ (Switch) เป็นจุดเชื่อมต่อและจะเรียกคอมพิวเตอร์ที่เป็น ศูนย์กลางนั้นว่า “โฮสต์คอมพิวเตอร์ (Host Computer)”
  • 28. โครงสร้า งของเครือ ข่า ย คอมพิว เตอร์ (ต่อ )  ข้อ ดีข องการเชือ มต่อ เครือ ข่า ยแบบสตาร์ ่ (Star Network)  เครือข่ายแบบสตาร์จะมีโฮสต์คอมพิวเตอร์อยู่ ที่จุดเดียวทำาให้ง่ายในการติดตั้งหรือจัดการ กับระบบ  จุดใช้งาน 1 จุด ต่อกับสายส่งข้อมูล 1 เส้น เมื่อเกิดการเสียหายของจุดใช้งานใดในเครือ ข่ายจะไม่สงผลกระทบต่อการทำางานของจุด ่ อื่น ๆ
  • 29. โครงสร้า งของเครือ ข่า ย คอมพิว เตอร์ (ต่อ )  ข้อ เสีย ของการเชือ มต่อ เครือ ข่า ยแบบ ่ สตาร์ (Star Network)  เนืองจากแต่ละจุดจะต่อโดยตรงกับโฮสต์ ่ คอมพิวเตอร์ ดังนันจึงต้องใช้สายส่งข้อมูล ้ จำานวนมากทำาให้ต้องเสียค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น ในการติดตั้งและบำารุงรักษา  การเพิ่มจุดใหม่เข้าในระบบจะต้องเดินสาย จากโฮสต์คอมพิวเตอร์ออกมาส่งผลให้การ ขยายระบบทำาได้ยาก
  • 30. โครงสร้า งของเครือ ข่า ย คอมพิว เตอร์ (ต่อ )  การเชือ มต่อ เครือ ข่า ยแบบริง (Ring Network) ่ การเชือมต่อเครือข่ายแบบริง มีการต่อเชื่อมกันเป็น ่ วงแหวน (Ring Network) การรับส่งข้อมูลจะเป็น ไปในทิศทางเดียวกัน การติดต่อสื่อสารจะใช้ “โทเค็น (Token)” เป็นสื่อกลางในการติดต่อภายในเครือข่าย
  • 31. โครงสร้า งของเครือ ข่า ย คอมพิว เตอร์ (ต่อ )  ข้อ ดีข องการเชือ มต่อ เครือ ข่า ยแบบริง (Ring ่ Network)  ใช้สายส่งข้อมูลน้อย ความยาวของสายส่งข้อมูล จะใกล้เคียงกับแบบบัส แต่จะน้อยกว่าแบบสตาร์ ทำาให้เพิ่มความน่าเชือถือของการส่งข้อมูลได้มาก ่ ขึ้น  เหมาะสำาหรับใช้กับเคเบิลเส้นใยแก้วนำาแสง เนื่องจากจะช่วยให้ส่งข้อมูลได้ด้วยความเร็วสูง ข้อมูลในวงแหวนจะเดินทางเดียว ในการส่งแต่ละ
  • 32. โครงสร้า งของเครือ ข่า ย คอมพิว เตอร์ (ต่อ )  ข้อ เสีย ของการเชือ มต่อ เครือ ข่า ยแบบริง (Ring ่ Network)  การส่งข้อมูลบนวงแหวนจะต้องผ่านทุก ๆ จุดที่อยู่ ในวงแหวน ดังนั้นหากมีจุดใดจุดหนึ่งเสียหาย ทั้ง เครือข่ายก็จะไม่สามารถติดต่อกันได้ จนกว่าจะนำา จุดที่เสียหายออกไป หรือแก้ไขให้ใช้งานได้  ในการตรวจสอบข้อผิดพลาดอาจต้องทดสอบ ระหว่างจุดกับจุดถัดไป เพื่อหาดูว่าจุดใดเสียหาย ซึ่งเป็นเรื่องที่ยากและเสียเวลามาก
  • 33. โครงสร้า งของเครือ ข่า ย คอมพิว เตอร์ (ต่อ )  การเชือ มเครือ ข่า ยแบบผสม (Mesh Network) ่ การเชือมต่อเครือข่ายแบบผสม เป็นเครือข่ายที่ไม่มีรูป ่ แบบที่แน่นอน เครือข่ายแบบผสมนี้จะใช้การผสมรูป แบบการเชื่อมต่อหลาย ๆ แบบเข้าด้วยกัน เช่น ใช้ เครือข่ายแบบบัสผสมกับเครือข่ายแบบสตาร์ เป็นต้น
  • 34. โครงสร้า งของเครือ ข่า ย คอมพิว เตอร์ (ต่อ )  การเชือ มต่อ เครือ ข่า ยแบบไร้ส าย (Wireless ่ Network) เริ่มแรกนั้นสามารถรับส่งข้อมูลได้ 2 Mbps (Megabits per Second) จนพัฒนาให้สามารถส่ง ข้อมูลได้ 11 Mbps ด้วยราคาที่ถูกลง ทำาให้เครือ ข่ายไร้สายได้รับความนิยมมากขึ้น ซึ่งเครือข่ายไร้ สายนี้จะใช้เทคโนโลยีที่สามารถส่งข้อมูลไปบน ความถี่ที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลาได้ ซึ่งเรียกว่า “Spread Spectrum” โดยข้อมูลที่แยกส่งออกไปนั้น จะประกอบกันเหมือนเดิมที่ ตัวรับสัญญาณ
  • 35. โครงสร้า งของเครือ ข่า ย คอมพิว เตอร์ (ต่อ )  การเชือ มต่อ เครือ ข่า ยแบบไร้ส าย ่ (Wireless Network)
  • 36. โครงสร้า งของเครือ ข่า ย คอมพิว เตอร์ (ต่อ )  การเชือ มต่อ เครือ ข่า ยแบบไร้ส าย ่ (Wireless Network)
  • 37. อุป กรณ์เ ครือ ข่า ย (Network Devices)  อุป กรณ์ท วนสัญ ญาณ (Repeater) อุปกรณ์ทวนสัญญาณทำางานใน Layer ที่ 1 ของ OSI Model เป็นอุปกรณ์ที่ทำาหน้าที่รับสัญญาณ ดิจิตอลเข้ามาแล้วสร้างใหม่ (Regenerate) ให้เป็น เหมือนสัญญาณข้อมูลเดิมที่สงมาจากต้นทาง จากนั้น ่ ค่อยส่งต่อออกไปยังอุปกรณ์ตัวอื่น ทำาให้สามารถส่ง สัญญาณไปได้ไกลขึ้น โดยที่สัญญาณไม่สูญหาย
  • 38. อุป กรณ์เ ครือ ข่า ย (Network Devices) (ต่อ )  ฮับ (Hub) Hub ใช้ในการเชือมต่อคอมพิวเตอร์เข้ากับเครือข่าย ่ จะมี “พอร์ต (Port)” ใช้เชือมต่อระหว่าง Hub กับ ่ เครื่องคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์เครือข่ายตัวอื่น ๆ Hub จะทวนสัญญาณและส่งต่อข้อมูลนั้นออกไปที่ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่ออยู่กับ Hub
  • 39. อุป กรณ์เ ครือ ข่า ย (Network Devices) (ต่อ )  บริด จ์ (Bridge) บริดจ์ ทำางานใน Layer ที่ 2 ของ OSI Mode ใช้ เชือมต่อ Segment ของเครือข่าย 2 Segment หรือ ่ มากกว่าเข้าด้วยกัน โดยจะต้องเป็นเครือข่ายที่ใช้ Data Link Protocol ตัวเดียวกัน และ Network Protocol ตัวเดียวกัน เช่น ต่อ Ethernet LAN (ใช้ Topology แบบบัส และใช้โปรโตคอล Ethernet) 2 Segment เข้าด้วยกัน Bridge สามารถกรองข้อมูลที่จะส่งต่อได้ โดยตรวจ
  • 40. อุป กรณ์เ ครือ ข่า ย (Network Devices) (ต่อ )  เราเตอร์ (Router) เราเตอร์ ทำางานใน Layer ที่ 3 ของ OSI Model ใช้ เชือมต่อเครือข่าย 2 เครือข่ายหรือมากกว่าเข้าด้วย ่ กัน โดยที่เครือข่ายนั้นจะต้องใช้ Network Protocol ตัวเดียวกัน แต่ใช้ Data Link Protocol ต่างกันได้ (ต่อ Ethernet LAN เข้ากับ Token LAN ได้) Router สามารถกรองข้อมูลได้เช่นเดียวกับ Bridge และสามารถหาเส้นทางในการส่งแพ็คเก็ต ข้อมูลไปยังเครื่องปลายทางได้สั้นที่สุดด้วย
  • 41. OSI Model (Open Systems Interconnection Model)  หน่วยงานกำาหนดมาตรฐานสากล หรือ ISO ระบุว่าควรแบ่งโปรโตคอลออกเป็น 7 เลเยอร์ (Layer) และในแต่ละเลเยอร์ควรมีหน้าที่อะไร บ้าง ดังนั้นเมื่อบริษัทต่าง ๆ ได้ผลิตโปรโตคอล ใหม่ขึ้นมา ก็ออกแบบให้สอดคล้องกับ OSI Model นี้เพื่อให้สามารถติดต่อสือสารกับระบบ ่ ของต่างบริษัทได้
  • 42. OSI Model (Open Systems Interconnection Model) (ต่อ )  Application Layer ประกอบไปด้วย Application Protocol ต่าง ๆ ทีมีผู้นิยมใช้งาน เช่น ่ E-mail, File Transfer เป็นต้น  Presentation Layer จัดการเกี่ยวกับรูปแบบของข้อมูลโดย การแปลงข้อมูลให้อยูในรูปแบบทีเป็น ่ ่ มาตรฐานที่ทกเครื่องเข้าใจ ุ  Session Layer สร้างการเชื่อมต่อเชิงตรรกะระหว่าง เครื่องสองเครือง ทำาการ Synchronize ่ ข้อมูลเพื่อป้องกันปัญหาการเชื่อมต่อ หลุด  Transport Layer ตัดข้อมูลออกเป็น segment ตรวจสอบ ความครบถ้วน ให้บริการเรื่องคุณภาพ  Network layer แปลงข้อมูลเป็น packet และกำาหนด เส้นทาง  Data Link Layer อธิบายการส่งข้อมูลไปบนสื่อกลาง เพิ่ม
  • 43. โปรโตคอล (Protocol)  โปรโตคอล คือ ระเบียบวิธีการ กฎ และข้อ กำาหนดต่าง ๆ ใน การติดต่อ สือสารรวมถึง ่ มาตรฐานที่ใช้ เพื่อให้สามารถ ส่งผ่านข้อมูล
  • 44. โปรโตคอล (Protocol) (ต่อ )  TCP/IP (Transmission Control Protocol/Internet Protocol) โปรโตคอลมาตรฐานที่ใช้ในการสื่อสารระหว่าง เครื่องคอมพิวเตอร์ที่แตกต่างกันใช้ระบบปฏิบัติ การที่ต่างกันและอยู่บนเครือข่ายที่ต่างกันให้ สามารถสื่อสารกันผ่านทางเครือข่ายได้โดย TCP/IP จะประกอบไปด้วยโปรโคตอล 2 ตัว TCP (Transmission Control Protocol) และ IP (Internet Protocol)
  • 45. โปรโตคอล (Protocol) (ต่อ )  HTTP (Hyper Text Transfer Protocol) โปรโตคอลที่ใช้ในการส่งเว็บเพจ (Web Page) ที่อยู่ บนเครื่องเซิร์ฟเวอร์มาให้เครื่องไคลเอ็นท์ที่ทำาการ ร้องขอไปทำาให้ผใช้งานสามารถท่องไปในเว็บไซต์ ู้ ต่าง ๆ ทั่วโลกได้  FTP (File Transfer Protocol ) โปรโตคอลที่ใช้ในการส่งโอนไฟล์ข้อมูลผ่านเครือ ข่ายอินเตอร์โดยจะเรียกการโอนไฟล์จากเครื่อง เซิร์ฟเวอร์มาที่เคลื่อนไคลเอ็นท์ว่า “Download” และ
  • 46. โปรโตคอล (Protocol) (ต่อ )  SMTP (Simple Mail Transport Protocol) โปรโตคอลที่ใช้ในการส่ง E-mail ไปยัง Mailbox ที่จุดหมายปลายทาง  POP3 (Post Office Protocol – 3) โปรโตคอลที่ใช้ในการดึง E-mail จาก Maibox ของผู้ให้บริการมาเก็บไว้ที่เครื่อง ตนเองเพื่อให้สะดวกต่อการจัดการับ E-Mail
  • 47. การประยุก ต์ใ ช้เ ทคโนโลยีก าร สื่อ สารในธุร กิจ  Videoconference เป็นการรวมเทคโนโลยี 2 อย่าง เข้าไว้ด้วยกัน นั่นคือ เทคโนโลยีวีดีโอและเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ จุดประสงค์ของการใช้เทคโนโลยี Videoconference นั้นเพื่อสนับสนุนการประชุมทาง ไกลเป็นหลัก Videoconference เป็นเทคโนโลยีที่ต้องใช้ อุปกรณ์ ได้แก่ เครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมการ์ดเสียง กล้องถ่ายวีดีโอขนาดเล็ก ไมโครโฟน ลำาโพง (หรือหู
  • 48. การประยุก ต์ใ ช้เ ทคโนโลยีก าร สื่อ สารในธุร กิจ (ต่อ )  Voice Mail Voice Mail เป็นเทคโนโลยีที่ทำาหน้าที่คล้ายกับ เครื่องตอบรับโทรศัพท์อัตโนมัติ โดยบันทึกเสียงของผู้ พูดไว้ใน Voice Mailbox ของเครื่องคอมพิวเตอร์ ด้วยสัญญาณดิจิตอล ภายใน Voice Mailbox นี้ สามารถแบ่งเป็นโฟลเดอร์ย่อย ๆ ให้ผู้ใช้แต่ละคนได้ ทำาให้สามารถเรียกข้อความขึ้นมาฟังตอบกลับหรือส่ง ต่อข้อความไปถึงผู้ใช้คนอื่น ๆ ได้และหากต้องการส่ง ข้อความไปถึงผู้รับพร้อมกันหลายคนก็สามารถทำาได้
  • 49. การประยุก ต์ใ ช้เ ทคโนโลยีก าร สื่อ สารในธุร กิจ (ต่อ )  Fax ข้อมูลอาจเป็นข้อความที่พิมพ์ขึ้นหรือเขียนขึ้นด้วยมือ และอาจจะมีรูปภาพด้วยก็ได้ ผูใช้สามารถเลือกใช้ ้ เครื่องแฟ็กซ์ หรือจะใช้คอมพิวเตอร์ที่มีการติดตั้ง แฟ็กซ์/โมเด็มเป็นอุปกรณ์สอสารก็ได้ ผู้ใช้สามารถดู ื่ ข้อความหรือรูปภาพผ่านทางหน้าจอได้ทันทีไม่จำาเป็น ต้องพิมพ์ออกมาเป็นเอกสาร นอกจากนียังเก็บข้อมูล ้ ต่าง ๆ ไว้เป็นไฟล์ได้
  • 50. การประยุก ต์ใ ช้เ ทคโนโลยีก าร สื่อ สารในธุร กิจ (ต่อ )  Group Ware Group Ware คือ โปรแกรมที่ชวยสนับสนุนให้มีการ ่ แบ่งปันสารสนเทศผ่านทางเครือข่าย (LAN และ WAN) โดย GroupWare เป็นองค์ประกอบของแนว ความคิดอิสระที่เรียกว่า “Workgroup Computing” ซึ่งประกอบไปด้วยฮาร์ดแวร์และ ซอฟต์แวร์ต่าง ๆ ของเครือข่ายซึ่งจะทำาให้ผู้ร่วมงาน ทุกคนสามารถสือสารถึงกัน และร่วมกันจัดการ ่ โครงการต่าง ๆ ร่วมประชุมตามหมายกำาหนดการ
  • 51. การประยุก ต์ใ ช้เ ทคโนโลยีก าร สื่อ สารในธุร กิจ (ต่อ )  Collaboration Collaboration เป็นความสามารถของซอฟต์แวร์ แต่ละชนิดที่ทำาให้ผู้ใช้งานทำางานร่วมกันได้โดยต่อ เชือมถึงกันผ่าน Server เช่น โปรแกรม Microsoft ่ Office XP ที่สามารถปฏิบติงานหรือติดต่องานร่วมกับ ั ผูอื่นได้และมีความสามารถในการควบคุมการประชุม ้ แบบออนไลน์ (Online Meeting) เช่น สามารถแบ่ง ปันไฟล์เอกสารให้กับผู้อื่นได้เปิดอ่านพร้อมกันและถ้า มีใครซักคนเปลี่ยนแปลงข้อมูลไฟล์คนอื่น ๆ ที่กำาลัง
  • 52. การประยุก ต์ใ ช้เ ทคโนโลยีก าร สื่อ สารในธุร กิจ (ต่อ )  EDI (Electronic Data Interchange) EDI คือ การแลกเปลี่ยนเอกสารทางธุรกิจ ระหว่างบริษัทคูคาในรูปแบบมาตรฐานสากล ่ ้ จากเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังเครื่อง คอมพิวเตอร์อีกเครื่องหนึ่ง โดยระบบ EDI จะมี องค์ประกอบที่สำาคัญอยู่ 2 อย่าง คือ การใช้ เอกสารอิเล็กทรอนิกส์แทนเอกสารที่เป็นกระ ดาษและเอกสารอิเล็กทรอนิกส์เหล่านี้ต้องอยู่ใน รูปแบบมาตรฐานสากลด้วยสององค์ประกอบนี้
  • 53. การประยุก ต์ใ ช้เ ทคโนโลยีก าร สื่อ สารในธุร กิจ (ต่อ )  GPS (Global Positioning System) ระบบ GPS ประกอบไปด้วยเทคโนโลยีที่ใช้ตรวจ สอบตำาแหน่งที่ตั้งของ GPS Receiver (อุปกรณ์รับ สัญญาณ) ผ่านทางดาวเทียม ปัจจุบนนี้ได้มีผู้นำาระบบ GPS ไปประยุกต์ใช้ ั มากมาย ตัวอย่างเช่น การป้องกันการโจรกรรม ทรัพย์สิน การนำาร่องเรือเดินสมุทร การควบคุมการบิน อัตโนมัติ เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีผนำาไปใช้ใน ู้ โครงการวิจัยสัตว์ปา โดยฝัง GPS Receiver ไว้ที่ใน ่ ตัวสัตว์ (GPS Receiver จะถูกออกแบบและสร้างมา
  • 54. การประยุก ต์ใ ช้เ ทคโนโลยีก าร สื่อ สารในธุร กิจ (ต่อ )  อิน เตอร์เ น็ต (Internet) อินเตอร์เน็ต คือ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ มาก ซึ่งเกิดจากการเชือมเครือข่ายย่อย ๆ จำานวนมาก ่ เข้าไว้ด้วยกันทำาให้คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องทั่วโลกไม่ ว่าจะเป็นชนิดใดหรือขนาดใดตาม สามารถส่งผ่าน และแลกเปลี่ยนข้อมูลและสารสนเทศซึ่งกันและกันได้ โดยใช้โปรโตคอลเป็นสื่อกลางในการติดต่อสื่อสาร และแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างกันเหมือน เส้นใยแมงมุม หรือที่นิยมเรียกกันโดยทั่วไปว่า “เวิลด์ ไวด์เว็บ (World Wide Web: WWW)”
  • 55. การประยุก ต์ใ ช้เ ทคโนโลยีก าร สื่อ สารในธุร กิจ (ต่อ )  ตัว อย่า งบริก ารบนอิน เตอร์เ น็ต (Internet)  E-mail  Telnet  Gopher, Archie  Instant Messaging, Chat Room  Internet Telephony  Newsgroup  USENET