SlideShare a Scribd company logo
1 of 25
Download to read offline
อาจารย์สุธารัตน์ ชาวนาฟาง
สาขาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
เอกสารนี้ เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา Webpage Design and Programming Workshop
Webpage Design and Programming Workshop
ภาษา PHP
• ย่อมาจาก Hypertext Preprocessor
• สามารถเขียนแทรกอยู่ภายในภาษา HTML
• ความสามารถของ PHP คือ database-enabled web page ทาให้เอกสารของ
ภาษา HTML สามารถที่จะเชื่อมต่อกับระบบฐานข้อมูล (database)
• ดังนั้นภาษา PHP เป็นภาษาที่เรียกว่า server-side หรือ HTML-embedded s
cripting language เป็นเครื่องมือที่สาคัญชนิดหนึ่งที่ช่วยให้สามารถสร้าง
เอกสารแบบ Dynamic HTML ได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีลูกเล่นมากขึ้น
Webpage Design and Programming Workshop
การทางานของภาษา PHP
• PHP เป็นภาษาที่มีการประมวลผลทางเครื่องผู้ให้บริการ (Server)
• โดยเป็นเครื่องมือที่ทาให้สามารถสร้างไฟล์เอกสารประเภท HTML ที่มีการ
เคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงได้หรือที่เรียกว่าพลวัต (Dynamic HTML)
• การที่เครื่องบริการมีการประมวลผลก่อนส่งข้อมูลมายังเครื่องผู้ใช้ เรียกว่า
Server Side Include (SSI) ซึ่งจะทางานในฝั่ง server แล้วส่งการแสดงผล
มายัง browser ของตัว Client และนอกจากนี้ ยังเป็น script ที่ embed บน
HTML อีกด้วย และการทางานในลักษณะนี้ ทาให้ความเร็วในการทางานสูงขึ้น
อีกด้วย
Webpage Design and Programming Workshop
การทางานของภาษา PHP
Webpage Design and Programming Workshop
ความสามารถของ PHP
• เป็นภาษาที่มีลักษณะเป็นแบบ Open source
• เป็นสคริปต์แบบ Server Side Script ทางานบนเว็บเซิร์ฟเวอร์ และส่งผลลัพธ์
ที่ได้จากการประมวลผลมาที่เครื่องของผู้ใช้ในรูปแบบของ HTML
• สามารถทางานได้ใน OS ที่ต่างชนิดกัน
• สามารถทางานได้ใน Web Server หลายชนิด เช่น Personal Web Server
(PWS), Apache, OmniHttpd และ IIS เป็นต้น
Webpage Design and Programming Workshop
ความสามารถของ PHP
• สนับสนุนการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object Oriented Programming)
• สามารถในการทางานร่วมกับระบบจัดการฐานข้อมูลที่หลากหลาย เช่น
Oracle, MySQL, FilePro, Solid, FrontBase, mySQL และ MS SQL เป็นต้น
• อนุญาตให้ผู้ใช้สร้างเว็บไซต์ซึ่งทางานผ่านโปรโตคอลชนิดต่างๆ ได้ เช่น
LDAP, IMAP, SNMP, POP3 และ HTTP เป็นต้น
• สามารถเขียน และอ่านในรูปแบบของ XML ได้
แบบ PHP tags เรียกว่า
1 <? …. คาสั่งภาษา PHP …..?> short style
2 <?php .….…. คาสั่งภาษา PHP ….... ?> XML style
3 <script language="php">..…. คาสั่ง…...</script> JavaScript
style
4 <% ..…. คาสั่งภาษา PHP …... %> ASP style
Webpage Design and Programming Workshop
รูปแบบของคาสั่ง
Webpage Design and Programming Workshop
รูปแบบของคาสั่ง
<html>
<head>
<title> My Homepage </title></head>
<body>
<h1> <?php echo "Hello World!"; ?> </h1>
</body>
</html>
Webpage Design and Programming Workshop
รูปแบบของคาสั่ง
<HTML>
<HEAD><TITLE> ฝึกการเขียนภาษา PHP </TITLE></HEAD>
<BODY>
<H1>
<? echo "นี่คือการแสดงผลข้อความในภาษา PHP <br></n>";
echo ("อีกรูปแบบหนึ่งของการแสดงผลข้อความในภาษา PHP ");
//echo เป็นคาสั่งให้แสดงโปรแกรมแสดงผลทาง Browser
// เครื่องหมาย "//" เรียกว่า comment
/* หรืออีกรูปแบบหนึ่งของ comment เครื่องหมาย </n> ทาให้ภาษา PHP เป็นการขึ้นบรรทัด
ใหม่ เครื่องหมาย <br> จะเป็นคาสั่งให้การแปลผลของ Browser ขึ้นบรรทัดใหม่ */
?>
</H1>
</BODY> </HTML>
Webpage Design and Programming Workshop
คาสั่งแสดงผล
คาสั่งการแสดงผลออกทาง Browser มี 3 ตัวคือ echo, print และ printf ดังนี้
1. คาสั่ง echo
• สามารถแยกข้อความเป็นหลายช่วงในเครื่องหมาย “……...” โดยแต่ละช่วง
สามารถใช้เครื่องหมายจุลภาค (,) คั่น
แบบที่ 1
echo "ข้อความที่ต้องการแสดง" ;
แบบที่ 2
echo ("ข้อความที่ต้องการแสดง") ;
<?
echo "Hello<br>";
echo ("sunday");
?>
Webpage Design and Programming Workshop
คาสั่งแสดงผล
2. คาสั่ง print
• ใช้ในการสร้างข้อความให้กับ Text File หากต้องการสร้าง Text File ด้วย
Code ภาษา PHP ต้องใช้ print() ส่วนการแสดงผลออกทางหน้าเว็บจะใช้
echo() หรือ print() ก็ได้ไม่แตกต่างอะไร
แบบที่ 1
print"ข้อความที่ต้องการแสดง";
แบบที่ 2
print("ข้อความที่ต้องการแสดง");
<?php
print"Hello<br>" ;
print("sunday") ;
?>
Webpage Design and Programming Workshop
คาสั่งแสดงผล
3. คาสั่ง printf
• เป็นคาสั่งที่ใช้ในการแสดงผลออกทางหน้าเว็บ
• สร้างข้อความให้กับ Text file ไม่ว่าจะเป็นจานวนเต็ม (int) , ทศนิยม (flo
at) , ข้อความ (string) หรืออักขระ
• นอกจากนี้ คาสั่งยังมีความยืดหยุ่นสูง โดยสามารถกาหนดหรือจัดรูปแบบ
การแสดงผลให้มีระเบียบหรือเหมาะสมตามความต้องการได้อีกด้วย
Webpage Design and Programming Workshop
คาสั่งแสดงผล
3. คาสั่ง printf
printf($format,$value);
$format คือรูปแบบหรือรหัสแทนข้อมูล ดังนี้
%d = เลขฐานสิบ
%o = เลขฐานแปด
%b = เลขฐานสอง
%c = รหัส ASCII
%s = ข้อความ
%x,%X = เลขฐานสิบหก
%f = ทศนิยม
$value คือตัวแปร/นิพจน์ที่ต้องการแสดงข้อมูล
<?php
printf("100*2=%d",100*2);
echo "<br>";
printf("100*2=%.2f",100*2);
echo "<br>";
printf("100*2=%c",100*2);
echo "<br>";
printf("%s","Sutarat Chaonafang");
?>
Webpage Design and Programming Workshop
ฟังก์ชันที่ใช้ในการตรวจสอบเงื่อนไข
1. คาสั่งตรวจสอบเงื่อนไขแบบทางเลือกเดียว (คาสั่ง if )
• คาสั่งตรวจสอบเงื่อนไขแบบทางเลือกเดียว จะทาคาสั่งก็ต่อเมื่อเงื่อนไขเป็นจริง
if (เงื่อนไข) {
กิจกรรมหรือคาสั่ง เมื่อเงื่อนไขข้างต้นเป็นจริง
}
$A = 2;
if ( $A == 2 ) {
echo "ตัวแปรชื่อ A มีค่าเท่ากับ 2";
}
Webpage Design and Programming Workshop
ฟังก์ชันที่ใช้ในการตรวจสอบเงื่อนไข
2. คาสั่งตรวจสอบเงื่อนไขแบบสองทางเลือก (คาสั่ง if...else)
• คาสั่งตรวจสอบเงื่อนไขแบบทางเลือกเดียว จะทาคาสั่งก็ต่อเมื่อ เงื่อนไขเป็นจริง
และจะทาคาสั่งหลัง else ก็ต่อเมื่อเงื่อนไขเป็นเท็จ
if (เงื่อนไข)
{
คาสั่งเมื่อเงื่อนไขข้างต้นเป็นจริง
}
else
{
คาสั่งเมื่อเงื่อนไขข้างต้นเป็นเท็จ
}
$A = 2;
if ($A == 2)
{
echo "ตัวแปรชื่อ A มีค่าเท่ากับ 2";
}
else
{
echo "ตัวแปรชื่อ A มีค่าไม่เท่ากับ 2";
}
Webpage Design and Programming Workshop
ฟังก์ชันที่ใช้ในการตรวจสอบเงื่อนไข
3. คาสั่งตรวจสอบเงื่อนไขแบบสองทางเลือก (คาสั่ง if...else if ... )
• คาสั่งตรวจสอบเงื่อนไขแบบทางเลือกเดียว จะทาคาสั่งก็ต่อเมื่อ เงื่อนไขเป็นจริง
และจะทาคาสั่งหลัง else ก็ต่อเมื่อเงื่อนไขเป็นเท็จ
Webpage Design and Programming Workshop
ฟังก์ชันที่ใช้ในการตรวจสอบเงื่อนไข
if (เงื่อนไขที่ 1)
{
คาสั่ง เมื่อเงื่อนไขที่ 1 เป็นจริง
}
elseif (เงื่อนไขที่ 2)
{
คาสั่ง เมื่อเงื่อนไขที่ 2 เป็นจริง
}
else
{
คาสั่ง เมื่อเงื่อนไขที่ 1 และ 2 เป็นเท็จ
}
$A = 2;
if ( $A == 2 )
{
echo "ตัวแปรชื่อ A มีค่าเท่ากับ 2";
}
elseif ($A==1)
{
echo "ตัวแปรชื่อ A มีค่าเท่ากับ 1";
}
else
{
echo"ตัวแปรชื่อ A มีค่าไม่เท่ากับ 1 และ 2";
}
Webpage Design and Programming Workshop
ฟังก์ชันที่ใช้ในการตรวจสอบเงื่อนไข
4. การตรวจสอบเงื่อนไขโดยใช้ switch
• เป็นคาสั่งที่ใช้สาหรับตรวจสอบเงื่อนไขเหมือนกับ if
swicth ( ค่าตัวแปรที่ใช้ตรวจสอบ )
{
case (ค่าที่ 1 ):
คาสั่งที่จะทาเมื่อเงื่อนไขตรงกับค่าที่ 1
break;
case (ค่าที่ 2 ):
คาสั่งที่จะทาเมื่อเงื่อนไขตรงกับค่าที่ 1
break;
default:
คาสั่งที่จะทาเมื่อเงื่อนไขไม่ตรงกับค่าใด ๆ เลย
}
Webpage Design and Programming Workshop
ฟังก์ชันที่ใช้ในการตรวจสอบเงื่อนไข
$A = "ณ เชียงใหม่";
swicth ( $A )
{
case ( "วัชรพงษ์" ):
echo "ชื่อ";
break;
case ( "ณ เชียงใหม่" ):
echo "นามสกุล";
break;
default:
echo "อะไรก็ไม่รู้";
}
4. การตรวจสอบเงื่อนไขโดยใช้ switch
Webpage Design and Programming Workshop
การส่งข้อมูลเพื่อการประมวลผล
• สิ่งที่สาคัญสาหรับการเขียนโปรแกรมในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต คือการส่ง
ข้อมูลจากเครื่องผู้ใช้โดยทั่วไป เพื่อเหตุผลต่าง ๆ ซึ่งทาให้ข้อมูลต่างๆของ
เว็บไซต์ มีปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้ ดังนั้นการ submit ฟอร์มเพื่อส่งข้อมูลไปยัง
ไฟล์โปรแกรม PHP การเก็บข้อมูลของผู้ใช้ของเครื่องให้บริการ หรือการ
กลั่นกรองข้อมูลเพื่อส่งออกแสดงผลยังเครื่องผู้ใช้ การส่งค่าผ่านทางเว็บ
เพจ ใน HTML จะมีการการส่งค่าได้ 2 รูปแบบ นั่นคือ
Webpage Design and Programming Workshop
การส่งข้อมูลเพื่อการประมวลผล
1. Post
• เมื่อ submit ฟอร์มด้วย method=post ข้อมูลที่อยู่ภายใน Form จะถูกส่งไป
เก็บไว้ในตัวแปรตัวหนึ่งใน Web Server ตัวแปรนี้ คือ CONTENT_LENGTH ซึ่ง
ในการ post นี้ จะใช้ในกรณีที่ข้อมูลมีปริมาณมาก
2. Get
• แต่ถ้าใช้ method = Get ค่าที่ได้จากการ submit จะส่งไปให้กับ PHP โดย
ผ่าน URL ไปเก็บไว้ในตัวแปร QUERY_STRING ของ Web Server ถ้าเปลี่ยน
จาก method = Post เป็น Get เมื่อ submit ให้สังเกตที่ช่อง Address จะพบ
ข้อมูลที่ส่งโดยมีรหัสต่าง ๆ แทรกไปด้วย ดังนี้
Webpage Design and Programming Workshop
การส่งข้อมูลเพื่อการประมวลผล
• ? เครื่องหมาย ? จะกั้นระหว่าง URL กับข้อมูล
• key = value ข้อมูลที่ถูกส่งมา
• & คั่นระหว่าง key = value แต่ละอุปกรณ์ (ถ้ามี
key มากกว่า 1)
• + แทนที่ช่องว่าง
Webpage Design and Programming Workshop
การส่งข้อมูลเพื่อการประมวลผล
ข้อแตกต่างระหว่าง Post และ Get
GET
• การส่งข้อมูลแบบ GET = http://localhost/BSC442/welcome2.php?na
me=sunisa++phonphan&age=22&submit=Submit (โดยจะแสดงตัวแปร
และค่าตัวแปรที่ส่ง)
• ข้อดีของ get คือ ไม่ต้องสร้างฟอร์ม ก็สามารถ
• ข้อเสีย คนอื่นสามารถเข้าถึงข้อมูลได้ง่าย
POST
• การส่งข้อมูลแบบ POST = http://localhost/BSC442/welcome1.php
• ข้อดี มีความปลอดภัยมากกว่า
Webpage Design and Programming Workshop
การติดต่อกับฐานข้อมูล MySQL
mysql_connect(host,user,pass); ฟังก์ชั่นใช้ในการติดต่อฐานข้อมูล
mysql_db_query(Db,SQL); ฟังก์ชั่นส่งคาสั่งให้ภาษา SQL
ประมวลผล
mysql_fetch_array($result); ฟังก์ชั่นอ่านข้อมูลหนึ่งแถวใน
ตารางเข้าเก็บในตัวแปร
mysql_close(); ฟังก์ชั่นยกเลิกการติดต่อฐานข้อมูล
ภาษา php

More Related Content

What's hot

คู่มือJavascript and Python
คู่มือJavascript and Pythonคู่มือJavascript and Python
คู่มือJavascript and PythonBongkotporn Jachernram
 
โปรแกรมประยุกต์บนเว็บ
โปรแกรมประยุกต์บนเว็บโปรแกรมประยุกต์บนเว็บ
โปรแกรมประยุกต์บนเว็บanuchit025
 
ใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtml
ใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtmlใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtml
ใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtmlSamorn Tara
 
โปรแกรม dream 8
โปรแกรม dream 8โปรแกรม dream 8
โปรแกรม dream 8kruppp46
 
การขึ้นบรรทัดใหม่ของข้อความ
การขึ้นบรรทัดใหม่ของข้อความการขึ้นบรรทัดใหม่ของข้อความ
การขึ้นบรรทัดใหม่ของข้อความ30082527
 
Javacentrix com chap08-0
Javacentrix com chap08-0Javacentrix com chap08-0
Javacentrix com chap08-0Theeravaj Tum
 
Hyper text markup language
Hyper  text  markup  languageHyper  text  markup  language
Hyper text markup languageungpao
 
บทที่ 5 การจัดการข้อความ
บทที่ 5 การจัดการข้อความบทที่ 5 การจัดการข้อความ
บทที่ 5 การจัดการข้อความNattipong Siangyen
 
เนื้อหา Html
เนื้อหา Htmlเนื้อหา Html
เนื้อหา HtmlRungnapha Naka
 
Dreamweaver แนะโปรแกรมและวิธีใช้
Dreamweaver แนะโปรแกรมและวิธีใช้Dreamweaver แนะโปรแกรมและวิธีใช้
Dreamweaver แนะโปรแกรมและวิธีใช้Webidea Petchtharat
 
การสร้างเว็บเพจด้วยภาษา Html
การสร้างเว็บเพจด้วยภาษา Htmlการสร้างเว็บเพจด้วยภาษา Html
การสร้างเว็บเพจด้วยภาษา HtmlFair Kung Nattaput
 
การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา HTML
การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา HTMLการเขียนเว็บเพจด้วยภาษา HTML
การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา HTMLMjjeje Mint
 

What's hot (19)

Php
PhpPhp
Php
 
คู่มือJavascript and Python
คู่มือJavascript and Pythonคู่มือJavascript and Python
คู่มือJavascript and Python
 
โปรแกรมประยุกต์บนเว็บ
โปรแกรมประยุกต์บนเว็บโปรแกรมประยุกต์บนเว็บ
โปรแกรมประยุกต์บนเว็บ
 
lesson2 JSP
lesson2 JSPlesson2 JSP
lesson2 JSP
 
ใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtml
ใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtmlใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtml
ใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtml
 
โปรแกรม dream 8
โปรแกรม dream 8โปรแกรม dream 8
โปรแกรม dream 8
 
HTML5 Startup
HTML5 StartupHTML5 Startup
HTML5 Startup
 
การขึ้นบรรทัดใหม่ของข้อความ
การขึ้นบรรทัดใหม่ของข้อความการขึ้นบรรทัดใหม่ของข้อความ
การขึ้นบรรทัดใหม่ของข้อความ
 
Javacentrix com chap08-0
Javacentrix com chap08-0Javacentrix com chap08-0
Javacentrix com chap08-0
 
lesson3 JSP
lesson3 JSPlesson3 JSP
lesson3 JSP
 
Php พื้นฐาน ตอนที่2
Php พื้นฐาน ตอนที่2Php พื้นฐาน ตอนที่2
Php พื้นฐาน ตอนที่2
 
Hyper text markup language
Hyper  text  markup  languageHyper  text  markup  language
Hyper text markup language
 
PHP & Dreamweaver ch03
PHP & Dreamweaver  ch03 PHP & Dreamweaver  ch03
PHP & Dreamweaver ch03
 
บทที่ 5 การจัดการข้อความ
บทที่ 5 การจัดการข้อความบทที่ 5 การจัดการข้อความ
บทที่ 5 การจัดการข้อความ
 
เนื้อหา Html
เนื้อหา Htmlเนื้อหา Html
เนื้อหา Html
 
Dreamweaver แนะโปรแกรมและวิธีใช้
Dreamweaver แนะโปรแกรมและวิธีใช้Dreamweaver แนะโปรแกรมและวิธีใช้
Dreamweaver แนะโปรแกรมและวิธีใช้
 
ภาษา Jsp
ภาษา Jspภาษา Jsp
ภาษา Jsp
 
การสร้างเว็บเพจด้วยภาษา Html
การสร้างเว็บเพจด้วยภาษา Htmlการสร้างเว็บเพจด้วยภาษา Html
การสร้างเว็บเพจด้วยภาษา Html
 
การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา HTML
การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา HTMLการเขียนเว็บเพจด้วยภาษา HTML
การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา HTML
 

Similar to ภาษา php

PHP Tutorial (introduction)
PHP Tutorial (introduction)PHP Tutorial (introduction)
PHP Tutorial (introduction)Tinnakorn Puttha
 
รายงาน PHP - Know2pro.com
รายงาน PHP - Know2pro.comรายงาน PHP - Know2pro.com
รายงาน PHP - Know2pro.comKnow Mastikate
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05Jenchoke Tachagomain
 
เริ่มต้นกับ PHP
เริ่มต้นกับ PHPเริ่มต้นกับ PHP
เริ่มต้นกับ PHPEKNARIN
 
(Php basic 1 [โหมดความเข้ากันได้])
(Php basic 1 [โหมดความเข้ากันได้])(Php basic 1 [โหมดความเข้ากันได้])
(Php basic 1 [โหมดความเข้ากันได้])krunoommr
 
ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีHathaichon Nonruongrit
 
การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++Naowarat Jaikaroon
 
เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฎิบัติการ การสร้างเว็บไซต์ด้วยภาษา PHP และ ภาษา SQL
เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฎิบัติการ การสร้างเว็บไซต์ด้วยภาษา PHP และ ภาษา SQLเอกสารประกอบการอบรมเชิงปฎิบัติการ การสร้างเว็บไซต์ด้วยภาษา PHP และ ภาษา SQL
เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฎิบัติการ การสร้างเว็บไซต์ด้วยภาษา PHP และ ภาษา SQLPhranakornsoft
 
OAI-PMH with Drupal + XAMPP Portable + PKP OHS
OAI-PMH with Drupal + XAMPP Portable + PKP OHSOAI-PMH with Drupal + XAMPP Portable + PKP OHS
OAI-PMH with Drupal + XAMPP Portable + PKP OHSBoonlert Aroonpiboon
 

Similar to ภาษา php (20)

PHP Tutorial (introduction)
PHP Tutorial (introduction)PHP Tutorial (introduction)
PHP Tutorial (introduction)
 
รายงาน PHP - Know2pro.com
รายงาน PHP - Know2pro.comรายงาน PHP - Know2pro.com
รายงาน PHP - Know2pro.com
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05
 
Php1
Php1Php1
Php1
 
เริ่มต้นกับ PHP
เริ่มต้นกับ PHPเริ่มต้นกับ PHP
เริ่มต้นกับ PHP
 
Introduction to PHP programming
Introduction to PHP programmingIntroduction to PHP programming
Introduction to PHP programming
 
Training php
Training phpTraining php
Training php
 
(Php basic 1 [โหมดความเข้ากันได้])
(Php basic 1 [โหมดความเข้ากันได้])(Php basic 1 [โหมดความเข้ากันได้])
(Php basic 1 [โหมดความเข้ากันได้])
 
ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซี
 
Php beginner
Php beginnerPhp beginner
Php beginner
 
Greenstone Installation
Greenstone InstallationGreenstone Installation
Greenstone Installation
 
การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++
 
เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฎิบัติการ การสร้างเว็บไซต์ด้วยภาษา PHP และ ภาษา SQL
เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฎิบัติการ การสร้างเว็บไซต์ด้วยภาษา PHP และ ภาษา SQLเอกสารประกอบการอบรมเชิงปฎิบัติการ การสร้างเว็บไซต์ด้วยภาษา PHP และ ภาษา SQL
เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฎิบัติการ การสร้างเว็บไซต์ด้วยภาษา PHP และ ภาษา SQL
 
Learn 1
Learn 1Learn 1
Learn 1
 
Php week 2
Php week 2Php week 2
Php week 2
 
Doc1
Doc1Doc1
Doc1
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
OAI-PMH with Drupal + XAMPP Portable + PKP OHS
OAI-PMH with Drupal + XAMPP Portable + PKP OHSOAI-PMH with Drupal + XAMPP Portable + PKP OHS
OAI-PMH with Drupal + XAMPP Portable + PKP OHS
 
Computer Programming 1
Computer Programming 1Computer Programming 1
Computer Programming 1
 
ประวัติความเป็นมาภาษาซี
ประวัติความเป็นมาภาษาซีประวัติความเป็นมาภาษาซี
ประวัติความเป็นมาภาษาซี
 

More from CC Nakhon Pathom Rajabhat University

ปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจ
ปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจ
ปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบ
การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบการนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบ
การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซการออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุต
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุตการออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุต
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุตCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศการพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
บทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธา
บทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธาบทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธา
บทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธาCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
การประยุกต์ใช้ในงานทางไฟฟ้า
การประยุกต์ใช้ในงานทางไฟฟ้าการประยุกต์ใช้ในงานทางไฟฟ้า
การประยุกต์ใช้ในงานทางไฟฟ้าCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
การประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกล
การประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกลการประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกล
การประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกลCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
ฟังก์ชันต่อเนื่อง (continuous function)
ฟังก์ชันต่อเนื่อง (continuous function)ฟังก์ชันต่อเนื่อง (continuous function)
ฟังก์ชันต่อเนื่อง (continuous function)CC Nakhon Pathom Rajabhat University
 

More from CC Nakhon Pathom Rajabhat University (20)

session cookies
session cookiessession cookies
session cookies
 
ปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจ
ปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจ
ปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจ
 
การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบ
การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบการนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบ
การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบ
 
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซการออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
 
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุต
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุตการออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุต
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุต
 
Entity Relationship
Entity RelationshipEntity Relationship
Entity Relationship
 
แบบจำลองระบบ
แบบจำลองระบบแบบจำลองระบบ
แบบจำลองระบบ
 
การวิเคราะห์ระบบ 2
การวิเคราะห์ระบบ 2การวิเคราะห์ระบบ 2
การวิเคราะห์ระบบ 2
 
การวิเคราะห์ระบบ 1
การวิเคราะห์ระบบ 1การวิเคราะห์ระบบ 1
การวิเคราะห์ระบบ 1
 
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศการพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
 
บทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธา
บทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธาบทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธา
บทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธา
 
การประยุกต์ใช้ในงานทางไฟฟ้า
การประยุกต์ใช้ในงานทางไฟฟ้าการประยุกต์ใช้ในงานทางไฟฟ้า
การประยุกต์ใช้ในงานทางไฟฟ้า
 
การประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกล
การประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกลการประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกล
การประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกล
 
อินทิกรัลของฟังก์ชัน
อินทิกรัลของฟังก์ชันอินทิกรัลของฟังก์ชัน
อินทิกรัลของฟังก์ชัน
 
อนุพันธ์ของฟังก์ชัน
อนุพันธ์ของฟังก์ชันอนุพันธ์ของฟังก์ชัน
อนุพันธ์ของฟังก์ชัน
 
ฟังก์ชันต่อเนื่อง (continuous function)
ฟังก์ชันต่อเนื่อง (continuous function)ฟังก์ชันต่อเนื่อง (continuous function)
ฟังก์ชันต่อเนื่อง (continuous function)
 
ลิมิตและฟังก์ชัน
ลิมิตและฟังก์ชันลิมิตและฟังก์ชัน
ลิมิตและฟังก์ชัน
 
ภาษาจีน ตัวเลข
ภาษาจีน ตัวเลขภาษาจีน ตัวเลข
ภาษาจีน ตัวเลข
 

ภาษา php

  • 2. Webpage Design and Programming Workshop ภาษา PHP • ย่อมาจาก Hypertext Preprocessor • สามารถเขียนแทรกอยู่ภายในภาษา HTML • ความสามารถของ PHP คือ database-enabled web page ทาให้เอกสารของ ภาษา HTML สามารถที่จะเชื่อมต่อกับระบบฐานข้อมูล (database) • ดังนั้นภาษา PHP เป็นภาษาที่เรียกว่า server-side หรือ HTML-embedded s cripting language เป็นเครื่องมือที่สาคัญชนิดหนึ่งที่ช่วยให้สามารถสร้าง เอกสารแบบ Dynamic HTML ได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีลูกเล่นมากขึ้น
  • 3. Webpage Design and Programming Workshop การทางานของภาษา PHP • PHP เป็นภาษาที่มีการประมวลผลทางเครื่องผู้ให้บริการ (Server) • โดยเป็นเครื่องมือที่ทาให้สามารถสร้างไฟล์เอกสารประเภท HTML ที่มีการ เคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงได้หรือที่เรียกว่าพลวัต (Dynamic HTML) • การที่เครื่องบริการมีการประมวลผลก่อนส่งข้อมูลมายังเครื่องผู้ใช้ เรียกว่า Server Side Include (SSI) ซึ่งจะทางานในฝั่ง server แล้วส่งการแสดงผล มายัง browser ของตัว Client และนอกจากนี้ ยังเป็น script ที่ embed บน HTML อีกด้วย และการทางานในลักษณะนี้ ทาให้ความเร็วในการทางานสูงขึ้น อีกด้วย
  • 4. Webpage Design and Programming Workshop การทางานของภาษา PHP
  • 5. Webpage Design and Programming Workshop ความสามารถของ PHP • เป็นภาษาที่มีลักษณะเป็นแบบ Open source • เป็นสคริปต์แบบ Server Side Script ทางานบนเว็บเซิร์ฟเวอร์ และส่งผลลัพธ์ ที่ได้จากการประมวลผลมาที่เครื่องของผู้ใช้ในรูปแบบของ HTML • สามารถทางานได้ใน OS ที่ต่างชนิดกัน • สามารถทางานได้ใน Web Server หลายชนิด เช่น Personal Web Server (PWS), Apache, OmniHttpd และ IIS เป็นต้น
  • 6. Webpage Design and Programming Workshop ความสามารถของ PHP • สนับสนุนการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object Oriented Programming) • สามารถในการทางานร่วมกับระบบจัดการฐานข้อมูลที่หลากหลาย เช่น Oracle, MySQL, FilePro, Solid, FrontBase, mySQL และ MS SQL เป็นต้น • อนุญาตให้ผู้ใช้สร้างเว็บไซต์ซึ่งทางานผ่านโปรโตคอลชนิดต่างๆ ได้ เช่น LDAP, IMAP, SNMP, POP3 และ HTTP เป็นต้น • สามารถเขียน และอ่านในรูปแบบของ XML ได้
  • 7. แบบ PHP tags เรียกว่า 1 <? …. คาสั่งภาษา PHP …..?> short style 2 <?php .….…. คาสั่งภาษา PHP ….... ?> XML style 3 <script language="php">..…. คาสั่ง…...</script> JavaScript style 4 <% ..…. คาสั่งภาษา PHP …... %> ASP style Webpage Design and Programming Workshop รูปแบบของคาสั่ง
  • 8. Webpage Design and Programming Workshop รูปแบบของคาสั่ง <html> <head> <title> My Homepage </title></head> <body> <h1> <?php echo "Hello World!"; ?> </h1> </body> </html>
  • 9. Webpage Design and Programming Workshop รูปแบบของคาสั่ง <HTML> <HEAD><TITLE> ฝึกการเขียนภาษา PHP </TITLE></HEAD> <BODY> <H1> <? echo "นี่คือการแสดงผลข้อความในภาษา PHP <br></n>"; echo ("อีกรูปแบบหนึ่งของการแสดงผลข้อความในภาษา PHP "); //echo เป็นคาสั่งให้แสดงโปรแกรมแสดงผลทาง Browser // เครื่องหมาย "//" เรียกว่า comment /* หรืออีกรูปแบบหนึ่งของ comment เครื่องหมาย </n> ทาให้ภาษา PHP เป็นการขึ้นบรรทัด ใหม่ เครื่องหมาย <br> จะเป็นคาสั่งให้การแปลผลของ Browser ขึ้นบรรทัดใหม่ */ ?> </H1> </BODY> </HTML>
  • 10. Webpage Design and Programming Workshop คาสั่งแสดงผล คาสั่งการแสดงผลออกทาง Browser มี 3 ตัวคือ echo, print และ printf ดังนี้ 1. คาสั่ง echo • สามารถแยกข้อความเป็นหลายช่วงในเครื่องหมาย “……...” โดยแต่ละช่วง สามารถใช้เครื่องหมายจุลภาค (,) คั่น แบบที่ 1 echo "ข้อความที่ต้องการแสดง" ; แบบที่ 2 echo ("ข้อความที่ต้องการแสดง") ; <? echo "Hello<br>"; echo ("sunday"); ?>
  • 11. Webpage Design and Programming Workshop คาสั่งแสดงผล 2. คาสั่ง print • ใช้ในการสร้างข้อความให้กับ Text File หากต้องการสร้าง Text File ด้วย Code ภาษา PHP ต้องใช้ print() ส่วนการแสดงผลออกทางหน้าเว็บจะใช้ echo() หรือ print() ก็ได้ไม่แตกต่างอะไร แบบที่ 1 print"ข้อความที่ต้องการแสดง"; แบบที่ 2 print("ข้อความที่ต้องการแสดง"); <?php print"Hello<br>" ; print("sunday") ; ?>
  • 12. Webpage Design and Programming Workshop คาสั่งแสดงผล 3. คาสั่ง printf • เป็นคาสั่งที่ใช้ในการแสดงผลออกทางหน้าเว็บ • สร้างข้อความให้กับ Text file ไม่ว่าจะเป็นจานวนเต็ม (int) , ทศนิยม (flo at) , ข้อความ (string) หรืออักขระ • นอกจากนี้ คาสั่งยังมีความยืดหยุ่นสูง โดยสามารถกาหนดหรือจัดรูปแบบ การแสดงผลให้มีระเบียบหรือเหมาะสมตามความต้องการได้อีกด้วย
  • 13. Webpage Design and Programming Workshop คาสั่งแสดงผล 3. คาสั่ง printf printf($format,$value); $format คือรูปแบบหรือรหัสแทนข้อมูล ดังนี้ %d = เลขฐานสิบ %o = เลขฐานแปด %b = เลขฐานสอง %c = รหัส ASCII %s = ข้อความ %x,%X = เลขฐานสิบหก %f = ทศนิยม $value คือตัวแปร/นิพจน์ที่ต้องการแสดงข้อมูล <?php printf("100*2=%d",100*2); echo "<br>"; printf("100*2=%.2f",100*2); echo "<br>"; printf("100*2=%c",100*2); echo "<br>"; printf("%s","Sutarat Chaonafang"); ?>
  • 14. Webpage Design and Programming Workshop ฟังก์ชันที่ใช้ในการตรวจสอบเงื่อนไข 1. คาสั่งตรวจสอบเงื่อนไขแบบทางเลือกเดียว (คาสั่ง if ) • คาสั่งตรวจสอบเงื่อนไขแบบทางเลือกเดียว จะทาคาสั่งก็ต่อเมื่อเงื่อนไขเป็นจริง if (เงื่อนไข) { กิจกรรมหรือคาสั่ง เมื่อเงื่อนไขข้างต้นเป็นจริง } $A = 2; if ( $A == 2 ) { echo "ตัวแปรชื่อ A มีค่าเท่ากับ 2"; }
  • 15. Webpage Design and Programming Workshop ฟังก์ชันที่ใช้ในการตรวจสอบเงื่อนไข 2. คาสั่งตรวจสอบเงื่อนไขแบบสองทางเลือก (คาสั่ง if...else) • คาสั่งตรวจสอบเงื่อนไขแบบทางเลือกเดียว จะทาคาสั่งก็ต่อเมื่อ เงื่อนไขเป็นจริง และจะทาคาสั่งหลัง else ก็ต่อเมื่อเงื่อนไขเป็นเท็จ if (เงื่อนไข) { คาสั่งเมื่อเงื่อนไขข้างต้นเป็นจริง } else { คาสั่งเมื่อเงื่อนไขข้างต้นเป็นเท็จ } $A = 2; if ($A == 2) { echo "ตัวแปรชื่อ A มีค่าเท่ากับ 2"; } else { echo "ตัวแปรชื่อ A มีค่าไม่เท่ากับ 2"; }
  • 16. Webpage Design and Programming Workshop ฟังก์ชันที่ใช้ในการตรวจสอบเงื่อนไข 3. คาสั่งตรวจสอบเงื่อนไขแบบสองทางเลือก (คาสั่ง if...else if ... ) • คาสั่งตรวจสอบเงื่อนไขแบบทางเลือกเดียว จะทาคาสั่งก็ต่อเมื่อ เงื่อนไขเป็นจริง และจะทาคาสั่งหลัง else ก็ต่อเมื่อเงื่อนไขเป็นเท็จ
  • 17. Webpage Design and Programming Workshop ฟังก์ชันที่ใช้ในการตรวจสอบเงื่อนไข if (เงื่อนไขที่ 1) { คาสั่ง เมื่อเงื่อนไขที่ 1 เป็นจริง } elseif (เงื่อนไขที่ 2) { คาสั่ง เมื่อเงื่อนไขที่ 2 เป็นจริง } else { คาสั่ง เมื่อเงื่อนไขที่ 1 และ 2 เป็นเท็จ } $A = 2; if ( $A == 2 ) { echo "ตัวแปรชื่อ A มีค่าเท่ากับ 2"; } elseif ($A==1) { echo "ตัวแปรชื่อ A มีค่าเท่ากับ 1"; } else { echo"ตัวแปรชื่อ A มีค่าไม่เท่ากับ 1 และ 2"; }
  • 18. Webpage Design and Programming Workshop ฟังก์ชันที่ใช้ในการตรวจสอบเงื่อนไข 4. การตรวจสอบเงื่อนไขโดยใช้ switch • เป็นคาสั่งที่ใช้สาหรับตรวจสอบเงื่อนไขเหมือนกับ if swicth ( ค่าตัวแปรที่ใช้ตรวจสอบ ) { case (ค่าที่ 1 ): คาสั่งที่จะทาเมื่อเงื่อนไขตรงกับค่าที่ 1 break; case (ค่าที่ 2 ): คาสั่งที่จะทาเมื่อเงื่อนไขตรงกับค่าที่ 1 break; default: คาสั่งที่จะทาเมื่อเงื่อนไขไม่ตรงกับค่าใด ๆ เลย }
  • 19. Webpage Design and Programming Workshop ฟังก์ชันที่ใช้ในการตรวจสอบเงื่อนไข $A = "ณ เชียงใหม่"; swicth ( $A ) { case ( "วัชรพงษ์" ): echo "ชื่อ"; break; case ( "ณ เชียงใหม่" ): echo "นามสกุล"; break; default: echo "อะไรก็ไม่รู้"; } 4. การตรวจสอบเงื่อนไขโดยใช้ switch
  • 20. Webpage Design and Programming Workshop การส่งข้อมูลเพื่อการประมวลผล • สิ่งที่สาคัญสาหรับการเขียนโปรแกรมในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต คือการส่ง ข้อมูลจากเครื่องผู้ใช้โดยทั่วไป เพื่อเหตุผลต่าง ๆ ซึ่งทาให้ข้อมูลต่างๆของ เว็บไซต์ มีปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้ ดังนั้นการ submit ฟอร์มเพื่อส่งข้อมูลไปยัง ไฟล์โปรแกรม PHP การเก็บข้อมูลของผู้ใช้ของเครื่องให้บริการ หรือการ กลั่นกรองข้อมูลเพื่อส่งออกแสดงผลยังเครื่องผู้ใช้ การส่งค่าผ่านทางเว็บ เพจ ใน HTML จะมีการการส่งค่าได้ 2 รูปแบบ นั่นคือ
  • 21. Webpage Design and Programming Workshop การส่งข้อมูลเพื่อการประมวลผล 1. Post • เมื่อ submit ฟอร์มด้วย method=post ข้อมูลที่อยู่ภายใน Form จะถูกส่งไป เก็บไว้ในตัวแปรตัวหนึ่งใน Web Server ตัวแปรนี้ คือ CONTENT_LENGTH ซึ่ง ในการ post นี้ จะใช้ในกรณีที่ข้อมูลมีปริมาณมาก 2. Get • แต่ถ้าใช้ method = Get ค่าที่ได้จากการ submit จะส่งไปให้กับ PHP โดย ผ่าน URL ไปเก็บไว้ในตัวแปร QUERY_STRING ของ Web Server ถ้าเปลี่ยน จาก method = Post เป็น Get เมื่อ submit ให้สังเกตที่ช่อง Address จะพบ ข้อมูลที่ส่งโดยมีรหัสต่าง ๆ แทรกไปด้วย ดังนี้
  • 22. Webpage Design and Programming Workshop การส่งข้อมูลเพื่อการประมวลผล • ? เครื่องหมาย ? จะกั้นระหว่าง URL กับข้อมูล • key = value ข้อมูลที่ถูกส่งมา • & คั่นระหว่าง key = value แต่ละอุปกรณ์ (ถ้ามี key มากกว่า 1) • + แทนที่ช่องว่าง
  • 23. Webpage Design and Programming Workshop การส่งข้อมูลเพื่อการประมวลผล ข้อแตกต่างระหว่าง Post และ Get GET • การส่งข้อมูลแบบ GET = http://localhost/BSC442/welcome2.php?na me=sunisa++phonphan&age=22&submit=Submit (โดยจะแสดงตัวแปร และค่าตัวแปรที่ส่ง) • ข้อดีของ get คือ ไม่ต้องสร้างฟอร์ม ก็สามารถ • ข้อเสีย คนอื่นสามารถเข้าถึงข้อมูลได้ง่าย POST • การส่งข้อมูลแบบ POST = http://localhost/BSC442/welcome1.php • ข้อดี มีความปลอดภัยมากกว่า
  • 24. Webpage Design and Programming Workshop การติดต่อกับฐานข้อมูล MySQL mysql_connect(host,user,pass); ฟังก์ชั่นใช้ในการติดต่อฐานข้อมูล mysql_db_query(Db,SQL); ฟังก์ชั่นส่งคาสั่งให้ภาษา SQL ประมวลผล mysql_fetch_array($result); ฟังก์ชั่นอ่านข้อมูลหนึ่งแถวใน ตารางเข้าเก็บในตัวแปร mysql_close(); ฟังก์ชั่นยกเลิกการติดต่อฐานข้อมูล