SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
รายวิชา เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดาริ

             ศึกษาโครงการตามแนวพระราชดาริ
             ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบน




จัดทาโดย

               นางสมปอง สาชนะสุพิน

               รหัสนักศึกษา 54120804103

                สาขาวิชา เทคโนโลยีการสื่อสาร รุ่นที่ 4
รายงานนี้นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษา รายวิชา เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดาริ

                          สอนโดย ผศ.ดร.ลือชัย พรหมรัตน์รักษ์



                                         คานา


           การศึกษาโครงการการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดาริเป็นโครงการหนึ่งในโครงการ
พัฒนาในด้านต่างๆ ที่กระจายกันอยู่ทั่วประเทศไทย อันเกิดจากแนวพระราชดาริของ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในอันที่จะทาให้เกิดการพัฒนาอาชีพ และเพื่อการกินดี อยู่ดีของ
ราษฎร โดยมีหน่วยงานเข้าร่วมโครงการ เพื่อปฏิบัติงานสนองแนวพระราชดาริของพระองค์ท่านที่
ได้ทรงพระราชทานแนวทางในการพัฒนาไว้ 4 ประการ และปัจจุบันได้ขยายขีดความสามารถ
ในการพัฒนาให้บริการแก่ราษฎรทั้งในพื้นที่โครงการและพื้นที่ใกล้เคียงด้วย
           รายงานฉบับนี้เป็นการรวบรวม ผลการดาเนินงานของหน่วยงานต่างๆ ในโครงการฯ
ซึ่งมีภารกิจตามบทบาทหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมายจากหน่วยงานต้นสังกัด ที่ตอบสนองวัตถุประสงค์
ของโครงการอ่าวคุ้งกระเบน อันเนื่องมาจากพระราชดาริโดยใช้งบประมาณจากโครงการของแต่
ละหน่วยงานต้นสังกัด อีกทั้งเป็นการต่อยอด ขยายผล การให้บริการแก่เกษตรได้อีกหลายจังหวัด
ตามบทบาทหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
         การรายงานในครั้งนี้ จะนาเสนอผลการปฏิบัติงาน ของแต่ละหน่วยงานให้เห็นภาพ
ของแต่ละหน่วยงาน และได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่างๆ เป็นอย่างดียิ่ง และ
ขอขอบพระคุณทุกหน่วยงานและทุกๆ ท่าน ที่ร่วมแรงร่วมใจในการปฏิบัติภารกิจ ตลอดจน
การนาเสนอผลงานในเล่มนี้จึงขอขอบพระคุณทุกท่านเป็นอย่างสูง




                                                           ผู้จัดทา
สารบัญ

              เรื่อง                            หน้า

ความเป็นมาของโครงการอ่าวคุ้งกระเบน                1
วัตถุประสงค์                                      1
การดาเนินงานอันเนื่องมาจากพระราชดาริ              2
พื้นที่ดาเนินการ                                  2
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง                             2
การจัดการทรัพยากรชายฝั่ง                          3
แนวคิดทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง                          4
วิเคราะห์การใช้และการสื่อสาร                      4
การประชาสัมพันธ์                                  6
เอกสารอ้างอิง                                     7
ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบน
อันเนื่องมาจากพระราชดาริ
                                      จังหวัดจันทบุรี




                                                                                                         1

                                        ศูนย์ศึกษาการพัฒนา
                                            อ่าวคุ้งกระเบน

ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบน อันเนื่องมาจากพระราชดาริ ได้ก่อตั้งตามพระราชดาริ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเมื่อปี พ.ศ. 2524 เพื่อให้เป็นศูนย์ศึกษาเกี่ยวกับการพัฒนาในเขตพื้น
ที่ดินชายทะเล
            ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนฯ ได้ดาเนินการศึกษาพัฒนาอาชีพตลอดจน การ
จัดการทรัพยากรชายฝั่ง ให้เกิดความสมดุลต่อระบบนิเวศวิทยาเพื่อป้องกันผลกระทบต่อการประกอบ
อาชีพของราษฎร การดาเนินงาน ดังกล่าวของศูนย์ฯ คุ้งกระเบนประสบความสาเร็จเรื่อยมาเป็นลาดับ
และเป็นที่ยอมรับของราษฎรบริเวณพื้นที่โครงการนาไปปฏิบัติ "..ศูนย์ศึกษาการพัฒนา ซึ่งหมายความ
ว่าเป็นศูนย์หรือแหล่งที่รวมการศึกษาเพื่อดูว่าทาอย่างไรจะพัฒนาได้ผล.."
            "..ศูนย์ศึกษาฯ ไม่ใช่วิทยาลัย ไม่ใช่โรงเรียน แต่เป็นสถานที่แห่งหนึ่งที่คนทุกระดับสามารถที่
จะมาดู.."
"..ทุกหน้าที่ สามารถดูในแห่งเดียวกัน วิชาการที่จะพัฒนาในสาขาต่างๆ ของวิชาการอันนี้ก็
เท่ากับเป็นเหมือนพิพิธภัณฑ์ที่จะมาดูอะไร มีวิชาการใดที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา นอกจากนี้ก็ไปดู
ศูนย์ศึกษา ไปพักผ่อนหย่อนใจก็ได้เพราะ ว่าทางานมาเครียด ก็ไปเที่ยวศูนย์ศึกษาฯ เหมือนไปเที่ยว
สวนสาธารณะก็ได้.." พระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 26 สิงหาคม 2531
วัตถุประสงค์
        1. ศึกษารูปแบบการจัดการทรัพยากรชายฝั่งอย่างยั่งยืน
        2. เป็นศูนย์กลางในการอบรมเผยแพร่ ผลการศึกษาการจัดการทรัพยากรชายฝั่ง ให้แก่ส่วน
ราชการและภาคเอกชนทั่วไป
        3. ยกระดับฐานะความเป็นอยู่ อาชีพของราษฎรบริเวณอ่าวคุ้งกระเบน และพื้นที่ใกล้เคียง
โดยมุ่งเน้นพัฒนาช่วยเหลือราษฎรที่มีฐานะยากจน
        4. พัฒนาด้านการประมงและการเพาะเลี้ยงสัตว์น้า เพื่อเพิ่มผลผลิตของประเทศ ตลอดจน
พัฒนากิจกรรมอื่นๆ แบบบูรณาการควบคู่ไปด้วย
        5. อนุรักษ์สภาพแวดล้อมและดุลยภาพทางธรรมชาติให้คงลักษณะของพื้นที่ไว้
        6. ส่งเสริมสนับสนุนและพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงพัฒนา
แนวทางการดาเนินงานของศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบน อันเนื่องมาจากพระราชดาริ
ปี พ.ศ.2547-2549
        1. แผนศึกษาและพัฒนาการประมงและเพาะเลี้ยงสัตว์น้าชายฝั่ง
        2. แผนศึกษาและพัฒนาการเกษตร                                                              2
        3. แผนศึกษาและพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
        4. แผนศึกษาและพัฒนาเศรษฐกิจสังคมและคุณภาพชีวิต
        5. แผนงานบริการและถ่ายทอดเทคโนโลยี
        6. แผนงานท่องเที่ยวเชิงพัฒนา
        7. แผนงานบริหารและการจัดการ


พื้นที่ดาเนินงาน
พื้นที่ดาเนินงานและพื้นที่ขยายผลศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนฯ ครอบคลุม 33
หมู่บ้านในตาบลคลองขุด, ตาบลราพัน, ตาบลโขมง อาเภอท่าใหม่ และ ตาบลสนามไชย, ตาบล
กระแจะอาเภอนายายอาม จังหวัดจันทบุรี มีพื้นที่ประมาณ 71,025 ไร่ โดยมีรายละเอียดดังนี้...
1.พื้นที่ศูนย์กลาง
          บริเวณอ่าวคุ้งกระเบน และพื้นที่โดยรอบ ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ ประมาณ 4,000 ไร่
การดาเนินกิจกรรมจะเป็นการผสมผสาน ระหว่างป่าไม้และประมง
2.พื้นที่รอบนอก (สีเขียว)
          ได้แก่พื้นที่ตาบลคลองขุด ตาบลราพันอาเภอท่าใหม่ และ ตาบลสนามไชย ตาบล
กระแจะ อาเภอนายายอาม ซึ่งเป็นทั้งเขตเกษตรกรรม และเขตหมู่บ้านประมงตลอดแนวชายฝั่ง มี
พื้นที่ประมาณ 57,025 ไร่ การดาเนินกิจกรรมมุ่งเน้นการส่งเสริมการเกษตรแบบบูรณาการ
3.พื้นที่ขยายผล (สีเหลือง )
          ได้แก่ พื้นที่ ตาบลราพัน ตาบลโขมง ตาบลเสม็ดโพธิ์ศรี อาเภอท่าใหม่ และพื้นที่ใกล้เคียง
ศูนย์ฯ มีพื้นที่ประมาณ 10,000 ไร่ เป็นการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพที่ประสบความสาเร็จ ในศูนย์ฯ
สู่พื้นที่โดยรอบ
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ชื่อเรื่อง / ผู้วิจัย
-ปัญหาพิเศษ เรื่อง นิเวศน์วิทยาของประชาคมสัตว์หน้าดินขนาดใหญ่ในแนวหญ้าทะเลชนิด
Halodule pinitolia บริเวณอ่าวคุ้งกระเบน จังหวัดจันทบุรี โดย บรรดิศักดิ์ ทิพย์กุล และเสาวภา
วชิราภิรักษ์
-ปัญหาพิเศษ เรื่อง ความหลากหลายของชนิดสัตว์ทะเลหนาดินขนาดใหญ่ บริเวณอ่าวคุ้งกระเบน
จังหวัดจันทบุรี โดย วิวัฒน์ สุขสวัสดิ์
-ปัญหาพิเศษ เรื่อง อนุกรมวิธานของปูในครอบครัว Ocypodidae และครอบครัว Grapsidae ในป่า
ชายเลนอ่าวคุ้งกระเบน จังหวัดจันทบุรีโดย นิตยา พุสดี
-นิเวศวิทยาของไส้เดือนทะเลที่สัมพันธ์กับภาวะสารอินทรีย์ปริมาณสูง ในอ่าวคุ้งกระเบน ประเทศไทย      3
โดย บารุงศักดิ์ ฉัตรอนันทเวช
-ปัญหาพิเศษ เรื่อง การศึกษาความพึงพอใจของเกษตรกร อาเภอท่าใหม่ ที่มีต่อปุ๋ยชีวภาพ
โดย สามารถ จันมนตรี และสุรัตน์ ดิษฐเชาวลิต
การจัดการทรัพยากรชายฝั่ง
          1. จัดสรรพื้นที่เสื่อมโทรมหลังป่าชายเลน จานวน 728 ไร่ สาหรับ 113 ครัวเรือน เข้า
ประกอบอาชีพการเลี้ยงกุ้งกุลาดา
          2. ส่งเสริมให้ราษฎรที่เข้าร่วมโครงการเลี้ยงกุ้งกลาดาป้องกันมลภาวะ และรักษา
สิ่งแวดล้อม โดยการสร้างบ่อเก็บตะกอนเลน และปลูกป่าชายเลนหลังแปลงนากุ้งของตนเอง ตลอดจน
การให้บริการวิชาการด้านคลีนิคโรคสัตว์น้าและการวิเคราะห์คุณภาพน้าและดิน
           3.อนุรักษ์ป่าชายเลนที่สมบูรณ์จานวน 1,200 ไร่ รอบอ่าวคุ้งกระเบน และป่าบกบนเขา
ต่างๆ ให้คงอยู่และอุดมสมบูรณ์ตลอดไป โดยการให้ความรู้แก่ราษฎรในโครงการฯ พร้อมทั้ง
ศึกษาวิจัยระบบนิเวศน์ป่าไม้และออกตรวจตราปราบปราม จัดสร้างสะพานทางเดินศึกษาธรรมชาติ
ป่าชายเลนอ่าวคุ้งกระเบนยาวประมาณ 1,790 เมตร ลดเลี้ยวเข้าไปในป่าชายเลน เพื่อเผยแพร่ความรู้
ทางด้านระบบนิเวศวิทยาป่าชายเลนในรูปแบบ“พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติที่มีชีวิต" แก่นักเรียน นักศึกษา
และผู้สนใจทั่วไป
          4. ฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้ ด้านการปลูกป่าชายเลนเพิ่มเติมทุกปี รวมพื้นที่ปลูกป่าชายเลน
บริเวณอ่าวคุ้งกระเบนและหลังแปลงนากุ้ง ประมาณ 512 ไร่ เพื่อเป็นแหล่งศึกษาด้านนิเวศน์ป่าชาย
เลนแก่ผู้สนใจและมุ่งหวังให้ป่าชายเลน ได้ดูดใช้ธาตุอาหารที่เกิดจากกิจกรรมการเลี้ยงกุ้งกุลาดาของ
โครงการ
          5. อนุรักษ์และจัดการหญ้าทะเลที่มีอยู่ในอ่าวคุ้งกระเบน ให้อุดมสมบูรณ์ตลอดไป
เพื่อเป็นแหล่งอนุบาลสัตว์ทะเลวัยอ่อนและวัยรุ่น อีกทั้งยังเป็นแหล่งที่ใช้ธาตุอาหารต่างๆ
ที่เกิดจากกิจกรรมการเลี้ยงกุ้งกุลาดาของโครงการฯ
          6. สร้างแปลงพ่อแม่พันธุ์หอยนางรมในอ่าวคุ้งกระเบนเพื่อให้เกิดการแพร่ขยายพันธุ์ลูกหอย
ปริมาณหอยที่เพิ่มขึ้นจะบริโภคแพลงตอนที่เกิดจากธาตุอาหารอันอุดมสมบูรณ์ของกิจกรรมการเลี้ยง
กุ้งกลาดา ทาให้แพลงตอนที่อยู่ในแหล่งน้าของอ่าวคุ้งกระเบนมีปริมาณลดลงนอกจากนี้ราษฎรยัง
สามารถเก็บลูกหอยที่เกิดขึ้นไปเลี้ยงก่อให้เกิดอาชีพเสริมรายได้และป้องกันการเกิดมลภาวะในเรื่อง
ปริมาณแพลงตอนที่มีมากเกินไปอีกด้วย
          7.ส่งเสริมให้ราษฎรเลี้ยงหอยนางรมแบบแขวนตามบริเวณคลองน้าทิ้ง จากบ่อเลี้ยงกุ้ง
กุลาดา ซึ่งหอยนางรมที่เลี้ยงจะเจริญเติบโตได้ดีและใช้แพลงตอนที่มาจากบ่อเลี้ยงกุ้งเป็นอาหารได้
อย่างดี ทาให้ปริมาณแพลงตอนลดลง ก่อนที่น้าทิ้งจะไหลลงสู่อ่าวคุ้งกระเบน
8. เพาะพันธุ์สัตว์น้าชายฝั่ง 4 ชนิด คือ กุ้งแชบ๊วย กุ้งกุลาดา ปลากะพงขาว และปลากะรัง
                                                                                                    4
ปีละไม่น้อยกว่า 20 ล้านตัว ปล่อยลงบริเวณป่าชายเลนและแหล่งหญ้าทะเลในอ่าวคุ้งกระเบน เพื่อ
เพิ่มผลผลิต และมุ่งหวังให้สัตว์น้าวัยอ่อนที่ปล่อยเลี้ยงตัวอยู่ในอ่าวคุ้งกระเบนใช้อาหารธรรมชาติที่
อุดมสมบูรณ์อันเกิดจากกิจกรรมการเลี้ยงกุ้งกุลาดา มีผลทาให้เกิดการสมดุลของธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม
          9. สร้างที่อยู่อาศัยของสัตว์ทะเล ตลอดจนอนุรักษ์ปะการังธรรมชาติและหอยมือเสือ
บริเวณทะเลหน้าอ่าวคุ้งกระเบน และพื้นที่ใกล้เคียงเพื่อให้สัตว์น้าที่เจริญเติบโตในอ่าวคุ้งกระเบน
ใช้เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยเพื่อแพร่ขยายพันธุ์ต่อไป
          10. ชลประทานน้าเค็มเพื่อการเลี้ยงกุ้งทะเลศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนฯ ได้
จัดสร้างระบบชลประทานน้าเค็มเพื่อการเลี้ยงกุ้งทะเลรอบอ่าวคุ้งกระเบนฯ ได้จัดสร้างระบบ
ชลประทานน้าเค็มเพื่อการเลี้ยงกุ้งทะเลรอบอ่าวคุ้งกระเบนโดยทาการจัดระบบน้าทะเลที่ใช้เลี้ยงกุ้ง
ทะเลแยกออกจากระบบน้าที่ผ่านการเลี้ยงกุ้งทะเล ทั้งนี้เพื่อเป็นการรองรับการขยายตัว
ของพื้นที่เลี้ยงกุ้งทะเลและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคกุ้งทะเลอันอาจจะเกิดขึ้นบริเวณอ่าวคุ้ง
กระเบน
          11. การทาปุ๋ยหมักดินเลนนากุ้ง เป็นรูปแบบการเปลี่ยนของเสียจากการเลี้ยงกุ้งกุลาดา
ให้เกิดประโยชน์ อีกทั้งยังเป็นการป้องกันมลภาวะอันเกิดจากการเลี้ยงกุ้งกุลาดารอบอ่าวคุ้งกระเบน
โดยนาดินเลนหรือสารอินทรีย์จากการเลี้ยงกุ้งกุลาดาแปรสภาพเป็นปุ๋ยหมัก ซึ่งสามารถนาไปใช้
ประโยชน์ทางด้านการเกษตรได้
          12.ดูแลให้ความรู้ในด้านพัฒนาคุณภาพชีวิตและผลกระทบสิ่งแวดล้อมแก่ราษฎรที่อยู่ใน
เขตพื้นที่โครงการอย่างต่อเนื่อง
          13. ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงพัฒนา ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนฯ ได้ดาเนินการ
จัดศึกษาดูงานแบบผสมสานตามพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยบริการศึกษาแก่
ผู้ศึกษาดูงานในรูปแบบ "การท่องเที่ยวเชิงพัฒนา" ซึ่งนอกจากจะได้รับความรู้ทางวิชาการที่สามารถ
นาไปปฏิบัติหรือประกอบอาชีพได้แล้ว ยังได้รับความเพลิดเพลินเสมือนเป็นการพักผ่อนอีกด้วย
แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
              1. ทฤษฎีการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดาริ
              2. การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
3. ทฤษฎีใหม่หรือเกษตรทฤษฎีใหม่ คือหลักการจัดการเกษตรที่คิดค้นขึ้น
เพื่อเป็นทางเลือกสาหรับเกษตรกรได้พึ่งพิงตนเองอย่างเข้มแข็ง
             4. เศรษฐกิจพอเพียง
วิเคราะห์ การใช้ การสื่อสารของศูนย์ฯ การให้หมายเลขโทรศัพท์ ติดต่อโดยตรง
ติดต่อ-สอบตามข้อมูลได้ที่ :                                                                5
ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบน อันเนื่องมาจากพระราชดาริ ต.คลองขุด อ.ท่าใหม่ จ.จันทบุรี
โทรศัพท์ : 0-3938-8116-8 โทรสาร : 0-3938-8119
จากปากทางหนองสีงา - ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนฯ เป็นระยะทาง 26.7 กิโลเมตร




การใช้เอกสารเผยแพร่
         การท่องเที่ยวเชิงพัฒนาเป็นการได้เข้าไปท่องเที่ยวโดยตรง โดยการศึกษาดูงานจะได้รับ
ความรู้ทางวิชาการสาขาต่างๆแบบหลากหลายจากหน่วยงานที่ปฏิบัติงานในโครงการ ที่เรียกว่า "ONE
STOP SERVICE" นอกจากจะได้รับความรู้ทางวิชาการที่คุ้มค่า และสามารถนาไปปฏิบัติหรือประกอบ
อาชีพได้ผู้ศึกษาดูงานยังได้รับความเพลิดเพลินไม่เคร่งเครียด และได้พบเห็นสิ่งที่สวยงาม เนื่องจาก
พื้นที่ศึกษาดูงานเป็นรูปแบบ "พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติที่มีชีวิต(LIVE MUSIUM)"
การจัดการท่องเที่ยวเชิงพัฒนา (Development Tour) ของศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนเริ่ม
จากรับฟังบรรยายสรุป และศึกษาดูงานในพื้นที่โครงการ บรรยายสรุป เจ้าหน้าที่ศูนย์ศึกษาการ
พัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนฯ จัดบรรยายสรุปการปฏิบัติงานของศูนย์ฯ ในรูปแบบ "Macroecosystem"
ประกอบสื่อ สไลด์ วีดีทัศน์ หรือสไลด์พรีเซนเตชั่นขึ้นกับระยะเวลาและวัตถุประสงค์ของการศึกษาดู
งานในแต่ละคณะ หลังจากเสร็จสิ้นการรับฟังการบรรยายสรุป เพื่อให้การศึกษาดูงานเกิดประโยชน์
                                                                                                 6
สูงสุด ศูนย์ฯคุ้งกระเบนจะจัดรถพ่วงศึกษาดูงานการปฏิบัติงานในพื้นที่โครงการ โดยจะมีเจ้าหน้าที่
ศูนย์ฯ พาศึกษาดูงานและบรรยายตลอดเส้นทางการศึกษาดูงาน การท่องเที่ยวเชิงพัฒนา จะมีจุด
ศึกษาดูงานทั้งสิ้น 15 จุด โดยมีรายละเอียดดังนี้
           จุดที่ 1 ระบบชลประทานน้าเค็มเพื่อการเลี้ยงกุ้งทะเล
           จุดที่ 2 งานผลิตพันธุ์สัตว์น้า
           จุดที่ 3 งานบริการตรวจสอบคุณภาพวัตถุดิบสัตว์น้า
           จุดที่ 4 งานวิชาการเกษตร
           จุดที่ 5 โครงการลดผลกระทบจากการเลี้ยงกุ้งทะเลด้วยการทาปุ๋ยหมักดินเลนนากุ้ง
           จุดที่ 6 สวนรุกขชาติชายหาดแหลมเสด็จ
           จุดที่ 7 สถานแสดงพันธุ์สัตว์น้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา
           จุดที่ 8 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสิรินธร 6
           จุดที่ 9 ร้านจาหน่ายผลิตภัณฑ์กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร
           จุดที่ 10 งานสาธิตการเลี้ยงปลาในกระชังอ่าวคุ้งกระเบน
           จุดที่ 11 งานปศุสัตว์
           จุดที่ 12 เส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติป่าชายหาด
           จุดที่ 13 เส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติป่าชายเลน
           จุดที่ 14 งานสาธิตการเลี้ยงกุ้งระบบปิด
           จุดที่ 15 การเลี้ยงกุ้งทะเลด้วยระบบชลประทานน้าเค็ม
เว็บไซด์
    • ข่าว ประชาสัมพันธ์
• ข่าวย้อนหลัง
• เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับโครงการเช่น
        – การจาหน่ายพันธุ์สัตว์น้า
        – ผลิตภัณฑ์ศูนย์
        – ต้นกล้าอาชีพ
        – อบรมเกษตรผสมผสานและทฤษฎีใหม่
        – เศรษฐกิจพอเพียง
        – ปฎิทินศึกษาดูงาน
        – รับฟังความคิดเห็นของประชาชน
• สนใจรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่
    งานป่าไม้...ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบน อันเนื่องมาจากพระราชดาริ
    หมู่ 4 ต.คลองขุด อ.ท่าใหม่ จ.จันทบุรี โทร.0-3936-9237

More Related Content

What's hot

แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
พัน พัน
 
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
Napadon Yingyongsakul
 
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
krupornpana55
 
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา   พาสะอาดโครงงานจิตอาสา   พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
Gob Chantaramanee
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
krubuatoom
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
Kittichai Pinlert
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Pongtep Treeone
 
โครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้าน
โครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้านโครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้าน
โครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้าน
Mo Taengmo
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
shikapu
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
พัน พัน
 
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียงรายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง
ครูแชมป์ ฟักอ่อน
 

What's hot (20)

แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
 
แบบเสนอโครงงานร่างโครงงานต้นกระบองเพชรจิ๋ว
แบบเสนอโครงงานร่างโครงงานต้นกระบองเพชรจิ๋วแบบเสนอโครงงานร่างโครงงานต้นกระบองเพชรจิ๋ว
แบบเสนอโครงงานร่างโครงงานต้นกระบองเพชรจิ๋ว
 
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
 
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา   พาสะอาดโครงงานจิตอาสา   พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
โครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้าน
โครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้านโครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้าน
โครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้าน
 
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
 
คำนำ2527895555
คำนำ2527895555คำนำ2527895555
คำนำ2527895555
 
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราชเล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์-pdf
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์-pdfสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์-pdf
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์-pdf
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
 
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียงรายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง
 
การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัย
การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัยการตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัย
การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัย
 

Viewers also liked

คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
Nan Su'p
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
Nattakorn Sunkdon
 
เขื่อนขุนด่านปราการชล
เขื่อนขุนด่านปราการชลเขื่อนขุนด่านปราการชล
เขื่อนขุนด่านปราการชล
jeabjeabloei
 
งานนำเสนอUniversal access
งานนำเสนอUniversal accessงานนำเสนอUniversal access
งานนำเสนอUniversal access
jeabjeabloei
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
jeabjeabloei
 
เขื่อนขุนด่านปราการชล
เขื่อนขุนด่านปราการชลเขื่อนขุนด่านปราการชล
เขื่อนขุนด่านปราการชล
jeabjeabloei
 
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
jeabjeabloei
 
การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555
dentalfund
 
หลักเกณฑ์คู่มือการประเมินวิทยฐานะ
หลักเกณฑ์คู่มือการประเมินวิทยฐานะหลักเกณฑ์คู่มือการประเมินวิทยฐานะ
หลักเกณฑ์คู่มือการประเมินวิทยฐานะ
กระทรวงศึกษาธิการ
 
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
Thidarat Termphon
 

Viewers also liked (20)

คค
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
 
เขื่อนขุนด่านปราการชล
เขื่อนขุนด่านปราการชลเขื่อนขุนด่านปราการชล
เขื่อนขุนด่านปราการชล
 
งานนำเสนอUniversal access
งานนำเสนอUniversal accessงานนำเสนอUniversal access
งานนำเสนอUniversal access
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
 
เขื่อนขุนด่านปราการชล
เขื่อนขุนด่านปราการชลเขื่อนขุนด่านปราการชล
เขื่อนขุนด่านปราการชล
 
1. ______-__p_22
1.  ______-__p_221.  ______-__p_22
1. ______-__p_22
 
ศูนย์เรียนรู้ฯ สมเด็จพิทยาคม
ศูนย์เรียนรู้ฯ สมเด็จพิทยาคมศูนย์เรียนรู้ฯ สมเด็จพิทยาคม
ศูนย์เรียนรู้ฯ สมเด็จพิทยาคม
 
ชีวประวัติรัฐธรรมนูญ2475 2520
ชีวประวัติรัฐธรรมนูญ2475 2520ชีวประวัติรัฐธรรมนูญ2475 2520
ชีวประวัติรัฐธรรมนูญ2475 2520
 
Sar5 255
Sar5 255Sar5 255
Sar5 255
 
รายงานการประเมินตนเองปี2555ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลท่าลาดขา...
รายงานการประเมินตนเองปี2555ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลท่าลาดขา...รายงานการประเมินตนเองปี2555ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลท่าลาดขา...
รายงานการประเมินตนเองปี2555ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลท่าลาดขา...
 
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
 
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
 
แบบทดสอบเรื่องระบบนิเวศ
แบบทดสอบเรื่องระบบนิเวศแบบทดสอบเรื่องระบบนิเวศ
แบบทดสอบเรื่องระบบนิเวศ
 
การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555
 
หลักเกณฑ์คู่มือการประเมินวิทยฐานะ
หลักเกณฑ์คู่มือการประเมินวิทยฐานะหลักเกณฑ์คู่มือการประเมินวิทยฐานะ
หลักเกณฑ์คู่มือการประเมินวิทยฐานะ
 
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
 

Similar to รายงานอ่าวคุ้งกระเบน.Docx

โครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตโครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคต
jeabjeabloei
 
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองโครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
benya_28030
 
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองโครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
benya2013
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
Panuchanat
 
โครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตโครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคต
mook_suju411
 
โครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนโครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อน
Cook-butter
 
การพัฒนาเขาหินซ้อน
การพัฒนาเขาหินซ้อนการพัฒนาเขาหินซ้อน
การพัฒนาเขาหินซ้อน
Cook-butter
 
โครงการ ศูนย์การเรียนรู้ ธนาคารปูนิ่ม อ่าวปัตตานี
โครงการ ศูนย์การเรียนรู้ ธนาคารปูนิ่ม อ่าวปัตตานีโครงการ ศูนย์การเรียนรู้ ธนาคารปูนิ่ม อ่าวปัตตานี
โครงการ ศูนย์การเรียนรู้ ธนาคารปูนิ่ม อ่าวปัตตานี
Bowjungz Boice
 
การปลูกป่าชายเลนในประเทศไทย
การปลูกป่าชายเลนในประเทศไทยการปลูกป่าชายเลนในประเทศไทย
การปลูกป่าชายเลนในประเทศไทย
Wasan Yodsanit
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 10
รายงานผลจุดเน้นที่ 10รายงานผลจุดเน้นที่ 10
รายงานผลจุดเน้นที่ 10
kruchaily
 
Nrct northern initiatives
Nrct northern initiativesNrct northern initiatives
Nrct northern initiatives
rattapol
 
การประมงตามพระราชดำริ
การประมงตามพระราชดำริการประมงตามพระราชดำริ
การประมงตามพระราชดำริ
Tanggwa
 
โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้
โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้
โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้
pooh_monkichi
 
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการประมง
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการประมงโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการประมง
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการประมง
bluezbens
 
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ปี 2556
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ปี 2556โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ปี 2556
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ปี 2556
Rice Development
 

Similar to รายงานอ่าวคุ้งกระเบน.Docx (20)

โครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตโครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคต
 
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองโครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
 
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองโครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
โครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตโครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคต
 
โครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนโครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อน
 
Newsletter Pidthong vol.1
Newsletter Pidthong vol.1Newsletter Pidthong vol.1
Newsletter Pidthong vol.1
 
การพัฒนาเขาหินซ้อน
การพัฒนาเขาหินซ้อนการพัฒนาเขาหินซ้อน
การพัฒนาเขาหินซ้อน
 
โครงการ ศูนย์การเรียนรู้ ธนาคารปูนิ่ม อ่าวปัตตานี
โครงการ ศูนย์การเรียนรู้ ธนาคารปูนิ่ม อ่าวปัตตานีโครงการ ศูนย์การเรียนรู้ ธนาคารปูนิ่ม อ่าวปัตตานี
โครงการ ศูนย์การเรียนรู้ ธนาคารปูนิ่ม อ่าวปัตตานี
 
การปลูกป่าชายเลนในประเทศไทย
การปลูกป่าชายเลนในประเทศไทยการปลูกป่าชายเลนในประเทศไทย
การปลูกป่าชายเลนในประเทศไทย
 
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่งโครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 10
รายงานผลจุดเน้นที่ 10รายงานผลจุดเน้นที่ 10
รายงานผลจุดเน้นที่ 10
 
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9
 
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
Nrct northern initiatives
Nrct northern initiativesNrct northern initiatives
Nrct northern initiatives
 
การประมงตามพระราชดำริ
การประมงตามพระราชดำริการประมงตามพระราชดำริ
การประมงตามพระราชดำริ
 
โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้
โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้
โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้
 
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการประมง
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการประมงโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการประมง
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการประมง
 
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ปี 2556
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ปี 2556โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ปี 2556
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ปี 2556
 

More from jeabjeabloei

สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
jeabjeabloei
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
jeabjeabloei
 
การทำงานตามระบบ Pdca
การทำงานตามระบบ Pdcaการทำงานตามระบบ Pdca
การทำงานตามระบบ Pdca
jeabjeabloei
 
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
jeabjeabloei
 
2โครงการอบรมส่งเสนอสำนักงานบัณฑิต
2โครงการอบรมส่งเสนอสำนักงานบัณฑิต2โครงการอบรมส่งเสนอสำนักงานบัณฑิต
2โครงการอบรมส่งเสนอสำนักงานบัณฑิต
jeabjeabloei
 
1ผลการวิเคราะห์ swot ของศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
1ผลการวิเคราะห์ swot   ของศูนย์คอมพิวเตอร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย1ผลการวิเคราะห์ swot   ของศูนย์คอมพิวเตอร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
1ผลการวิเคราะห์ swot ของศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
jeabjeabloei
 
โครงการห้วยองคต
 โครงการห้วยองคต โครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคต
jeabjeabloei
 
เขื่อนขุนด่านปราการชล.Pptx
 เขื่อนขุนด่านปราการชล.Pptx  เขื่อนขุนด่านปราการชล.Pptx
เขื่อนขุนด่านปราการชล.Pptx
jeabjeabloei
 
การพัฒนาตามแนวพระราชดำริ
การพัฒนาตามแนวพระราชดำริการพัฒนาตามแนวพระราชดำริ
การพัฒนาตามแนวพระราชดำริ
jeabjeabloei
 
ระบบโทรศัพท์มือถือเคลื่อนที่ในยุคที่ 3
ระบบโทรศัพท์มือถือเคลื่อนที่ในยุคที่  3ระบบโทรศัพท์มือถือเคลื่อนที่ในยุคที่  3
ระบบโทรศัพท์มือถือเคลื่อนที่ในยุคที่ 3
jeabjeabloei
 

More from jeabjeabloei (12)

Aec
AecAec
Aec
 
Pong
PongPong
Pong
 
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
 
การทำงานตามระบบ Pdca
การทำงานตามระบบ Pdcaการทำงานตามระบบ Pdca
การทำงานตามระบบ Pdca
 
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
 
2โครงการอบรมส่งเสนอสำนักงานบัณฑิต
2โครงการอบรมส่งเสนอสำนักงานบัณฑิต2โครงการอบรมส่งเสนอสำนักงานบัณฑิต
2โครงการอบรมส่งเสนอสำนักงานบัณฑิต
 
1ผลการวิเคราะห์ swot ของศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
1ผลการวิเคราะห์ swot   ของศูนย์คอมพิวเตอร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย1ผลการวิเคราะห์ swot   ของศูนย์คอมพิวเตอร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
1ผลการวิเคราะห์ swot ของศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
 
โครงการห้วยองคต
 โครงการห้วยองคต โครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคต
 
เขื่อนขุนด่านปราการชล.Pptx
 เขื่อนขุนด่านปราการชล.Pptx  เขื่อนขุนด่านปราการชล.Pptx
เขื่อนขุนด่านปราการชล.Pptx
 
การพัฒนาตามแนวพระราชดำริ
การพัฒนาตามแนวพระราชดำริการพัฒนาตามแนวพระราชดำริ
การพัฒนาตามแนวพระราชดำริ
 
ระบบโทรศัพท์มือถือเคลื่อนที่ในยุคที่ 3
ระบบโทรศัพท์มือถือเคลื่อนที่ในยุคที่  3ระบบโทรศัพท์มือถือเคลื่อนที่ในยุคที่  3
ระบบโทรศัพท์มือถือเคลื่อนที่ในยุคที่ 3
 

รายงานอ่าวคุ้งกระเบน.Docx

  • 1. รายวิชา เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดาริ ศึกษาโครงการตามแนวพระราชดาริ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบน จัดทาโดย นางสมปอง สาชนะสุพิน รหัสนักศึกษา 54120804103 สาขาวิชา เทคโนโลยีการสื่อสาร รุ่นที่ 4
  • 2. รายงานนี้นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษา รายวิชา เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดาริ สอนโดย ผศ.ดร.ลือชัย พรหมรัตน์รักษ์ คานา การศึกษาโครงการการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดาริเป็นโครงการหนึ่งในโครงการ พัฒนาในด้านต่างๆ ที่กระจายกันอยู่ทั่วประเทศไทย อันเกิดจากแนวพระราชดาริของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในอันที่จะทาให้เกิดการพัฒนาอาชีพ และเพื่อการกินดี อยู่ดีของ ราษฎร โดยมีหน่วยงานเข้าร่วมโครงการ เพื่อปฏิบัติงานสนองแนวพระราชดาริของพระองค์ท่านที่ ได้ทรงพระราชทานแนวทางในการพัฒนาไว้ 4 ประการ และปัจจุบันได้ขยายขีดความสามารถ ในการพัฒนาให้บริการแก่ราษฎรทั้งในพื้นที่โครงการและพื้นที่ใกล้เคียงด้วย รายงานฉบับนี้เป็นการรวบรวม ผลการดาเนินงานของหน่วยงานต่างๆ ในโครงการฯ ซึ่งมีภารกิจตามบทบาทหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมายจากหน่วยงานต้นสังกัด ที่ตอบสนองวัตถุประสงค์ ของโครงการอ่าวคุ้งกระเบน อันเนื่องมาจากพระราชดาริโดยใช้งบประมาณจากโครงการของแต่ ละหน่วยงานต้นสังกัด อีกทั้งเป็นการต่อยอด ขยายผล การให้บริการแก่เกษตรได้อีกหลายจังหวัด ตามบทบาทหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย การรายงานในครั้งนี้ จะนาเสนอผลการปฏิบัติงาน ของแต่ละหน่วยงานให้เห็นภาพ ของแต่ละหน่วยงาน และได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่างๆ เป็นอย่างดียิ่ง และ ขอขอบพระคุณทุกหน่วยงานและทุกๆ ท่าน ที่ร่วมแรงร่วมใจในการปฏิบัติภารกิจ ตลอดจน การนาเสนอผลงานในเล่มนี้จึงขอขอบพระคุณทุกท่านเป็นอย่างสูง ผู้จัดทา
  • 3. สารบัญ เรื่อง หน้า ความเป็นมาของโครงการอ่าวคุ้งกระเบน 1 วัตถุประสงค์ 1 การดาเนินงานอันเนื่องมาจากพระราชดาริ 2 พื้นที่ดาเนินการ 2 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2 การจัดการทรัพยากรชายฝั่ง 3 แนวคิดทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง 4 วิเคราะห์การใช้และการสื่อสาร 4 การประชาสัมพันธ์ 6 เอกสารอ้างอิง 7
  • 5. อันเนื่องมาจากพระราชดาริ จังหวัดจันทบุรี 1 ศูนย์ศึกษาการพัฒนา อ่าวคุ้งกระเบน ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบน อันเนื่องมาจากพระราชดาริ ได้ก่อตั้งตามพระราชดาริ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเมื่อปี พ.ศ. 2524 เพื่อให้เป็นศูนย์ศึกษาเกี่ยวกับการพัฒนาในเขตพื้น ที่ดินชายทะเล ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนฯ ได้ดาเนินการศึกษาพัฒนาอาชีพตลอดจน การ จัดการทรัพยากรชายฝั่ง ให้เกิดความสมดุลต่อระบบนิเวศวิทยาเพื่อป้องกันผลกระทบต่อการประกอบ อาชีพของราษฎร การดาเนินงาน ดังกล่าวของศูนย์ฯ คุ้งกระเบนประสบความสาเร็จเรื่อยมาเป็นลาดับ และเป็นที่ยอมรับของราษฎรบริเวณพื้นที่โครงการนาไปปฏิบัติ "..ศูนย์ศึกษาการพัฒนา ซึ่งหมายความ ว่าเป็นศูนย์หรือแหล่งที่รวมการศึกษาเพื่อดูว่าทาอย่างไรจะพัฒนาได้ผล.." "..ศูนย์ศึกษาฯ ไม่ใช่วิทยาลัย ไม่ใช่โรงเรียน แต่เป็นสถานที่แห่งหนึ่งที่คนทุกระดับสามารถที่ จะมาดู.."
  • 6. "..ทุกหน้าที่ สามารถดูในแห่งเดียวกัน วิชาการที่จะพัฒนาในสาขาต่างๆ ของวิชาการอันนี้ก็ เท่ากับเป็นเหมือนพิพิธภัณฑ์ที่จะมาดูอะไร มีวิชาการใดที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา นอกจากนี้ก็ไปดู ศูนย์ศึกษา ไปพักผ่อนหย่อนใจก็ได้เพราะ ว่าทางานมาเครียด ก็ไปเที่ยวศูนย์ศึกษาฯ เหมือนไปเที่ยว สวนสาธารณะก็ได้.." พระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 26 สิงหาคม 2531 วัตถุประสงค์ 1. ศึกษารูปแบบการจัดการทรัพยากรชายฝั่งอย่างยั่งยืน 2. เป็นศูนย์กลางในการอบรมเผยแพร่ ผลการศึกษาการจัดการทรัพยากรชายฝั่ง ให้แก่ส่วน ราชการและภาคเอกชนทั่วไป 3. ยกระดับฐานะความเป็นอยู่ อาชีพของราษฎรบริเวณอ่าวคุ้งกระเบน และพื้นที่ใกล้เคียง โดยมุ่งเน้นพัฒนาช่วยเหลือราษฎรที่มีฐานะยากจน 4. พัฒนาด้านการประมงและการเพาะเลี้ยงสัตว์น้า เพื่อเพิ่มผลผลิตของประเทศ ตลอดจน พัฒนากิจกรรมอื่นๆ แบบบูรณาการควบคู่ไปด้วย 5. อนุรักษ์สภาพแวดล้อมและดุลยภาพทางธรรมชาติให้คงลักษณะของพื้นที่ไว้ 6. ส่งเสริมสนับสนุนและพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงพัฒนา แนวทางการดาเนินงานของศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบน อันเนื่องมาจากพระราชดาริ ปี พ.ศ.2547-2549 1. แผนศึกษาและพัฒนาการประมงและเพาะเลี้ยงสัตว์น้าชายฝั่ง 2. แผนศึกษาและพัฒนาการเกษตร 2 3. แผนศึกษาและพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 4. แผนศึกษาและพัฒนาเศรษฐกิจสังคมและคุณภาพชีวิต 5. แผนงานบริการและถ่ายทอดเทคโนโลยี 6. แผนงานท่องเที่ยวเชิงพัฒนา 7. แผนงานบริหารและการจัดการ พื้นที่ดาเนินงาน
  • 7. พื้นที่ดาเนินงานและพื้นที่ขยายผลศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนฯ ครอบคลุม 33 หมู่บ้านในตาบลคลองขุด, ตาบลราพัน, ตาบลโขมง อาเภอท่าใหม่ และ ตาบลสนามไชย, ตาบล กระแจะอาเภอนายายอาม จังหวัดจันทบุรี มีพื้นที่ประมาณ 71,025 ไร่ โดยมีรายละเอียดดังนี้... 1.พื้นที่ศูนย์กลาง บริเวณอ่าวคุ้งกระเบน และพื้นที่โดยรอบ ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ ประมาณ 4,000 ไร่ การดาเนินกิจกรรมจะเป็นการผสมผสาน ระหว่างป่าไม้และประมง 2.พื้นที่รอบนอก (สีเขียว) ได้แก่พื้นที่ตาบลคลองขุด ตาบลราพันอาเภอท่าใหม่ และ ตาบลสนามไชย ตาบล กระแจะ อาเภอนายายอาม ซึ่งเป็นทั้งเขตเกษตรกรรม และเขตหมู่บ้านประมงตลอดแนวชายฝั่ง มี พื้นที่ประมาณ 57,025 ไร่ การดาเนินกิจกรรมมุ่งเน้นการส่งเสริมการเกษตรแบบบูรณาการ 3.พื้นที่ขยายผล (สีเหลือง ) ได้แก่ พื้นที่ ตาบลราพัน ตาบลโขมง ตาบลเสม็ดโพธิ์ศรี อาเภอท่าใหม่ และพื้นที่ใกล้เคียง ศูนย์ฯ มีพื้นที่ประมาณ 10,000 ไร่ เป็นการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพที่ประสบความสาเร็จ ในศูนย์ฯ สู่พื้นที่โดยรอบ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ชื่อเรื่อง / ผู้วิจัย -ปัญหาพิเศษ เรื่อง นิเวศน์วิทยาของประชาคมสัตว์หน้าดินขนาดใหญ่ในแนวหญ้าทะเลชนิด Halodule pinitolia บริเวณอ่าวคุ้งกระเบน จังหวัดจันทบุรี โดย บรรดิศักดิ์ ทิพย์กุล และเสาวภา วชิราภิรักษ์ -ปัญหาพิเศษ เรื่อง ความหลากหลายของชนิดสัตว์ทะเลหนาดินขนาดใหญ่ บริเวณอ่าวคุ้งกระเบน จังหวัดจันทบุรี โดย วิวัฒน์ สุขสวัสดิ์ -ปัญหาพิเศษ เรื่อง อนุกรมวิธานของปูในครอบครัว Ocypodidae และครอบครัว Grapsidae ในป่า ชายเลนอ่าวคุ้งกระเบน จังหวัดจันทบุรีโดย นิตยา พุสดี -นิเวศวิทยาของไส้เดือนทะเลที่สัมพันธ์กับภาวะสารอินทรีย์ปริมาณสูง ในอ่าวคุ้งกระเบน ประเทศไทย 3 โดย บารุงศักดิ์ ฉัตรอนันทเวช -ปัญหาพิเศษ เรื่อง การศึกษาความพึงพอใจของเกษตรกร อาเภอท่าใหม่ ที่มีต่อปุ๋ยชีวภาพ โดย สามารถ จันมนตรี และสุรัตน์ ดิษฐเชาวลิต
  • 8. การจัดการทรัพยากรชายฝั่ง 1. จัดสรรพื้นที่เสื่อมโทรมหลังป่าชายเลน จานวน 728 ไร่ สาหรับ 113 ครัวเรือน เข้า ประกอบอาชีพการเลี้ยงกุ้งกุลาดา 2. ส่งเสริมให้ราษฎรที่เข้าร่วมโครงการเลี้ยงกุ้งกลาดาป้องกันมลภาวะ และรักษา สิ่งแวดล้อม โดยการสร้างบ่อเก็บตะกอนเลน และปลูกป่าชายเลนหลังแปลงนากุ้งของตนเอง ตลอดจน การให้บริการวิชาการด้านคลีนิคโรคสัตว์น้าและการวิเคราะห์คุณภาพน้าและดิน 3.อนุรักษ์ป่าชายเลนที่สมบูรณ์จานวน 1,200 ไร่ รอบอ่าวคุ้งกระเบน และป่าบกบนเขา ต่างๆ ให้คงอยู่และอุดมสมบูรณ์ตลอดไป โดยการให้ความรู้แก่ราษฎรในโครงการฯ พร้อมทั้ง ศึกษาวิจัยระบบนิเวศน์ป่าไม้และออกตรวจตราปราบปราม จัดสร้างสะพานทางเดินศึกษาธรรมชาติ ป่าชายเลนอ่าวคุ้งกระเบนยาวประมาณ 1,790 เมตร ลดเลี้ยวเข้าไปในป่าชายเลน เพื่อเผยแพร่ความรู้ ทางด้านระบบนิเวศวิทยาป่าชายเลนในรูปแบบ“พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติที่มีชีวิต" แก่นักเรียน นักศึกษา และผู้สนใจทั่วไป 4. ฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้ ด้านการปลูกป่าชายเลนเพิ่มเติมทุกปี รวมพื้นที่ปลูกป่าชายเลน บริเวณอ่าวคุ้งกระเบนและหลังแปลงนากุ้ง ประมาณ 512 ไร่ เพื่อเป็นแหล่งศึกษาด้านนิเวศน์ป่าชาย เลนแก่ผู้สนใจและมุ่งหวังให้ป่าชายเลน ได้ดูดใช้ธาตุอาหารที่เกิดจากกิจกรรมการเลี้ยงกุ้งกุลาดาของ โครงการ 5. อนุรักษ์และจัดการหญ้าทะเลที่มีอยู่ในอ่าวคุ้งกระเบน ให้อุดมสมบูรณ์ตลอดไป เพื่อเป็นแหล่งอนุบาลสัตว์ทะเลวัยอ่อนและวัยรุ่น อีกทั้งยังเป็นแหล่งที่ใช้ธาตุอาหารต่างๆ ที่เกิดจากกิจกรรมการเลี้ยงกุ้งกุลาดาของโครงการฯ 6. สร้างแปลงพ่อแม่พันธุ์หอยนางรมในอ่าวคุ้งกระเบนเพื่อให้เกิดการแพร่ขยายพันธุ์ลูกหอย ปริมาณหอยที่เพิ่มขึ้นจะบริโภคแพลงตอนที่เกิดจากธาตุอาหารอันอุดมสมบูรณ์ของกิจกรรมการเลี้ยง กุ้งกลาดา ทาให้แพลงตอนที่อยู่ในแหล่งน้าของอ่าวคุ้งกระเบนมีปริมาณลดลงนอกจากนี้ราษฎรยัง สามารถเก็บลูกหอยที่เกิดขึ้นไปเลี้ยงก่อให้เกิดอาชีพเสริมรายได้และป้องกันการเกิดมลภาวะในเรื่อง ปริมาณแพลงตอนที่มีมากเกินไปอีกด้วย 7.ส่งเสริมให้ราษฎรเลี้ยงหอยนางรมแบบแขวนตามบริเวณคลองน้าทิ้ง จากบ่อเลี้ยงกุ้ง กุลาดา ซึ่งหอยนางรมที่เลี้ยงจะเจริญเติบโตได้ดีและใช้แพลงตอนที่มาจากบ่อเลี้ยงกุ้งเป็นอาหารได้ อย่างดี ทาให้ปริมาณแพลงตอนลดลง ก่อนที่น้าทิ้งจะไหลลงสู่อ่าวคุ้งกระเบน
  • 9. 8. เพาะพันธุ์สัตว์น้าชายฝั่ง 4 ชนิด คือ กุ้งแชบ๊วย กุ้งกุลาดา ปลากะพงขาว และปลากะรัง 4 ปีละไม่น้อยกว่า 20 ล้านตัว ปล่อยลงบริเวณป่าชายเลนและแหล่งหญ้าทะเลในอ่าวคุ้งกระเบน เพื่อ เพิ่มผลผลิต และมุ่งหวังให้สัตว์น้าวัยอ่อนที่ปล่อยเลี้ยงตัวอยู่ในอ่าวคุ้งกระเบนใช้อาหารธรรมชาติที่ อุดมสมบูรณ์อันเกิดจากกิจกรรมการเลี้ยงกุ้งกุลาดา มีผลทาให้เกิดการสมดุลของธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม 9. สร้างที่อยู่อาศัยของสัตว์ทะเล ตลอดจนอนุรักษ์ปะการังธรรมชาติและหอยมือเสือ บริเวณทะเลหน้าอ่าวคุ้งกระเบน และพื้นที่ใกล้เคียงเพื่อให้สัตว์น้าที่เจริญเติบโตในอ่าวคุ้งกระเบน ใช้เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยเพื่อแพร่ขยายพันธุ์ต่อไป 10. ชลประทานน้าเค็มเพื่อการเลี้ยงกุ้งทะเลศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนฯ ได้ จัดสร้างระบบชลประทานน้าเค็มเพื่อการเลี้ยงกุ้งทะเลรอบอ่าวคุ้งกระเบนฯ ได้จัดสร้างระบบ ชลประทานน้าเค็มเพื่อการเลี้ยงกุ้งทะเลรอบอ่าวคุ้งกระเบนโดยทาการจัดระบบน้าทะเลที่ใช้เลี้ยงกุ้ง ทะเลแยกออกจากระบบน้าที่ผ่านการเลี้ยงกุ้งทะเล ทั้งนี้เพื่อเป็นการรองรับการขยายตัว ของพื้นที่เลี้ยงกุ้งทะเลและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคกุ้งทะเลอันอาจจะเกิดขึ้นบริเวณอ่าวคุ้ง กระเบน 11. การทาปุ๋ยหมักดินเลนนากุ้ง เป็นรูปแบบการเปลี่ยนของเสียจากการเลี้ยงกุ้งกุลาดา ให้เกิดประโยชน์ อีกทั้งยังเป็นการป้องกันมลภาวะอันเกิดจากการเลี้ยงกุ้งกุลาดารอบอ่าวคุ้งกระเบน โดยนาดินเลนหรือสารอินทรีย์จากการเลี้ยงกุ้งกุลาดาแปรสภาพเป็นปุ๋ยหมัก ซึ่งสามารถนาไปใช้ ประโยชน์ทางด้านการเกษตรได้ 12.ดูแลให้ความรู้ในด้านพัฒนาคุณภาพชีวิตและผลกระทบสิ่งแวดล้อมแก่ราษฎรที่อยู่ใน เขตพื้นที่โครงการอย่างต่อเนื่อง 13. ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงพัฒนา ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนฯ ได้ดาเนินการ จัดศึกษาดูงานแบบผสมสานตามพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยบริการศึกษาแก่ ผู้ศึกษาดูงานในรูปแบบ "การท่องเที่ยวเชิงพัฒนา" ซึ่งนอกจากจะได้รับความรู้ทางวิชาการที่สามารถ นาไปปฏิบัติหรือประกอบอาชีพได้แล้ว ยังได้รับความเพลิดเพลินเสมือนเป็นการพักผ่อนอีกด้วย แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 1. ทฤษฎีการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดาริ 2. การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
  • 10. 3. ทฤษฎีใหม่หรือเกษตรทฤษฎีใหม่ คือหลักการจัดการเกษตรที่คิดค้นขึ้น เพื่อเป็นทางเลือกสาหรับเกษตรกรได้พึ่งพิงตนเองอย่างเข้มแข็ง 4. เศรษฐกิจพอเพียง วิเคราะห์ การใช้ การสื่อสารของศูนย์ฯ การให้หมายเลขโทรศัพท์ ติดต่อโดยตรง ติดต่อ-สอบตามข้อมูลได้ที่ : 5 ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบน อันเนื่องมาจากพระราชดาริ ต.คลองขุด อ.ท่าใหม่ จ.จันทบุรี โทรศัพท์ : 0-3938-8116-8 โทรสาร : 0-3938-8119 จากปากทางหนองสีงา - ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนฯ เป็นระยะทาง 26.7 กิโลเมตร การใช้เอกสารเผยแพร่ การท่องเที่ยวเชิงพัฒนาเป็นการได้เข้าไปท่องเที่ยวโดยตรง โดยการศึกษาดูงานจะได้รับ ความรู้ทางวิชาการสาขาต่างๆแบบหลากหลายจากหน่วยงานที่ปฏิบัติงานในโครงการ ที่เรียกว่า "ONE STOP SERVICE" นอกจากจะได้รับความรู้ทางวิชาการที่คุ้มค่า และสามารถนาไปปฏิบัติหรือประกอบ
  • 11. อาชีพได้ผู้ศึกษาดูงานยังได้รับความเพลิดเพลินไม่เคร่งเครียด และได้พบเห็นสิ่งที่สวยงาม เนื่องจาก พื้นที่ศึกษาดูงานเป็นรูปแบบ "พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติที่มีชีวิต(LIVE MUSIUM)" การจัดการท่องเที่ยวเชิงพัฒนา (Development Tour) ของศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนเริ่ม จากรับฟังบรรยายสรุป และศึกษาดูงานในพื้นที่โครงการ บรรยายสรุป เจ้าหน้าที่ศูนย์ศึกษาการ พัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนฯ จัดบรรยายสรุปการปฏิบัติงานของศูนย์ฯ ในรูปแบบ "Macroecosystem" ประกอบสื่อ สไลด์ วีดีทัศน์ หรือสไลด์พรีเซนเตชั่นขึ้นกับระยะเวลาและวัตถุประสงค์ของการศึกษาดู งานในแต่ละคณะ หลังจากเสร็จสิ้นการรับฟังการบรรยายสรุป เพื่อให้การศึกษาดูงานเกิดประโยชน์ 6 สูงสุด ศูนย์ฯคุ้งกระเบนจะจัดรถพ่วงศึกษาดูงานการปฏิบัติงานในพื้นที่โครงการ โดยจะมีเจ้าหน้าที่ ศูนย์ฯ พาศึกษาดูงานและบรรยายตลอดเส้นทางการศึกษาดูงาน การท่องเที่ยวเชิงพัฒนา จะมีจุด ศึกษาดูงานทั้งสิ้น 15 จุด โดยมีรายละเอียดดังนี้ จุดที่ 1 ระบบชลประทานน้าเค็มเพื่อการเลี้ยงกุ้งทะเล จุดที่ 2 งานผลิตพันธุ์สัตว์น้า จุดที่ 3 งานบริการตรวจสอบคุณภาพวัตถุดิบสัตว์น้า จุดที่ 4 งานวิชาการเกษตร จุดที่ 5 โครงการลดผลกระทบจากการเลี้ยงกุ้งทะเลด้วยการทาปุ๋ยหมักดินเลนนากุ้ง จุดที่ 6 สวนรุกขชาติชายหาดแหลมเสด็จ จุดที่ 7 สถานแสดงพันธุ์สัตว์น้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา จุดที่ 8 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสิรินธร 6 จุดที่ 9 ร้านจาหน่ายผลิตภัณฑ์กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร จุดที่ 10 งานสาธิตการเลี้ยงปลาในกระชังอ่าวคุ้งกระเบน จุดที่ 11 งานปศุสัตว์ จุดที่ 12 เส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติป่าชายหาด จุดที่ 13 เส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติป่าชายเลน จุดที่ 14 งานสาธิตการเลี้ยงกุ้งระบบปิด จุดที่ 15 การเลี้ยงกุ้งทะเลด้วยระบบชลประทานน้าเค็ม เว็บไซด์ • ข่าว ประชาสัมพันธ์
  • 12. • ข่าวย้อนหลัง • เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับโครงการเช่น – การจาหน่ายพันธุ์สัตว์น้า – ผลิตภัณฑ์ศูนย์ – ต้นกล้าอาชีพ – อบรมเกษตรผสมผสานและทฤษฎีใหม่ – เศรษฐกิจพอเพียง – ปฎิทินศึกษาดูงาน – รับฟังความคิดเห็นของประชาชน • สนใจรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ งานป่าไม้...ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบน อันเนื่องมาจากพระราชดาริ หมู่ 4 ต.คลองขุด อ.ท่าใหม่ จ.จันทบุรี โทร.0-3936-9237