SlideShare a Scribd company logo
1 of 38
Download to read offline
การขับเคลื่อนการศึกษาในโรงเรียน
       สู่ประชาคมอาเซียน
จัดทาโดย..
    นางสมปอง สาชนะสุพิน
สาขาเทคโนโลยีการสื่อสาร รุ่นที่ 4

                                    2
จุดเริ่มต้นของอาเซียน
Association of Southeast Asian Nations (ASEAN)
สมาคมแห่งประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ก่อตั้งโดยปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration)
เมื่อ 8 สิงหาคม 1967 (พ.ศ. 2510)




                                                 3
วัตถุประสงค์สาคัญ

• เพื่อส่งเสริมความร่วมมือและความช่วยเหลือ
  ซึ่งกันและกันในทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
• ส่งเสริมสันติภาพและความมั่นคงส่วนภูมิภาค
• เสริมสร้างความร่วมมืออาเซียนกับประเทศ
  ภายนอกองค์การ ความร่วมมือแห่งภูมิภาคอื่นๆ
  และองค์การระหว่างประเทศ .

                                                 4
สมาชิกผู้ก่อตั้งปี 1967
• ไทย
• มาเลเซีย
• อินโดนีเซีย
• ฟิลิปปินส์
• สิงคโปร์
   สมาชิกเพิ่มเติม
+ บรูไน ดารุสซาลาม
   ปี 1984
+ เวียดนาม ปี 1995
+ ลาว ปี 1997
+ พม่า ปี 1997
+ กัมพูชา ปี 1999
                          5
ความหมายของตราสัญลักษณ์อาเซียน




 ความบริสุทธิ์
 ความเจริญรุงเรือง
            ่
 สันติภาพและเสถียรภาพ
 ความกล้าหาญและพลวัตร
ข้าว 10 ต้น คือ 10 ประเทศรวมกันเพื่อมิตรภาพและความเป็นน้าหนึ่งใจเดียว
                วงกลมแสดงถึงความเป็นเอกภาพ                              6
หลักการพื้นฐานของอาเซียน


• การเคารพในอธิปไตยและบูรณภาพแห่งดินแดน
• การไม่แทรกแซงในกิจการภายใน
• การแก้ไขปัญหาโดยสันติวิธี




                                          7
ประชาคมอาเซียน 3 เสาหลัก

ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน


    ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน


  ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม
                                      8
ASEAN Centrality
ASEAN Charter (กฎบัตรอาเซียน)
• A constitution of ASEAN ธรรมนูญอาเซียน
• วางกรอบการทางาน การจัดตั้งสถาบัน และแนวทางกฎหมายของ ASEAN
• วัตถุประสงค์หลักของ ASEAN Charter
  -- สร้าง ASEAN ให้ …..
    – มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงขึ้น
    – เคารพกฎกติการ่วมกันมากขึ้น
    – ให้ความสาคัญต่อประชาชนมากขึ้น


                                                         10
เป้าหมายของอาเซียน
ประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศรวมเป็นประชาคม
 เดียวกัน ในปี พ.ศ. 2558
มีการค้าเสรีระหว่างกัน ไม่มีการเก็บภาษีศุลกากร
เปิดให้มีการเคลื่อนย้ายทุน และการลงทุนอย่างเสรี
แรงงานมีฝีมือ มีอิสระในการหางานทา
ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของอาเซียน

                                                   11
สิ่งท้าทายต่อการศึกษาไทย
การสร้างความรู้ความเข้าใจและความตระหนักของคนในวงการศึกษา
 เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน
การเตรียมความพร้อมในการรวมตัวเป็นประชาคม
  ในปี พ.ศ. 2558
  – ระบบ ระเบียบ กฎหมาย กระบวนการ
  – สถาบัน หน่วยงาน สถานศึกษา
  – บุคลากร เจ้าหน้าที่ ประชาชน
  – การประเมินผลกระทบด้านต่างๆ และแนวทางการแก้ไขปัญหา
  – ระบบข้อมูลข่าวสารและองค์ความรู้
                                                       12
นโยบายรองรับการเปิดเสรีร่วมกับประชาคมอาเซียน
              ของกระทรวงศึกษาธิการ
      จากการประชุมคณะกรรมการระดับชาติ เพื่อขับเคลื่อน
  ความร่วมมือด้านการศึกษาในอาเซียน ให้บรรลุตามเป้าหมาย
  ในปี พ.ศ. 2558 เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม 2553
1. การเผยแพร่ความรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับอาเซียน เพื่อสร้างความ
   ตระหนัก และเตรียมความพร้อมของครู อาจารย์ และบุคลากร
   ทางการศึกษา นักเรียน นักศึกษา และประชาชน
2. การพัฒนาศักยภาพของนักศึกษา นักเรียน และประชาชนให้มี
   ทักษะ เพื่อเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน เช่น
   ภาษาอังกฤษ ภาษาเพื่อนบ้าน
                                                                   13
3. การพัฒนามาตรฐานการศึกษา
   เพื่อส่งเสริมการหมุนเวียนของนักศึกษาและครู
   ในอาเซียนและยอมรับในคุณสมบัติร่วมกัน
   ส่งเสริมการเป็นศูนย์กลางการศึกษาของภูมิภาค
4. การเตรียมความพร้อม เพื่อเปิดเสรีการศึกษาในอาเซียน
5. การพัฒนาเยาวชน เพื่อเป็นทรัพยากร
   ในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

                                                  14
จุดเน้นของ สพฐ. ปี 2554
     ข้อที่ 8 “นักเรียน ครู และสถานศึกษาได้รับการพัฒนา
เตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community)”




                                                         15
เป้าหมายการพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน

Sister School (30 โรง)       Buffer School (24 โรง)       ASEAN Focus School (14 โรง)            ั
                                                                                         School สงก ัด สพฐ.



- เป็ นโรงเรียนต ้นแบบ       - เป็ นโรงเรียนต ้นแบบ         - เป็ นโรงเรียนต ้นแบบ      - ผู ้บริหาร ครู และ
การพัฒนาหลักสูตร             การพัฒนาหลักสูตร               การพัฒนาการเรียนรู ้        ผู ้เรียนมีความรู ้
         ึ
สถานศกษาทีเน ้นอาเซยน
               ่       ี              ึ
                             สถานศกษาทีเน ้นอาเซยน
                                             ่      ี               ี
                                                            อาเซยน โดยการ               ความเข ้าใจ และ
เน ้นภาษาอังกฤษ ICT          เน ้นภาษาเพือนบ ้าน
                                           ่                บูรณาการในหลักสูตร          ความตระหนักเกียวกับ ่
พหุวัฒนธรรม                  พหุวัฒนธรรม                    แกนกลางการศกษา    ึ         อาเซยน  ี
ภาษาเพือนบ ้าน
           ่                                                ขันพืนฐาน พุทธศกราช
                                                                ้ ้             ั
                                               ี
                             - เป็ นศูนย์อาเซยนศกษาึ                                    - จัดกิจกรรมการเรียนรู ้
                  ี
- เป็ นศูนย์อาเซยนศกษาึ                   ื่
                             เผยแพร่สอการเรียนรู ้ และ      2551 เน ้นการจัด                         ี
                                                                                        เกียวกับอาเซยน
                                                                                           ่
             ื่
เผยแพร่สอการเรียนรู ้ และ    แหล่งการเรียนรู ้เกียวกับ
                                                 ่          กิจกรรมพัฒนาผู ้เรียน
                                                            และการจัดทาหน่วย            - จัดกิจกรรมสร ้าง
แหล่งการเรียนรู ้เกียวกับ
                    ่                 ี
                             อาเซยน สาหรับผู ้บริหาร
                                                                            ี     ึ     ความรู ้ความเข ้าใจและ
         ี
อาเซยน สาหรับผู ้บริหาร      ครู ผู ้เรียน และชุมชน         การเรียนรู ้อาเซยนศกษา
                                                                                        ความตระหนักเกียวกับ
                                                                                                          ่
ครู ผู ้เรียน และชุมชน       รวมทังผู ้สนใจทั่วไป
                                        ้                   กลุมสาระการเรียนรู ้
                                                                 ่                           ี
                                                                                        อาเซยน
รวมทังผู ้สนใจทั่วไป
           ้                                                  ั       ึ
                                                            สงคมศกษา ศาสนา
                             - จัดกิจกรรมสร ้างความรู ้                                            ี   ึ
                                                            และวัฒนธรรม                 - มีมมอาเซยนศกษา
                                                                                             ุ
- จัดกิจกรรมสร ้างความรู ้   ความเข ้าใจและความ                                                      ี   ึ
                                                                                        หรือศูนย์อาเซยนศกษา
ความเข ้าใจและความ           ตระหนักเกียวกับอาเซยน
                                        ่         ี         - เป็ นศูนย์อาเซยนี
ตระหนักเกียวกับอาเซยน
           ่         ี                                        ึ
                                                            ศกษา เป็ นแหล่งการ
                             - มีโรงเรียนเครือข่าย
- มีโรงเรียนเครือข่าย        อย่างน ้อย 9 โรง                           ่        ี
                                                            เรียนรู ้เกียวกับอาเซยน
อย่างน ้อย 9 โรง                                            ในโรงเรียน และชุมชน




                                                                                                          16
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่เน้น “อาเซียน”
   และการจัดการเรียนรู้เกี่ยวกับ “อาเซียน”




                ASEAN
              Community
หลักสูตรสถานศึกษาทีเน้นอาเซียน:
                                            ่
  ข้อมูลพื้นฐาน/          Sister School/Buffer School
 บริบทของโรงเรียน                          รายวิชา
                                           พื้นฐาน        Web
หลักสูตรแกนกลาง            หลักสูตร
การศึกษาขั้นพื้นฐาน
                                                       Community
                          สถานศึกษา        รายวิชา
พุทธศักราช 2551         SisterSchool/      เพิ่มเติม
                        BufferSchool
  อาเซียน
                                           กิจกรรม
 จุดเน้นของ Sister    จุดเน้นของ Buffer     พัฒนา
School ภาษาอังกฤษ           School          ผู้เรียน
ภาษาเพื่อนบ้าน ICT      ภาษาเพื่อนบ้าน
    พหุวัฒนธรรม          พหุวัฒนธรรม
การจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา                                                 อาเซียน
                                                                   องค์ความรู้เกี่ยวกับอาเซียน
                        ที่เน้นอาเซียน                             - ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับอาเซียน
                                                                   - ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับประเทศสมาชิกอาเซียน
                                                                   - วิถีชีวิต/พหุวัฒนธรรม
  หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551               - ประชาคมอาเซียน กฎบัตรอาเซียน
                                                                   ปฏิญญาอาเซียน
                                                                   - ประเด็นสาคัญทีเกี่ยวกับอาเซียน เช่น พลเมือง สิทธิ
                                                                                      ่
                                                                   มนุษยชน ประชาธิปไตย ประวัติศาสตร์เชิงบวก สันติ
                                                                   ศึกษา สิ่งแวดล้อม การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
                                                                   สุขภาพ การค้าเสรี ฯลฯ
                    หลักสูตรสถานศึกษา                              - สื่อการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้
                                                                   ทักษะ/กระบวนการ
  - ส่วนนา (ความนา วิสัยทัศน์โรงเรียน สมรรถนะสาคัญ                 - การใช้ภาษาอังกฤษ ภาษาเพื่อนบ้าน
  ของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์)                              - การใช้ ICT
                                                                   - การคานวณ การให้เหตุผล
  - โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา                                     - กระบวนการคิด การวิเคราะห์ การสร้างสรรค์
  (โครงสร้างเวลาเรียน โครงสร้างหลักสูตรชั้นปี)                     กระบวนการกลุ่ม การแก้ปัญหา การสืบสอบ การ
                                                                   สื่อสาร การสร้างความตระหนัก
  - คาอธิบายรายวิชา                                                คุณลักษณะอันพึงประสงค์
  - กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน                                           - มีทักษะชีวิต
                                                                   - กล้าแสดงออก
  - เกณฑ์การจบการศึกษา                                             - เอื้ออาทรและแบ่งปัน
                                                                   - เข้าใจตนเองและผู้อื่น
                                                                   - ยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล
                                                                   - common values
                                                                                      ฯลฯ
รายวิชาพื้นฐานที่บูรณา   รายวิชาเพิ่มเติม   กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
     การ อาเซียน          ที่เน้นอาเซียน    ที่เน้นอาเซียน
                                                                                                                   19
การจัดการเรียนรู้เกี่ยวกับอาเซียน
    เพื่อพัฒนาเยาวชนไทยมีความพร้อมในการเป็นสมาชิกที่ดี
ของประชาคมอาเซียน สามารถติดต่อสื่อสารและอยู่ร่วมกันได้
บนพื้นฐานของความเสมอภาคและผลประโยชน์รวมกัน่
ในการเสริมสร้างความมั่นคงในด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคม
และวัฒนธรรมของภูมิภาคอาเซียน



                                                         20
การออกแบบการจัดการเรียนรู้
            ด้วยกระบวนการออกแบบย้อนกลับ

กาหนดเป้าหมายในการเรียนรู:้
   ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้

         กาหนดการวัดและประเมินผล: ภาระงาน/
              ผลงานการประเมินและเกณฑ์


                              วางแผนการจัดการเรียนรู้:
                                 กิจกรรมการเรียนรู้
                                                         21
แนวการจัดการเรียนรู้เกี่ยวกับอาเซียน
จัดการเรียนรู้ที่เน้นนักเรียนเป็นสาคัญ เปิดโอกาสให้นักเรียน
 เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้
จัดการเรียนรู้โดยใช้การบูรณาการ
จัดการเรียนรู้ที่มีความยืดหยุ่น ปรับเปลี่ยนกิจกรรมได้
 ตามความเหมาะสม
ใช้กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นกระบวนการคิด กระบวนการ
 แก้ปัญหา กระบวนการสร้างความ ตระหนัก กระบวนการ
 สื่อสาร
                                                               22
ออกแบบการจัดการเรียนรู้ โดยเลือกใช้วิธีสอนและเทคนิค
 การสอน สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล
 ที่หลากหลายตามสภาพจริง
จัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม
 และค่านิยมที่ดี เพื่อความเป็นพลเมืองที่ดีในประชาคมอาเซียน
สรุ ป
• สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืนฐาน ได้ดาเนินงานโครงการ
                                       ้
  เกี่ยวกับการจัดการเรียนรูสู่ประชาคมอาเซียน ได้แก่ โครงการพัฒนาสู่
                           ้
  ประชาคมอาเซียน : Spirit of ASEAN โดยคัดเลือกโรงเรียนเข้าร่วม
  โครงการเพื่อพัฒนาให้มความพร้อมและศักยภาพในการจัดการเรียนรู้
                         ี
  เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน เป็นศูนย์การเรียนรู้อาเซียนจานวน 68 โรง
  แบ่งเป็นโรงเรียน 3 รูปแบบ คือ
• โรงเรียน Sister School จานวน 30 โรง
• โรงเรียน Buffer School จานวน 24 โรง
• ASEAN Focus School จานวน 14 โรง
                                                                      24
เขตพื้นที่การศึกษา
• จัดสรรงบประมาณให้โรงเรียนเครือข่าย 18 โรงเรียน
  เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้อาเซียนศึกษา
• ส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้บริหารทุกสถานศึกษาตระหนักในการจัด
  การศึกษาสู่ประชาคมอาเซียน
• นิเทศ ติดตาม และรายงานผลสถานศึกษาที่ดาเนินการจัดการเรียนรู้
  ตามตัวชี้วัดความสาเร็จ
• ซึ่งประกอบด้วย ตัวชี้วัดคุณภาพผูเรียน ตัวชี้วัดคุณภาพครู ตัวชี้วัด
                                    ้
  คุณภาพผู้บริหารสถานศึกษา


                                                                       25
สถานศึกษา
• จัดทาหลักสูตรสถานศึกษาเพื่อการพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน
• ศึกษาบริบทในโรงเรียนเพื่อจัดทาแหล่งเรียนรู้ (ห้อง/มุมหนังสือ)
• ปรับ/ออกแบบหน่วยการเรียนรู้ จัดการเรียนการสอนที่เน้นอาเซียนเป็น
  รายวิชาเพิ่มเติม/สอดแทรก/ บูรณาการ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้
• ให้ความสาคัญกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เช่น โครงการ/ชุมนุม/ชมรม/
  สัปดาห์อาเซียน/ตอบปัญหา ฯลฯ
• จัดทารายงานความก้าวหน้าของผู้เรียนตามตัวชี้วัดคุณภาพผูเรียน
                                                            ้
  ทั้ง 4 ด้าน


                                                                26
ตัวชี้วัดคุณภาพครู
• ครูผู้สอนมีความรู้ เกี่ยวกับอาเซียน กฎบัตรอาเซียน ประชาคมอาเซียน
• ครูสามารถใช้ภาษาต่างประเทศในการสื่อสาร
• ครูใช้หนังสือ ตาราเรียน และสื่อทีเป็นภาษาต่างประเทศในการจัดการเรียนรู้
                                   ่
• ครูใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ (ICT) ในการจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล และการเผยแพร่
  ทั้งระบบออนไลน์และออฟไลน์
• ครูผู้สอนมีความรู้ เกี่ยวกับอาเซียน กฎบัตรอาเซียน ประชาคมอาเซียน
• ครูใช้เทคนิคและวิธีสอนที่หลากหลายโดยเน้นกิจกรรมหรือกระบวนการในการจัดการเรียนรู้
• ครูสามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้ทั้งในประเทศ และในกลุ่ม
  ประเทศสมาชิกอาเซียน
• ครูใช้การวิจัย สื่อ นวัตกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง


                                                                                        27
28
29
สื่อการเรียนรู้/แหล่งการเรียนรู้
• เอกสาร หนังสือ ตารา นิตยสาร วารสาร หนังสือพิมพ์ วรรณกรรม
  วรรณคดี
• เรื่องราว เหตุการณ์
• เพลง เกม การละเล่น
• ธงชาติ ลูกโลก แผนที่ แผ่นพับ บัตรคา บัตรภาพ ป้ายนิเทศ
• ของจริง ของจาลอง
• Website, Internet, Facebook, Web Community, E-book, CD,
  DVD etc.
• สถานที่ต่างๆ
• บุคคลต่างๆ
                 ฯลฯ
                                                             31
ศูนย์อาเซียนศึกษา
 ศูนย์อาเซียนศึกษา ในโรงเรียน Education Hub14 โรง
 ศูนย์อาเซียนศึกษา ในโครงการพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน: Spirit of ASEAN
  54 โรง
     * โรงเรียน Sister School 30 ศูนย์
     * โรงเรียน Buffer School 24 ศูนย์
     * โรงเรียนเครือข่าย ตามความพร้อม
 ศูนย์อาเซียนศึกษา ในโครงการการพัฒนา
  การจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน ASEAN FOCUS 14 โรง



                                                                       32
33
34
35
36
37
38

More Related Content

Similar to Pong

งานนำเสนออาเซี่ยน4 โรงเรียนอนุบาลลำพูน
งานนำเสนออาเซี่ยน4 โรงเรียนอนุบาลลำพูนงานนำเสนออาเซี่ยน4 โรงเรียนอนุบาลลำพูน
งานนำเสนออาเซี่ยน4 โรงเรียนอนุบาลลำพูนจุลี สร้อยญานะ
 
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดีนางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดีPayped คิคิ
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียนแนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียนsompriaw aums
 
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยนแนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยนNatda Wanatda
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096CUPress
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนNattayaporn Dokbua
 
การจัดทัศนศึกษาในรูปแบบของการบูรณาการ
การจัดทัศนศึกษาในรูปแบบของการบูรณาการการจัดทัศนศึกษาในรูปแบบของการบูรณาการ
การจัดทัศนศึกษาในรูปแบบของการบูรณาการWeerachat Martluplao
 
รูปแบบการสอนบูรณาการ
รูปแบบการสอนบูรณาการรูปแบบการสอนบูรณาการ
รูปแบบการสอนบูรณาการcomputer1437
 
งานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยนงานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยนjulee2506
 
Dr.benjalug asean
Dr.benjalug aseanDr.benjalug asean
Dr.benjalug aseanvorravan
 
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียนtomodachi7016
 
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55คู่มือกรรมการโรงเรียน 55
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55Montree Jareeyanuwat
 
จุดเน้นที่ 3
จุดเน้นที่ 3จุดเน้นที่ 3
จุดเน้นที่ 3Suwakhon Phus
 

Similar to Pong (20)

อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียน
 
งานนำเสนออาเซี่ยน4 โรงเรียนอนุบาลลำพูน
งานนำเสนออาเซี่ยน4 โรงเรียนอนุบาลลำพูนงานนำเสนออาเซี่ยน4 โรงเรียนอนุบาลลำพูน
งานนำเสนออาเซี่ยน4 โรงเรียนอนุบาลลำพูน
 
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดีนางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
 
Buengtungsang learning
Buengtungsang learningBuengtungsang learning
Buengtungsang learning
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียนแนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
 
Asean 007
Asean 007Asean 007
Asean 007
 
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยนแนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียน
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096
 
วโรงเรียนบ้านเกาะสินไห
วโรงเรียนบ้านเกาะสินไหวโรงเรียนบ้านเกาะสินไห
วโรงเรียนบ้านเกาะสินไห
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
 
การจัดทัศนศึกษาในรูปแบบของการบูรณาการ
การจัดทัศนศึกษาในรูปแบบของการบูรณาการการจัดทัศนศึกษาในรูปแบบของการบูรณาการ
การจัดทัศนศึกษาในรูปแบบของการบูรณาการ
 
รูปแบบการสอนบูรณาการ
รูปแบบการสอนบูรณาการรูปแบบการสอนบูรณาการ
รูปแบบการสอนบูรณาการ
 
งานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยนงานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยน
 
Dr.benjalug asean
Dr.benjalug aseanDr.benjalug asean
Dr.benjalug asean
 
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
 
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55คู่มือกรรมการโรงเรียน 55
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55
 
จุดเน้นที่ 3
จุดเน้นที่ 3จุดเน้นที่ 3
จุดเน้นที่ 3
 
996 File
996 File996 File
996 File
 
lucksud
lucksudlucksud
lucksud
 

More from jeabjeabloei

งานนำเสนอUniversal access
งานนำเสนอUniversal accessงานนำเสนอUniversal access
งานนำเสนอUniversal accessjeabjeabloei
 
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์jeabjeabloei
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมjeabjeabloei
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมjeabjeabloei
 
การทำงานตามระบบ Pdca
การทำงานตามระบบ Pdcaการทำงานตามระบบ Pdca
การทำงานตามระบบ Pdcajeabjeabloei
 
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษาjeabjeabloei
 
2โครงการอบรมส่งเสนอสำนักงานบัณฑิต
2โครงการอบรมส่งเสนอสำนักงานบัณฑิต2โครงการอบรมส่งเสนอสำนักงานบัณฑิต
2โครงการอบรมส่งเสนอสำนักงานบัณฑิตjeabjeabloei
 
1ผลการวิเคราะห์ swot ของศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
1ผลการวิเคราะห์ swot   ของศูนย์คอมพิวเตอร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย1ผลการวิเคราะห์ swot   ของศูนย์คอมพิวเตอร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
1ผลการวิเคราะห์ swot ของศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลยjeabjeabloei
 
รายงานอ่าวคุ้งกระเบน.Docx
รายงานอ่าวคุ้งกระเบน.Docx รายงานอ่าวคุ้งกระเบน.Docx
รายงานอ่าวคุ้งกระเบน.Docx jeabjeabloei
 
โครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตโครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตjeabjeabloei
 
เขื่อนขุนด่านปราการชล
เขื่อนขุนด่านปราการชลเขื่อนขุนด่านปราการชล
เขื่อนขุนด่านปราการชลjeabjeabloei
 
เขื่อนขุนด่านปราการชล
เขื่อนขุนด่านปราการชลเขื่อนขุนด่านปราการชล
เขื่อนขุนด่านปราการชลjeabjeabloei
 
โครงการห้วยองคต
 โครงการห้วยองคต โครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตjeabjeabloei
 
เขื่อนขุนด่านปราการชล.Pptx
 เขื่อนขุนด่านปราการชล.Pptx  เขื่อนขุนด่านปราการชล.Pptx
เขื่อนขุนด่านปราการชล.Pptx jeabjeabloei
 
การพัฒนาตามแนวพระราชดำริ
การพัฒนาตามแนวพระราชดำริการพัฒนาตามแนวพระราชดำริ
การพัฒนาตามแนวพระราชดำริjeabjeabloei
 
ระบบโทรศัพท์มือถือเคลื่อนที่ในยุคที่ 3
ระบบโทรศัพท์มือถือเคลื่อนที่ในยุคที่  3ระบบโทรศัพท์มือถือเคลื่อนที่ในยุคที่  3
ระบบโทรศัพท์มือถือเคลื่อนที่ในยุคที่ 3jeabjeabloei
 
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์jeabjeabloei
 

More from jeabjeabloei (18)

งานนำเสนอUniversal access
งานนำเสนอUniversal accessงานนำเสนอUniversal access
งานนำเสนอUniversal access
 
Aec
AecAec
Aec
 
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
 
การทำงานตามระบบ Pdca
การทำงานตามระบบ Pdcaการทำงานตามระบบ Pdca
การทำงานตามระบบ Pdca
 
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
 
2โครงการอบรมส่งเสนอสำนักงานบัณฑิต
2โครงการอบรมส่งเสนอสำนักงานบัณฑิต2โครงการอบรมส่งเสนอสำนักงานบัณฑิต
2โครงการอบรมส่งเสนอสำนักงานบัณฑิต
 
1ผลการวิเคราะห์ swot ของศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
1ผลการวิเคราะห์ swot   ของศูนย์คอมพิวเตอร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย1ผลการวิเคราะห์ swot   ของศูนย์คอมพิวเตอร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
1ผลการวิเคราะห์ swot ของศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
 
รายงานอ่าวคุ้งกระเบน.Docx
รายงานอ่าวคุ้งกระเบน.Docx รายงานอ่าวคุ้งกระเบน.Docx
รายงานอ่าวคุ้งกระเบน.Docx
 
โครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตโครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคต
 
เขื่อนขุนด่านปราการชล
เขื่อนขุนด่านปราการชลเขื่อนขุนด่านปราการชล
เขื่อนขุนด่านปราการชล
 
เขื่อนขุนด่านปราการชล
เขื่อนขุนด่านปราการชลเขื่อนขุนด่านปราการชล
เขื่อนขุนด่านปราการชล
 
โครงการห้วยองคต
 โครงการห้วยองคต โครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคต
 
เขื่อนขุนด่านปราการชล.Pptx
 เขื่อนขุนด่านปราการชล.Pptx  เขื่อนขุนด่านปราการชล.Pptx
เขื่อนขุนด่านปราการชล.Pptx
 
การพัฒนาตามแนวพระราชดำริ
การพัฒนาตามแนวพระราชดำริการพัฒนาตามแนวพระราชดำริ
การพัฒนาตามแนวพระราชดำริ
 
ระบบโทรศัพท์มือถือเคลื่อนที่ในยุคที่ 3
ระบบโทรศัพท์มือถือเคลื่อนที่ในยุคที่  3ระบบโทรศัพท์มือถือเคลื่อนที่ในยุคที่  3
ระบบโทรศัพท์มือถือเคลื่อนที่ในยุคที่ 3
 
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
 

Pong

  • 2. จัดทาโดย.. นางสมปอง สาชนะสุพิน สาขาเทคโนโลยีการสื่อสาร รุ่นที่ 4 2
  • 3. จุดเริ่มต้นของอาเซียน Association of Southeast Asian Nations (ASEAN) สมาคมแห่งประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ก่อตั้งโดยปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration) เมื่อ 8 สิงหาคม 1967 (พ.ศ. 2510) 3
  • 4. วัตถุประสงค์สาคัญ • เพื่อส่งเสริมความร่วมมือและความช่วยเหลือ ซึ่งกันและกันในทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม • ส่งเสริมสันติภาพและความมั่นคงส่วนภูมิภาค • เสริมสร้างความร่วมมืออาเซียนกับประเทศ ภายนอกองค์การ ความร่วมมือแห่งภูมิภาคอื่นๆ และองค์การระหว่างประเทศ . 4
  • 5. สมาชิกผู้ก่อตั้งปี 1967 • ไทย • มาเลเซีย • อินโดนีเซีย • ฟิลิปปินส์ • สิงคโปร์ สมาชิกเพิ่มเติม + บรูไน ดารุสซาลาม ปี 1984 + เวียดนาม ปี 1995 + ลาว ปี 1997 + พม่า ปี 1997 + กัมพูชา ปี 1999 5
  • 6. ความหมายของตราสัญลักษณ์อาเซียน ความบริสุทธิ์ ความเจริญรุงเรือง ่ สันติภาพและเสถียรภาพ ความกล้าหาญและพลวัตร ข้าว 10 ต้น คือ 10 ประเทศรวมกันเพื่อมิตรภาพและความเป็นน้าหนึ่งใจเดียว วงกลมแสดงถึงความเป็นเอกภาพ 6
  • 8. ประชาคมอาเซียน 3 เสาหลัก ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม 8
  • 10. ASEAN Charter (กฎบัตรอาเซียน) • A constitution of ASEAN ธรรมนูญอาเซียน • วางกรอบการทางาน การจัดตั้งสถาบัน และแนวทางกฎหมายของ ASEAN • วัตถุประสงค์หลักของ ASEAN Charter -- สร้าง ASEAN ให้ ….. – มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงขึ้น – เคารพกฎกติการ่วมกันมากขึ้น – ให้ความสาคัญต่อประชาชนมากขึ้น 10
  • 11. เป้าหมายของอาเซียน ประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศรวมเป็นประชาคม เดียวกัน ในปี พ.ศ. 2558 มีการค้าเสรีระหว่างกัน ไม่มีการเก็บภาษีศุลกากร เปิดให้มีการเคลื่อนย้ายทุน และการลงทุนอย่างเสรี แรงงานมีฝีมือ มีอิสระในการหางานทา ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของอาเซียน 11
  • 12. สิ่งท้าทายต่อการศึกษาไทย การสร้างความรู้ความเข้าใจและความตระหนักของคนในวงการศึกษา เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน การเตรียมความพร้อมในการรวมตัวเป็นประชาคม ในปี พ.ศ. 2558 – ระบบ ระเบียบ กฎหมาย กระบวนการ – สถาบัน หน่วยงาน สถานศึกษา – บุคลากร เจ้าหน้าที่ ประชาชน – การประเมินผลกระทบด้านต่างๆ และแนวทางการแก้ไขปัญหา – ระบบข้อมูลข่าวสารและองค์ความรู้ 12
  • 13. นโยบายรองรับการเปิดเสรีร่วมกับประชาคมอาเซียน ของกระทรวงศึกษาธิการ จากการประชุมคณะกรรมการระดับชาติ เพื่อขับเคลื่อน ความร่วมมือด้านการศึกษาในอาเซียน ให้บรรลุตามเป้าหมาย ในปี พ.ศ. 2558 เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม 2553 1. การเผยแพร่ความรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับอาเซียน เพื่อสร้างความ ตระหนัก และเตรียมความพร้อมของครู อาจารย์ และบุคลากร ทางการศึกษา นักเรียน นักศึกษา และประชาชน 2. การพัฒนาศักยภาพของนักศึกษา นักเรียน และประชาชนให้มี ทักษะ เพื่อเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาเพื่อนบ้าน 13
  • 14. 3. การพัฒนามาตรฐานการศึกษา เพื่อส่งเสริมการหมุนเวียนของนักศึกษาและครู ในอาเซียนและยอมรับในคุณสมบัติร่วมกัน ส่งเสริมการเป็นศูนย์กลางการศึกษาของภูมิภาค 4. การเตรียมความพร้อม เพื่อเปิดเสรีการศึกษาในอาเซียน 5. การพัฒนาเยาวชน เพื่อเป็นทรัพยากร ในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 14
  • 15. จุดเน้นของ สพฐ. ปี 2554 ข้อที่ 8 “นักเรียน ครู และสถานศึกษาได้รับการพัฒนา เตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community)” 15
  • 16. เป้าหมายการพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน Sister School (30 โรง) Buffer School (24 โรง) ASEAN Focus School (14 โรง) ั School สงก ัด สพฐ. - เป็ นโรงเรียนต ้นแบบ - เป็ นโรงเรียนต ้นแบบ - เป็ นโรงเรียนต ้นแบบ - ผู ้บริหาร ครู และ การพัฒนาหลักสูตร การพัฒนาหลักสูตร การพัฒนาการเรียนรู ้ ผู ้เรียนมีความรู ้ ึ สถานศกษาทีเน ้นอาเซยน ่ ี ึ สถานศกษาทีเน ้นอาเซยน ่ ี ี อาเซยน โดยการ ความเข ้าใจ และ เน ้นภาษาอังกฤษ ICT เน ้นภาษาเพือนบ ้าน ่ บูรณาการในหลักสูตร ความตระหนักเกียวกับ ่ พหุวัฒนธรรม พหุวัฒนธรรม แกนกลางการศกษา ึ อาเซยน ี ภาษาเพือนบ ้าน ่ ขันพืนฐาน พุทธศกราช ้ ้ ั ี - เป็ นศูนย์อาเซยนศกษาึ - จัดกิจกรรมการเรียนรู ้ ี - เป็ นศูนย์อาเซยนศกษาึ ื่ เผยแพร่สอการเรียนรู ้ และ 2551 เน ้นการจัด ี เกียวกับอาเซยน ่ ื่ เผยแพร่สอการเรียนรู ้ และ แหล่งการเรียนรู ้เกียวกับ ่ กิจกรรมพัฒนาผู ้เรียน และการจัดทาหน่วย - จัดกิจกรรมสร ้าง แหล่งการเรียนรู ้เกียวกับ ่ ี อาเซยน สาหรับผู ้บริหาร ี ึ ความรู ้ความเข ้าใจและ ี อาเซยน สาหรับผู ้บริหาร ครู ผู ้เรียน และชุมชน การเรียนรู ้อาเซยนศกษา ความตระหนักเกียวกับ ่ ครู ผู ้เรียน และชุมชน รวมทังผู ้สนใจทั่วไป ้ กลุมสาระการเรียนรู ้ ่ ี อาเซยน รวมทังผู ้สนใจทั่วไป ้ ั ึ สงคมศกษา ศาสนา - จัดกิจกรรมสร ้างความรู ้ ี ึ และวัฒนธรรม - มีมมอาเซยนศกษา ุ - จัดกิจกรรมสร ้างความรู ้ ความเข ้าใจและความ ี ึ หรือศูนย์อาเซยนศกษา ความเข ้าใจและความ ตระหนักเกียวกับอาเซยน ่ ี - เป็ นศูนย์อาเซยนี ตระหนักเกียวกับอาเซยน ่ ี ึ ศกษา เป็ นแหล่งการ - มีโรงเรียนเครือข่าย - มีโรงเรียนเครือข่าย อย่างน ้อย 9 โรง ่ ี เรียนรู ้เกียวกับอาเซยน อย่างน ้อย 9 โรง ในโรงเรียน และชุมชน 16
  • 17. การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่เน้น “อาเซียน” และการจัดการเรียนรู้เกี่ยวกับ “อาเซียน” ASEAN Community
  • 18. หลักสูตรสถานศึกษาทีเน้นอาเซียน: ่ ข้อมูลพื้นฐาน/ Sister School/Buffer School บริบทของโรงเรียน รายวิชา พื้นฐาน Web หลักสูตรแกนกลาง หลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน Community สถานศึกษา รายวิชา พุทธศักราช 2551 SisterSchool/ เพิ่มเติม BufferSchool อาเซียน กิจกรรม จุดเน้นของ Sister จุดเน้นของ Buffer พัฒนา School ภาษาอังกฤษ School ผู้เรียน ภาษาเพื่อนบ้าน ICT ภาษาเพื่อนบ้าน พหุวัฒนธรรม พหุวัฒนธรรม
  • 19. การจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา อาเซียน องค์ความรู้เกี่ยวกับอาเซียน ที่เน้นอาเซียน - ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับอาเซียน - ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับประเทศสมาชิกอาเซียน - วิถีชีวิต/พหุวัฒนธรรม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 - ประชาคมอาเซียน กฎบัตรอาเซียน ปฏิญญาอาเซียน - ประเด็นสาคัญทีเกี่ยวกับอาเซียน เช่น พลเมือง สิทธิ ่ มนุษยชน ประชาธิปไตย ประวัติศาสตร์เชิงบวก สันติ ศึกษา สิ่งแวดล้อม การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สุขภาพ การค้าเสรี ฯลฯ หลักสูตรสถานศึกษา - สื่อการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้ ทักษะ/กระบวนการ - ส่วนนา (ความนา วิสัยทัศน์โรงเรียน สมรรถนะสาคัญ - การใช้ภาษาอังกฤษ ภาษาเพื่อนบ้าน ของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์) - การใช้ ICT - การคานวณ การให้เหตุผล - โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา - กระบวนการคิด การวิเคราะห์ การสร้างสรรค์ (โครงสร้างเวลาเรียน โครงสร้างหลักสูตรชั้นปี) กระบวนการกลุ่ม การแก้ปัญหา การสืบสอบ การ สื่อสาร การสร้างความตระหนัก - คาอธิบายรายวิชา คุณลักษณะอันพึงประสงค์ - กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน - มีทักษะชีวิต - กล้าแสดงออก - เกณฑ์การจบการศึกษา - เอื้ออาทรและแบ่งปัน - เข้าใจตนเองและผู้อื่น - ยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล - common values ฯลฯ รายวิชาพื้นฐานที่บูรณา รายวิชาเพิ่มเติม กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน การ อาเซียน ที่เน้นอาเซียน ที่เน้นอาเซียน 19
  • 20. การจัดการเรียนรู้เกี่ยวกับอาเซียน เพื่อพัฒนาเยาวชนไทยมีความพร้อมในการเป็นสมาชิกที่ดี ของประชาคมอาเซียน สามารถติดต่อสื่อสารและอยู่ร่วมกันได้ บนพื้นฐานของความเสมอภาคและผลประโยชน์รวมกัน่ ในการเสริมสร้างความมั่นคงในด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และวัฒนธรรมของภูมิภาคอาเซียน 20
  • 21. การออกแบบการจัดการเรียนรู้ ด้วยกระบวนการออกแบบย้อนกลับ กาหนดเป้าหมายในการเรียนรู:้ ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ กาหนดการวัดและประเมินผล: ภาระงาน/ ผลงานการประเมินและเกณฑ์ วางแผนการจัดการเรียนรู้: กิจกรรมการเรียนรู้ 21
  • 22. แนวการจัดการเรียนรู้เกี่ยวกับอาเซียน จัดการเรียนรู้ที่เน้นนักเรียนเป็นสาคัญ เปิดโอกาสให้นักเรียน เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้ จัดการเรียนรู้โดยใช้การบูรณาการ จัดการเรียนรู้ที่มีความยืดหยุ่น ปรับเปลี่ยนกิจกรรมได้ ตามความเหมาะสม ใช้กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นกระบวนการคิด กระบวนการ แก้ปัญหา กระบวนการสร้างความ ตระหนัก กระบวนการ สื่อสาร 22
  • 23. ออกแบบการจัดการเรียนรู้ โดยเลือกใช้วิธีสอนและเทคนิค การสอน สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล ที่หลากหลายตามสภาพจริง จัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่ดี เพื่อความเป็นพลเมืองที่ดีในประชาคมอาเซียน
  • 24. สรุ ป • สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืนฐาน ได้ดาเนินงานโครงการ ้ เกี่ยวกับการจัดการเรียนรูสู่ประชาคมอาเซียน ได้แก่ โครงการพัฒนาสู่ ้ ประชาคมอาเซียน : Spirit of ASEAN โดยคัดเลือกโรงเรียนเข้าร่วม โครงการเพื่อพัฒนาให้มความพร้อมและศักยภาพในการจัดการเรียนรู้ ี เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน เป็นศูนย์การเรียนรู้อาเซียนจานวน 68 โรง แบ่งเป็นโรงเรียน 3 รูปแบบ คือ • โรงเรียน Sister School จานวน 30 โรง • โรงเรียน Buffer School จานวน 24 โรง • ASEAN Focus School จานวน 14 โรง 24
  • 25. เขตพื้นที่การศึกษา • จัดสรรงบประมาณให้โรงเรียนเครือข่าย 18 โรงเรียน เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้อาเซียนศึกษา • ส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้บริหารทุกสถานศึกษาตระหนักในการจัด การศึกษาสู่ประชาคมอาเซียน • นิเทศ ติดตาม และรายงานผลสถานศึกษาที่ดาเนินการจัดการเรียนรู้ ตามตัวชี้วัดความสาเร็จ • ซึ่งประกอบด้วย ตัวชี้วัดคุณภาพผูเรียน ตัวชี้วัดคุณภาพครู ตัวชี้วัด ้ คุณภาพผู้บริหารสถานศึกษา 25
  • 26. สถานศึกษา • จัดทาหลักสูตรสถานศึกษาเพื่อการพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน • ศึกษาบริบทในโรงเรียนเพื่อจัดทาแหล่งเรียนรู้ (ห้อง/มุมหนังสือ) • ปรับ/ออกแบบหน่วยการเรียนรู้ จัดการเรียนการสอนที่เน้นอาเซียนเป็น รายวิชาเพิ่มเติม/สอดแทรก/ บูรณาการ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ • ให้ความสาคัญกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เช่น โครงการ/ชุมนุม/ชมรม/ สัปดาห์อาเซียน/ตอบปัญหา ฯลฯ • จัดทารายงานความก้าวหน้าของผู้เรียนตามตัวชี้วัดคุณภาพผูเรียน ้ ทั้ง 4 ด้าน 26
  • 27. ตัวชี้วัดคุณภาพครู • ครูผู้สอนมีความรู้ เกี่ยวกับอาเซียน กฎบัตรอาเซียน ประชาคมอาเซียน • ครูสามารถใช้ภาษาต่างประเทศในการสื่อสาร • ครูใช้หนังสือ ตาราเรียน และสื่อทีเป็นภาษาต่างประเทศในการจัดการเรียนรู้ ่ • ครูใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ (ICT) ในการจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล และการเผยแพร่ ทั้งระบบออนไลน์และออฟไลน์ • ครูผู้สอนมีความรู้ เกี่ยวกับอาเซียน กฎบัตรอาเซียน ประชาคมอาเซียน • ครูใช้เทคนิคและวิธีสอนที่หลากหลายโดยเน้นกิจกรรมหรือกระบวนการในการจัดการเรียนรู้ • ครูสามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้ทั้งในประเทศ และในกลุ่ม ประเทศสมาชิกอาเซียน • ครูใช้การวิจัย สื่อ นวัตกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง 27
  • 28. 28
  • 29. 29
  • 30.
  • 31. สื่อการเรียนรู้/แหล่งการเรียนรู้ • เอกสาร หนังสือ ตารา นิตยสาร วารสาร หนังสือพิมพ์ วรรณกรรม วรรณคดี • เรื่องราว เหตุการณ์ • เพลง เกม การละเล่น • ธงชาติ ลูกโลก แผนที่ แผ่นพับ บัตรคา บัตรภาพ ป้ายนิเทศ • ของจริง ของจาลอง • Website, Internet, Facebook, Web Community, E-book, CD, DVD etc. • สถานที่ต่างๆ • บุคคลต่างๆ ฯลฯ 31
  • 32. ศูนย์อาเซียนศึกษา  ศูนย์อาเซียนศึกษา ในโรงเรียน Education Hub14 โรง  ศูนย์อาเซียนศึกษา ในโครงการพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน: Spirit of ASEAN 54 โรง * โรงเรียน Sister School 30 ศูนย์ * โรงเรียน Buffer School 24 ศูนย์ * โรงเรียนเครือข่าย ตามความพร้อม  ศูนย์อาเซียนศึกษา ในโครงการการพัฒนา การจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน ASEAN FOCUS 14 โรง 32
  • 33. 33
  • 34. 34
  • 35. 35
  • 36. 36
  • 37. 37
  • 38. 38