SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับ
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เสนอ
คุณครู จิรายุ ทองดี
ความสาคัญของระบบการสื่อสารข้อมูลสาหรับ
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เป็นระบบที่ช่วยให้มนุษย์ทาการสื่อสารข้อมูลได้อย่างรวดเร็วขึ้น
ด้วยระบบการสื่อสารข้อมูลด้วยเครือข่ายคอมพิวเตอร์
มนุษย์สามารถทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพกว่าแต่ก่อนเมื่อนา
ระบบสื่อสารสาหรับคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้
เช่น คอมพิวเตอร์ 1 เครื่อง ต่อ 1 Printer หากใช้ระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ หากนาระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์มาใช้
คอมพิวเตอร์ 30 เครื่อง ก็สามารถใช้ printer เดียวกันได้เพียงแค่ 1
เครื่อง
ระบบการสื่อสาร
1. การสื่อสารข้อมูล (Data
Communications)
 กระบวนการถ่ายโอนหรือแลกเปลี่ยนข้อมูล
กันระหว่างผู้ส่งและผู้รับ โดยผ่านช่องทาง
สื่อสาร
 เช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หรือคอมพิวเตอร์
 โดยใช้เป็นตัวกลางในการส่งข้อมูลเพื่อให้ผู้ส่ง
และผู้รับเกิดความเข้าใจซึ่งกันและกัน
2. เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer
Network)
 ระบบที่มีคอมพิวเตอร์อย่างน้อยสองเครื่อง
เชื่อมต่อกันโดยใช้สื่อกลาง
 ทาให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องสามารถ
แลกเปลี่ยนข้อมูลซึ่งกันและ ได้และใช้
ทรัพยากรที่อยู่ในเครือข่ายร่วมกันได้
 เช่น การใช้ printer เพียงไม่กี่ตัว ต่อ
คอมพิวเตอร์หลายตัว
องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูล
 1. ข่าวสาร (message)ในทางเทคโนโลยีและการสื่อสาร ข่าวสารเป็นข้อมูลที่ผู้ส่งทาการส่งไปยังผู้รับ
ผ่านระบบการสื่อสาร
 2. ผู้ส่ง (sender) เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ส่งข้อมูลที่อยู่ต้นทาง โดยข้อมูลต้องถูกจัดเตรียมนาเข้าสู่
อุปกรณ์ส่งข้อมูล
 3. ผู้รับ (receiver) เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่รับข้อมูลจากอุปกรณ์ส่งข้อมูล เช่น printer คอมพิวเตอร์
 4. สื่อกลางหรือตัวกลาง (media) เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่นาข่าวสารรูปแบบต่างๆจากผู้ส่งไปยังผู้รับ
โดยจะนาโดยรูปแบบของสายหรืออากาศก็ได้
 5. โพรโตคอล (protocol) เป็นตัวกาหนดคุณลักษณะ กฎระเบียบ หรือวิธีการที่ใช้ในการสื่อสาร
เพื่อให้ผู้รับและผู้ส่งเข้าใจกัน และสามารถสื่อสารกันได้อย่างถูกต้อง
 6. ซอฟต์แวร์ (software) เป็นโปรแกรมสาหรับดาเนินการและควบคุมการส่งข้อมูลผ่าน
คอมพิวเตอร์เพื่อให้ได้ข้อมูลตามที่กาหนดไว้
สื่อกลางข้อมูล
 สื่อกลางทางกายภาพ (physical media) เป็นการเชื่อมโยงสถานีระหว่าง
ผู้รับและผู้ส่งข้อมูลโดยอาศัยสายสัญญาณเป็นสื่อกลางในระบบสื่อสาร
ข้อมูล
 สื่อกลางไร้สาย (wireless media) เป็น การเชื่อมต่อที่ไม่ต้องใช้สายสัญญาณ
เป็นสื่อกลางในการสื่อสารระหว่างผู้รับ และผู้ส่งข้อมูลแต่จะใช้อากาศเป็น
สื่อกลาง
สื่อกลางทางกายภาพ (physical
media)
1. twisted pair cable
2. coaxial cable
3. Fiber optic cable
สายตีเกลียวคู่ (twisted
pair cable หรือ TP)
ประกอบ ด้วยลวดทองแดงที่หุ้มด้วย
ฉนวนพลาสติกจานวน 4 คู่ แต่ละคู่พัน
เป็นเกลียว ซึ่ง 2 คู่จะใช้สาหรับช่อง
ทางการสื่อสาร 1 ช่องทาง สายตีเกลียว
คู่เป็นตัวกลางที่เป็นมาตรฐานใช้ส่ง
สัญญาณเสียงและข้อมูลได้ใน ระยะ
เวลานาน สายสัญญาณประเภทนี้นิยม
ใช้เป็นสายโทรศัพท์ (telephone line)
เพื่อส่งสัญญาณโทรศัพท์
สายโคแอกเชียล (coaxial
cable)
ประกอบ ด้วยสายทองแดงเพียง
เส้นเดียวเป็นแกนกลางหุ้มด้วย
ฉนวนพลาสติก สามารถส่งข้อมูล
ได้มากกว่าสายตีเกลียวคู่ประมาณ
80 เท่า ส่วนใหญ่จะใช้ในการส่ง
สัญญาณโทรทัศน์
สายใยแก้วนาแสง (fiber
optic cable)
ประกอบ ด้วยเส้นใยแก้วขนาดเล็กซึ่งหุ้มด้วย
ฉนวนหลายชั้นโดยกรส่งข้อมูลใช้หลักการ
สะท้อนของแสงผ่านหลอดแก้วขนาดเล็กทา
ให้สามารถส่งผ่านข้อมูลได้เร็วถึง 26,000 เท่า
ของสายตีเกลียวคู่ มีน้าหนักเบาและมีความ
น่าเชื่อถือในการส่งข้อมูลมากกว่าสายโคแอก
เชียล อีกทั้งการส่งข้อมูลยังใช้ลาแสงที่มี
ความเร็วเทียบเท่ากับความเร็วของแสง ทาให้
สามารถส่งข้อมูลได้จานวนมากเป็นระยะ
ทางไกลด้วยความเร็วสูง
สื่อกลางไร้สาย (wireless media)
1. Infrared
2. radio wave
3. Microwave
4. Satellite
อินฟราเรด (infrared)
เป็นการสื่อสารโดยใช้คลื่นแลงที่ไม่
สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า
สามารถส่งข้อมูลระยะไม่ไกล การส่ง
ข้อมูลด้วยคลื่นอินฟราเรดต้องส่งใน
แนวเส้นตรง และไม่สามารถมองทะลุ
สิ่งกีดขวางที่มีความหนาได้ นิยมใช้ใน
การถ่ายโอนข้อมูลสาหรับอุปกรณ์
พกพา
คลื่นวิทยุ(radio wave)
เป็นการสื่อสารโดยใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ชนิดหนึ่ง อุปกรณ์พิเศษนี้เรียกว่า เครื่องรับส่ง
(transceiver) ทา หน้าที่รับและส่งสัญญาณ
วิทยุจากอุปกรณ์ไร้สายต่างๆ
ปัจจุบันมีเทคโนโลยีไร้สายที่ใช้คลื่นวิทยุคือ
บลูทูธ (bluetooth)ซึ่ง เป็นการส่งสัญญาณ
โดยใช้คลื่นวิทยุระยะสั้น เหมาะสาหรับการ
ติดต่อสื่อสารในระยะไม่เกิน 33 ฟุต การส่ง
สัญญาณสามารถส่งผ่านสิ่งกีดขวางได้ทาให้
เทคโนโลยีบลูทูธได้รับความนิยมสูง จึงมีการ
นามาบรรจุไว้ในอุปกรณ์เทคโนโลยีสมัยใหม่
ไมโครเวฟ(microwave)
การสื่อสารโดยใช้คลื่นวิทยุความเร็วสูง
สามารถส่งสัญญาณเป็นทอดๆ จากสถานีหนึ่ง
ไปยังสถานีหนึ่งในแนวเส้นตรง ไม่สามารถ
โค้งหรือหักเลี้ยวได้สามารถรับส่งได้ใน
ระยะทางใกล้ๆ นิยมใช้ในการสื่อสารระหว่าง
อาคารที่อยู่ในเมืองเดียวกัน หรือวิทยาเขตของ
มหาวิทยาลัย สาหรับการสื่อสารระยะไกลๆ
ต้องใช้สถานีรับและขยายสัญญาณ ซึ่งมี
ลักษณะเป็นจานหรือเสาอากาศเพื่อรับส่ง
สัญญาณเป็นทอดๆ โดยติดตั้งบนพื้นที่สูงๆ
ดาวเทียม (satellite)
เป็นการพัฒนาดาวเทียมให้เป็นสถานี
ไมโครเวฟที่ลอยอยู่เหนือผิวโลกทา
หน้าที่ เป็นสถานีส่งและรับข้อมูล ถ้า
เป็นลักษณะการส่งจากภาคพื้นดินไป
ยังดาวเทียม เรียกว่า การเชื่อมโยงขึ้น
หรืออัปลิงค์ (uplink) ส่วนการรับข้อมูล
จากดาวเทียมสู่ภาคพื้นดิน เรียกว่า การ
เชื่อโยงลงหรือดาวน์ลิงค์ (downlink)
อาศัยการทางานของดาวเทียมเป็นหลัก
คือ ระบบจีพีเอส (Global Positioning
System : GPS)
วิธีการถ่ายโอนข้อมูล
 1. การถ่ายโอนข้อมูลแบบขนาน เป็นการส่งข้อมูลออกทีละ 1 ไบต์หรือ 8
บิต จากอุปกรณ์ส่งข้อมูลไปยังอุปกรณ์รับข้อมูล ดังนั้น สื่อกลางหรือ
สายสัญญาณระหว่างอุปกรณ์ส่งข้อมูลและอุปกรณ์รับข้อมูล จึงต้องมี
ช่องทางให้ข้อมูลเดินทางอย่างน้อย 8 ช่องทางขนานกัน เพื่อให้
สัญญาณไฟฟ้าผ่านไปได้และระยะทางของสายสัญญาณแบบขนานไม่ควร
ยาวเกิน 100 ฟุต เพราะอาจทาให้เกิดปัญหาสัญญาณสูญหายไป เนื่องจาก
ความต้านทานของสาย นอกจากนี้อาจมีปัญหาที่เกิดจากกระแสไฟฟ้าในสาย
ดินส่งคลื่นไปก่อกวนการทางาน ของอุปกรณ์ต่างๆ ทาให้ผู้รับได้รับ
สัญญาณที่ผิดพลาดได้
 2. การถ่ายโอนข้อมูลแบบอนุกรม เป็นการส่งข้อมูลออกทีละ 1 บิต ระหว่างอุปกรณ์ส่ง
ข้อมูลและอุปกรณ์รับข้อมูล ดังนั้น สื่อกลางหรือสายสัญญาณระหว่างอุปกรณ์ส่งข้อมูล
และอุปกรณ์รับข้อมูล จึงต้องมีช่องทางให้ข้อมูลเดินทางเพียง 1 ช่องทาง หรือสายตี
เกลียวคู่เพียงคู่เดียว ส่งผลให้มีค่าใช้จ่ายน้อยกว่าแบบขนานการถ่ายโอนข้อมูลแบบ
อนุกรมจะเริ่มด้วยข้อมูลจากอุปกรณ์ส่งข้อมูลจะถูก เปลี่ยนให้เป็นสัญญาณอนุกรม
เสียก่อน แล้วค่อยทยอยส่งออกทีละบิตไปยังอุปกรณ์รับข้อมูลและที่อุปกรณ์รับข้อมูลจะ
มี กลไกในการเปลี่ยนข้อมูลที่ส่งมาทีละบิต ให้เป็นสัญญาณแบบขนาน เช่น บิตที่ 1 ลงที่
บัสข้อมูลเส้นที่ 1 ดังแสดงในรูป เป็นต้น ความเร็วของการถ่ายโอนข้อมูลแบบอนุกรม มี
หน่วยวัดเป็นบิตต่อวินาที (bps)
แบ่งตามทิศทางในการรับและส่งข้อมูลได้ 3 แบบ ดังนี้
แบบสื่อสารทางเดียว
(simplex)
การติดต่อสื่อสารแบบกึ่งคู่ มีลักษณะ
การส่งข้อมูลได้สองทิศทางแบบสลับ
แต่ละสถานีสามารถทาหน้าที่ได้ทั้งรับ
และส่งข้อมูล แต่จะผลัดกันส่งและผลัก
กันรับ จะส่งและรับข้อมูลในเวลา
เดียวกันไม่ได้ เช่น วิทยุสื่อสารของ
ตารวจ วิทยุสื่อสารของระบบขนส่ง
การรับส่งโทรสาร (Fax) เป็นต้น
แบบสื่อสารสองทางครึ่ง
อัตรา (half duplex)
การติดต่อสื่อสารแบบกึ่งคู่ มีลักษณะ
การส่งข้อมูลได้สองทิศทางแบบสลับ
แต่ละสถานีสามารถทาหน้าที่ได้ทั้งรับ
และส่งข้อมูล แต่จะผลัดกันส่งและผลัก
กันรับ จะส่งและรับข้อมูลในเวลา
เดียวกันไม่ได้ เช่น วิทยุสื่อสารของ
ตารวจ วิทยุสื่อสารของระบบขนส่ง
การรับส่งโทรสาร (Fax) เป็นต้น
สื่อสารทางเต็มอัตรา (full
duplex)
การติดต่อสื่อสารแบบทางคู่มีลักษณะ
การส่งข้อมูลได้สองทิศทางพร้อมกัน
กล่าวคือ สามารถรับและส่งข้อมูลได้
พร้อมกันในเวลาเดียวกัน ทาให้การ
ทางานรวดเร็วขึ้น ไม่ต้องเสียเวลารอ
เช่น การสนทนาทางโทรศัพท์ การ
สนทนาอินเทอร์เน็ต
รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 1. การเชื่อมต่อแบบวงแหวน (ring topology) เป็นการเชื่อมต่อสายสัญญาณ
จากสถานีเชื่อมโยง (node)หนึ่ง ไปยังอีกสถานีเชื่อมโยงหนึ่ง โดยเครื่องหรือ
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์แต่ละตัวจะเชื่อมต่อกันทางด้านข้างทั้ง 2 ด้าน จนเกิด
เป็นวงกลมหรือลูป (loop)การส่งสัญญาณจะมีการรับและส่งข้อมูลต่อกันไป
ในทิศทางเดียวกัน จนกระทั่งถึงสถานีปลายทาง จากนั้น สถานีปลายทางจะ
ส่งสัญญาณตอบรับว่าได้รับข้อมูลเรียบร้อยแล้ว
รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2. การเชื่อมต่อแบบบัส (bus topology) เป็น การใช้ช่องทางการ
สื่อสารร่วมกันโดยเครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งหมดในเครือข่าย จะ
เชื่อมต่อเข้ากับสายหลักเพียงเส้นเดียว เรียกว่าสาย แบ็กโบน
(backbone)
รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 3. การเชื่อมต่อแบบดาว (star topology) เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อเครื่อง
คอมพิวเตอร์แต่ละตัวเข้ากับจุดศูนย์กลางของเครือข่าย โดยใช้อุปกรณ์ที่
เรียกว่า ฮับ (hub) หรือ สวิตช์ (switch)
รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 4. การเชื่อมต่อแบบผสม (hybrid topology) เป็น การผสมผสานรูปแบบการ
เชื่อมต่อแบบต่างๆเข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นการเชื่อมต่อแบบวงแหวน การ
เชื่อมต่อแบบบัส หรือ การเชื่อมต่อแบบดาว โดยออกแบบให้เหมาะสมกับ
สภาพแวดล้อมที่เกิดขึ้นจริง
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
1. LAN (Local Area Network)
2. MAN (Metropolitan Area Network)
3. WAN (Wide Area Network)
LAN (Local Area Network)
: ระบบเครือข่ายระดับท้องถิ่น
เป็นระบบเครือข่ายที่ใช้งานอยู่ในบริเวณที่ไม่
กว้างนัก อาจใช้อยู่ภายในอาคารเดียวกันหรือ
อาคารที่อยู่ใกล้กัน เช่น ภายในมหาวิทยาลัย
อาคารสานักงาน คลังสินค้า หรือโรงงาน เป็น
ต้น การส่งข้อมูลสามารถทาได้ด้วยความเร็ว
สูง และมีข้อผิดพลาดน้อย ระบบเครือข่าย
ระดับท้องถิ่นจึงถูกออกแบบมาให้ช่วยลด
ต้นทุนและเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการ
ทางาน และใช้งานอุปกรณ์ต่าง ๆ ร่วมกัน
MAN (Metropolitan
Area Network) : ระบบ
เครือข่ายระดับเมือง
มีขนาดอยู่ระหว่าง Lan และ Wan เป็น
ระบบเครือข่ายที่ใช้ภายในเมืองหรือ
จังหวัดเท่านั้น การเชื่อมโยงจะต้อง
อาศัยระบบบริการเครือข่ายสาธารณะ
จึงเป็นเครือข่ายที่ใช้กับองค์การที่มี
สาขาห่างไกลและต้องการเชื่อมสาขา
เหล่านั้นเข้าด้วยกัน ความเร็วในการ
สื่อสารไม่สูง เนื่องจากมีสัญญาณ
รบกวนในสาย
WAN (Wide Area Network) :
ระบบเครือข่ายระดับประเทศ
หรือเครือข่ายบริเวณกว้าง
เป็นระบบเครือข่ายที่ติดตั้งใช้งานอยู่ใน
บริเวณกว้าง เช่น ระบบเครือข่ายที่
ติดตั้งใช้งานทั่วโลก เป็นเครือข่ายที่
เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ที่อยู่
ห่างไกลกันเข้าด้วยกัน อาจจะต้องเป็น
การติดต่อสื่อสารกันในระดับประเทศ
ข้ามทวีปหรือทั่วโลกก็ได้ มีอัตราการ
ส่งข้อมูลที่ต่าและมีโอกาสเกิด
ข้อผิดพลาด การส่งข้อมูลอาจใช้
อุปกรณ์ในการสื่อสาร เช่น โมเด็ม
(Modem) มาช่วย
อุปกรณ์ที่สาคัญในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
1. Bridge
2. Router
3. HUB
4. Client
5. Server
บริดจ์ (Bridge)
เป็นอุปกรณ์ที่มักจะใช้ในการเชื่อมต่อวงแลน
(LAN Segments) เข้าด้วยกันทาให้สามารถ
ขยายขอบเขตของ LAN ออก ไปได้เรื่อยๆ
โดยที่ประสิทธิภาพรวมของระบบ ไม่ลดลง
มากนัก เนื่องจากการติดต่อของเครื่องที่อยู่ใน
เซกเมนต์เดียวกันจะไม่ถูกส่งผ่านไปรบกวน
การจราจรของเซกเมนต์อื่น และเนื่องจาก
บริดจ์เป็นอุปกรณ์ที่ทางานอยู่ในระดับ Data
Link Layer จึงทาให้สามารถใช้ในการ
เชื่อมต่อเครือข่ายที่แตกต่างกันในระดับ
Physical และ Data Link ได้เช่น ระหว่าง
Eternetกับ TokenRing เป็นต้น
เราท์เตอร์ (Router)
เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ในเลเยอร์ที่ 3 เราท์
เตอร์จะอ่านที่อยู่(Address) ของสถานี
ปลายทางที่ส่วนหัว (Header) ข้อแพ็กเก็ต
ข้อมูล เพื่อที่จะกาหนดและส่งแพ็กเก็ตต่อไป
เราท์เตอร์จะมีตัวจัดเส้นทางในแพ็กเก็ต
เรียกว่า เราติ้งเทเบิ์ล (Routing Table) หรือ
ตารางจัดเส้นทางนอกจากนี้ยังส่งข้อมูลไปยัง
เครือข่ายที่ให้โพรโทคอลต่างกันได้เช่น IP
(InternetProtocol) , IPX (InternetPackage
Exchange) และ AppleTalk นอกจากนี้ยัง
เชื่อมต่อกับเครือข่ายอื่นได้เช่น เครือข่าย
อินเทอร์เน็ต
ฮับ (HUB)
หรือเรียก รีพีทเตอร์ (Repeater) คือ
อุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อกลุ่มคอมพิวเตอร์
ฮับ มีหน้าที่รับส่งเฟรมข้อมูลทุกเฟรมที่
ได้รับจากพอร์ตใดพอร์ตหนึ่ง ไปยัง
พอร์ตที่เหลือ คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อ
เข้ากับฮับจะแชร์แบนด์วิธีหรืออัตรา
ข้อมูลของเครือข่าย เพราะฉะนั้นถ้ามี
คอมพิวเตอร์เชื่อมต่อมากจะทาให้อัตรา
การส่งข้อมูลลดลง
ไคลเอนต์ (Client)
ไคลเอนต์(Client) หรือ เรียกอีก
อย่างหนึ่งว่า เครื่องลูกข่าย เป็น
คอมพิวเตอร์ในเครือข่ายที่ร้องขอ
บริการและเข้าถึงไฟล์ข้อมูลที่
จัดเก็บในเซิร์ฟเวอร์ หรือพูดง่าย ๆ
ก็คือ ไคลเอนต์เป็นคอมพิวเตอร์
ของผู้ใช้แต่ละคนในระบบ
เครือข่าย
เซิร์ฟเวอร์ (Server)
เซิร์ฟเวอร์ (Server)หรือ เรียกอีกอย่าง
หนึ่งว่า เครื่องแม่ข่าย เป็นเครื่อง
คอมพิวเตอร์หลักในเครือข่ายที่ทา
หน้าที่จัดเก็บและให้บริการไฟล์ข้อมูล
และทรัพยากรอื่นๆ กับคอมพิวเตอร์
เครื่องอื่น ๆ ใน เครือข่าย โดยปกติ
คอมพิวเตอร์ที่นามาใช้เป็นเซิร์ฟเวอร์
มักจะเป็นเครื่องที่มีสมรรถนะ สูง และ
มีฮาร์ดดิกส์ความจาสูงกว่าคอมพิวเตอร์
เครื่องอื่น ๆ ในเครือข่าย
The End …
SUBMITTED BY. . .
นาย สธรรดร สุภาจารุวงศ์ เลขที่ 18 ชั้น ม.5/6
นาย กฤตชัย นะวะมี เลขที่ 19 ชั้น ม.5/6
นาย อลีฟ มะยีแต เลขที่ 20 ชั้น ม.5/6
นาย นครินทร์ ศรีสุข เลขที่ 21 ชั้น ม.5/6

More Related Content

What's hot

การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5Aomsin Kittibullungkul
 
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์Krusine soyo
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลMorn Suwanno
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1Morn Suwanno
 
2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์Siratcha Wongkom
 
การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!Nattha Nganpakamongkhol
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and networkkamol
 
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์jzturbo
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
หน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายหน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
หน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายTa Khanittha
 
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายสื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายNote Narudaj
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and networkNidzy Krajangpat
 
ระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายMorn Suwanno
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์Warayut Pakdee
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2อรยา ม่วงมนตรี
 
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูลบทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูลNattapon
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3Nattapon
 
งานนำเสนอบทที่3
งานนำเสนอบทที่3งานนำเสนอบทที่3
งานนำเสนอบทที่3sawitri555
 

What's hot (20)

การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5
 
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
 
2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
หน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายหน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
หน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
 
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายสื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 
ระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่าย
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
 
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูลบทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3
 
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอบทที่3
งานนำเสนอบทที่3งานนำเสนอบทที่3
งานนำเสนอบทที่3
 

Similar to ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์

ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์nipaporn333
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเคลือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเคลือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเคลือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเคลือข่ายคอมพิวเตอร์wutichai koedklang
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลchukiat008
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลchukiat008
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูล
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูลเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูล
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูลnamfonsatsin
 
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ธีรภัฎ คำปู่
 
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ธีรภัฎ คำปู่
 
งานนำเสนอบทที่ 4
งานนำเสนอบทที่ 4งานนำเสนอบทที่ 4
งานนำเสนอบทที่ 4sawitri555
 
งานนำเสนอบทที่4
งานนำเสนอบทที่4งานนำเสนอบทที่4
งานนำเสนอบทที่4amphaiboon
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลleelawadeerattakul99
 
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสารบทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสารBeauso English
 

Similar to ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (20)

Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเคลือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเคลือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเคลือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเคลือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูล
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูลเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูล
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูล
 
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศหน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอบทที่ 4
งานนำเสนอบทที่ 4งานนำเสนอบทที่ 4
งานนำเสนอบทที่ 4
 
งานนำเสนอบทที่4
งานนำเสนอบทที่4งานนำเสนอบทที่4
งานนำเสนอบทที่4
 
Computerkamolaporn
ComputerkamolapornComputerkamolaporn
Computerkamolaporn
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
it-09-05
it-09-05it-09-05
it-09-05
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสารบทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
 
Computer(powerpoint)
Computer(powerpoint)Computer(powerpoint)
Computer(powerpoint)
 
pw
pwpw
pw
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 

ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์