SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน อาการเดินละเมอ (Sleep Walking)
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ นางสาว นิยดา วันชัยพัฒนา เลขที่ 37 ชั้น ม.6 ห้อง 10
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม 1
1 นางสาว นิยดา วันชัยพัฒนา เลขที่37
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
อาการเดินละเมอ
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Sleep Walking
ประเภทโครงงาน โครงงานประเภทสารวจ
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว นิยดา วันชัยพัฒนา
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่อที่ปรึกษาร่วม -
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
อาการละเมอเดิน (อังกฤษ: sleepwalking, somnambulism) เป็นความผิดปกติของการหลับในกลุ่ม
ละเมอ (parasomnia) ผู้มีอาการละเมอเดินจะลุกขึ้นจากขั้นหลับคลื่นช้า (slow wave sleep) ในสภาพความรู้สึกตัว
ต่าและดาเนินกิจกรรมซึ่งปกติดาเนินระหว่างมีความรู้สึกตัวสมบูรณ์ กิจกรรมเหล่านั้นอาจไม่รุนแรง เช่น ลุกขึ้นนั่งบน
เตียง เดินไปห้องน้า และทาความสะอาด หรืออาจอันตราย เช่น ทาอาหาร ขับรถ[1] กิริยารุนแรง คว้าวัตถุภาพหลอน
หรือกระทั่งฆ่าคน
แม้ผู้ป่วยมีอาการละเมอเดินทั่วไปมีพฤติกรรมเรียบ ๆ ซ้า ๆ แต่บางโอกาสมีรายงานผู้มีพฤติกรรมซับซ้อนขณะหลับ
และความชอบด้วยกฎหมายของพฤติกรรมเหล่านั้นยังมักเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ ผู้ละเมอเดินมักมีความจาเล็กน้อย
หรือไม่มีความจาเกี่ยวกับการละเมอเดินเลย เพราะความรู้สึกตัวถูกเปลี่ยนเข้าสู่สภาพซึ่งยากต่อการเรียกคืนความทรง
จา แม้ตาจะเปิด แต่การแสดงออกนั้นมืดมัวและไม่กระจ่าง การละเมอเดินอาจกินเวลานาน 30 วินาทีหรือถึง 30 นาที
ก็ได้
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อศึกษาและทาเข้าใจเกี่ยวกับอาการเดินละเมอ
2.เพื่อศึกษาสาเหตุลักษณะอาการและที่มาของอาการเดินละเมอ
3.เพื่อให้ทราบถึงสัญญาณบอกอาการและวิธีการรักษา
3
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
เพื่อแผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับอาการเดินละเมอ (Sleep Walking) เพื่อเป็นการบอกถึงลักษณะอาการที่เกิดขึ้น
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
อาการละเมอเป็นอีกหนึ่งสัญญาณที่บ่งบอกถึงคุณภาพการนอน ซึ่งเป็นไปในทิศทางที่ไม่ค่อยดีนัก และการละเมอ
บางอย่างยังทาให้เกิดอันตรายได้มากกว่าที่ใครหลายคนคิด อย่างเช่นการละเมอเดินเป็นต้น เพราะมีความเสี่ยงที่จะ
เกิดอุบัติเหตุได้ง่าย
อาการละเมอขณะหลับ เกิดขึ้นในขณะที่สมองของคนเราหลับลึกและมีการเปลี่ยนแปลงแบบกระทันหัน โดยที่การ
เปลี่ยนแปลงนั้นคือมีคลื่นไฟฟ้าแบบการตื่นเข้ามาผสม ทาให้เวลาละเมอเป็นภาวะกึ่งหลับกึ่งตื่น มักเจอได้บ่อยในเด็ก
จึงคาดว่าสาเหตุของการละเมอนั้นอาจมาจากสมองที่ยังพัฒนาไม่เต็มที่ จึงมีความเสี่ยงที่จะละเมอ
นอกจากเรื่องของพัฒนาการทางสมอง ในส่วนของพันธุกรรมก็เป็นส่วนหนึ่งที่ทาให้เกิดการละเมอ หากพ่อแม่มีอาการ
ละเมอ เด็กคนนั้นจะมีโอกาสละเมอมากกว่าคนอื่นเป็นเท่าตัว ส่วนปัจจัยภายนอกที่เกี่ยวข้องกับการละเมอ ได้แก่
ความเจ็บป่วยบางอย่างทางกาย การใช้ยาบางชนิด ความเครียด รวมถึงโรคบางอย่างที่ทาให้การนอนหลับไม่เสถียร
และมีอาการหลับ ๆ ตื่น ๆ โดยปกติแล้วขณะนอนหลับร่างกายคนเราจะเข้าสู่วงจรการนอน สู่การหลับลึกและหลับฝัน
แต่เมื่อมีการละเมอเกิดขึ้น ภาวะการนอนจะเปลี่ยนแปลงเป็นการตื่น ซึ่งจะเกิดขึ้นเป็นระยะส่งผลให้คุณภาพการนอน
ลดลง อาการของการละเมอ แบ่งตามระยะการหลับ ได้แก่ หลับไม่ลึกและหลับลึก หากเป็นระยะจากหลับไม่ลึกไปสู่
การหลับลึก เรียกว่าระยะตาไม่กระตุก ส่วนระยะตากระตุกจะเป็นระยะหลับฝัน โดยการละเมอส่วนใหญ่เกิดในช่วง
หลับลึกและหลับฝัน หากละเมอพูด ละเมอร้อง เหงื่อแตก ใจสั่น ละเมอเดิน มักเกิดในระยะหลับลึก ส่วนการละเมอ
ในช่วงหลับฝันมักเป็นเหมือนฝันร้าย โดยตื่นขึ้นมาแล้วจาได้ว่าเกิดอะไรขึ้น ธรรมดาหากฝันว่าเดิน วิ่ง หรือต่อสู้
ร่างกายจะมีการป้องกันไม่ให้เกิดขึ้นจริง แต่ถ้ารายไหนมีการเคลื่อนไหวร่างกายไม่ว่าจะเดิน วิ่ง เตะ หรือต่อยเกิดขึ้น
จริง ถือเป็นพฤติกรรมที่ผิดปกติขณะหลับ โดยการละเมอเดินเป็นความผิดปกติระหว่างช่วงหลับลึกกับหลับตื้น
กิจกรรมที่ทามีตั้งแต่กิจกรรมง่าย ๆ ไปจนถึงกิจกรรมที่มีความซับซ้อน เช่น ละเมอขับรถ ละเมอมีเพศสัมพันธ์ เป็นต้น
ซึ่งเมื่อเข้าสู่วัยรุ่นอาการจะน้อยลงกว่าวัยเด็ก ยกเว้นมีปัจจัยอื่นมากระตุ้น เช่น เรื่องราวในชีวิต ความเครียด เป็นต้น
ส่วนมากเกิดขึ้นขณะหลับลึก ในส่วนใหญ่คนเราจะมีการหลับลึกเป็นรอบ ๆ จึงมีการละเมอเกิดขึ้นไม่เกินคืนละ 1-2
ครั้ง พบได้น้อยมากที่จะเกิด 3 ครั้งต่อคืน สาหรับอัตราการเกิดต่อสัปดาห์และเดือนจะแตกต่างกันออกไปในแต่ละราย
หากมีปัจจัยมากระตุ้นจะเกิดได้ค่อนข้างถี่ ผลกระทบที่ตามมาจากอาการละเมอคือวิตกกังวล เพราะคนกลุ่มนี้จะกังวล
เมื่อตนเองต้องไปนอนที่อื่นที่ไม่ใช่บ้าน เช่น กิจกรรมค่ายพักแรม ส่วนผลกระทบที่ตามมานอกจากนี้ก็คือการมีปัญหา
กับคนในครอบครัว ในคนที่มีอาการละเมอควรพบแพทย์ก็ต่อเมื่อสงสัยว่าอาการละเมอนั้นอาจไม่ใช่อาการละเมอที่
แท้จริง แต่อาจเป็นอาการชักขณะหลับ สังเกตจากทั่วไปคนเราจะละเมอคืนละ 1-2 ครั้ง หากมากกว่านั้นอาจไม่ใช่การ
ละเมอและควรพบแพทย์ นอกจากนี้ในส่วนของการละเมอเดินจัดเป็นภาวะที่ควรพบแพทย์เช่นกัน เพราะมีความเสี่ยง
ต่อการเกิดอันตรายสูงมาก ในส่วนของการรักษา แพทย์จะทาการซักประวัติและตรวจร่างกายเพื่อหาปัจจัยเสี่ยงที่ทา
ให้เกิดอาการละเมอ เช่น เครียด หรือการใช้ยา เป็นต้น แล้วรักษาตามสาเหตุ หากคนไข้มีความเสี่ยงที่จะเกิดโรคอื่น
ร่วมด้วย เช่น อาการนอนกรน เกิดการอุดกั้นการหายใจขณะหลับ ที่เป็นสาเหตุของการละเมอ ควรได้รับการประเมิน
และได้รับการรักษา อาจมีการตรวจเพิ่มเติม เช่น การตรวจการนอนหลับร่วมด้วย หากพบว่าคนไข้มีอาการละเมอมาก
แพทย์อาจให้ยาเพื่อลดการละเมอ การป้องกันสามารถทาได้โดยการส่งเสริมสุขนิสัยการนอนที่ดี การนอนหลับที่
เพียงพอ เข้านอนและตื่นนอนเป็นเวลา เพื่อคุณภาพการนอนที่ดี ซึ่งเป็นการลดความเสี่ยงในการละเมอลง ทั้งนี้การ
รักษาสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ของการนอนให้เหมาะกับการนอน ก็เป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพการนอนและช่วย
ลดความเสี่ยงต่อการละเมอได้ หากพบว่าสมาชิกในบ้านมีอาการละเมอควรเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด เช่น การล็อคประตู
เพื่อไม่ให้คนไข้เปิดประตูออกไปข้างนอกได้เมื่อเกิดการละเมอ หรือแขวนกระดิ่งไว้ที่ประตู เพื่อเตือนคนในบ้านเมื่อ
คนไข้มีอาการละเมอ และถ้าหากอาศัยอยู่คนเดียวและสงสัยว่าตนเองมีอาการละเมอควรพบแพทย์ ที่สาคัญที่สุด
ห้องนอนทุกห้องต้องปลอดภัย ไม่มีของมีคมหรือไม่มีอันตรายใด ๆ ช่วยลดความเสี่ยงต่ออันตรายที่จะเกิดขึ้นได้ ใน
4
กรณีที่ละเมอไม่มากและนาน ๆ ครั้ง ไม่จาเป็นต้องพบแพทย์ และไม่จาเป็นต้องปลุกให้ตื่น คนในบ้านอาจใช้วิธีกล่อม
และพาไปนอนต่อได้ แต่ถ้าหากพบว่ามีอาการละเมอมากเช่นละเมอเดินหรืออื่น ๆ ที่ทาให้เกิดอันตรายต่อตัวบุคคลนั้น
ได้ ควรรีบพบแพทย์
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
ศึกษาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
คอมพิวเตอร์
อินเทอร์เน็ต
งบประมาณ
-
5
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1.คนในสังคมเข้าใจเกี่ยวกับอาการนี้มากขึ้น
2. ผู้คนรู้สาเหตุอาการการรักษาโรค
รู้ถึงอาการ สาเหตุ การรักษาโรค และเข้าใจเกี่ยวกับอาการนี้มากขึ้น
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1. กลุ่มสาระการงานและเทคโนโลยี
2. กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์
3. กลุ่มสาระสุขศึกษา
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
https://med.mahidol.ac.th/ramachannel/home/article/ /
https://www.honestdocs.co/what-is-sleepwalking

More Related Content

What's hot

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
4315609
 
มหัศจรรย์อาเซียน
มหัศจรรย์อาเซียนมหัศจรรย์อาเซียน
มหัศจรรย์อาเซียน
Ja Palm
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียน
Ja Palm
 

What's hot (20)

2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2562 final-project -1
2562 final-project -12562 final-project -1
2562 final-project -1
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2562-final-project_17
2562-final-project_172562-final-project_17
2562-final-project_17
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
พีม
พีมพีม
พีม
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
Project1 604
Project1 604Project1 604
Project1 604
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Bipolar disorder in adolescents
Bipolar disorder in adolescentsBipolar disorder in adolescents
Bipolar disorder in adolescents
 
Project มหัศจรรย์โลมา
Project มหัศจรรย์โลมาProject มหัศจรรย์โลมา
Project มหัศจรรย์โลมา
 
2561 project 10-yawistha
2561 project 10-yawistha2561 project 10-yawistha
2561 project 10-yawistha
 
มหัศจรรย์อาเซียน
มหัศจรรย์อาเซียนมหัศจรรย์อาเซียน
มหัศจรรย์อาเซียน
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียน
 
2562 final-project -m
2562 final-project -m2562 final-project -m
2562 final-project -m
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
at1
at1at1
at1
 
Lin
LinLin
Lin
 
5
55
5
 

Similar to 2562 final-project 37 (20)

2562 final-project 605-37
2562 final-project 605-372562 final-project 605-37
2562 final-project 605-37
 
2562 final-project 612-33
2562 final-project 612-332562 final-project 612-33
2562 final-project 612-33
 
2562 final-project-615-33
2562 final-project-615-332562 final-project-615-33
2562 final-project-615-33
 
2562 final-project 27
2562 final-project  272562 final-project  27
2562 final-project 27
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
โครงร่างมาย
โครงร่างมายโครงร่างมาย
โครงร่างมาย
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
work 1 project com
work 1 project comwork 1 project com
work 1 project com
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project 44
2562 final-project 442562 final-project 44
2562 final-project 44
 
2562 final-project chonthida
2562 final-project chonthida2562 final-project chonthida
2562 final-project chonthida
 
Tinnitus
TinnitusTinnitus
Tinnitus
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
at1
at1at1
at1
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
Oil pj1
Oil pj1Oil pj1
Oil pj1
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project -1
2562 final-project -12562 final-project -1
2562 final-project -1
 

More from guntjetnipat

More from guntjetnipat (9)

2562 final-project (1)
2562 final-project  (1)2562 final-project  (1)
2562 final-project (1)
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project no.39
2562 final-project no.392562 final-project no.39
2562 final-project no.39
 
2562 final-project 40-610
2562 final-project 40-6102562 final-project 40-610
2562 final-project 40-610
 
2562 final-project -golf-1
2562 final-project -golf-12562 final-project -golf-1
2562 final-project -golf-1
 
2562 final-project 09-issariya
2562 final-project 09-issariya2562 final-project 09-issariya
2562 final-project 09-issariya
 
2562 final-project no.21.
2562 final-project no.21.2562 final-project no.21.
2562 final-project no.21.
 
2562 final-project no.20-610
2562 final-project no.20-6102562 final-project no.20-610
2562 final-project no.20-610
 
2562 final-project no.21..
2562 final-project no.21..2562 final-project no.21..
2562 final-project no.21..
 

2562 final-project 37

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน อาการเดินละเมอ (Sleep Walking) ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ นางสาว นิยดา วันชัยพัฒนา เลขที่ 37 ชั้น ม.6 ห้อง 10 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1 1 นางสาว นิยดา วันชัยพัฒนา เลขที่37 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) อาการเดินละเมอ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Sleep Walking ประเภทโครงงาน โครงงานประเภทสารวจ ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว นิยดา วันชัยพัฒนา ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่อที่ปรึกษาร่วม - ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) อาการละเมอเดิน (อังกฤษ: sleepwalking, somnambulism) เป็นความผิดปกติของการหลับในกลุ่ม ละเมอ (parasomnia) ผู้มีอาการละเมอเดินจะลุกขึ้นจากขั้นหลับคลื่นช้า (slow wave sleep) ในสภาพความรู้สึกตัว ต่าและดาเนินกิจกรรมซึ่งปกติดาเนินระหว่างมีความรู้สึกตัวสมบูรณ์ กิจกรรมเหล่านั้นอาจไม่รุนแรง เช่น ลุกขึ้นนั่งบน เตียง เดินไปห้องน้า และทาความสะอาด หรืออาจอันตราย เช่น ทาอาหาร ขับรถ[1] กิริยารุนแรง คว้าวัตถุภาพหลอน หรือกระทั่งฆ่าคน แม้ผู้ป่วยมีอาการละเมอเดินทั่วไปมีพฤติกรรมเรียบ ๆ ซ้า ๆ แต่บางโอกาสมีรายงานผู้มีพฤติกรรมซับซ้อนขณะหลับ และความชอบด้วยกฎหมายของพฤติกรรมเหล่านั้นยังมักเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ ผู้ละเมอเดินมักมีความจาเล็กน้อย หรือไม่มีความจาเกี่ยวกับการละเมอเดินเลย เพราะความรู้สึกตัวถูกเปลี่ยนเข้าสู่สภาพซึ่งยากต่อการเรียกคืนความทรง จา แม้ตาจะเปิด แต่การแสดงออกนั้นมืดมัวและไม่กระจ่าง การละเมอเดินอาจกินเวลานาน 30 วินาทีหรือถึง 30 นาที ก็ได้ วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อศึกษาและทาเข้าใจเกี่ยวกับอาการเดินละเมอ 2.เพื่อศึกษาสาเหตุลักษณะอาการและที่มาของอาการเดินละเมอ 3.เพื่อให้ทราบถึงสัญญาณบอกอาการและวิธีการรักษา
  • 3. 3 ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) เพื่อแผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับอาการเดินละเมอ (Sleep Walking) เพื่อเป็นการบอกถึงลักษณะอาการที่เกิดขึ้น หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) อาการละเมอเป็นอีกหนึ่งสัญญาณที่บ่งบอกถึงคุณภาพการนอน ซึ่งเป็นไปในทิศทางที่ไม่ค่อยดีนัก และการละเมอ บางอย่างยังทาให้เกิดอันตรายได้มากกว่าที่ใครหลายคนคิด อย่างเช่นการละเมอเดินเป็นต้น เพราะมีความเสี่ยงที่จะ เกิดอุบัติเหตุได้ง่าย อาการละเมอขณะหลับ เกิดขึ้นในขณะที่สมองของคนเราหลับลึกและมีการเปลี่ยนแปลงแบบกระทันหัน โดยที่การ เปลี่ยนแปลงนั้นคือมีคลื่นไฟฟ้าแบบการตื่นเข้ามาผสม ทาให้เวลาละเมอเป็นภาวะกึ่งหลับกึ่งตื่น มักเจอได้บ่อยในเด็ก จึงคาดว่าสาเหตุของการละเมอนั้นอาจมาจากสมองที่ยังพัฒนาไม่เต็มที่ จึงมีความเสี่ยงที่จะละเมอ นอกจากเรื่องของพัฒนาการทางสมอง ในส่วนของพันธุกรรมก็เป็นส่วนหนึ่งที่ทาให้เกิดการละเมอ หากพ่อแม่มีอาการ ละเมอ เด็กคนนั้นจะมีโอกาสละเมอมากกว่าคนอื่นเป็นเท่าตัว ส่วนปัจจัยภายนอกที่เกี่ยวข้องกับการละเมอ ได้แก่ ความเจ็บป่วยบางอย่างทางกาย การใช้ยาบางชนิด ความเครียด รวมถึงโรคบางอย่างที่ทาให้การนอนหลับไม่เสถียร และมีอาการหลับ ๆ ตื่น ๆ โดยปกติแล้วขณะนอนหลับร่างกายคนเราจะเข้าสู่วงจรการนอน สู่การหลับลึกและหลับฝัน แต่เมื่อมีการละเมอเกิดขึ้น ภาวะการนอนจะเปลี่ยนแปลงเป็นการตื่น ซึ่งจะเกิดขึ้นเป็นระยะส่งผลให้คุณภาพการนอน ลดลง อาการของการละเมอ แบ่งตามระยะการหลับ ได้แก่ หลับไม่ลึกและหลับลึก หากเป็นระยะจากหลับไม่ลึกไปสู่ การหลับลึก เรียกว่าระยะตาไม่กระตุก ส่วนระยะตากระตุกจะเป็นระยะหลับฝัน โดยการละเมอส่วนใหญ่เกิดในช่วง หลับลึกและหลับฝัน หากละเมอพูด ละเมอร้อง เหงื่อแตก ใจสั่น ละเมอเดิน มักเกิดในระยะหลับลึก ส่วนการละเมอ ในช่วงหลับฝันมักเป็นเหมือนฝันร้าย โดยตื่นขึ้นมาแล้วจาได้ว่าเกิดอะไรขึ้น ธรรมดาหากฝันว่าเดิน วิ่ง หรือต่อสู้ ร่างกายจะมีการป้องกันไม่ให้เกิดขึ้นจริง แต่ถ้ารายไหนมีการเคลื่อนไหวร่างกายไม่ว่าจะเดิน วิ่ง เตะ หรือต่อยเกิดขึ้น จริง ถือเป็นพฤติกรรมที่ผิดปกติขณะหลับ โดยการละเมอเดินเป็นความผิดปกติระหว่างช่วงหลับลึกกับหลับตื้น กิจกรรมที่ทามีตั้งแต่กิจกรรมง่าย ๆ ไปจนถึงกิจกรรมที่มีความซับซ้อน เช่น ละเมอขับรถ ละเมอมีเพศสัมพันธ์ เป็นต้น ซึ่งเมื่อเข้าสู่วัยรุ่นอาการจะน้อยลงกว่าวัยเด็ก ยกเว้นมีปัจจัยอื่นมากระตุ้น เช่น เรื่องราวในชีวิต ความเครียด เป็นต้น ส่วนมากเกิดขึ้นขณะหลับลึก ในส่วนใหญ่คนเราจะมีการหลับลึกเป็นรอบ ๆ จึงมีการละเมอเกิดขึ้นไม่เกินคืนละ 1-2 ครั้ง พบได้น้อยมากที่จะเกิด 3 ครั้งต่อคืน สาหรับอัตราการเกิดต่อสัปดาห์และเดือนจะแตกต่างกันออกไปในแต่ละราย หากมีปัจจัยมากระตุ้นจะเกิดได้ค่อนข้างถี่ ผลกระทบที่ตามมาจากอาการละเมอคือวิตกกังวล เพราะคนกลุ่มนี้จะกังวล เมื่อตนเองต้องไปนอนที่อื่นที่ไม่ใช่บ้าน เช่น กิจกรรมค่ายพักแรม ส่วนผลกระทบที่ตามมานอกจากนี้ก็คือการมีปัญหา กับคนในครอบครัว ในคนที่มีอาการละเมอควรพบแพทย์ก็ต่อเมื่อสงสัยว่าอาการละเมอนั้นอาจไม่ใช่อาการละเมอที่ แท้จริง แต่อาจเป็นอาการชักขณะหลับ สังเกตจากทั่วไปคนเราจะละเมอคืนละ 1-2 ครั้ง หากมากกว่านั้นอาจไม่ใช่การ ละเมอและควรพบแพทย์ นอกจากนี้ในส่วนของการละเมอเดินจัดเป็นภาวะที่ควรพบแพทย์เช่นกัน เพราะมีความเสี่ยง ต่อการเกิดอันตรายสูงมาก ในส่วนของการรักษา แพทย์จะทาการซักประวัติและตรวจร่างกายเพื่อหาปัจจัยเสี่ยงที่ทา ให้เกิดอาการละเมอ เช่น เครียด หรือการใช้ยา เป็นต้น แล้วรักษาตามสาเหตุ หากคนไข้มีความเสี่ยงที่จะเกิดโรคอื่น ร่วมด้วย เช่น อาการนอนกรน เกิดการอุดกั้นการหายใจขณะหลับ ที่เป็นสาเหตุของการละเมอ ควรได้รับการประเมิน และได้รับการรักษา อาจมีการตรวจเพิ่มเติม เช่น การตรวจการนอนหลับร่วมด้วย หากพบว่าคนไข้มีอาการละเมอมาก แพทย์อาจให้ยาเพื่อลดการละเมอ การป้องกันสามารถทาได้โดยการส่งเสริมสุขนิสัยการนอนที่ดี การนอนหลับที่ เพียงพอ เข้านอนและตื่นนอนเป็นเวลา เพื่อคุณภาพการนอนที่ดี ซึ่งเป็นการลดความเสี่ยงในการละเมอลง ทั้งนี้การ รักษาสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ของการนอนให้เหมาะกับการนอน ก็เป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพการนอนและช่วย ลดความเสี่ยงต่อการละเมอได้ หากพบว่าสมาชิกในบ้านมีอาการละเมอควรเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด เช่น การล็อคประตู เพื่อไม่ให้คนไข้เปิดประตูออกไปข้างนอกได้เมื่อเกิดการละเมอ หรือแขวนกระดิ่งไว้ที่ประตู เพื่อเตือนคนในบ้านเมื่อ คนไข้มีอาการละเมอ และถ้าหากอาศัยอยู่คนเดียวและสงสัยว่าตนเองมีอาการละเมอควรพบแพทย์ ที่สาคัญที่สุด ห้องนอนทุกห้องต้องปลอดภัย ไม่มีของมีคมหรือไม่มีอันตรายใด ๆ ช่วยลดความเสี่ยงต่ออันตรายที่จะเกิดขึ้นได้ ใน
  • 4. 4 กรณีที่ละเมอไม่มากและนาน ๆ ครั้ง ไม่จาเป็นต้องพบแพทย์ และไม่จาเป็นต้องปลุกให้ตื่น คนในบ้านอาจใช้วิธีกล่อม และพาไปนอนต่อได้ แต่ถ้าหากพบว่ามีอาการละเมอมากเช่นละเมอเดินหรืออื่น ๆ ที่ทาให้เกิดอันตรายต่อตัวบุคคลนั้น ได้ ควรรีบพบแพทย์ วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน ศึกษาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต งบประมาณ -
  • 5. 5 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1.คนในสังคมเข้าใจเกี่ยวกับอาการนี้มากขึ้น 2. ผู้คนรู้สาเหตุอาการการรักษาโรค รู้ถึงอาการ สาเหตุ การรักษาโรค และเข้าใจเกี่ยวกับอาการนี้มากขึ้น สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1. กลุ่มสาระการงานและเทคโนโลยี 2. กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ 3. กลุ่มสาระสุขศึกษา แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) https://med.mahidol.ac.th/ramachannel/home/article/ / https://www.honestdocs.co/what-is-sleepwalking