SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
1
แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปี การศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน ปัญหาสุขภาพและโรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ นายนิติภูมิ จาปา เลขที่ 39 ชั้น ม.6 ห้อง 15
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปี การศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
2
1 นายนิติภูมิจาปา เลขที่ 39
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ปัญหาสุขภาพและโรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Health problems and common diseases found in the elderly
ประเภทโครงงาน โครงงานสารวจรวบรวมข้อมูล
ชื่อผู้ทาโครงงาน นายนิติภูมิจาปา
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปี การศึกษา 62
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล
ของการทาโครงงาน)
ในสังคมปัจจุบันนี้มีประชากรมากกว่าครึ่งที่เป็ นผู้สูงอายุ
เพราะคนวัยทางานส่วนใหญ่มีแนวโน้มที่จะมีลูกลดน้อยลง
ดังนั้นเราจึงสามารถพบเห็นผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้นในประเทศสวนทางกับจานวนคนใ
นวัยทางานที่มีน้อยจึงก่อให้เกิดเป็นสังคมผู้สูงอายุขึ้น
สาหรับผู้สูงอายุนั้นสมรรถภาพทางร่างกายและทางใจย่อมถดถอยไปตามกาลเวลา
เช่น ความจา สุขภาพจิต อุบัติเหตุ หกล้ม และการบาดเจ็บทางร่างกาย
ภาวะทุพโภชนาการ ขาดสารอาหาร และการมีโรคเรื้อรัง
ข้อความที่กล่าวมาข้างต้นนี้ส่งผลให้ความแข็งแรงทางสุขภาพร่างกายลดลงเมื่อเป็นเ
ช่นนี้จึงทาให้ผู้ป่วยสูงอายุมีโอกาสป่วยเป็นโรคต่างๆ ได้ง่าย
ดังนั้นผู้จัดทาจึงต้องการที่จะให้ข้อมูลและความรู้แก่คนทั่วไปเกี่ยวกับ
ปัญหาที่จะเกิดขึ้นกับผู้สูงอายุและแนวทางช่วยเหลือแก้ไข ป้องกัน
และรับมือแก่ปัญหาที่จะเกิดขึ้นกับผู้สูงอายุ
เพื่อที่ผู้ที่ได้อ่านจะได้เกิดความรู้และความเข้าใจและนาข้อมูลมาปรับใช้กับผู้สูงอายุ
ของตนในครอบครัว
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.ต้องการให้บุคคลทั่วไปเข้าใจถึงสภาพปัญหาที่ผู้สูงอายุต้องพบเจอ
2.เพื่อให้ทุกคนตระหนักถึงอันตรายของสุขภาพและโรคที่ผู้สูงอายุเป็นอยู่
3.เพื่อเป็นแนวทางในการช่วยเหลือโรคและสุขภาพของผู้สูงอายุเบื้องต้น
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต
เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
จัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง
ปัญหาสุขภาพและโรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุผ่านสื่อเว็บไซต์blogger.com
3
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
ปัจจุบัน มากกว่าครึ่งหนึ่งของประชากรที่มีอายุถึง 65 ปี
จะยังคงสามารถดารงชีพยืนยาวต่อไปได้
จะเห็นว่าตัวเลขดังกล่าวมีความสาคัญทั้งในด้านปัญหาสาธารณสุขและเศรษฐกิจ
การได้ทราบถึงปัญหาทางสุขภาพที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ อาจทาให้เกิดความเข้าใจ
หาทางแก้ไขป้องกันปัญหาที่จะเกิดขึ้นได้
ปัญหาที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ โดยเฉพาะผู้สูงอายุที่ช่วยเหลือตัวเองได้น้อย
และอายุมากกว่า 80 ปี มีดังนี้
ความเสื่อมของสติปัญญา สาเหตุสาคัญได้แก่ ภาวะสับสน สมองเสื่อม
และภาวะซึมเศร้า การแยกหาสาเหตุจาเพาะเป็นสิ่งสาคัญ
แต่บางครั้งทาได้ยากเนื่องจากมักจะพบสาเหตุร่วมกันได้บ่อย
ดังนั้นจึงต้องคอยสอดส่อง
และแก้ไขปัญหาทุกประการที่อาจเป็นสาเหตุพฤติกรรมที่อันตราย เช่น
การเปิดเตาแก๊สทิ้งไว้ การออกไปโดยไร้จุดหมาย และหลงทาง
ต้องได้รับการแก้ไขโดยการวางแผนการดูแลที่ดี
แม้ว่าในปัจจุบันยังไม่มียาที่รักษาอาการเสื่อมของสมองอย่างมีประสิทธิภาพ
แต่การแก้ไขจุดบกพร่องและการลดยาที่ไม่จาเป็นทุกชนิด
และการรักษาอาการผิดปกติที่เกิดขึ้นใหม่
ยังเป็นสิ่งจาเป็นซึ่งแพทย์สามารถช่วยเหลือได้
การเสื่อมลงของสติปัญญาอย่างเฉียบพลัน
จาเป็นต้องตรวจหาสาเหตุเสมอโดยเฉพาะการใช้ยา หรืออาการเจ็บป่วยที่เป็นใหม่
อาการเจ็บปวดที่ดูจะไม่รุนแรงในคนทั่วไป
มีผลกระทบต่อสมองของผู้ป่วยสูงอายุได้มาก เช่น ฝีใต้เล็บนิ้วเท้า ช่องคลอดอักเสบ
หรือแผลกดทับ หรือแม้แต่การใช้ยาขนาดผิดปกติ และยาอื่นๆ ที่แพทย์ไม่ได้สั่ง
ความผิดปกติของเกลือแร่ในเลือด ระดับน้าตาล ฮอร์โมนไทรอยด์
และการขาดออกซิเจน การขาดอาหาร ท้องผูก ปัสสาวะไม่ออก ความเจ็บปวด
การเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมก็ล้วนมีผลเช่นกัน
จึงต้องควรมองหาและแก้ไขปัญหาดังกล่าวด้วย
อาการซึมเศร้า เกิดได้ 5-10% ของผู้สูงอายุ โดยเฉพาะผู้ที่มีอาการเจ็บป่วย เช่น
อัมพาต ผู้สูงอายุที่ไม่มีใครดูแล และเข้าอยู่ในบ้านพักคนชรา
การวินิจฉัยอาการซึมเศร้าต้องพบว่ามีอารมณ์เศร้าไม่น้อยกว่า 2 สัปดาห์
ร่วมกับมีอาการหลายอย่างต่อไปนี้ ได้แก่
ความผิดปกติของการนอนขาดความสนใจ
รู้สึกผิด
ขาดพลังงาน
ขาดสมาธิ
เบื่ออาหาร
4
อาการกระวนกระวายหรือนิ่งเฉย
ต้องการฆ่าตัวตาย
ผู้ป่วยอาการซึมเศร้าที่ได้รับการรักษาจากแพทย์อาการจะดีขึ้นมาก
อาการกลั้นปัสสาวะไม่ได้ ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่ได้ชั่วคราวพบได้บ่อย
เนื่องจากการขับปัสสาวะต้องอาศัยปัจจัยหลายประการ ได้แก่ การเคลื่อนไหว
ความรู้สึกตัว ความต้องการจะปัสสาวะ และการปัสสาวะ
นอกจากนี้ยังมีผลกระทบภายนอกได้แก่ การอักเสบของทางเดินปัสสาวะ
ช่องคลอดหรือทางเดินปัสสาวะฝ่อและอักเสบ
และผลข้างเคียงของการใช้ยารักษาหลายโรค เช่น ยาคลายเครียด
ยารักษาอาการซึมเศร้า หรือยารักษาความดันบางชนิด
ยาขับปัสสาวะเองทาให้ปัสสาวะมากก็อาจทาให้ปัสสาวะไม่ทันได้
นอกจากนี้ยังมีภาวะปัสสาวะไม่สะดวกเรื้อรัง
ซึ่งเป็นผลจากความผิดปกติของกระเพาะปัสสาวะ
ซึ่งต้องตรวจวินิจฉัยและรักษาโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ
การหกล้ม ก็เป็นอีกปัญหาหนึ่งที่พบบ่อยโดยเฉพาะเพศหญิง อัตราการหกล้มสูงถึง
30% ในแต่ละปี และสัดส่วนจะสูงขึ้นตามอายุ
การทรงตัวและการลุกเดินต้องอาศัยการประสานงานกันของความรู้สึกตัว
ระบบประสาทและกล้ามเนื้อ การไหลเวียนของโลหิตและการปรับตัวต่อสิ่งแวดล้อม
การทรงตัวจะเสียไปและทาให้เซได้ง่ายในผู้สูงอายุทาให้หกล้มได้ง่าย
ภาวะใดก็ตามที่มีผลกระทบของระบบทางานดังกล่าว
ก็อาจเป็นสาเหตุให้เกิดการหกล้มได้ เช่น ปอดบวม หัวใจขาดเลือด
การเปลี่ยนสิ่งแวดล้อม เช่น พื้นลื่น เป็นต้น ยาและแอลกอฮอร์
เป็นสาเหตุเสริมที่พบได้บ่อย
ยังพบว่าอาจเกิดจากภาวะความดันโลหิตต่าหลังการรับประทานอาหาร 30-60 นาที
(ซึ่งไม่ทราบสาเหตุที่ชัดเจน) นอนไม่หลับ ปัสสาวะไม่ทัน ปัญหาของเท้า
และอาการบวมก็เป็นปัญหาได้
สาเหตุสาคัญที่สุด คือ การเสียการทรงตัวและกลัวจะหกล้ม การทรงตัวที่ผิดปกติ
อาจมีสาเหตุจากความเสื่อมตามอายุ โรคของระบบประสาท เช่น อัมพาต
ระบบประสาทอัตโนมัติ และระบบประสาทส่วนปลายเสื่อม เบาหวาน แอลกอฮอร์
ภาวะทุโภชนาการ และโรคของสมองส่วนที่ควบคุมการทรงตัว
ความดันโลหิตตกเมื่อเปลี่ยนท่า จากการใช้ยาบางชนิด
หรือเกิดภายหลังการนอนที่นานเกินไป ภาวะทางจิต เช่น
ความเครียดหรือซึมเศร้าก็อาจมีส่วนเช่นกัน
การที่ผู้สูงอายุเคลื่อนไหวน้อยลงเป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดการอุดตันของเส้นเลือดดา
และกระจายไปที่ปอดได้ และทาให้เกิดความถดถอยของระบบการทางานต่างๆ
ของร่างกาย การฟื้นตัวจะใช้ระยะเวลานานกว่าปกติ
ดังนั้นการป้องกันการนอนบนเตียงที่นานเกินจาเป็นจึงมีความสาคัญมาก
5
และเน้นการเคลื่อนไหวให้ใกล้เคียงภาวะปกติมากที่สุด
การเคลื่อนไหวลาบาก อันเนื่องจากอาการปวด อ่อนแอ การเสียการทรงตัว
และปัญหาทางจิตทาให้ผู้สูงอายุต้องนอนอยู่เฉยๆ
อาการอ่อนแรงอาจมีสาเหตุจากโรคของกล้ามเนื้อ ภาวะทุโภชนาการ
ความผิดปกติของเกลือแร่ โลหิตจาง
ความผิดปกติของระบบประสาทหรือกล้ามเนื้อนอกจากนี้อาจมีสาเหตุร่วมจากโรคท
างข้อ เช่น รูมาตอยด์ เก๊าท์ โรคพากินสัน และยารักษาโรคจิต
อาการเจ็บปวดจากสาเหตุหลายประการ ทาให้ผู้สูงอายุไม่อยากเคลื่อนไหวได้
ผลกระทบจากการใช้ยา
ด้วยเหตุผลหลายประการทาให้ผู้สูงอายุมีโอกาสจะมีผลข้างเคียงจากการใช้ยามากก
ว่าคนทั่วไป 2-3 เท่า การกาจัดของในร่างกายช้าลงมาก
เนื่องจากการทางานของไตและตับเสื่อมลง การตอบสนองต่อยาก็ต่างจากคนทั่วไป
เช่น จะไวต่อยาตระกูลฝิ่น และยาต้านการแข็งตัวของเลือด
แต่จะตอบสนองต่อยาต้านบีต้าลดลงกว่าปกติ
ผู้ป่วยสูงอายุอาจมีภาวะผิดปกติหลายอย่าง
จึงมีโอกาสได้รับยาหลายขนานทั้งที่แพทย์สั่งและซื้อกินเอง
โอกาสเกิดผลข้างเคียงจึงมากขึ้น
ดังนั้นการเลือกใช้ยาเท่าที่จาเป็นและอย่างเหมาะสมจึงจาเป็นมาก
เพื่อหลีกเลี่ยงผลเสียดังกล่าว
การป้องกัน
โดยส่วนใหญ่ภาวะต่างๆ สามารถป้องกันไม่ให้โรคกาเริบ
หรือป้ องกันไม่ให้เกิดโรคตั้งแต่ต้นได้ดังนี้
การให้อาหารที่มีพลังงานเพียงพอ ให้แคลเซียม 1,500 mg/วัน
อาจร่วมกับไวตามิน D เสริม
หลีกเลี่ยงบุหรี่และแอลกอฮอร์ ศึกษายาต่าง ๆ ที่ผู้สูงอายุได้รับ
ควบคุมความดันโลหิตสูงตรวจสอบการมองเห็น และการได้ยิน
ตรวจสุขอนามัยในช่องปากและฟัน
ส่งเสริมให้ออกกาลังกาย ซึ่งนอกจากจะมีผลดีต่อภาวะหัวใจและหลอดเลือด
ควบคุมระดับน้าตาล
เพิ่มความหนาแน่นของกระดูกแล้ว
การออกกาลังกายยังช่วยให้อารมณ์การเข้าสังคมดีขึ้น ช่วยให
นอนหลับ และป้องกันท้องผูกได้
ปรึกษารูปแบบของการออกกาลังกายที่เหมาะสมจากแพทย์
ปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุ ที่พบบ่อย
ปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุ เมื่อแก่ตัวลง ร่างกายเริ่มเสื่อมถอย
อวัยวะต่างๆในร่างกายทาได้ไม่เท่าวัยหนุ่มสาว ผมหงอก ริ้วรอย ผิวเหี่ยวย่น
6
เป็นเรื่องที่ผู้สูงอายุหลีกเลี่ยงไม่ได้ เเต่ผู้สูงอายุสามารถรับมือได้
ถ้ามีการเตรียมพร้อมตั้งเเต่เนิ่นๆ หรือก่อนที่จะเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ
จากข้อมูลทางสถิติพบว่า ผู้สูงอายุทั่วโลกมีจานวนมากถึง 12 เปอร์เซ็นต์
และมีเเนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วด้วยเช่นกัน คาดว่าภายในปี 2593
จะมีจานวนผู้สูงอายุมากกว่า 22 เปอร์เซ็นต์
ดังนั้น
เชื่อได้เลยว่าประเด็นผู้สูงอายุในปัจจุบันและอนาคตนี้มีความท้าทายเป็ นอย่างมาก
ทั้งตัวของผู้สูงอายุเองและมาตรการต่างๆของรัฐ
ที่จะเข้ามาเป็นส่วนช่วยในการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ
แน่นอนว่ามาตรการเเรกๆนั้น คือ
การป้องกันและเตรียมตัวให้พร้อมกับเส้นทางสู่ความชรา อย่างมีคุณภาพ
สุขภาพเเข็งเเรง ไม่เจ็บไม่ป่วย
ข้อมูลจาก The Texas A&M School of Public Health ได้อธิบาย
ปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุที่พบบ่อย ไว้ดังนี้
โรคเรื้อรัง
ข้อมูลจากสภาแห่งชาติ ประเทศสหรัฐอเมริกา ระบุว่า ผู้สูงอายุประมาณ 92
เปอร์เซ็นต์ เป็นโรคเรื้อรังอย่างน้อย 1 โรค และผู้สูงอายุอีกจานวน 77 เปอร์เซ็นต์
มีโรคประจาตัวอย่างน้อย 2 โรค โดยเฉพาะโรคเรื้อรังที่พบได้บ่อยที่สุดคือ
โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง โรคมะเร็ง และโรคเบาหวาน
โรคพวกนี้มีค่าใช้จ่ายในการรักษาที่สูงมาก อีกทั้งอัตราการเสียชีวิตคิดเป็น 1 ใน 3
ของจานวนผู้เสียชีวิตในเเต่ละปีอีกด้วย
ศูนย์ป้องกันและส่งเสริมสุขภาพเรื้อรังแห่งชาติ ประเทศสหรัฐอมริกา แนะนา
ให้ผู้สูงอายุพบแพทย์เพื่อตรวจสุขภาพประจาปีทุกครั้ง เลือกกินอาหารเพื่อสุขภาพ
และออกกาลังกายเป็นประจา เพื่อช่วยป้องกันและรักษาโรคเรื้อรัง
อย่างไรก็ตามสาเหตุหนึ่งที่ทาให้ปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุเป็นโรคเรื้อรังมากขึ้น คือ
พฤติกรรมการใช้ชีวิต การกิน การเคลื่อนไหวเเละออกกาลังกายน้อย
ส่งผลให้ผู้สูงอายุอ้วนมากขึ้น ต้นเหตุของการเกิดโรคเรื้อรังตามมา
ในทางตรงกันข้าม หากลดปัจจัยเหล่านี้ หรือเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทาให้อ้วนลงได้
ก็จะช่วยลดอัตตราการเกิดโรคเรื้อรังได้
อ่านเพิ่มเติม :ประสบการณ์สุขภาพ โรคความดันโลหิตสูงกับผู้สูงอายุ
ความจา
7
ปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุ ที่พบบ่อย คือ ภาวะสมองเสื่อม มีการสูญเสียการรับรู้
เรื่องระบบคิด ความจา จากข้อมูลทางสถิติพบว่ามีคนทั่วโลก ประมาณ 47.5
ล้านคน มีภาวะสมองเสื่อม ซึ่งในปี 2050
คาดการณ์ว่าจะมีจานวนผู้ป่วยมีภาวะสมองเสื่อมมาก เกือบ 3 เท่า
โดยเฉพาะภาวะสมองเสื่อม ในประเทศสหรัฐอเมริกา
เป็นโรคสมองเสื่อมที่พบมากที่สุดในคนที่มีอายุ 65 ปี ประมาณ 5 ล้านคน
ข้อมูลจากสถาบันผู้สูงอายุแห่งชาติ ประเทศสหรัฐอเมริกา ระบุว่า
สาเหตุที่ทาให้ผู้สูงอายุมีภาวะสมองเสื่อมมากขึ้น
เกิดขึ้นได้หลายปัจจัยรวมไปถึงโรคประจาตัวหรือโรคเรื้อรังด้วย
เเต่สาหรับโรคที่ส่งผลให้ผู้สูงอายุเสี่ยงต่อการพัฒนาไป่สภาวะสมองเสื่อมได้ เช่น ยา
สารเสพติด โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ซึมเศร้า เอชไอวี และการสูบบุหรี่
Advertisement
อย่างไรก็ตามในขณะนี้ยังไม่มีการรักษาภาวะสมองเสื่อมได้แน่นอน
เพียงเเต่แพทย์สามารถรักษาโรคตามอาการที่เกิดขึ้นจากสภาวะสมองเสื่อมเท่านั้น
ผู้สูงอายุ, สุขภาพผู้สูงอายุ, ปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุ, ผุ้สูงวัย, สมองเสื่อม
ผู้สูงอายุที่ป่วยเป็นโรคประจาตัวหรือโรคเรื้อรัง เสี่ยงต่อสภาวะสมองเสื่อม
สุขภาพจิต
ปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุ ที่พบบ่อย คือ ภาวะซึมเศร้า
ข้อมูลจากองค์การอนามัยโลกระบุว่า ผู้ใหญ่ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป มีปัญหาทางจิตกว่า
15 เปอร์เซ็นต์
สาหรับโรคทางจิตที่พบบ่อยในผู้สูงอายุคือ ภาวะซึมเศร้า ซึ่งเกิดขึ้นได้ 7
เปอร์เซ็นต์ของจานวนประชากรผู้สูงอายุ
แต่น่าเสียดายที่ความผิดปกติทางจิตนี้มักจะ ไม่สามารถวินิจฉัยโรคได้
(underdiagnosed) และรักษาได้ ทาให้ในประเทศสหรัฐอเมริกา
มีอัตราการฆ่าตัวตายในผู้สูงอายุมีมากกว่า 18 เปอร์เซ็นต์
เนื่องจากภาวะซึมเศร้าอาจเป็นผลข้างเคียงของภาวะโรคเรื้อรังได้
แนวทางการแก้ไขและจัดการที่ดีนั้น ควรมีการส่งเสริมการดาเนินชีวิตที่ดี
ควบคู่กับกับการมีสุขภาพดี เช่นจัดให้มีสภาพความเป็นอยู่ที่ดี
มีการช่วยเหลือและสนับสนุนทางสังคม จากครอบครัว เพื่อน
หรือเครือข่ายต่างๆเพื่อช่วยรักษา ป้องกันอาการซึมเศร้า
อุบัติเหตุ หกล้ม และการบาดเจ็บทางร่างกาย
8
ข้อมูลทางสถิติ ระบุว่า ทุก ๆ 15 วินาที ผู้ใหญ่ที่มีอายุมาก
มีจานวนที่ต้องเข้ารักษาในห้องห้องฉุกเฉินจานวนมาก และทุกๆ 29 วินาที
พบผู้สูงอายุเสียชีวิตจากการล้ม ซึ่งเป็นสาเหตุการบาดเจ็บอันดับต้น ๆ ของผู้สูงอายุ
สาเหตุที่สาคัญทาให้ผู้สูงอายุต้องประสบปัญหาการบาดเจ็บ หกล้มได้ง่าย
เพราะความเสื่อมของสภาพร่างกายตามอายุ ผู้สูงอายุจะมีมวลกระดูกน้อย
มีโอกาสแตกหักได้ง่าย และมีมวลกล้ามเนื้อน้อยลง
สูญเสียความแข็งแรงและความยืดหยุ่น
ส่งผลให้สุขภาพผู้สูงอายุมีความเสี่ยงต่อการบาดเจ็บได้ง่าย
Advertisement
สาหรับโรคที่เสี่ยงทาให้เกิดอุบัติเหตุ เเละการบาดเจ็บทางร่างกายได้ง่าย เช่น
โรคกระดูกพรุน และโรคข้อเข่าเสื่อม เป็นต้น
อย่างไรก็ตามการหกล้ม บาดเจ็บนั้นอาจหลีกเลี่ยงไม่ได้ แต่ในหลายกรณี
และหลายๆเหตุการณ์ ผู้สูงอายุสามารถป้องกันได้ เช่น
เพิ่มการออกกาลังกายให้มากขึ้น โดยเฉพาะการออกกาลังกายแบบเเรงต้าน
ช่วยเพิ่มมวลกระดูก และการปรับเปลี่ยนสภาพเเวดล้อมภายในบ้าน
อ่านเพิ่มเติม : เทคนิคออกกาลังกายสาหรับผู้สูงอายุ
ฝึกกล้ามเนื้อเพื่อความคล่องแคล่ว
5. ภาวะทุพโภชนาการ ขาดสารอาหาร
ปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุ ที่พบบ่อย คือภาวะการขาดสารอาหาร
หรือภาวะทุพโภชนาการ โดยเฉพาะในผู้สูงอายุที่อายุเกิน 65 ปี
มักจะมีภาวะขาดสารอาหารที่อาจนาไปสู่ปัญหาสุขภาพอื่นๆตามมา เช่น
ระบบภูมิคุ้มกันอ่อนแอ ภาวะกล้ามเนื้ออ่อนแรง ภาวะซึมเศร้า โรคพิษสุราเรื้อรัง
เป็นต้น
วิธีการง่ายๆ ที่จะช่วยป้องกันการขาดอาหารในผู้สูงอายุได้
คือการส่งเสริมและเพิ่มให้ผู้สูงอายุมีการบริโภคผักและผลไม้มากขึ้น
ลดการบริโภคไขมันอิ่มตัว และเกลือให้น้อยลง
สาหรับผู้สูงอายุที่ไม่สามารถเตรียมอาหารได้เอง
ควรมีลูกหลานที่สามารถจัดอาหารที่ครบตามหลักโภชนาการให้กับผู้สูงอายุได้
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1 กาหนดหัวข้อโครงงานตามความสนใจ
9
2 หาข้อมูลเกี่ยวข้องกับหัวข้อและนาข้อมูลที่ได้มานาเสนอครูที่ปรึกษาพร้อมทั้
งตั้งคาถามและสมมติฐาน
3 รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับหัวข้อโดยค้นคว้าจากอินเทอร์เน็ตหรือแหล่งเรียนรู้อื่นๆ
4 ลงมือปฏิบัติตามแผนโครงร่าง
5 ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลพรอ้มแก้ไข
6 นาเสนอโครงงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
แบบสารวจและลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมผู้สูงอายุในแต่พื้นที่
งบประมาณ
ไม่มีค่าใชจ่ายเนื่องจากเป็นโครงงานที่ใช้การทาแบบสารวจและลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมผู้
สูงอายุในแต่พื้นที่
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดั
บ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดช
อบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
1
2
1
3
1
4
1
5
1
6
17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อ
มูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโคร
งงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงา
น
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1.เข้าใจถึงสภาพปัญหาที่ผู้สูงอายุต้องพบเจอ
2.ความร่วมมือในการดูแลผู้สูงอายุ
สถานที่ดาเนินการ
1. โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
2. สถานสงเคราะห์คนชรา
10
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
2 กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา
3.กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
https://www.thaihealth.or.th/Content/41722-
%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%AB%E0%B8
%B2%E0%B8%AA%E0%B
8%B8%E0%B8%82%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0
%B9%81%E0%B8%A5%E0
%B8%B0%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%97
%E0%B8%B5%E0%B9%88%
E0%B8%9E%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B9%88%E0%B8%
AD%E0%B8%A2%E0%B9%
83%E0%B8%99%E0%B8%9C%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B
8%AA%E0%B8%B9%E0%B
8%87%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%B8.htm
l
http://www.bangkokhealth.com/health/article/%E0%B8%9B%E0%B
8%B1%E0%B8%8D%E0%B
8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0
%B8%9E%E0%B8%9A%E0
%B8%9A%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B9%83
%E0%B8%99%E0%B8%9C
%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8
%87%E0%B8%AD%E0%B8
%B2%E0%B8%A2%E0%B8%B8-1778
https://www.bangkokhospital.com/th/disease-treatment/care- for-
the-elderly
https://goodlifeupdate.com/healthy-body/137700.html

More Related Content

What's hot

2562 final-project 35-savanee_
2562 final-project 35-savanee_2562 final-project 35-savanee_
2562 final-project 35-savanee_Swnee_eic
 
2562 final-project 34-610
2562 final-project  34-6102562 final-project  34-610
2562 final-project 34-610Pichnaree Suta
 
Tuangtham Sura M.6/9 No.37
Tuangtham Sura M.6/9 No.37Tuangtham Sura M.6/9 No.37
Tuangtham Sura M.6/9 No.37KamontipKumjen
 
2560 project (1)
2560 project  (1)2560 project  (1)
2560 project (1)Dduang07
 
Project com
Project comProject com
Project comWuLizhu
 
2560 project 2
2560 project  22560 project  2
2560 project 2Dduang07
 
Thipwana
ThipwanaThipwana
ThipwanaNeayne
 

What's hot (9)

2562 final-project 35-savanee_
2562 final-project 35-savanee_2562 final-project 35-savanee_
2562 final-project 35-savanee_
 
2562 final-project 34-610
2562 final-project  34-6102562 final-project  34-610
2562 final-project 34-610
 
At1
At1At1
At1
 
Tuangtham Sura M.6/9 No.37
Tuangtham Sura M.6/9 No.37Tuangtham Sura M.6/9 No.37
Tuangtham Sura M.6/9 No.37
 
2560 project (1)
2560 project  (1)2560 project  (1)
2560 project (1)
 
At22
At22At22
At22
 
Project com
Project comProject com
Project com
 
2560 project 2
2560 project  22560 project  2
2560 project 2
 
Thipwana
ThipwanaThipwana
Thipwana
 

Similar to 2562 final-project 39

Similar to 2562 final-project 39 (20)

2562-final-project
 2562-final-project  2562-final-project
2562-final-project
 
2562 final-project 12-matave
2562 final-project 12-matave2562 final-project 12-matave
2562 final-project 12-matave
 
2562 final-project 16-pimolpa
2562 final-project 16-pimolpa2562 final-project 16-pimolpa
2562 final-project 16-pimolpa
 
Work1.1
Work1.1Work1.1
Work1.1
 
โครงร่างมาย
โครงร่างมายโครงร่างมาย
โครงร่างมาย
 
Final project
Final projectFinal project
Final project
 
Great
GreatGreat
Great
 
Daniellll
DaniellllDaniellll
Daniellll
 
Daniellll
DaniellllDaniellll
Daniellll
 
Comdaniel
ComdanielComdaniel
Comdaniel
 
Project
ProjectProject
Project
 
2562 final-project computer
2562 final-project computer2562 final-project computer
2562 final-project computer
 
2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn 2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn
 
2561 project -2
2561 project -22561 project -2
2561 project -2
 
AT1
AT1AT1
AT1
 
AT1
AT1AT1
AT1
 
2562 final-project -2 (1)
2562 final-project -2 (1)2562 final-project -2 (1)
2562 final-project -2 (1)
 
W.1
W.1W.1
W.1
 
Woraprat
WorapratWoraprat
Woraprat
 
2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj
 

2562 final-project 39

  • 1. 1 แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปี การศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน ปัญหาสุขภาพและโรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ นายนิติภูมิ จาปา เลขที่ 39 ชั้น ม.6 ห้อง 15 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปี การศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม
  • 2. 2 1 นายนิติภูมิจาปา เลขที่ 39 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ปัญหาสุขภาพและโรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Health problems and common diseases found in the elderly ประเภทโครงงาน โครงงานสารวจรวบรวมข้อมูล ชื่อผู้ทาโครงงาน นายนิติภูมิจาปา ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปี การศึกษา 62 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ในสังคมปัจจุบันนี้มีประชากรมากกว่าครึ่งที่เป็ นผู้สูงอายุ เพราะคนวัยทางานส่วนใหญ่มีแนวโน้มที่จะมีลูกลดน้อยลง ดังนั้นเราจึงสามารถพบเห็นผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้นในประเทศสวนทางกับจานวนคนใ นวัยทางานที่มีน้อยจึงก่อให้เกิดเป็นสังคมผู้สูงอายุขึ้น สาหรับผู้สูงอายุนั้นสมรรถภาพทางร่างกายและทางใจย่อมถดถอยไปตามกาลเวลา เช่น ความจา สุขภาพจิต อุบัติเหตุ หกล้ม และการบาดเจ็บทางร่างกาย ภาวะทุพโภชนาการ ขาดสารอาหาร และการมีโรคเรื้อรัง ข้อความที่กล่าวมาข้างต้นนี้ส่งผลให้ความแข็งแรงทางสุขภาพร่างกายลดลงเมื่อเป็นเ ช่นนี้จึงทาให้ผู้ป่วยสูงอายุมีโอกาสป่วยเป็นโรคต่างๆ ได้ง่าย ดังนั้นผู้จัดทาจึงต้องการที่จะให้ข้อมูลและความรู้แก่คนทั่วไปเกี่ยวกับ ปัญหาที่จะเกิดขึ้นกับผู้สูงอายุและแนวทางช่วยเหลือแก้ไข ป้องกัน และรับมือแก่ปัญหาที่จะเกิดขึ้นกับผู้สูงอายุ เพื่อที่ผู้ที่ได้อ่านจะได้เกิดความรู้และความเข้าใจและนาข้อมูลมาปรับใช้กับผู้สูงอายุ ของตนในครอบครัว วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.ต้องการให้บุคคลทั่วไปเข้าใจถึงสภาพปัญหาที่ผู้สูงอายุต้องพบเจอ 2.เพื่อให้ทุกคนตระหนักถึงอันตรายของสุขภาพและโรคที่ผู้สูงอายุเป็นอยู่ 3.เพื่อเป็นแนวทางในการช่วยเหลือโรคและสุขภาพของผู้สูงอายุเบื้องต้น ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) จัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาสุขภาพและโรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุผ่านสื่อเว็บไซต์blogger.com
  • 3. 3 หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) ปัจจุบัน มากกว่าครึ่งหนึ่งของประชากรที่มีอายุถึง 65 ปี จะยังคงสามารถดารงชีพยืนยาวต่อไปได้ จะเห็นว่าตัวเลขดังกล่าวมีความสาคัญทั้งในด้านปัญหาสาธารณสุขและเศรษฐกิจ การได้ทราบถึงปัญหาทางสุขภาพที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ อาจทาให้เกิดความเข้าใจ หาทางแก้ไขป้องกันปัญหาที่จะเกิดขึ้นได้ ปัญหาที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ โดยเฉพาะผู้สูงอายุที่ช่วยเหลือตัวเองได้น้อย และอายุมากกว่า 80 ปี มีดังนี้ ความเสื่อมของสติปัญญา สาเหตุสาคัญได้แก่ ภาวะสับสน สมองเสื่อม และภาวะซึมเศร้า การแยกหาสาเหตุจาเพาะเป็นสิ่งสาคัญ แต่บางครั้งทาได้ยากเนื่องจากมักจะพบสาเหตุร่วมกันได้บ่อย ดังนั้นจึงต้องคอยสอดส่อง และแก้ไขปัญหาทุกประการที่อาจเป็นสาเหตุพฤติกรรมที่อันตราย เช่น การเปิดเตาแก๊สทิ้งไว้ การออกไปโดยไร้จุดหมาย และหลงทาง ต้องได้รับการแก้ไขโดยการวางแผนการดูแลที่ดี แม้ว่าในปัจจุบันยังไม่มียาที่รักษาอาการเสื่อมของสมองอย่างมีประสิทธิภาพ แต่การแก้ไขจุดบกพร่องและการลดยาที่ไม่จาเป็นทุกชนิด และการรักษาอาการผิดปกติที่เกิดขึ้นใหม่ ยังเป็นสิ่งจาเป็นซึ่งแพทย์สามารถช่วยเหลือได้ การเสื่อมลงของสติปัญญาอย่างเฉียบพลัน จาเป็นต้องตรวจหาสาเหตุเสมอโดยเฉพาะการใช้ยา หรืออาการเจ็บป่วยที่เป็นใหม่ อาการเจ็บปวดที่ดูจะไม่รุนแรงในคนทั่วไป มีผลกระทบต่อสมองของผู้ป่วยสูงอายุได้มาก เช่น ฝีใต้เล็บนิ้วเท้า ช่องคลอดอักเสบ หรือแผลกดทับ หรือแม้แต่การใช้ยาขนาดผิดปกติ และยาอื่นๆ ที่แพทย์ไม่ได้สั่ง ความผิดปกติของเกลือแร่ในเลือด ระดับน้าตาล ฮอร์โมนไทรอยด์ และการขาดออกซิเจน การขาดอาหาร ท้องผูก ปัสสาวะไม่ออก ความเจ็บปวด การเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมก็ล้วนมีผลเช่นกัน จึงต้องควรมองหาและแก้ไขปัญหาดังกล่าวด้วย อาการซึมเศร้า เกิดได้ 5-10% ของผู้สูงอายุ โดยเฉพาะผู้ที่มีอาการเจ็บป่วย เช่น อัมพาต ผู้สูงอายุที่ไม่มีใครดูแล และเข้าอยู่ในบ้านพักคนชรา การวินิจฉัยอาการซึมเศร้าต้องพบว่ามีอารมณ์เศร้าไม่น้อยกว่า 2 สัปดาห์ ร่วมกับมีอาการหลายอย่างต่อไปนี้ ได้แก่ ความผิดปกติของการนอนขาดความสนใจ รู้สึกผิด ขาดพลังงาน ขาดสมาธิ เบื่ออาหาร
  • 4. 4 อาการกระวนกระวายหรือนิ่งเฉย ต้องการฆ่าตัวตาย ผู้ป่วยอาการซึมเศร้าที่ได้รับการรักษาจากแพทย์อาการจะดีขึ้นมาก อาการกลั้นปัสสาวะไม่ได้ ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่ได้ชั่วคราวพบได้บ่อย เนื่องจากการขับปัสสาวะต้องอาศัยปัจจัยหลายประการ ได้แก่ การเคลื่อนไหว ความรู้สึกตัว ความต้องการจะปัสสาวะ และการปัสสาวะ นอกจากนี้ยังมีผลกระทบภายนอกได้แก่ การอักเสบของทางเดินปัสสาวะ ช่องคลอดหรือทางเดินปัสสาวะฝ่อและอักเสบ และผลข้างเคียงของการใช้ยารักษาหลายโรค เช่น ยาคลายเครียด ยารักษาอาการซึมเศร้า หรือยารักษาความดันบางชนิด ยาขับปัสสาวะเองทาให้ปัสสาวะมากก็อาจทาให้ปัสสาวะไม่ทันได้ นอกจากนี้ยังมีภาวะปัสสาวะไม่สะดวกเรื้อรัง ซึ่งเป็นผลจากความผิดปกติของกระเพาะปัสสาวะ ซึ่งต้องตรวจวินิจฉัยและรักษาโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ การหกล้ม ก็เป็นอีกปัญหาหนึ่งที่พบบ่อยโดยเฉพาะเพศหญิง อัตราการหกล้มสูงถึง 30% ในแต่ละปี และสัดส่วนจะสูงขึ้นตามอายุ การทรงตัวและการลุกเดินต้องอาศัยการประสานงานกันของความรู้สึกตัว ระบบประสาทและกล้ามเนื้อ การไหลเวียนของโลหิตและการปรับตัวต่อสิ่งแวดล้อม การทรงตัวจะเสียไปและทาให้เซได้ง่ายในผู้สูงอายุทาให้หกล้มได้ง่าย ภาวะใดก็ตามที่มีผลกระทบของระบบทางานดังกล่าว ก็อาจเป็นสาเหตุให้เกิดการหกล้มได้ เช่น ปอดบวม หัวใจขาดเลือด การเปลี่ยนสิ่งแวดล้อม เช่น พื้นลื่น เป็นต้น ยาและแอลกอฮอร์ เป็นสาเหตุเสริมที่พบได้บ่อย ยังพบว่าอาจเกิดจากภาวะความดันโลหิตต่าหลังการรับประทานอาหาร 30-60 นาที (ซึ่งไม่ทราบสาเหตุที่ชัดเจน) นอนไม่หลับ ปัสสาวะไม่ทัน ปัญหาของเท้า และอาการบวมก็เป็นปัญหาได้ สาเหตุสาคัญที่สุด คือ การเสียการทรงตัวและกลัวจะหกล้ม การทรงตัวที่ผิดปกติ อาจมีสาเหตุจากความเสื่อมตามอายุ โรคของระบบประสาท เช่น อัมพาต ระบบประสาทอัตโนมัติ และระบบประสาทส่วนปลายเสื่อม เบาหวาน แอลกอฮอร์ ภาวะทุโภชนาการ และโรคของสมองส่วนที่ควบคุมการทรงตัว ความดันโลหิตตกเมื่อเปลี่ยนท่า จากการใช้ยาบางชนิด หรือเกิดภายหลังการนอนที่นานเกินไป ภาวะทางจิต เช่น ความเครียดหรือซึมเศร้าก็อาจมีส่วนเช่นกัน การที่ผู้สูงอายุเคลื่อนไหวน้อยลงเป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดการอุดตันของเส้นเลือดดา และกระจายไปที่ปอดได้ และทาให้เกิดความถดถอยของระบบการทางานต่างๆ ของร่างกาย การฟื้นตัวจะใช้ระยะเวลานานกว่าปกติ ดังนั้นการป้องกันการนอนบนเตียงที่นานเกินจาเป็นจึงมีความสาคัญมาก
  • 5. 5 และเน้นการเคลื่อนไหวให้ใกล้เคียงภาวะปกติมากที่สุด การเคลื่อนไหวลาบาก อันเนื่องจากอาการปวด อ่อนแอ การเสียการทรงตัว และปัญหาทางจิตทาให้ผู้สูงอายุต้องนอนอยู่เฉยๆ อาการอ่อนแรงอาจมีสาเหตุจากโรคของกล้ามเนื้อ ภาวะทุโภชนาการ ความผิดปกติของเกลือแร่ โลหิตจาง ความผิดปกติของระบบประสาทหรือกล้ามเนื้อนอกจากนี้อาจมีสาเหตุร่วมจากโรคท างข้อ เช่น รูมาตอยด์ เก๊าท์ โรคพากินสัน และยารักษาโรคจิต อาการเจ็บปวดจากสาเหตุหลายประการ ทาให้ผู้สูงอายุไม่อยากเคลื่อนไหวได้ ผลกระทบจากการใช้ยา ด้วยเหตุผลหลายประการทาให้ผู้สูงอายุมีโอกาสจะมีผลข้างเคียงจากการใช้ยามากก ว่าคนทั่วไป 2-3 เท่า การกาจัดของในร่างกายช้าลงมาก เนื่องจากการทางานของไตและตับเสื่อมลง การตอบสนองต่อยาก็ต่างจากคนทั่วไป เช่น จะไวต่อยาตระกูลฝิ่น และยาต้านการแข็งตัวของเลือด แต่จะตอบสนองต่อยาต้านบีต้าลดลงกว่าปกติ ผู้ป่วยสูงอายุอาจมีภาวะผิดปกติหลายอย่าง จึงมีโอกาสได้รับยาหลายขนานทั้งที่แพทย์สั่งและซื้อกินเอง โอกาสเกิดผลข้างเคียงจึงมากขึ้น ดังนั้นการเลือกใช้ยาเท่าที่จาเป็นและอย่างเหมาะสมจึงจาเป็นมาก เพื่อหลีกเลี่ยงผลเสียดังกล่าว การป้องกัน โดยส่วนใหญ่ภาวะต่างๆ สามารถป้องกันไม่ให้โรคกาเริบ หรือป้ องกันไม่ให้เกิดโรคตั้งแต่ต้นได้ดังนี้ การให้อาหารที่มีพลังงานเพียงพอ ให้แคลเซียม 1,500 mg/วัน อาจร่วมกับไวตามิน D เสริม หลีกเลี่ยงบุหรี่และแอลกอฮอร์ ศึกษายาต่าง ๆ ที่ผู้สูงอายุได้รับ ควบคุมความดันโลหิตสูงตรวจสอบการมองเห็น และการได้ยิน ตรวจสุขอนามัยในช่องปากและฟัน ส่งเสริมให้ออกกาลังกาย ซึ่งนอกจากจะมีผลดีต่อภาวะหัวใจและหลอดเลือด ควบคุมระดับน้าตาล เพิ่มความหนาแน่นของกระดูกแล้ว การออกกาลังกายยังช่วยให้อารมณ์การเข้าสังคมดีขึ้น ช่วยให นอนหลับ และป้องกันท้องผูกได้ ปรึกษารูปแบบของการออกกาลังกายที่เหมาะสมจากแพทย์ ปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุ ที่พบบ่อย ปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุ เมื่อแก่ตัวลง ร่างกายเริ่มเสื่อมถอย อวัยวะต่างๆในร่างกายทาได้ไม่เท่าวัยหนุ่มสาว ผมหงอก ริ้วรอย ผิวเหี่ยวย่น
  • 6. 6 เป็นเรื่องที่ผู้สูงอายุหลีกเลี่ยงไม่ได้ เเต่ผู้สูงอายุสามารถรับมือได้ ถ้ามีการเตรียมพร้อมตั้งเเต่เนิ่นๆ หรือก่อนที่จะเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ จากข้อมูลทางสถิติพบว่า ผู้สูงอายุทั่วโลกมีจานวนมากถึง 12 เปอร์เซ็นต์ และมีเเนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วด้วยเช่นกัน คาดว่าภายในปี 2593 จะมีจานวนผู้สูงอายุมากกว่า 22 เปอร์เซ็นต์ ดังนั้น เชื่อได้เลยว่าประเด็นผู้สูงอายุในปัจจุบันและอนาคตนี้มีความท้าทายเป็ นอย่างมาก ทั้งตัวของผู้สูงอายุเองและมาตรการต่างๆของรัฐ ที่จะเข้ามาเป็นส่วนช่วยในการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ แน่นอนว่ามาตรการเเรกๆนั้น คือ การป้องกันและเตรียมตัวให้พร้อมกับเส้นทางสู่ความชรา อย่างมีคุณภาพ สุขภาพเเข็งเเรง ไม่เจ็บไม่ป่วย ข้อมูลจาก The Texas A&M School of Public Health ได้อธิบาย ปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุที่พบบ่อย ไว้ดังนี้ โรคเรื้อรัง ข้อมูลจากสภาแห่งชาติ ประเทศสหรัฐอเมริกา ระบุว่า ผู้สูงอายุประมาณ 92 เปอร์เซ็นต์ เป็นโรคเรื้อรังอย่างน้อย 1 โรค และผู้สูงอายุอีกจานวน 77 เปอร์เซ็นต์ มีโรคประจาตัวอย่างน้อย 2 โรค โดยเฉพาะโรคเรื้อรังที่พบได้บ่อยที่สุดคือ โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง โรคมะเร็ง และโรคเบาหวาน โรคพวกนี้มีค่าใช้จ่ายในการรักษาที่สูงมาก อีกทั้งอัตราการเสียชีวิตคิดเป็น 1 ใน 3 ของจานวนผู้เสียชีวิตในเเต่ละปีอีกด้วย ศูนย์ป้องกันและส่งเสริมสุขภาพเรื้อรังแห่งชาติ ประเทศสหรัฐอมริกา แนะนา ให้ผู้สูงอายุพบแพทย์เพื่อตรวจสุขภาพประจาปีทุกครั้ง เลือกกินอาหารเพื่อสุขภาพ และออกกาลังกายเป็นประจา เพื่อช่วยป้องกันและรักษาโรคเรื้อรัง อย่างไรก็ตามสาเหตุหนึ่งที่ทาให้ปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุเป็นโรคเรื้อรังมากขึ้น คือ พฤติกรรมการใช้ชีวิต การกิน การเคลื่อนไหวเเละออกกาลังกายน้อย ส่งผลให้ผู้สูงอายุอ้วนมากขึ้น ต้นเหตุของการเกิดโรคเรื้อรังตามมา ในทางตรงกันข้าม หากลดปัจจัยเหล่านี้ หรือเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทาให้อ้วนลงได้ ก็จะช่วยลดอัตตราการเกิดโรคเรื้อรังได้ อ่านเพิ่มเติม :ประสบการณ์สุขภาพ โรคความดันโลหิตสูงกับผู้สูงอายุ ความจา
  • 7. 7 ปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุ ที่พบบ่อย คือ ภาวะสมองเสื่อม มีการสูญเสียการรับรู้ เรื่องระบบคิด ความจา จากข้อมูลทางสถิติพบว่ามีคนทั่วโลก ประมาณ 47.5 ล้านคน มีภาวะสมองเสื่อม ซึ่งในปี 2050 คาดการณ์ว่าจะมีจานวนผู้ป่วยมีภาวะสมองเสื่อมมาก เกือบ 3 เท่า โดยเฉพาะภาวะสมองเสื่อม ในประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นโรคสมองเสื่อมที่พบมากที่สุดในคนที่มีอายุ 65 ปี ประมาณ 5 ล้านคน ข้อมูลจากสถาบันผู้สูงอายุแห่งชาติ ประเทศสหรัฐอเมริกา ระบุว่า สาเหตุที่ทาให้ผู้สูงอายุมีภาวะสมองเสื่อมมากขึ้น เกิดขึ้นได้หลายปัจจัยรวมไปถึงโรคประจาตัวหรือโรคเรื้อรังด้วย เเต่สาหรับโรคที่ส่งผลให้ผู้สูงอายุเสี่ยงต่อการพัฒนาไป่สภาวะสมองเสื่อมได้ เช่น ยา สารเสพติด โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ซึมเศร้า เอชไอวี และการสูบบุหรี่ Advertisement อย่างไรก็ตามในขณะนี้ยังไม่มีการรักษาภาวะสมองเสื่อมได้แน่นอน เพียงเเต่แพทย์สามารถรักษาโรคตามอาการที่เกิดขึ้นจากสภาวะสมองเสื่อมเท่านั้น ผู้สูงอายุ, สุขภาพผู้สูงอายุ, ปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุ, ผุ้สูงวัย, สมองเสื่อม ผู้สูงอายุที่ป่วยเป็นโรคประจาตัวหรือโรคเรื้อรัง เสี่ยงต่อสภาวะสมองเสื่อม สุขภาพจิต ปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุ ที่พบบ่อย คือ ภาวะซึมเศร้า ข้อมูลจากองค์การอนามัยโลกระบุว่า ผู้ใหญ่ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป มีปัญหาทางจิตกว่า 15 เปอร์เซ็นต์ สาหรับโรคทางจิตที่พบบ่อยในผู้สูงอายุคือ ภาวะซึมเศร้า ซึ่งเกิดขึ้นได้ 7 เปอร์เซ็นต์ของจานวนประชากรผู้สูงอายุ แต่น่าเสียดายที่ความผิดปกติทางจิตนี้มักจะ ไม่สามารถวินิจฉัยโรคได้ (underdiagnosed) และรักษาได้ ทาให้ในประเทศสหรัฐอเมริกา มีอัตราการฆ่าตัวตายในผู้สูงอายุมีมากกว่า 18 เปอร์เซ็นต์ เนื่องจากภาวะซึมเศร้าอาจเป็นผลข้างเคียงของภาวะโรคเรื้อรังได้ แนวทางการแก้ไขและจัดการที่ดีนั้น ควรมีการส่งเสริมการดาเนินชีวิตที่ดี ควบคู่กับกับการมีสุขภาพดี เช่นจัดให้มีสภาพความเป็นอยู่ที่ดี มีการช่วยเหลือและสนับสนุนทางสังคม จากครอบครัว เพื่อน หรือเครือข่ายต่างๆเพื่อช่วยรักษา ป้องกันอาการซึมเศร้า อุบัติเหตุ หกล้ม และการบาดเจ็บทางร่างกาย
  • 8. 8 ข้อมูลทางสถิติ ระบุว่า ทุก ๆ 15 วินาที ผู้ใหญ่ที่มีอายุมาก มีจานวนที่ต้องเข้ารักษาในห้องห้องฉุกเฉินจานวนมาก และทุกๆ 29 วินาที พบผู้สูงอายุเสียชีวิตจากการล้ม ซึ่งเป็นสาเหตุการบาดเจ็บอันดับต้น ๆ ของผู้สูงอายุ สาเหตุที่สาคัญทาให้ผู้สูงอายุต้องประสบปัญหาการบาดเจ็บ หกล้มได้ง่าย เพราะความเสื่อมของสภาพร่างกายตามอายุ ผู้สูงอายุจะมีมวลกระดูกน้อย มีโอกาสแตกหักได้ง่าย และมีมวลกล้ามเนื้อน้อยลง สูญเสียความแข็งแรงและความยืดหยุ่น ส่งผลให้สุขภาพผู้สูงอายุมีความเสี่ยงต่อการบาดเจ็บได้ง่าย Advertisement สาหรับโรคที่เสี่ยงทาให้เกิดอุบัติเหตุ เเละการบาดเจ็บทางร่างกายได้ง่าย เช่น โรคกระดูกพรุน และโรคข้อเข่าเสื่อม เป็นต้น อย่างไรก็ตามการหกล้ม บาดเจ็บนั้นอาจหลีกเลี่ยงไม่ได้ แต่ในหลายกรณี และหลายๆเหตุการณ์ ผู้สูงอายุสามารถป้องกันได้ เช่น เพิ่มการออกกาลังกายให้มากขึ้น โดยเฉพาะการออกกาลังกายแบบเเรงต้าน ช่วยเพิ่มมวลกระดูก และการปรับเปลี่ยนสภาพเเวดล้อมภายในบ้าน อ่านเพิ่มเติม : เทคนิคออกกาลังกายสาหรับผู้สูงอายุ ฝึกกล้ามเนื้อเพื่อความคล่องแคล่ว 5. ภาวะทุพโภชนาการ ขาดสารอาหาร ปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุ ที่พบบ่อย คือภาวะการขาดสารอาหาร หรือภาวะทุพโภชนาการ โดยเฉพาะในผู้สูงอายุที่อายุเกิน 65 ปี มักจะมีภาวะขาดสารอาหารที่อาจนาไปสู่ปัญหาสุขภาพอื่นๆตามมา เช่น ระบบภูมิคุ้มกันอ่อนแอ ภาวะกล้ามเนื้ออ่อนแรง ภาวะซึมเศร้า โรคพิษสุราเรื้อรัง เป็นต้น วิธีการง่ายๆ ที่จะช่วยป้องกันการขาดอาหารในผู้สูงอายุได้ คือการส่งเสริมและเพิ่มให้ผู้สูงอายุมีการบริโภคผักและผลไม้มากขึ้น ลดการบริโภคไขมันอิ่มตัว และเกลือให้น้อยลง สาหรับผู้สูงอายุที่ไม่สามารถเตรียมอาหารได้เอง ควรมีลูกหลานที่สามารถจัดอาหารที่ครบตามหลักโภชนาการให้กับผู้สูงอายุได้ วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1 กาหนดหัวข้อโครงงานตามความสนใจ
  • 9. 9 2 หาข้อมูลเกี่ยวข้องกับหัวข้อและนาข้อมูลที่ได้มานาเสนอครูที่ปรึกษาพร้อมทั้ งตั้งคาถามและสมมติฐาน 3 รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับหัวข้อโดยค้นคว้าจากอินเทอร์เน็ตหรือแหล่งเรียนรู้อื่นๆ 4 ลงมือปฏิบัติตามแผนโครงร่าง 5 ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลพรอ้มแก้ไข 6 นาเสนอโครงงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ แบบสารวจและลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมผู้สูงอายุในแต่พื้นที่ งบประมาณ ไม่มีค่าใชจ่ายเนื่องจากเป็นโครงงานที่ใช้การทาแบบสารวจและลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมผู้ สูงอายุในแต่พื้นที่ ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดั บ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดช อบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 1 2 1 3 1 4 1 5 1 6 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อ มูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโคร งงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงา น 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1.เข้าใจถึงสภาพปัญหาที่ผู้สูงอายุต้องพบเจอ 2.ความร่วมมือในการดูแลผู้สูงอายุ สถานที่ดาเนินการ 1. โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย 2. สถานสงเคราะห์คนชรา
  • 10. 10 กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา 3.กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) https://www.thaihealth.or.th/Content/41722- %E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%AB%E0%B8 %B2%E0%B8%AA%E0%B 8%B8%E0%B8%82%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0 %B9%81%E0%B8%A5%E0 %B8%B0%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%97 %E0%B8%B5%E0%B9%88% E0%B8%9E%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B9%88%E0%B8% AD%E0%B8%A2%E0%B9% 83%E0%B8%99%E0%B8%9C%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B 8%AA%E0%B8%B9%E0%B 8%87%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%B8.htm l http://www.bangkokhealth.com/health/article/%E0%B8%9B%E0%B 8%B1%E0%B8%8D%E0%B 8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0 %B8%9E%E0%B8%9A%E0 %B8%9A%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B9%83 %E0%B8%99%E0%B8%9C %E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8 %87%E0%B8%AD%E0%B8 %B2%E0%B8%A2%E0%B8%B8-1778 https://www.bangkokhospital.com/th/disease-treatment/care- for- the-elderly https://goodlifeupdate.com/healthy-body/137700.html