SlideShare a Scribd company logo
วันมาฆบูชา

	 	 วัน เพ็ญสิบห้าค�่ำ		
		มาฆ ฤกษ์เรืองราม			
		บู ชิตระลึกตาม				
		ชา ครธรรมแจ่มจ้า			

เดือนสาม
ระยับหล้า	
ปาฏิโมกข์
จรัสแจ้งใจชน

			 คาบนี้คราวเมื่อครั้ง		
		 ณ เวฬุวันสถาน				
		 พระโลกนาถ ธ ประทาน		
		 ภิกษุสาวกได้				

พุทธกาล
ไผ่ไม้
โอวาท
สดับถ้อยค�ำสอน

			 สรรพบาปชั่วเว้น			
		 พึงกอปรกุศลกรรม			
		 จิตใจจุ่งเร่งช�ำ -				
		 สามสิ่งพระตรัสแล้ว			

ไป่ท�ำ
ผ่องแพร้ว
ระรอบ
ว่านี้พุทธธรรม

			 สองพันหกร้อยล่วง		
		 พุทธพจน์คงปรา-			
		 พุทธชนหมั่นบูชา			
		 ย่อมลุธรรมวิสุทธิ์แท้			

เวลา
กฏแล้
ปฏิบัติ
สุดสิ้นสงสาร	

				
นายอภิเชน หล้าหิบ
			
	 นิสิตชั้นปีที่ ๔ คณะครุศาสตร์
			
	 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

		

			

ปฏิบัติธรรมโครงการพุทธธรรม พ.ศ.๒๕๕๔
ณ ยุวพุทธิกสมาคมแห่งประเทศไทยฯ
วารสารยุวพุทธสัมพันธ์

ด้วยความเคารพ
	
ขอกล่าวสวัสดีปใหม่แด่ทานสมาชิกทุกๆ ท่านนะ
ี
่
คะ ทั้งนี้คงไม่ช้าจนเกินไปเพราะวารสารยุวพุทธสัมพันธ์
ฉบับนี้ ออกเป็นฉบับแรกในปี พ.ศ.๒๕๕๗ “ปีมาพาสุข” ค่ะ
้

เด่นในฉบับ
๓

๖

๔

	
พร้อมกันนี้สมาคมฯได้เเนบซีดีธรรมะชุด “สุขใน
ธรรม” ซึงรวมพระธรรมเทศนา ธรรมบรรยายไว้ ๑๔ เรือง
่
่
๘
เพื่อเป็นพลังแห่งสัมมาทัศนะและสัมมาปฏิบัติของท่าน
๑๔
๒๐
สืบไป
สารจากนายกสมาคม		
		
๒
	
ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์นั้นมักจะเป็นเดือนที่มี
พลต�ำรวจตรี นรวัฒน์ เจริญรัชต์ภาคย์	 							 เพราะเป็นเดือนที่ตรง
ความส�ำคัญต่อชาวพุทธอยู่เสมอ
หลักชาวพุทธ	 	
         	 	
	
๓
กับวันเพ็ญเดือน ๓ คือวันมาฆบูชา วันมาฆบูชาได้ชื่อว่า
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตโต) 	
ฺ
เป็น “วันพระธรรม” เพราะเป็นวันที่พระบรมศาสดาสรุป
บูชาปูชนีย์ บูชาจากใจ  	 	
	
	
๔
หลักการและวิธีการเผยแผ่พระพุทธศาสนาไว้ให้แก่พุทธ
พระนวลจันทร์ กิตติปญโญ
ิ ั
บริษัทมากว่า ๒๖๐๐ ปีแล้ว ในส่วนของประเทศไทยนั้น
ศีลประกันชีวตสูนพพาน 	 			๖
ิ ่ ิ
จะเห็นได้ว่านอกจากประเทศของเรามีความอุดมสมบูรณ์
พระชาญชัย อธิปญฺโญ	
ด้วยทรัพยากรหลายหลากแล้ว เรายังมีทุนทางพระพุทธ
สวดมนต์เองวันนี้ ดีกว่ารอคนอืนสวดให้	
่
	
๘
ศาสนาเป็นเครื่องน�ำทาง และค�้ำจุนสังคมตลอดมา แต่
กองบรรณาธิการ	
จุดเด่นของชาวพุทธในประเทศไทยกลับไปให้ความส�ำคัญ
กราบสติปฏฐาน ๔ และการเดินจงกรม		 ๑๐
ั
ต่อกิจกรรมศาสนพิธี และประเพณีทางศาสนา มากกว่า
พระมหาทองมัน สุทธจิตโต		
่
ฺ ฺ
การน�ำธรรมะที่แท้จริงไปใช้ในชีวิตอย่างสม�่ำเสมอ ขาด
ชีวตสดใส หัวใจใฝ่ธรรมะ	 	
ิ
	
	
๑๒
ข้อปฏิบัติที่สามารถประเมินได้อย่างเป็นรูปธรรม ดังนี้
พระราชสิทธิมนี (วิ.)
ุ
พระเดชพระคุ ณ พระพรหมคุ ณ าภรณ์ จึ ง ได้ น� ำ เสนอ
ฝึกฝนจิตละกิเลส	 	
	
		๑๔
แนวทางการประพฤติปฏิบติ ทีเ่ รียกว่า “หลักชาวพุทธ” ซึง
ั
่
ปรียวิศว์ โยธีพทกษ์	
ิ ั
แบ่งเป็น ๓ หมวดคือ การมีศีลวัตรประจ�ำตน การเจริญ
ค�ำถามนีมคำตอบ   	
้ ี �
	
	
	
๑๖
กุศลเนืองนิตย์ และการท�ำชีวิตให้งามประณีต เพื่อความ
เรืองเล่าจากเยาวชน	
่
	
	
	
๑๗	 	 เข้า	ใจ และมีหลักปฏิ	บัติที่พุทธศาสนิกชนไทย สามารถ
	
ประสบการณ์จากการปฏิบตธรรม    		
ั ิ
	
๑๘
ประเมินตนเองได้

ดรุณธรรม	
	
	
	
	
๒๐	 	
ขุมทรัพย์ธรรม	   	
	
	
	
๒๒	
รอบรัวบ้านแห่งธรรม	
้
	
	
	
๒๔	 	
ร่วมกิจกรรมสร้างบุญปลูกปัญญา	 	
	
๓๐	 	
ร่วมสร้างทานบารมี	
	
	
	
๓๒
	
คณะทีปรึกษา : รศ.วารินทร์ มาศกุล : รศ.ดร.วิไล เทียนรุงโรจน์ หนุนภักดี
่
่
	
: คุณพจนา ประกาศเวชกิจ
บรรณาธิการ : รศ.อมรา รอดดารา
ผูชวยบรรณาธิการ : คุณกวี บุญดีสกุลโชค : คุณณชัยยัณห์ ยิมส�ำรวย
้่
้
กองบรรณาธิการ : คุณภรณี บุญมี : คุณกาญจนา กรัณยประเสริฐ
	
: คุณกุลเวช เจนวัฒนวิทย์ : คุณธนา เตรัตนชัย
		
: คุณนิภา วรพันธ์ : คุณดวงกมล สุวชชากุล
ิ
		
: คุณอัจฉริยา นันทกิจ : คุณจรินทร พรชัยวิรช
ั
		
: คุณสมรรัตน์ มาพบสุข : คุณจตุพร สินตรา
		
: คุณณัชชา บูรณะเหตุ : คุณปรีชา แสนเขียว

	

	

	

	
คณะกรรมการวารสารยุวพุทธสัมพันธ์ ตระหนัก
ถึงความส�ำคัญของการเป็นชาวพุทธที่แท้จริง ตามหลัก
	
	
ปฏิ	 ัติการของชาวพุทธทั้ง ๑๒ ประการ แนวคิดในการ
บ
จัดท�ำวารสารในปีนี้จึงขอน�ำเสนอ ข้อธรรม และธรรมะ
บรรยายทีจะส่งเสริมและเผยแผ่หลักการ เพือการตระหนัก
่
่
รู้และปฏิบัติตามแนวทางอย่างสม�่ำเสมอ ส่วนในด้านรูป
เล่ม เนื้อหาของวารสารในแต่ละฉบับก็พยายามเลือกสรร
ธรรมะบรรยาย และคอลัมน์ที่หลากหลายมาเสนอเพื่อ
ให้เกิดประโยชน์คุ้มค่า ส�ำหรับสมาชิกทุกท่านโดยเฉพาะ
เด็กและเยาวชนซึ่งจะเป็นก�ำลังอันส�ำคัญของชาติต่อไปใน
อนาคต				
		

	

รองศาสตราจารย์อมรา รอดดารา
บรรณาธิการ
กุมภาพันธ์ - เมษายน ๒๕๕๗

1
สมา ราจากม
นายกส ค

พลต�ำรวจตรี นรวัฒน์ เจริญรัชต์ภาคย์	

	
ท่านสมาชิกและสาธุชนทังหลาย  เราได้ผานเทศกาลปีใหม่มาแล้วรวมทังได้ผานสถานการณ์วนวายของบ้านเมือง
้
่
้ ่
ุ่
ในช่วงส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ ซึ่งสาเหตุของความขัดแย้งและความแตกแยกที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่ก็มาจากรากเหง้าของ
กิเลส  โดยมีความหลงเป็นตัวน�ำ แล้วตามด้วยความโลภและความโกรธ  หากคนในประเทศชาติยดมันในคุณธรรม จริยธรรม
ึ ่
รักษาศีล ๕ กันได้มากกว่านี้ หันหน้ามาปฏิบตธรรมกันมากขึน ยึดมันในค�ำสอนของพระพุทธศาสนาอย่างมุงมันจริงจังแล้ว
ั ิ
้
่
่ ่
ประเทศชาติคงจะพบกับความสงบและเจริญก้าวหน้ายิงไปกว่านี้
่
	
การจัดหลักสูตรปฏิบตธรรมในปีนี้ ยุวพุทธิกสมาคมแห่งประเทศไทยฯ ได้พยายามก�ำหนดหลักสูตรให้มคณภาพยิง
ั ิ
ี ุ
่
ขึน  สร้างความสัปปายะในแต่ละหลักสูตรให้มากขึน  รวมทังมีการพัฒนาปรับปรุงด้านการเงิน และการบริหารจัดการ เพือให้
้
้
้
่
เป็นไปตามวิสยทัศน์และนโยบายของสมาคมทีจะสนับสนุนงานวิปสสนากรรมฐานแนวทางการเจริญสติปฏฐานสี่ ทังนีการ
ั
่
ั
ั
้ ้
ด�ำเนินการของสมาคมก็ได้มการพัฒนาด้านการบริหารให้มระบบทีดยงขึนเพือความก้าวหน้าและเดินไปข้างหน้าอย่างมันคง
ี
ี
่ ี ิ่ ้ ่
่
เพือเตรียมพร้อมกับสถานการณ์ทไม่แน่นอน และนอกจากกิจกรรมวิปสสนากรรมฐานแล้ว ในช่วงไตรมาสแรกสมาคมได้จด
่
ี่
ั
ั
กิจกรรมพิเศษส�ำหรับวันมาฆบูชา ซึงตรงกับวันขึน ๑๕ ค�ำ  เดือน ๓ และถือเป็นวันของพระธรรมอีกด้วย  รวมถึงในเดือน
่
้
่
มีนาคม ๒๕๕๗ นี้ จะมีการประชุมสามัญประจ�ำปี พร้อมทังท�ำบุญในวันนันด้วย ดังนันจึงขอเรียนเชิญท่านสมาชิกได้เข้าร่วม
้
้
้
ประชุมและร่วมท�ำกิจกรรมต่าง ๆ  รวมทังร่วมสนับสนุนการท�ำงานของสมาคมดังทีผานมา
้
่่
	
ท้ายทีสดนี้ ผมขอฝากข้อคิดจากพุทธพจน์ ให้แก่ทกท่านได้นำไปพิจารณาเพือเป็นแนวทางในการประพฤติปฏิบติ
่ ุ
ุ
�
่
ั
ตน ด�ำรงตนให้มความสุข ดังนี้
ี
	
“ดูกอนภิกษุทงหลาย ข้าวเปลือก ทรัพย์ เงินทองหรือของทีบคคลหวงแหนอย่างใดอย่างหนึง รวมทังทาสกรรมกร
่
ั้
่ ุ
่
้
คนใช้และทีอยูอาศัยสิงอืนๆ ทังหมดนีบคคลน�ำไปไม่ได้ ต้องทอดทิงไว้ทงหมด แต่สงทีบคคลท�ำด้วยกาย วาจา หรือด้วยใจ
่ ่
่ ่
้
้ ุ
้ ั้
ิ่ ่ ุ
นันแหละทีจะเป็นของเขา เป็นสิงทีเขาต้องน�ำไปเหมือนเงาตามตัว เพราะฉะนันผูฉลาดพึงสังสมกัลยาณธรรมอันจะน�ำไปสู่
่
่
่ ่
้ ้
่
สัมปรายภพได้  บุญย่อมเป็นทีพงของสัตว์ทงหลายทังในโลกนีและโลกหน้า”
่ ึ่
ั้
้
้
	

2

ขอส่งความระลึกถึง ความปรารถนาดี และขออนุโมทนาในกุศลจิตของทุกท่านด้วยครับ

ยุวพุทธสัมพันธ์ ฉบับที่ ๘๙
หลักชาวพุทธ                                                                                                                            เรือง : พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตโต)
่
ฺ

	
ปัจจุบนนี้ ปัญหาส�ำคัญยิงอย่างหนึง
ั
่
่
ซึงปรากฏชัดในสังคม คือการทีคนมากมายเป็น
่
่
ชาวพุทธกันเพียงในนาม โดยไม่มทงความรูและ
ี ั้
้
การปฏิบตของชาวพุทธ สภาพเช่นนีเ้ ป็นเหมือน
ัิ
เมฆหมอกทีบดบังแสงสว่างและความงามแห่ง
่
คุณค่าของพระพุทธศาสนา นอกจากตัวบุคคล
นันจะไม่เจริญงอกงามในธรรมแล้ว สังคมก็สญ
้
ู
เสียประโยชน์มากมายที่พึงได้จากพระพุทธ
ศาสนา จึงเป็นปัญหาร้ายแรงทีควรตืนตัวขึนมา
่ ่ ้
เร่งแก้ไข
	
ค�ำว่า “ชาวพุทธ” มิใช่เป็นถ้อยค�ำ
ที่พึงเรียกขานกันอย่างเลื่อนลอย บุคคลที่จะ
เรียกได้ว่าเป็น “ชาวพุทธ” จะต้องมีหลักการ
มีคุณสมบัติประจ�ำตัว และมีมาตรฐานความ
ประพฤติ ที่รองรับ ยืนยัน และแสดงออกถึง
ความเป็นชาวพุทธนั้น

“

บอกว่าฉันเป็นชาวพุทธ
แต่ความเป็นชาวพุทธอยูทไหน
่ ี่
ท�ำอย่างไร?

”

๕. ส�ำเร็จด้วยกระท�ำกรรมดี: ข้าฯ จะสร้าง
ความส�ำเร็จด้วยการกระท�ำทีดงามของตน โดย
่ี
พากเพียรอย่างไม่ประมาท

๒. ปฏิบตการ
ั ิ

      ข้าฯ จะน�ำชีวต และร่วมน�ำสังคมประเทศ
ิ
ชาติ ไปสูความดีงาม และความสุขความเจริญ
่
ด้วยการปฏิบติ ดังต่อไปนี้
ั

ก) มีศลวัตรประจ�ำตน
ี
๑. บู ช าปู ช นี ย ์ : มีปกติกราบไหว้แสดงความ
	
หลักการ และปฏิบัติการ ที่เรียกว่า เคารพ ต่อพระรัตนตรัย บิดามารดา ครูอาจารย์
่
“หลักชาวพุทธ” ดังต่อไปนี้ เป็นภูมธรรมขัน และบุคคลทีควรเคารพ
ิ
้
พืนฐานของชาวพุทธ ผูทตงมันอยูในหลักการ ๒. มี ศี ล ห่ า งอบาย: สมาทานเบญจศีลให้เป็น
้
้ ี่ ั้ ่ ่
และด�ำเนินตามปฏิบัติการนี้นอกจากเป็นชาว นิ จ ศี ล คื อ หลั ก ความประพฤติ ป ระจ� ำ ตั ว
พุทธสมแก่นามแล้วจะมีชวตทีพฒนาก้าวหน้า ไม่มืดมัวด้วยอบายมุข	
ีิ ่ ั
งอกงาม และช่วยให้สังคมเจริญมั่นคงดํารง    ๓. สาธยายพุทธมนต์: สวดสาธยายพุทธวจนะ
อยูในสันติสขเป็นผูสบต่อวิถชาวพุทธไว้ พร้อมทั้ง หรื อ บทสวดมนต์ โ ดยเข้ า ใจความหมาย
่
ุ
้ื
ี
อย่างน้อยก่อนนอนทุกวัน
รักษาธรรมและความเกษมศานต์ให้แก่โลก
๔. ฝึกฝนจิตด้วยภาวนา: ท�ำจิตใจให้สงบ ผ่องใส
้
ี่ ื่
	
“หลั ก ชาวพุ ท ธ”อั น พึ ง ถื อ เป็ น เจริญสมาธิ อันค�ำจุนสติทตนตัว หนุนปัญญา
ทีรทวชัดเท่าทัน และอธิษฐานจิตเพือจุดหมาย
่ ู้ ั่
่
บรรทัดฐาน มีดงต่อไปนี้
ั
ทีเป็นกุศล วันละ ๕–๑๐ นาที	
่
ี

๑. หลักการ

๑. ฝึกแล้วคือเลิศมนุษย์: ข้าฯ มันใจว่า มนุษย์
่
จะประเสริ ฐ เลิ ศ สุ ด แม้ ก ระทั่ง เป็น พุทธะได้
เพราะฝึกตนด้วยสิกขาคือการศึกษา
๒. ใฝ่พทธคุณเป็นสรณะ: ข้าฯ จะฝึกตนให้มี
ุ
ปัญญา มีความบริสทธิ์ และมีเมตตากรุณาตาม
ุ
อย่างองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า
๓. ถือธรรมะเป็นใหญ่: ข้าฯ ถือธรรม คือความจริง
ความถูกต้องดีงาม เป็นใหญ่ เป็นเกณฑ์ตดสิน
ั
๔. สร้างสังคมให้เยียงสังฆะ: ข้าฯ จะสร้าง
่
สังคมตังแต่ในบ้าน ให้มความสามัคคี เป็นทีมา
้
ี
่
เกือกูลร่วมกันสร้างสรรค์
้

ข) เจริญกุศลเนืองนิตย์
๕. ท�ำกิจวัตรวันพระ: บ�ำเพ็ญกิจวัตรวันพระ
ด้ ว ยการตั ก บาตรหรื อ แผ่เ มตตาฟั ง ธรรม
หรืออ่านหนังสือธรรมโดยบุคคลที่บ้านที่วัด
ทีโรงเรียน หรือทีทำงาน ร่วมกัน ประมาณ ๑๕ นาที
่
่ �
๖. พร้อมสละแบ่งปัน: เก็บออมเงิน และ
แบ่งมาบ�ำเพ็ญทาน เพื่อบรรเทาทุกข์ เพื่อ
บูชาคุณ เพื่อสนับสนุนกรรมดี อย่างน้อย
สัปดาห์ละ ๑ ครั้ง	
๗. หมั่ น ท� ำ คุ ณ ประโยชน์ : เพิ่ ม พู น บุ ญ
กรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์อทศแด่พระรัตนตรัย
ุ ิ

เรือง : พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตโต)
่
ฺ

มารดาบิดา ครูอาจารย์ และท่านผูเป็นบุพการี
้
ของสังคมแต่อดีตสืบมาอย่างน้อยสัปดาห์ละ
๑ ครัง
้
๘.ได้ปราโมทย์ดวยไปวัด: ไปวั ด ชมอารามที่
้
รื่ น รมย์ และไปร่ ว มกิ จกรรม ทุกวันส�ำ คัญ
ทางพระพุ ท ธศาสนาและวั น ส� ำ คั ญ ของ
ครอบครั ว 	
ค) ท�ำชีวตให้งามประณีต
ิ
๙. กินอยูพอดี: ฝึกความรูจกประมาณในการ
่
้ั
บริโภคด้วยปัญญา ให้กนอยูพอดี
ิ ่
๑๐.มีชวตงดงาม:ปฏิบตกจส่วนตนดูแลของใช้
ีิ
ั ิิ
ของตนเองและท�ำงานของชีวิตด้วยตนเอง
ท�ำได้ ท�ำเป็น อย่างงดงามน่าภูมใจ	
ิ
๑๑. ไม่ตามใจจนหลง: ชมรายการบั น เทิ ง
วั น ละไม่เ กิ น ก� ำ หนดที่ ต กลงกั น ในบ้ า นไม่
มั ว ส� ำ เริ ง ส� ำ ราญปล่ อ ยตั ว ให้ เ หลิ ง หลงไหล
ไปตามกระแสสิ่งล่อเร้าชวนละเลิงและมีวัน
ปลอดการบันเทิงอย่างน้อยเดือนละ ๑ วัน
๑๒. มีองค์พระครองใจ: มีสงทีบชาไว้สกการะ
ิ่ ่ ู
ั
ประจ�ำตัวเป็นเครืองเตือนใจให้ระลึกถึงพระคุณ
่
ของพระรั ต นตรั ย และตั้ งมั่ นอยู่ใ นหลักชาว
พุทธ	
	
ด้วยการปฏิบติ ๓ หมวด ๑๒ ข้อนี้
ั
ข้าพเจ้าเป็นชาวพุทธแท้จริง ทีมนใจว่าจะสามารถ
่ ั่
รักษาธรรมไว้และร่วมน�ำโลกไปสูสนติสข
่ั ุ
	
บุ ค คลที่ ถื อ ปฏิ บั ติ ต าม“หลั ก ชาว
พุทธ”ดังกล่าวมานีเป็นผูมภมธรรมพืนฐานของ
้ ้ ี ู ิ
้
ชาวพุทธ จึงเป็นชาวพุทธทีแท้จริง สมกับชือ
่
่
เรียกขาน

ปฏิมเสตมตฺนา
ฺ
จงตรวจสอบตนด้วยตนเอง
กุมภาพันธ์ - เมษายน ๒๕๕๗

3
บูชาปูชนีย์ บูชาจากใจ

เรื่อง : พ.นวลจันทร์

เรื่อง : พระนวลจันทร์ กิตติปัญโญ

“ ามิได้แล้ว ...ถ้าไม่มี
“คุณ”แม้เพียงเท่านีกหาประมาณค่
้ ็
ท่านเหล่านันทรงจ�ำค�ำสอน สืบทอดกันต่อมา ไม่มทาง
้
ี
ทีธรรมะจะเดินทางมาถึงรุนเราได้เลย! ความมืดบอด
่
่
ของ อวิชชา ก็จะยังคงมีอยูเต็มที่
่

”

	
มงคล ๓๘ ประการนัน เกิดจากเหล่าเทวดาได้ถกกันว่า
้
อะไรคือมงคลอันสูงสุดในชีวต ถกเถียงกันไปมาอย่างหาข้อสรุปไม่ได้
ิ
สุดท้ายจึงไปเรียนถามพระพุทธเจ้าให้ท่านทรงเป็นผู้ตอบ พระพุทธองค์จงกล่าวถึงมงคลอันสูงสุด ๓๘ ประการ หนึงในนันคือ ปูชา จ              
ึ
่ ้
ปูชนียานัง หรือการบูชาบุคคลทีสมควรบูชา
่
	
ท�ำไมจึงต้องบูชาบุคคลทีสมควรบูชาเพราะหลายคนมักบูชาใน
่
สิงทีไม่มคณค่าแก่การบูชา เช่นบูชาจอมปลวก ต้นกล้วยรูปร่างประหลาด
่ ่ ีุ
จึงไม่เป็นมงคลแก่ชวต ไม่ได้นำพาชีวตไปสูความเจริญ  ดังนันหากอยาก
ีิ
�
ิ ่
้
ให้ชวตเป็นมงคลจึงสมควรบูชาในสิงทีควรบูชา
ีิ
่ ่
	
การเคารพบู ช าเกิ ด จากการเห็ น คุ ณ ค่ า ของสิ่ ง ใดสิ่ ง หนึ่ ง         
ซึงการทีเราจะเห็นคุณค่าของสิงใดสิงหนึงนันเกิดจากปัญญา ถ้ายังไม่
่
่
่ ่ ่ ้
เห็น หรือยังไม่มปญญาอาจต้องมีผชทาง ซึงพระศาสดาของเราเป็นผู้
ี ั
ู้ ี้
่
ชีทางโดยมีพระสงฆ์เป็นผูบอกทางให้เห็นคุณเห็นโทษ เมือเราเห็นคุณ
้
้
่
ตามนัน ก็เกิดมงคลในชีวต ดังนันชาวพุทธทีแท้จงควรท�ำตามมงคล
้
ิ
้
่ ึ
ทัง ๓๘ ข้อ ส่วนอย่างอืนนอกเหนือจากนี้ ไม่นบเป็นมงคลในพระพุทธ
้
่
ั
ศาสนา บุคคลทีเราควรบูชานัน เช่น พ่อ-แม่ ซึงเป็นผูททำให้เราเกิดมา
่
้
่
้ ี่ �
หากเราไม่ได้มาเกิดคงไม่มีโอกาสได้สดับฟังธรรมของพระพุทธเจ้า
ดังนันพ่อแม่จงเป็นผูทมคณมีคาสมควรบูชาอย่างสูงสุด การบูชาพ่อแม่
้
ึ
้ ี่ ี ุ ่
นัน อาจบูชาด้วยอามิส เช่นให้ขาวของเครืองใช้ คอยอาบน�ำ  ล้างเท้า
้
้
่
้
ตัดเล็บให้พอแม่ หรือบูชาด้วยการปฏิบตตามทีทานสังสอน
่
ั ิ
่ ่ ่

4

ยุวพุทธสัมพันธ์ ฉบับที่ ๘๙

	
พระรัตนตรัยคือคุณของพระพุทธ พระธรรม
พระสงฆ์ มีไว้ให้เราได้ตรึกตามตรองตาม เพราะตามความ
เป็นจริงแม้อทปปัจจยตา ปฏิจจสมุปบาท อริยสัจ ๔ จะ
ิ ั
มีมาก่อนอยูแล้ว แต่เราไม่ใช่ผมสพพัญญุตญาณ ต่อให้
่
ู้ ี ั
ธรรมอยูเ่ ฉพาะหน้า เราก็ไม่สามารถเห็น ไม่สามารถรูจก
้ั
ถ้าพระสัมมาสัมพุทธเจ้าไม่ทรงเข้าไปเห็น เข้าไปสัมผัส
แล้วน�ำมาบัญญัติ แจกแจง จ�ำแนก ถ่ายทอดสืบต่อมายัง
สงฆ์สาวก สายธารแห่งสาวก สายธารแห่งการสืบทอด
ทรงจ�ำค�ำสอนจึงถูกบันทึกไว้ในรูปแบบต่างๆใบลาน
บ้าง คัมภีรบาง หนังสือบ้าง สาวกในแต่ละยุคสมัยเห็น
์้
คุณค่าในค�ำสอน พุทธวจนจากพระโอษฐ์ จนถึงกับต้อง
รักษากันด้วยชีวต...บางยุคมีการเผาท�ำลาย มีการสังหาร
ิ
นักบวช ต้องหลบลี้ หนีภย จึงต้องอาศัยการสวดทรงจ�ำ
ั
แบบปากต่อปาก  สิงนีจงมีคณค่า และ น่าอัศจรรย์มาก
่ ้ึ ุ
	
“คุ ณ ”แม้ เ พี ย งเท่ า นี้ ก็ ห าประมาณค่ า มิ ไ ด้
แล้ว...ถ้าไม่มทานเหล่านันทรงจ�ำค�ำสอน สืบทอดกัน
ี ่
้
ต่อมาไม่มีทางที่ธรรมะจะเดินทางจะมาถึงรุ่นเราได้
เลย! ความมืดบอดของ อวิชชา ก็จะยังคงมีอยูเต็มที่  
่
จะไม่มทางรู้ บาป บุญ คุณ โทษ ชีวตจะเดินไปตาม
ี
ิ
สัญชาตญาณ ค�ำว่า สงบ ร่มเย็น หรือ นิพพาน จะ
ไม่มโอกาสได้สมผัส! นีคอ “คุณ” ของสงฆ์สาวกของ
ี
ั
่ ื
พระผูมพระภาคฯ ผูปฏิบตดแล้ว
้ ี
้ ั ิ ี
บูชาปูชนีย์ บูชาจากใจ

เรื่อง : พ.นวลจันทร์

	
	
พระราชาทีทำงานหนักเพือประชาชน ให้เราอยูดกนดี ครูบา่ �
่
่ ีิ
อาจารย์ผประสิทธิประสาทวิชา สอนให้เรามีความรู  ผูให้ขาวให้
ู้
์
้ ้ ้
น�ำเรา ผูททำดีมคณกับเรา ธรรมชาติ ธาตุ ๔ ขันธ์ ๕ อวัยวะใน
้
้ ี่ � ี ุ
ร่างกาย ปอด หัวใจทีทำงานไม่เคยหยุด ประเทศชาติ แผ่นดิน
่ �
บ้านเกิดทีเราอาศัยอยู่ ท�ำกินหาเลียงชีพจนมีเงินมีทองขึนมา
่
้
้
กว้างขวางออกไปจนถึงโลกของเรา ทังหมดนีลวนมีคณ
้
้้
ุ
	
ยิ่งบุคคลใดเป็นเหตุปัจจัยให้ชักน�ำหรือแนะน�ำให้
เราเข้าใจ เข้าถึงธรรม อยูในศีลในธรรม บุคคลนันถือว่ามี
่
้
คุณอันสูงสุด บุคคลอย่างนีไม่ควรลืม เพราะมีทานจึงท�ำให้
้
่
เราได้พนภัยทางโลก อย่างอาตมามักน�ำลูกศิษย์ลกหาไปกราบ
้
ู
นมัสการพระอาจารย์มหาเหล็ก [ พระครูภาวนาวิหารธรรม วิ.            
(พระอาจารย์มหาเหล็ก จันทสีโล)] ซึงเป็นผูชกน�ำอาตมามาเดิน
่
้ั
ทางสายนี้ ทุกปี เป็นอาจริยบูชา ถ้าไม่มทานอาจารย์ อาตมาจะ
ี ่
มานังตรงนีได้อย่างไร เพราะมีพระอาจารย์ มีทานจึงมีพระรูปนี้
่
้
่
ตอนนี้ แบบนีได้
้
	
สถานทีไหนทีทำให้เราเข้าใจในธรรม ได้เห็นธรรม ก็ควรบูชา
่ ่ �
อย่างตระหนักในคุณ เช่น ยุวพุทธิกสมาคมฯ ตอนปี ๒๕๔๑ อาตมามี
โอกาสได้เข้าร่วมโครงการปฏิบตธรรม และอาศัยอยูทนน ไม่อย่างนัน
ัิ
่ ี่ ั่
้
จะนอนทีไหน ดังนันตอนนีถามีโอกาสได้ตอบแทนช่วยเหลือ อาตมา
่
้
้้
ก็จะรีบท�ำ  หากท�ำอะไรไม่ได้อย่างน้อยก็เป็นต้นบุญ บอกญาติโยม
ใช้ปากใช้วาจาป่าวประกาศยามทียวพุทธฯต้องการความช่วยเหลือ       
ุ่
ไม่นงเฉยดูดาย
ิ่
	
เมือเราเห็น “คุณ” ในทุกอย่าง เราจะเป็นผูให้ จะมี
่
้
แต่ให้กบทุกสิงทุกอย่าง จึงตอบแทนเพราะเห็นคุณเห็นค่าและ
ั
่
ส�ำนึกในคุณค่าของทุกสิงทุกอย่างแม้แต่จกรวาลนี้ โลกนี้ ประเทศ
่
ั
นี้ สังคมนี้ บ้านนี้ ครอบครัวนี้ ไปจนถึงธาตุ ๔  ขันธ์ ๕ ของเรานี้
การเห็นคุณค่าของสิ่งต่างๆนั้นจะต้องตระหนักจริงๆและต้อง
ออกมาจากจิตจากใจข้างใน มิใช่แค่คดตามด้วยสมอง ซึงการจะ
ิ
่
ท�ำให้เกิดสิงนีได้ตองเกิดจากการท�ำกรรมฐานถ้าคุณไม่ทำกรรม่ ้ ้
�
ฐาน ได้แต่ฟงและอ่าน การแสดงออกก็จะได้เพียงครึงเดียวคือ
ั
่
ร่างกายภายนอก มิได้ตรงออกมาจากจิตใจ ทีเห็นคุณค่าจริงๆ
่

	
ดังนันเราจึงต้องหมันเติมกุศล เติมสัมมาทิฏฐิ วกเข้ามา
้
่
ท�ำตามแนวทางมรรคมีองค์ ๘ ท�ำความสะอาดใจข้างในให้ วิสทธิ
ุ
เกลียง บริสทธิ    เมือ “สติ” เกิด “อกุศล” ก็ไม่สามารถแทรกเข้า
้
ุ ์
่
มาเป็นส่วนประสมของจิตได้ ในขณะนันบนวิถจตจึงไม่มกเลสเข้า
้
ีิ
ีิ
ครอบง�ำ เราจึงค่อยน้อมจิตแบบนีมาเจริญสติปฏฐาน
้
ั

	
“ เมือใดทีเราท�ำกรรมฐาน เมือนันเราจะเห็น
่
่
่ ้
คุณของสิงต่างๆ มาจากข้างใน เมือใดทีเราเห็นคุณ
่
่
่
ของทุกสิงอย่างจากใจ ออกมาจากใจจริงๆ เมือนัน
่
่ ้
แหละเราจะสามารถบูชาในสิงทีสมควรบูชาได้อย่าง
่ ่
แท้จริง ”
	

ภูมิ เว สปฺปรสานํ กตญฺญกตเวทิตา
ุิ
ู
ความกัตญญูกตเวที เป็นพืนฐานของคนดี
้

บริษท วิคเตอร์ มาร์เก็ตติง จ�ำกัด
ั
้
โดยคุณอุไร เจนกุลประสูตร
มอบเป็นธรรมบรรณาการ

กุมภาพันธ์ - เมษายน ๒๕๕๗

5
ศีลประกันชีวิตสู่นิพพาน

เรื่อง : พระชาญชัย อธิปญฺโญ

เรื่อง : พระชาญชัย อธิปญโญ

	
ศีลมีความส�ำคัญต่อการอยู่ร่วมกันของมวล
มนุษย์ และเป็นเครื่องวัดความเป็นมนุษย์อีกด้วย
	
มนุษย์ หมายถึงผู้ที่มีจิตใจสูงซึ่งจะต้องมีศีล
๕ เป็นเครื่องรองรับ หากศีลข้อใดข้อหนึ่งรักษาไม่ได้
ความเป็นผู้มีจิตใจสูงก็พลอยมัวหมองไปด้วย จึงเป็น
ได้แค่คน และหากเป็นคนที่ไม่มีศีลเลย ความเป็นคน
ก็หมดไป มีสภาวะจิตไม่ต่างอะไรกับสัตว์นรก เปรต
อสุรกาย หรือสัตว์เดรัจฉาน ดังค�ำที่กล่าวว่าตัวเป็น
คนแต่ใจเป็นเปรต(มนุสสเปโต) หรือตัวเป็นคนแต่ใจ
เป็นสัตว์เดรัจฉาน(มนุสสดิรัจฉาโน) เป็นต้น
	
ศี ล  ๕  มี ไ ว้ เ พื่ อ ป้ อ งกั น ไม่ ใ ห้ ค นในสั ง คม
เบียดเบียนกัน อันที่จริงแล้วไม่มีใครอยากจะให้ผู้อื่น
มาท�ำร้ายร่างกายตน หรือมาฆ่าตน ด้วยเหตุนี้ศีลข้อ
๑ ห้ามมิให้ฆ่าสัตว์(รวมถึงคนด้วย) จึงมีความจ�ำเป็น
เพราะจะช่วยให้เรามีความมั่นคงปลอดภัยในชีวิต

มาล่วงละเมิดทางเพศในคู่ครองของตน ด้วยเหตุนี้ศีลข้อ ๓ ห้ามมิให้
ประพฤติผิดทางกาม จึงมีความจ�ำเป็น เพราะจะช่วยให้บุคคลมีความ
มั่นคงในชีวิตครอบครัว
	
เราต่างไม่ต้องการให้ใครมาโกหกหลอกลวง ใส่ร้าย ตลอดจน
ใช้วาจาประทุษร้ายท�ำลายเรา อันจะท�ำให้เราได้รับความเสียหาย ด้วย
เหตุนี้ศีลข้อ ๔ ห้ามมิให้กล่าวค�ำเท็จ จึงมีความจ�ำเป็น เพราะจะช่วย
ไม่ให้เราถูกหลอกลวงหรือถูกใส่ร้าย

	
ทรั พ ย์ ส มบั ติ นั้ น แต่ ล ะคนหามาด้ ว ยความ
เหนื่อยยาก เพื่อน�ำมาเลี้ยงดูชีวิต จึงไม่ต้องการให้คน
อื่นมาโกง มาลักขโมย หรือมาท�ำลายทรัพย์สินของ
เรา ด้วยเหตุนี้ศีลข้อ ๒ ห้ามมิให้ลักทรัพย์ จึงมีความ
จ�ำเป็น เพราะจะช่วยให้เรามีความมั่นคงปลอดภัยใน
ทรัพย์สิน

	
การเสพสุราและสิ่งเสพติดให้โทษ เป็นเหตุให้ผู้เสพขาดสติ ตั้ง
อยู่ในความประมาท ไม่สามารถควบคุมตัวเองได้ น�ำไปสู่การทะเลาะ
วิวาทท�ำร้ายร่างกายและทรัพย์สิน หากขับขี่ยานพาหนะก็ไม่สามารถ
ควบคุมรถได้เหมือนในยามปกติ เป็นเหตุให้เกิดอุบัติเหตุท�ำลายชีวิต
และทรัพย์สินของตนเองและผู้อื่น นอกจากนี้ผู้ติดยาเสพติดมักจะมี
พฤติกรรมลักขโมยชิงทรัพย์ของผู้อื่น เพื่อน�ำเงินมาซื้อยา ด้วยเหตุนี้
ศีลข้อ ๕ ห้ามมิให้เสพสุรายาเสพติดให้โทษ จึงมีความจ�ำเป็น เพราะ
จะช่วยให้เรามีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

	
เมื่อมีคู่ครอง ต่างก็ปรารถนาที่จะให้ชีวิตคู่
ของตนด�ำเนินไปด้วยความราบรื่นยืนยาว เพื่อสร้าง
ครอบครัวให้เป็นปึกแผ่นมั่นคง ไม่ต้องการให้ใคร

	
ผู้ที่ผิดศีล ๕ หากจงใจที่จะท�ำหรือท�ำด้วยเจตนาจะได้รับ
วิบากกรรมตอบสนอง ตามลักษณะของกรรมที่ได้ท�ำไว้ กล่าวคือ

6

ยุวพุทธสัมพันธ์ ฉบับที่ ๘๙
ศีลประกันชีวิตสู่นิพพาน

	
การผิดศีลข้อ ๑ ฆ่าคนและฆ่าสัตว์ หากเป็นสัตว์
ใหญ่ทมนุษย์อาศัยแรงงาน เช่น ช้าง ม้า วัว ควาย การฆ่า
ี่
ได้มีการไตร่ตรองวางแผน จงใจที่จะฆ่า หาอาวุธที่จะใช้
ประหาร และลงมือด้วยใจทีอ�ำมหิต เป็นเหตุให้คนหรือสัตว์
่
นันถึงแก่ความตาย พฤติกรรมของการกระท�ำดังกล่าวจะส่ง
้
ผลให้ผฆามีอายุสน หากเป็นการฆ่าสัตว์ทยอมลงมา เช่น หมู
ู้ ่
ั้
ี่ ่
เป็ด ไก่ ปลา ถ้าฆ่าอยูเป็นประจ�ำ จะมีผลต่อสุขภาพท�ำให้มี
่
โรคร้ายทียากต่อการรักษา หากฆ่าสัตว์เล็กๆเช่นมด แมลง
่
ยุง ปลวก จะมีผลต่อสุขภาพท�ำให้เป็นโรคผิวหนัง
	
การผิดศีลข้อ ๒ ลักทรัพย์ รวมถึงฉ้อโกง คอรัปชั่น
หลอกลวงเอาทรัพย์ของคนอื่นมาเป็นของตน จะโดยวิธีใด
ก็ตาม เมื่อเจ้าของเขาไม่ยินดีที่จะให้ ก็เป็นการเบียดเบียน
ให้เจ้าของทรัพย์ได้รับความทุกข์เดือดร้อน วิบากกรรม
จากการผิดศีลดังกล่าว ส่งผลให้ทรัพย์ของตนต้องวิบัติ
ไปด้วยประการต่างๆ เช่น ถูกเขาโกง ถูกผู้ร้ายมาปล้น
หรือลักขโมยไป ถูกทางการมายึดเอาไป ถูกไฟไหม้ ถูกภัย
ธรรมชาติท�ำให้ทรัพย์เสียหาย เป็นต้น
	
การผิดศีลข้อ ๓ ล่วงละเมิดทางเพศในคู่ครองของ
ผู้อื่น วิบากกรรมที่ได้อาจจะถูกเขาข่มขืน เป็นคนส�ำส่อน
ทางเพศ เป็นคนขายบริการทางเพศ คู่ครองนอกใจ ถูกเขา
หลอกลวงให้อกหัก มีใจวิปริตทางเพศ
	
การผิดศีลข้อ ๔ พูดโกหก วิบากกรรมที่ได้รับจะถูก
ผู้อื่นโกหก หลอกลวง ใส่ร้ายป้ายสี ด่าทอ ส่อเสียด ท�ำให้
ได้รับความทุกข์ใจ นอกจากนี้จะพูดจาความใดก็มักจะไม่
ได้รับความเชื่อถือเท่าที่ควร

เรื่อง : พระชาญชัย อธิปญฺโญ

	
อานิสงส์ของศีลจะช่วยให้ได้มนุษยสมบัติ คือได้
เกิดเป็นมนุษย์ มีร่างกายสมประกอบ ไม่พิการ มีอายุยืน
และหากมีหิริโอตตัปปะ คือมีความเกรงกลัวต่อบาป(หิริ)
และละอายต่อบาป(โอตตัปปะ) ไม่ท�ำบาปทั้งในที่ลับและ
ที่แจ้ง หากตอนจะตาย กุศลกรรมส่งผล ช่วยให้จิตผ่องใส
ตายไปย่อมมีโอกาสเกิดบนสวรรค์ มีอายุยืนยาว และมี
ความสุขอันประณีต  
	
นอกจากนี้ ศี ล ยั ง เป็ น พื้ น ฐานให้ เ ข้ า สู ่ อ ริ ย มรรค
อริ ย ผล นั บ ตั้ ง แต่ พ ระโสดาบั น พระสกทาคามี พระ
อนาคามี และพระอรหันต์ ซึ่งพระอริยบุคคลดังกล่าวอย่าง
น้อยจะต้องมีคุณธรรมของศีล ๕ รองรับ
	
เมื่อเป็นเช่นนี้จึงไม่ควรดูหมิ่นดูแคลนในศีล ขอ
ให้ตระหนักว่าความเดือดเนื้อร้อนใจต่างๆที่เกิดขึ้นในชีวิต
ประจ�ำวันของเรา ส่วนใหญ่มาจากวิบากกรรมของการผิด
ศีลที่เราได้ท�ำไว้ ทั้งในชาตินี้และอดีตชาติ
	
รักษาศีลเสียแต่วันนี้ ชีวิตจะเปลี่ยนแปลงในทาง
ที่ดีขึ้นอย่างแน่นอน. 		

  สีลธนํ โหติ
                มีศีล คือมีทรัพย์อันประเสริฐ

	
การผิดศีลข้อ ๕ เสพสุราและยาเสพติด วิบาก
กรรมที่ได้จะเป็น ผู้ที่มีปัญญาทึบ ขาดสติ มีสุขภาพไม่ดี
เป็นโรคร้ายแรงที่รักษายาก ได้รับความทุกข์ทรมาน
	
วิบากกรรมจากการผิดศีลทั้ง ๕ ดังกล่าวข้างต้น
อาจจะเป็นเพราะผลของกรรมที่ได้ท�ำไว้ในชาตินี้ หรือหาก
ชาตินี้ไม่ได้ท�ำก็เป็นเพราะผลกรรมที่ท�ำไว้ในอดีตชาติส่ง
มา การผิดศีลจึงเป็นเรื่องส�ำคัญต่อชีวิต หากผิดศีลที่รุนแรง
ตายไปแล้ ว มี โ อกาสที่ จ ะไปเกิ ด ในอบายภู มิ ( นรก เปรต
อสุรกาย สัตว์เดรัจฉาน)สูงมาก

บริษท สมบูรณ์ เอสบี จ�ำกัด
ั
มอบเป็นธรรมบรรณาการ

กุมภาพันธ์ - เมษายน ๒๕๕๗

7
สวดมนต์เองวันนี้ ดีกว่ารอคนอื่นสวดให้
			

กองบรรณาธิการ 	

สวดมนต์เองวันนี้

ดีกว่ารอคนอืนสวดให้
่

เรื่อง : กองบรรณาธิการ

	
ค�ำว่า “มนต์” ความหมาย
ตามพจนานุกรม หมายถึง คําศักดิสทธิ์
์ ิ
คําสําหรับสวดเพื่อเป็นสิริมงคล เช่น
สวดมนต์ ค�ำเสกเป่าที่ถือว่าศักดิ์สิทธิ์
เช่น ร่ายมนต์ เวทมนต์
	
ค�ำว่า “มนต์” โดยทัวไปหมาย
่
ถึ ง ถ้ อ ยค� ำ ที่ ข ลั ง หรื อ ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ซึ่ ง
สามารถท� ำ ให้ เ กิ ด ผลที่ มุ ่ ง หมายบาง
อย่างด้วยอานุภาพของมนต์นน
ั้
	
ในทางพระพุทธศาสนา ค�ำว่า
“มนต์” หมายถึง หลักธรรม บทสอนใจ
หากจะใช้ “มนต์ ” เพื่ อ สื่ อ ถึ ง ความ
หมายแห่งถ้อยค�ำที่ขลังหรือศักดิ์สิทธิ์
ได้ก็เพราะการน�ำหลักธรรมในบทสวด
ไปเป็นข้อประพฤติปฏิบัติจนเกิดผลที่
ปรารถนาได้อย่างน่าอัศจรรย์
	
บทพระพุทธมนต์ ในพระพุทธ
ศาสนานิกายเถรวาทนั้นท่านใช้ภาษา
บาลี ซึงถ้าแปลความหมายออกมาก็จะ
่
พบว่าส่วนใหญ่แล้วเป็นค�ำสวดบูชาเพือ
่
ระลึกถึงพระคุณของพระรัตนตรัย อัน
ได้แก่พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ แทบทังสิน จึงนับเป็นอุบายในการ
้ ้
เจริญสติอย่างหนึ่ง ที่เรียก พุทธานุสติ
ธรรมานุสติ และสังฆานุสติ

8

ยุวพุทธสัมพันธ์ ฉบับที่ ๘๙

“

สวดมนต์ดวยความตังใจ
้
้
จนจิตเป็นสมาธิ แล้วใช้สติพจารณา
ิ
จนเกิดปัญญาและความรู้ความเข้าใจ
ประโยชน์สงสุดของการสวดมนต์
ู
นันคือ จะท�ำให้ทานบรรลุผล จนส�ำเร็จ
่
่
เป็นพระอรหันต์

”

ในการสวดมนต์ทกครัง จะเริมด้วยค�ำบูชาพระบรมศาสดาว่า “นโม
ุ ้
่
ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ” แปลความว่า “ขอนอบ
น้อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ซึ่งเป็น ผู้ไกลจากกิเลส ตรัสรู้ชอบ
ได้โดยพระองค์เอง” และตามด้วยพระพุทธมนต์บทต่างๆ ตามแต่วาระและ
โอกาส ซึ่งเป็นกิจที่เราชาวพุทธควรได้ประพฤติปฏิบัติเป็นกิจวัตรประจ�ำวัน
จึงขอน้อมน�ำอานิสงส์ของการสวดสาธยายพระพุทธมนต์มาแบ่งปันกันดังนี้
	
	
อานิสงส์ของการสวดมนต์ เทศนาโดยท่านเจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์
(โต) พรหมรังสี
ยังมีคนส่วนใหญ่เข้าใจว่า การสวดมนต์มีประโยชน์น้อย และเสีย
เวลามาก หรือฟังไม่รู้เรื่อง ความจริงแล้วการสวดมนต์มีประโยชน์อย่าง
มากมาย เพราะการสวดมนต์เป็นการกล่าวถึงคุณงามความดี ขององค์
สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ว่าพระองค์ท่านมีคุณวิเศษอย่างไร พระธรรม
ค�ำสอนของพระองค์มีคุณอย่างไร และพระสงฆ์ พระอรหันต์ พระอริยเจ้ามี
คุณเช่นไร การสวดมนต์ด้วยความตั้งใจจนจิตเป็นสมาธิ แล้วใช้สติพิจารณา
จนเกิดปัญญาและความรู้ความเข้าใจ ประโยชน์สูงสุดของการสวดมนต์นั่น
คือจะท�ำให้ท่านบรรลุผล จนส�ำเร็จเป็นพระอรหันต์
สวดมนต์เองวันนี้ ดีกว่ารอคนอื่นสวดให้
			

	
ที่ อ าตมากล่ า วเช่ น นี้ มี ห ลั ก ฐานปรากฏใน
พระธรรมค�ำสอนที่กล่าวไว้ว่า โอกาสที่จะบรรลุธรรมเป็น
พระอรหันต์มี ๕ โอกาสด้วยกันคือ
๑. เมื่อฟังธรรม
๒. เมื่อแสดงธรรม
๓. เมื่อสาธยายธรรม นั่นคือ การสวดมนต์
๔. เมื่อตรึกตรองธรรม หรือเพ่งธรรมอยู่ในขณะนั้น
๕. เมื่อเจริญวิปัสสนาญาณ
	การสวดมนต์ ใ นตอนเช้ า และในตอนเย็ น เป็ น
ประเพณีที่ปฏิบัติกันมา ตั้งแต่สมัยพุทธกาล พระพุทธเจ้า
ทรงประกาศพระพุทธศาสนา บรรดาพุทธบริษัททั้งหลาย
ต่างพากันมาเข้าเฝ้าพระพุทธองค์ โดยแบ่งเวลาเข้าเฝ้าเป็น
๒ เวลา นั่นคือ ตอนเช้าเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า เพื่อฟังธรรม
ตอนเย็นเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้าเพื่อฟังธรรม การฟังธรรม
เป็นการช�ำระล้างจิตใจที่เศร้าหมองให้หมดไป เพื่อส�ำเร็จสู่
มรรคผลพระนิพพาน การสวดมนต์นับเป็นการดีพร้อมซึ่ง
ประกอบไปด้วยองค์ทง ๓ นันคือ
ั้
่

กองบรรณาธิการ 	

* ที่ว่าประโยชน์แก่จิตอื่น คือ ผู้ใดที่ได้ยินได้
ฟังเสียงสวดมนต์จะพลอยได้เกิดความรู้เกิดปัญญา มีจิต
สงบลึกซึ้งตามไปด้วย ผู้สวดก็เกิดกุศลไปด้วยโดยการให้
ทานโดยทางเสียง เหล่าพรหมเทพที่ชอบฟังเสียงในการ
สวดมนต์ มีอยูจำนวนมากก็จะมาชุมนุมฟังกันอย่างมากมาย
่�
เมือมีเหล่าพรหมเทพเข้ามาล้อมรอบตัวของผูสวดอยูเช่นนัน
่
้
่ ้
ภัยอันตรายต่างๆ ที่ไหนก็ไม่สามารถกล�้ำกรายผู้สวดมนต์
ได้ ตลอดจนอาณาเขตและบริเวณบ้านของผู้ที่สวดมนต์
ย่อมมีเกราะแห่งพรหมเทพและเทวดาทั้งหลายคุ้มครองภัย
อันตราย ได้อย่างดีเยี่ยม
ดูก่อน.. ท่านเจ้าพระยาและอุบาสก อุบาสิกาใน
ที่นี้ การสวดมนต์เป็นการระลึกถึงพระพุทธคุณ พระธรรมคุณ พระสังฆคุณ เมื่อจิตมีที่พึ่ง คือคุณพระรัตนตรัย ความ
กลัวก็ดี ความสะดุ้งกลัวก็ดี และความขนพองสยองเกล้า
ก็ดี ภัยอันตรายใดๆ ก็ดี จะไม่มีแก่ผู้สวดมนต์นั่นแล..

  สยํ  กตานิ   ปุญญานิ
    บุญที่ท�ำไว้  จะเป็นมิตรติดตามตัวไปเบื้องหน้า

๑. กาย มีอาการสงบเรียบร้อยและส�ำรวม
๒. ใจ มีความเคารพนบนอบต่อคุณพระรัตนตรัย
๓. วาจา เป็ น การกล่ า วถ้ อ ยค� ำ สรรเสริ ญ ถึ ง พระคุ ณ อั น
ประเสริฐ ในพระคุณทั้ง ๓ พร้อมเป็นการขอขมา ในการ
ผิดพลาดหากมี และกล่าวสักการะเทิดทูนสิ่งสูงยิ่ง ซึ่งเรา
เรียกได้ว่าเป็นการสร้างกุศล ซึ่งเป็นมงคลอันสูงสุดทีเดียว
	
อาตมาภาพ ขอรับรองแก่ท่านทั้งหลายว่า ถ้าหาก
บุค คลใดได้ ส วดมนต์เช้า และเย็นไม่ขาดแล้ว บุค คลนั้ น
ย่อมเข้าสู่แดนพระอรหันต์อย่างแน่นอน การสวดมนต์นี้
ควรสวดมนต์ให้มเสียงดังพอสมควร ย่อมก่อให้เกิดประโยชน์
ี
แก่จตตน และประโยชน์แก่จตอืน
ิ
ิ ่
* ที่ว่าประโยชน์แก่จิตตน คือ เสียงในการสวดมนต์
จะกลบเสียงภายนอกไม่ให้เข้ามารบกวนจิต ก็จะท�ำให้เกิด
ความสงบอยู่กับบทสวดมนต์นั้นๆ ท�ำให้เกิดสมาธิและ
ปัญญา เข้ามาในจิตใจของผู้สวด
*** ที่มาพระธรรมเทศนาจากหนังสือ อมตะธรรม สมเด็จโต พรหมรังสี

บริษท นิว อิมเมจ อินเตอร์เนชันแนล ประเทศไทย จ�ำกัด
ั
่

มอบเป็นธรรมบรรณาการ

กุมภาพันธ์ - เมษายน ๒๕๕๗

9
กราบสติปฏฐาน ๔
ั
กราบสติปัฏฐาน ๔ และการเดินจงกรม

เรื่อง : พระมหาทองมัน สุทธจิตโต
่
ฺ
ฺ

และการเดินจงกรม

เรื่อง : พระมหาทองมั่น สุทธฺจิตฺโต

ต่อจากฉบับที่ ๘๘

“

การฝึกจิตทีขมยาก ทีเบา มักตกไปใน
่ ่
่
อารมณ์ทนาใคร่ เป็นความดี,(เพราะว่า)
ี่ ่
จิตทีฝกแล้ว น�ำสุขมาให้.
่ ึ

”

10

ยุวพุทธสัมพันธ์ ฉบับที่ ๘๙

(พุทธ) ขุ.ธ. ๒๕/๑๙.
ฺ

	
ท่ า ของการเก็ บ มื อ ดู แ ขน
อาตมานะ มันจะไม่เกร็ง มันจะปล่อย
แบบสบายสุดๆเลยนะ แต่ถาเกร็ง ก็จะ
้
มีอาการตึงตรงนี้ แต่ถ้าด้านหน้าก็จะ
เป็นการพยุงไว้ อันนีคอไม่สดๆ นะ มี
้ ื
ุ
สามท่า ๑ อันนีกอย่างไว้ขางหน้า ๒ นี่
้็
้
ก็ไว้แบบสบาย ก็คือปล่อยสุดๆ เลย
มันจะไม่ต้องพยุงไว้ ๓ กอดหน้าอก
ตรงนี้ อันนีคอการเก็บมือ ถามว่าท�ำไม
้ ื
ต้องเก็บมือ ถ้าไม่เก็บมือ เวลาเดินนะ
มือเราจะแกว่ง พอมือเราเคลื่อนไหว
มือเราแกว่งแล้วนี่ จิตเราก็จะไปรู้สอง
อารมณ์ อารมณ์หนึ่งก็รู้ที่เท้าที่เคลื่อน
อีกอารมณ์หนึ่งก็รู้ที่มือที่แกว่ง จะเป็น
สมาธิได้ยากนะ เพราะสมาธิก็คือจิตที่
ตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งนะ
ไม่ใช่วาอยูสองอารมณ์ ถ้าสองอารมณ์
่ ่
ไม่ใช่จตทีตงมัน
ิ ่ ั้ ่
	
ต่อไปก็ คื อ หลั ก ของการเดิ น
จงกรม ข้อที่ควรระวังมากที่สุดก็คือ
สายตา ฉะนั้นการเดินทุกครั้งให้เก็บ
สายตา ค�ำว่าเก็บสายตานี่ก็คือ มอง
ห่างจากปลายเท้าประมาณสี่ศอกนะ
อย่าไปมองสูงเกินไป ยกเว้นบางครั้ง
ที่โยมรู้สึกว่าตึงๆ หนักศีรษะ เพ่งมาก
เกินไปก็อาจจะเปลียนสายตาได้ ก็มอง
่
ตรงได้ มองตรงก็อย่าไปใส่ใจในภาพ
ข้างหน้านะ
กราบสติปัฏฐาน ๔ และการเดินจงกรม

ประการทีสองให้เดินช้ากว่าปกตินะ และก็เป็นธรรมชาติ ไม่
่
เกร็ง เหมือนเราเดินทัวไป แต่วาช้านะ ประการต่อไป ต้องไม่
่
่
หลับตาเดิน ต้องลืมตาเดิน ไม่กมหน้ามองดูเท้า และก็ไม่ตอง
้
้
พูดออกเสียง เคร่งกว่านันก็หามขยับปากอีก ท�ำไมถึงว่าห้าม
้ ้
ขยับปาก เพระว่าเวลาเราขยับปากนี่ จิตเราจะมารูทปากนะ
้ ี่
ปากทีขยับนี่ แต่วาไม่รทเี่ ท้าว่าอาการยกอาการเคลือนเป็นยังไง
่
่ ู้
่
	
	
ฉะนั้นเมื่อเรามาปฏิบัติเงียบ ก็ควรจะให้มันเงียบ
จริงๆ ก็คอรูเพียงสิงเดียว ก็คออาการยก อาการย่าง อาการ
ื ้
่
ื
เหยียบของเท้า ต่อไปก็คอ ไม่ยกเท้าสูงนะ ไม่กาวขายาว วาง
ื
้
เท้าให้เสมอกัน ไม่เอาส้นหรือปลายเท้าลงก่อน อันนีกคอข้อ
้็ ื
ควรระวังนะ และก็ตอไปนะ ไม่หยุดในระหว่างค�ำว่าขวาย่าง
่
หนอ ซ้ายย่างหนอ จากทีโยมเคยฝึกปฏิบตมาก็คอ เวลาขวา
่
ั ิ
ื
ยกขึน นะ หยุดนิดนึง แล้วก็ยาง หยุดนิดนึง หนอหยุดนิดนึง
้
่
อันนีไม่ให้หยุดนะ ขวาย่างหนอ ซ้ายย่างหนอ เป็นลูกโซ่ เป็น
้
เส้นด้ายติดต่อกันไปนะ นีจตของเราจะไม่มชองว่าง เพือให้
่ิ
ี่
่
จิตมันแวบๆ ออกไป
	
อันนีเ้ ขาเรียกว่าเป็นการบริกรรมให้ตดต่อ ให้ตอเนือง
ิ
่ ่
กันต่อไป ไม่สกแต่บริกรรมโดยไม่รอาการนะ การบริกรรมนี่
ั
ู้
ให้สงเกตดูหน่อยว่า ขวาย่างหนอ ซ้ายย่างหนอนี่ ใจเราดูทเี่ ท้า
ั
หรืออยูทคำบริกรรมนะ ถ้าดูทเท้าก็ถกต้องแล้ว รูวาเท้ามัน
่ ี่ �
ี่
ู
้่
เคลือน รูวาเท้ามันย่าง แต่ถาไปอยูทคำพูดนี่ ก็แสดงว่าเราสัก
่ ้่
้
่ ี่ �
แต่บริกรรมจริงๆ ท่องได้ เดินได้ แต่วาไม่รอาการนะ
่ ู้

เรื่อง : พระมหาทองมัน สุทธจิตโต
่
ฺ
ฺ

	
แล้วก็คำบริกรรมกับอาการให้ตรงกัน ก็คอไปพร้อม
�
ื
กันนันเอง ขวายกขึน ย่างเคลือนไป หนอก็วางลง ก�ำหนด
่
้
่
พร้อมรูอาการเคลือนไหวของเท้า
้
่
	
อันนีเ้ ป็นหลักง่ายๆ นะ พอสุดทางเดินแล้วนีถาโยคี
่้
ใหม่กจะลืมค�ำว่า ยืนหนอ ยืนหนอ ก็จะกลับเลย ฉะนันก่อน
็
้
เดิน ต้องมียนหนอ ก่อนกลับก็มยนหนอ พอถึงเวลากลับก็
ื
ีื
กลับหนอ กลับหนอ
	
ถ้าได้ต้นจิตก็ควรจะใส่ ก่อนเดินให้ใส่ก่อน อยาก
เดินหนอ อยากเดินหนอ ก่อนกลับก็ให้ใส่กอน อยากกลับ
่
หนอ อยากกลับหนอ แล้วค่อยกลับ อยากเดินหนอ อยาก
เดินหนอ แล้วค่อยเดินนะ ใส่ต้นจิตลงไป ค�ำบริกรรมของ
การเดินนะจริงๆ ตัวนีกสำคัญนะ เก็บมือนีใช้คำว่า ยกหนอ
้็ �
่ �
ยกหนอ มาหนอ มาหนอ ก็ได้
	
	
แต่ถาใครรูสกว่ามันยังยากไปนะ ก็จะใช้คำว่า เคลือน
้
้ึ
�
่
หนอ เคลือนหนอ แทนนะ ใช้คำว่าเคลือน เคลือนหนอ เคลือน
่
�
่
่
่
หนอ มือเคลือนไปนีเ่ ป็นการเคลือนทังนันเลย อันนีจะง่ายกว่า
่
่ ้ ้
้
นะ หรือ ยกหนอ ยกหนอ มาหนอ มาหนอ ก็ได้ แต่เคลือน
่
หนอ นีจะเป็นค�ำทีงายๆ ต่อไปขณะทียนก�ำหนดว่า ยืนหนอ
่
่่
่ื
ยืนหนอ ยืนหนอ
	

จิตตํ รกฺเขถ เมธาวี.
ฺ
ผูมปญญาพึงรักษาจิต
้ี ั
ขุ.ธ.๒๕/๑๙

	

โปรดติดตาม “กราบสติปฏฐาน ๔ และการเดินจงกรม” ได้ตอในฉบับหน้า
ั
่

กุมภาพันธ์ - เมษายน ๒๕๕๗

11
ชีวิตสดใส หัวใจใฝ่ธรรมะ

เรื่อง : พระราชสิทธิมนี (วิ.)
ุ

ชีวตสดใส
ิ

หัวใจใฝ่
ต่อจากฉบับที่ ๘๘

ธรรมะ

	
ธรรมะที่ท�ำให้เมื่อเราปฏิบัติแล้ว
เราจะได้สงใดสิงหนึงทีเราปรารถนา ไม่วาจะ
ิ่ ่ ่ ่
่
เป็นลาภ ยศ สุข สรรเสริญ เสือผ้าอาภรณ์ชด
้
ุ
หนึ่งที่เราได้มา เราได้มาเพราะการปฏิบัติ
ตามหลักธรรมะของพระพุทธเจ้า
	
ข้ อ ที่ ห นึ่ ง ก็ คื อ ความขยั น ขยั น
ท�ำงาน เมื่อขยันท�ำงานแล้วก็ได้เงินเดือนมา
ข้อที่สองรู้จักเก็บรักษา ข้อที่สาม มีเพื่อนดี
ไม่ ค บเพื่ อ นที่ เ ป็ น คนพาล ชั ก น� ำ ให้ เ รา
ประพฤติผดศีลธรรม ทรัพย์สมบัตกอยูได้ ข้อ
ิ
ิ็ ่
ทีสี่ ตัวเราเองก็มธรรมะ มีสติบอกตัวเองอยู่
่
ี
ว่า เราต้องรูจกพอเพียง
้ั
	
ทรัพย์สมบัติที่เราได้มา เมื่อเราน�ำ
ธรรมะของพระพุทธเจ้าไปจัด ก็จะท�ำให้
ชีวตของเรามีความสุข เรียกว่าชีวตของเราก็
ิ
ิ
มีความสดใส เพราะว่าเรารู้จักด�ำเนินชีวิต
ตามหลักในทางพุทธศาสนา อย่างทีพระบาท
่
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ก็ได้ทรงตรัสถึงเรื่อง
การด�ำเนินชีวิตแบบพอเพียง เราทั้งหลายก็
พยายามปฏิบตตามนัน ชีวตก็มความสุข
ั ิ
้ ิ ี
	
แต่เราท่านทั้งหลายก็ยอมรับความ
เป็ น จริ ง ว่ า ประเทศของเรานั้ น ในสมั ย
ปัจจุบนเรามีแหล่ง มีสถานที่ มีวตถุ ทีจะเป็น
ั
ั ่
เหตุ เป็ น ปั จ จั ย ให้ เ ราได้ ส มบั ติ ท างกาย

12

ยุวพุทธสัมพันธ์ ฉบับที่ ๘๙

เรื่อง : พระราชสิทธิมุนี ((วิ.)

“ ทธเจ้า
... ธรรมะของพระพุ

เป็นเหมือนแสงสว่างน�ำทางชีวตของเรา
ิ
ให้ชวตของเราออกจากทีมด
ีิ
่ื
ทีมดในทีนกคอว่า ปกคลุมไปด้วย โลภะ โทสะ โมหะ...
่ ื ่ ี้ ็ ื

”

มากมายหลายประการ เราอยากได้อะไรเราก็ได้หมด ถ้าหากว่าเรามีปจจัย
ั
พอเพียง เช่น เราอยากรับประทานอาหาร เราสามารถทีจะไปซือได้ตลอด
่
้
คืนตลอดวัน ตามทีเ่ ราปรารถนา
	
แต่เราก็มานึกถึงหลักความจริงว่า ชีวิตของคนเราต้องรู้จักพอ
เพียง เอาเท่าทีจำเป็น มีเท่าทีจำเป็น เราก็รสกสบายไม่ให้มอะไรมากจน
่�
่�
ู้ ึ
ี
เกิ น ไป ชี วิ ต ก็ มี ค วามสุ ข เป็ น ชี วิ ต ที่ ส ดใส แล้ ว นึ ก ถึ ง หลั ก ธรรมะของ
พระพุทธเจ้า คือพูดได้ง่ายว่าในชีวิตประจ�ำวันของเรานี้ สิ่งที่เป็นวัตถุนั้น
อย่าไปนึกถึงมากจนเกินไป
	
ถ้าหากว่าเราไปนึกถึงมากเกินไป เราก็จะเป็นทาสของวัตถุ เมือเรา
่
เป็นทาสของวัตถุนี้ เราก็จะมีความทุกข์มากขึน การทีเราจะไม่เป็นทาสของ
้
่
วัตถุสงใดสิงหนึงมากจนเกินไปนัก เราต้องมีหวใจพิเศษ เรียกว่าหัวใจต้อง
ิ่ ่ ่
ั
ใฝ่ธรรมะ พระพุทธเจ้าพระองค์ได้ตรัสว่า “ธมฺมจารี สุขง เสติ” บุคคลผูมี
ั
้
ปกติประพฤติธรรมย่อมอยูเ่ ป็นสุข
ชีวิตสดใส หัวใจใฝ่ธรรมะ

	
เพราะฉะนั้นความสุขของคน
เรานี้ จิตใจเป็นเรืองทีสำคัญทีสด นันก็
่ ่�
ุ่ ่
คือว่า เมือมีอาหารกายก็ตองมีอาหารใจ
่
้
นันเอง ท่านทังหลายมาวันนี้ ท่านมา
่
้
ฟังธรรมะเป็นการให้อาหารใจแก่ชีวิต
ของเรา อาหารใจนี้ เ ป็ น นามธรรม
สัมผัสรูได้ดวยใจ
้ ้
	
คนเรานี้ ถ้าหากว่าเราใช้ปญญา
ั
แต่ในเรื่องของการฟัง ใช้ปัญญาแต่ใน
เรื่องพินิจพิจารณา เป็นคนมีเหตุมีผล
เราจะไม่คอยรูจกจิตใจของตัวเองเท่าไร
่ ้ั
ท่านทังหลายมาพิจารณาดู อย่างคนไทย
้
เรานีเ้ ป็นชาวพุทธ เรารูจกศีล ๕ นันคือ
้ั
้
อะไรบ้าง
	
วันนี้ก็ได้ถือโอกาสแปลศีล ๕
ให้ทานทังหลายได้วาตามด้วย เพือว่า
่ ้
่
่
เราจะได้ทบทวนว่าเราเป็นชาวพุทธนี้
ศีล ๕ ประการมีความหมายเป็นอย่างนี้

	

เรื่อง : พระราชสิทธิมนี (วิ.)
ุ

เวลาทีเราจะละเมิดศีล เราก็จะได้มสติ
่
ี
มากขึ้ น กว่ า เดิ ม บางที เ รารั บ ศี ล ไป
อย่างเดียว ไม่รู้จักความหมาย ท�ำให้
เราลืมได้วาอะไรทีเ่ ป็นข้องดเว้นบ้าง
่
	
เพราะฉะนัน การทีเ่ ราเป็นชาว
้
พุทธ เรามีความรู้ในทางทฤษฎี รู้จัก
ธรรมะ รูจกพระพุทธเจ้าสอนอะไรบ้าง
้ั
แต่วาความรูทเี่ รามีอยูนี้ บางทีมนก็ไม่สง
่
้
่
ั
่
ถึงหัวใจของเราว่า เรารูตามทีพระพุทธเจ้า
้ ่
สอนจริงๆ ไหม คือความรูทมอยูนี้ จิต
้ ี่ ี ่
ของเรานีไม่ได้รบรูในระดับทีลกซึง ก็จง
้
ั ้
่ึ ้ ึ
เป็นเหตุให้คนเรานี้ บางทีกทำความผิด
็ �
ทั้งๆ ที่รู้อยู่ ที่เป็นเช่นนี้เพราะอะไร
เพราะอ�ำนาจของกิเลสที่ท�ำให้จิตใจ
เศร้าหมองมีกำลังมาก แต่วาก�ำลังของ
�
่
สติ สมาธินมนอ่อนไป
ี้ ั

โปรดติดตาม “ชีวตสดใส หัวใจใฝ่ธรรมะ” ได้ตอในฉบับหน้า
ิ
่

	

  ปญฺญาชีว   ชีวตมาหฺ  เสฏฐํ
ี ิ
  ชีวตทีอยูดวยปัญญา  ประเสริฐสุด
ิ ่ ่้

NC Tour & Enterprise Co.,Ltd.
บริษท เอ็นซี ทัวร์ แอนด์ เอ็นเตอร์ไพรส์ จ�ำกัด
ั
มอบเป็นธรรมบรรณาการ
กุมภาพันธ์ - เมษายน ๒๕๕๗

13
ฝึกฝนจิตละกิเลส

		

“
”

เรื่อง : ปรียวิศว์  โยธีพทกษ์
ิ ั

เรือง : ปรียวิศว์ โยธีพทกษ์
่
ิ ั

ความเพียรทีถกต้องคือสิงใด ?
ู่
่
	
ความเข้าใจหนึงทีคลาดเคลือนไปก็คอ “ความเพียรทีถก
่ ่
่
ื
ู่
ต้องคือสิงใด ” เพราะหลายคนมีความเข้าใจทีวาการปฏิบตธรรม
่
่่
ั ิ
สามารถเกิดขึนได้เฉพาะในห้องกรรมฐาน หรือ หลักสูตรปฏิบติ
้
ั
เท่านัน โดยทีอาจจะหลงลืมประเด็นทีสำคัญทีสดเรืองหนึงไปก็คอ
้
่
่�
ุ่ ่
่
ื
การภาวนานันอยูทจต และจิตก็ทำงานอยูตลอดเวลา คล้ายกับ
้ ่ ี่ ิ
�
่
การทีมนุษย์กหายใจอยูตลอดเวลา ดังนันนักปฏิบตทงหลายก็ควร
่
็
่
้
ั ิ ั้
ต้อง “ปฏิบตได้ตลอดเวลา” คือ อกาลิโก ไม่ประกอบด้วยกาล เช่น
ัิ
กัน ดั ง ตั ว อย่ า งของบทสนทนานี้ ซึ่ ง เป็ น พระราชปุ จ ฉาของ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวทีมตอหลวงปูดลย์ อตุโล ว่า
่ ั ่ ี่
่ ู
	
	
“หลวงปู่ การละกิเลสนั้นควรละอะไรก่อน” จากนั้น
หลวงปูกกล่าววิสชนาว่า
่็
ั

“กิเลสทั้งหมดเกิดรวมที่จิต  ให้เพ่งมองดูที่จิต  
อันไหนเกิดก่อนให้ละอันนั้นก่อน”

ความเพียรชอบ = ชอบความเพียร
คุณเคยสงสัยไหมครับว่า

	

	
“ท�ำไมเมืองไทยสมัยนีมนช่างวุนวาย สับสน
้ ั
่
และผูคนไร้ซงมโนธรรมใดๆ เสียเหลือเกิน ”
้
ึ่

	
จริงที่สุดว่าผู้ที่จะสามารถท�ำแบบนี้ได้นั้นต้องอาศัย
ความเพียรอยูตลอดเวลา เท่าทีสามารถ เท่าทีมโอกาส ไม่วาจะ
่
่
่ ี
่
เป็นวันไหนๆ เวลาใดๆ หากผู้ใดคลาดจากการตั้งเจตนาไว้ใน
ทิศทางนี้ ก็คงเรียกได้วายังไม่สามารถทีจะเข้าสูการพัฒนาจิตให้
่
่
่
เกิดปัญญาและสันติสข ได้อย่างแท้จริง และแน่นอนว่าใครจะไปรู้
ุ
ดีได้เท่ากับตัวของนักปฏิบตแต่ละท่านเองว่าในแต่ละนาทีทผาน
ั ิ
ี่ ่
ไป “บัดนีเ้ ราท�ำอะไรอยู” เราก�ำลังเจริญความเพียรทีถกต้องอยู่
่
ู่
ไหม (สัมมาวายามะ,สัมมัปปธาน ๔) สิงใดทีควรละเราเพียรละ
่ ่
อยูหรือเปล่า สิงใดทีควรเจริญเราเพียรเจริญอยูหรือไม่
่
่ ่
่

	
ทังๆทีเ่ รียกได้เลยว่าเราก�ำลังอยูในยุคเฟืองฟู
้
่
่
ของการปฏิบัติธรรมอันอุดมไปด้วยค�ำสอน และผู้รู้
ธรรมมากมายยุคหนึง ถ้าศาสนาเจริญขนาดนี้ ท�ำไม
่
ผู้คนถึงไม่เจริญตาม การปฏิบัติธรรมไม่มีประโยชน์
ผู้คนเข้าใจการปฏิบัติกันไม่ถูกต้อง มันยังไงกันแน่
ความคลาดเคลือนบกพร่องคืออะไร ?
่

14

ยุวพุทธสัมพันธ์ ฉบับที่ ๘๙
ฝึกฝนจิตละกิเลส

		

เรื่อง : ปรียวิศว์  โยธีพทกษ์
ิ ั

วิรเยน ทุกขมจฺเจติ
ิ
ฺ
คนล่วงทุกข์ได้เพราะความเพียร
ขุ.สุ.๒๕/๓๖๑

	
ดังนั้นความเพียรทางจิตในการเจริญสติ เพื่อเพียรเจริญ
กุศลและเพียรละอกุศล จึงถือเป็นการสร้างเหตุทถกตรงทีสดต่อการ
ี่ ู
่ ุ
วิมุตติหลุดพ้น ตามหลักของเหตุปัจจัย นั่นก็คือหมั่นสร้างเหตุที่
เหมาะสมเพือน�ำทางจิตไปบนมรรควิถทถกต้อง ซึงท่านก็เคยแสดง
่
ี ี่ ู
่
ไว้ในพระสูตรหนึงชือสติสตร(สติวรรคที๔)* รวมความได้วา
่ ่
ู
่
่
	
	
“การเจริญสตินนเป็นเหตุ ท�ำให้เห็นโทษของบาปอกุศลจน
ั้
ท�ำให้เกิดการส�ำรวมระวังขึ้นเอง และนั่นจึงเป็นเหตุให้ศีลสมบูรณ์
จนเกิดความสงบตังมันไม่หวันไหวไปของจิต จนสามารถเห็นสภาพ
้ ่
่
ธรรมได้ตามความเป็นจริง จนเกิดปัญญาและน�ำไปสู่ความเบื่อ
หน่ายคลายก�ำหนัด และความไม่ยดมันแห่งจิตได้ในบันปลาย”
ึ ่
้
	
หากต้องตอบค�ำถามทีวา ท�ำไมโลกจึงแสนจะวุนวายทังๆที่
่่
่
้
ศาสนาก็เจริญมาก ก็คงต้องตอบว่าเพราะผู้ปฏิบัติส่วนใหญ่ใช้ชีวิต
อยูนอกห้องกรรมฐานมากกว่าในห้องกรรมฐานนันไง แล้วหากพวก
่
่
เขาเหล่านันไม่สามารถรักษาระดับของความเพียรชอบทางจิต ให้มี
้
อยูสม�ำเสมอเป็น อกาลิโก ได้ จิตของเขาก็ตองถูกกิเลสเผาลน และ
่ ่
้
โลกก็จะรุมร้อน วุนวาย แบบนีนนแหละ....เป็นไปตามเหตุปจจัย
่
่
้ ั่
ั
	
ดังนันเราควรมาช่วยกันศึกษาและฝึกฝนจิตใจของเราให้ถก
้
ู
ต้องตามหลักของความเพียรชอบ กันเถิด อกุศลใดเกิดขึนแล้วก็รบ
้
ี
ละเสีย อกุศลใดยังไม่เกิดก็เพียรปิดกันไว้ กุศลใดยังไม่เกิดก็รบเจริญ
้
ี
เสีย กุศลใดทีมอยูแล้วก็พฒนาให้ยงขึนไปอีก โดยไม่ขนอยูกบเวลา
่ ี ่
ั
ิ่ ้
ึ้ ่ ั
หรือสถานทีใดๆทังสิน ท�ำได้ทนที ณ ปัจจุบน และท�ำไปด้วยฉันทะ
่
้ ้
ั
ั
ความพอใจ

	
ก่อนจะ like, comment หรือ share สิงใด ก็
่
อย่าลืมหลักของการเจริญกุศลและละอกุศลเสียล่ะ
อย่างนี้จึงจะเรียกว่า ธรรมะ เป็น “อกาลิโก” โดย
แท้จริง เพราะสามารถปฏิบตได้และให้ผลได้ไม่จำกัด
ั ิ
�
กาลจริงๆ
	
และเมื่อนั้น โลกภายนอกทั้งมวลก็คงเข้าสู่
ความเป็ น ปกติ สุ ข ได้ ตามผลอั น สมควรของการ
ปฏิบตภาวนาทางจิตนันเอง
ั ิ
่
{*} อ้างอิง: พระไตรปิฎกบาลีสยามรัฐ(ฉบับไทย) เล่มที่ ๒๓
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๕ อังคุตตรนิกาย สัตตก-อัฏฐกนวกนิบาต หน้า ๒๗๑ ข้อที่ ๑๘๗ สติวรรคที๔ สติสตร
่
ู

คุณกิงกาญจน์ อารักษ์พทธนันท์
่
ุ
มอบเป็นธรรมบรรณาการ

กุมภาพันธ์ - เมษายน ๒๕๕๗

15
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์

More Related Content

What's hot

คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมคู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
niralai
 
Ebook ประตูสู่ชาดก
Ebook ประตูสู่ชาดกEbook ประตูสู่ชาดก
Ebook ประตูสู่ชาดก
Panda Jing
 
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อนสมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
niralai
 
ประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโต
ประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโตประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโต
ประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโต
Taweedham Dhamtawee
 
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรมหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรมTongsamut vorasan
 
บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี
บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี
บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี
Panuwat Beforetwo
 
ใบความรู้ การปฏบัติตนตามมารยาทไทย ป.1+423+dltvsocp1+55t2soc p01 f22-1page
ใบความรู้ การปฏบัติตนตามมารยาทไทย ป.1+423+dltvsocp1+55t2soc p01 f22-1pageใบความรู้ การปฏบัติตนตามมารยาทไทย ป.1+423+dltvsocp1+55t2soc p01 f22-1page
ใบความรู้ การปฏบัติตนตามมารยาทไทย ป.1+423+dltvsocp1+55t2soc p01 f22-1page
Prachoom Rangkasikorn
 
สไลด์ มารยาทชาวพุทธ ป.2+434+dltvsocp2+55t2soc p02 f07-1page
สไลด์ มารยาทชาวพุทธ ป.2+434+dltvsocp2+55t2soc p02 f07-1pageสไลด์ มารยาทชาวพุทธ ป.2+434+dltvsocp2+55t2soc p02 f07-1page
สไลด์ มารยาทชาวพุทธ ป.2+434+dltvsocp2+55t2soc p02 f07-1page
Prachoom Rangkasikorn
 
สาวิณี
สาวิณีสาวิณี
สาวิณีsawinee37
 
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555Carzanova
 
รวมพระอรหันต์ที่อยู่ในประเทศไทยเวลานี้
รวมพระอรหันต์ที่อยู่ในประเทศไทยเวลานี้รวมพระอรหันต์ที่อยู่ในประเทศไทยเวลานี้
รวมพระอรหันต์ที่อยู่ในประเทศไทยเวลานี้Adisorn Tanprasert
 
การบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุด
การบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุดการบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุด
การบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุดKiat Chaloemkiat
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011 Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
Wat Thai Washington, D.C.
 
วันสำคัญทางศาสนา Eng
วันสำคัญทางศาสนา Engวันสำคัญทางศาสนา Eng
วันสำคัญทางศาสนา Engpasin202
 
บาลี 31 80
บาลี 31 80บาลี 31 80
บาลี 31 80Rose Banioki
 
ขอพรสิ่งศักดิ์สิทธิ์อย่างไร...ให้ได้ผล
ขอพรสิ่งศักดิ์สิทธิ์อย่างไร...ให้ได้ผลขอพรสิ่งศักดิ์สิทธิ์อย่างไร...ให้ได้ผล
ขอพรสิ่งศักดิ์สิทธิ์อย่างไร...ให้ได้ผล
Panuwat Beforetwo
 
ลังกากถา ข้อคิด ของดีเมืองศรีลังกา
ลังกากถา ข้อคิด ของดีเมืองศรีลังกาลังกากถา ข้อคิด ของดีเมืองศรีลังกา
ลังกากถา ข้อคิด ของดีเมืองศรีลังกา
Wat Pasantidhamma
 
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)Ballista Pg
 

What's hot (20)

โลกธรรม ๘
โลกธรรม ๘โลกธรรม ๘
โลกธรรม ๘
 
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมคู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
 
Ebook ประตูสู่ชาดก
Ebook ประตูสู่ชาดกEbook ประตูสู่ชาดก
Ebook ประตูสู่ชาดก
 
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อนสมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
 
ประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโต
ประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโตประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโต
ประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโต
 
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรมหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
 
บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี
บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี
บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี
 
ใบความรู้ การปฏบัติตนตามมารยาทไทย ป.1+423+dltvsocp1+55t2soc p01 f22-1page
ใบความรู้ การปฏบัติตนตามมารยาทไทย ป.1+423+dltvsocp1+55t2soc p01 f22-1pageใบความรู้ การปฏบัติตนตามมารยาทไทย ป.1+423+dltvsocp1+55t2soc p01 f22-1page
ใบความรู้ การปฏบัติตนตามมารยาทไทย ป.1+423+dltvsocp1+55t2soc p01 f22-1page
 
สไลด์ มารยาทชาวพุทธ ป.2+434+dltvsocp2+55t2soc p02 f07-1page
สไลด์ มารยาทชาวพุทธ ป.2+434+dltvsocp2+55t2soc p02 f07-1pageสไลด์ มารยาทชาวพุทธ ป.2+434+dltvsocp2+55t2soc p02 f07-1page
สไลด์ มารยาทชาวพุทธ ป.2+434+dltvsocp2+55t2soc p02 f07-1page
 
สาวิณี
สาวิณีสาวิณี
สาวิณี
 
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
 
รวมพระอรหันต์ที่อยู่ในประเทศไทยเวลานี้
รวมพระอรหันต์ที่อยู่ในประเทศไทยเวลานี้รวมพระอรหันต์ที่อยู่ในประเทศไทยเวลานี้
รวมพระอรหันต์ที่อยู่ในประเทศไทยเวลานี้
 
การบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุด
การบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุดการบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุด
การบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุด
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011 Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
 
วันสำคัญทางศาสนา Eng
วันสำคัญทางศาสนา Engวันสำคัญทางศาสนา Eng
วันสำคัญทางศาสนา Eng
 
บาลี 31 80
บาลี 31 80บาลี 31 80
บาลี 31 80
 
วันเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษาวันเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษา
 
ขอพรสิ่งศักดิ์สิทธิ์อย่างไร...ให้ได้ผล
ขอพรสิ่งศักดิ์สิทธิ์อย่างไร...ให้ได้ผลขอพรสิ่งศักดิ์สิทธิ์อย่างไร...ให้ได้ผล
ขอพรสิ่งศักดิ์สิทธิ์อย่างไร...ให้ได้ผล
 
ลังกากถา ข้อคิด ของดีเมืองศรีลังกา
ลังกากถา ข้อคิด ของดีเมืองศรีลังกาลังกากถา ข้อคิด ของดีเมืองศรีลังกา
ลังกากถา ข้อคิด ของดีเมืองศรีลังกา
 
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
 

Similar to 140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์

1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒dentyomaraj
 
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
Panda Jing
 
วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชา
utumporn charoensuk
 
Wansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayaWansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayatippaya6563
 
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrareciteTongsamut vorasan
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
พัน พัน
 
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนาสถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
ธรรมะอินเทรนด์ ธรรมะออนไลน์
 
Buddha1
Buddha1Buddha1
Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010
Wat Thai Washington, D.C.
 
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
Carzanova
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน Tongsamut vorasan
 
วิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยวิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยTongsamut vorasan
 
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาหลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาNew Nan
 
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณาราม
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณารามรายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณาราม
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณารามหนุ่มน้อย ดาร์จีลิ่ง
 

Similar to 140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์ (20)

1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
 
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
 
วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชา
 
Wansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayaWansamkarn tippaya
Wansamkarn tippaya
 
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
 
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนาสถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
 
Buddha1
Buddha1Buddha1
Buddha1
 
Buddha1
Buddha1Buddha1
Buddha1
 
Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010
 
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
 
หนังสือธรรมะใกล้ตัว
หนังสือธรรมะใกล้ตัวหนังสือธรรมะใกล้ตัว
หนังสือธรรมะใกล้ตัว
 
วิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยวิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทย
 
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาหลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
 
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณาราม
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณารามรายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณาราม
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณาราม
 
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐
 
2555blessing
2555blessing2555blessing
2555blessing
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 

140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์

  • 1. วันมาฆบูชา วัน เพ็ญสิบห้าค�่ำ มาฆ ฤกษ์เรืองราม บู ชิตระลึกตาม ชา ครธรรมแจ่มจ้า เดือนสาม ระยับหล้า ปาฏิโมกข์ จรัสแจ้งใจชน คาบนี้คราวเมื่อครั้ง ณ เวฬุวันสถาน พระโลกนาถ ธ ประทาน ภิกษุสาวกได้ พุทธกาล ไผ่ไม้ โอวาท สดับถ้อยค�ำสอน สรรพบาปชั่วเว้น พึงกอปรกุศลกรรม จิตใจจุ่งเร่งช�ำ - สามสิ่งพระตรัสแล้ว ไป่ท�ำ ผ่องแพร้ว ระรอบ ว่านี้พุทธธรรม สองพันหกร้อยล่วง พุทธพจน์คงปรา- พุทธชนหมั่นบูชา ย่อมลุธรรมวิสุทธิ์แท้ เวลา กฏแล้ ปฏิบัติ สุดสิ้นสงสาร นายอภิเชน หล้าหิบ นิสิตชั้นปีที่ ๔ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปฏิบัติธรรมโครงการพุทธธรรม พ.ศ.๒๕๕๔ ณ ยุวพุทธิกสมาคมแห่งประเทศไทยฯ
  • 2.
  • 3. วารสารยุวพุทธสัมพันธ์ ด้วยความเคารพ ขอกล่าวสวัสดีปใหม่แด่ทานสมาชิกทุกๆ ท่านนะ ี ่ คะ ทั้งนี้คงไม่ช้าจนเกินไปเพราะวารสารยุวพุทธสัมพันธ์ ฉบับนี้ ออกเป็นฉบับแรกในปี พ.ศ.๒๕๕๗ “ปีมาพาสุข” ค่ะ ้ เด่นในฉบับ ๓ ๖ ๔ พร้อมกันนี้สมาคมฯได้เเนบซีดีธรรมะชุด “สุขใน ธรรม” ซึงรวมพระธรรมเทศนา ธรรมบรรยายไว้ ๑๔ เรือง ่ ่ ๘ เพื่อเป็นพลังแห่งสัมมาทัศนะและสัมมาปฏิบัติของท่าน ๑๔ ๒๐ สืบไป สารจากนายกสมาคม ๒ ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์นั้นมักจะเป็นเดือนที่มี พลต�ำรวจตรี นรวัฒน์ เจริญรัชต์ภาคย์ เพราะเป็นเดือนที่ตรง ความส�ำคัญต่อชาวพุทธอยู่เสมอ หลักชาวพุทธ ๓ กับวันเพ็ญเดือน ๓ คือวันมาฆบูชา วันมาฆบูชาได้ชื่อว่า พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตโต) ฺ เป็น “วันพระธรรม” เพราะเป็นวันที่พระบรมศาสดาสรุป บูชาปูชนีย์ บูชาจากใจ ๔ หลักการและวิธีการเผยแผ่พระพุทธศาสนาไว้ให้แก่พุทธ พระนวลจันทร์ กิตติปญโญ ิ ั บริษัทมากว่า ๒๖๐๐ ปีแล้ว ในส่วนของประเทศไทยนั้น ศีลประกันชีวตสูนพพาน ๖ ิ ่ ิ จะเห็นได้ว่านอกจากประเทศของเรามีความอุดมสมบูรณ์ พระชาญชัย อธิปญฺโญ ด้วยทรัพยากรหลายหลากแล้ว เรายังมีทุนทางพระพุทธ สวดมนต์เองวันนี้ ดีกว่ารอคนอืนสวดให้ ่ ๘ ศาสนาเป็นเครื่องน�ำทาง และค�้ำจุนสังคมตลอดมา แต่ กองบรรณาธิการ จุดเด่นของชาวพุทธในประเทศไทยกลับไปให้ความส�ำคัญ กราบสติปฏฐาน ๔ และการเดินจงกรม ๑๐ ั ต่อกิจกรรมศาสนพิธี และประเพณีทางศาสนา มากกว่า พระมหาทองมัน สุทธจิตโต ่ ฺ ฺ การน�ำธรรมะที่แท้จริงไปใช้ในชีวิตอย่างสม�่ำเสมอ ขาด ชีวตสดใส หัวใจใฝ่ธรรมะ ิ ๑๒ ข้อปฏิบัติที่สามารถประเมินได้อย่างเป็นรูปธรรม ดังนี้ พระราชสิทธิมนี (วิ.) ุ พระเดชพระคุ ณ พระพรหมคุ ณ าภรณ์ จึ ง ได้ น� ำ เสนอ ฝึกฝนจิตละกิเลส ๑๔ แนวทางการประพฤติปฏิบติ ทีเ่ รียกว่า “หลักชาวพุทธ” ซึง ั ่ ปรียวิศว์ โยธีพทกษ์ ิ ั แบ่งเป็น ๓ หมวดคือ การมีศีลวัตรประจ�ำตน การเจริญ ค�ำถามนีมคำตอบ ้ ี � ๑๖ กุศลเนืองนิตย์ และการท�ำชีวิตให้งามประณีต เพื่อความ เรืองเล่าจากเยาวชน ่ ๑๗ เข้า ใจ และมีหลักปฏิ บัติที่พุทธศาสนิกชนไทย สามารถ ประสบการณ์จากการปฏิบตธรรม ั ิ ๑๘ ประเมินตนเองได้ ดรุณธรรม ๒๐ ขุมทรัพย์ธรรม ๒๒ รอบรัวบ้านแห่งธรรม ้ ๒๔ ร่วมกิจกรรมสร้างบุญปลูกปัญญา ๓๐ ร่วมสร้างทานบารมี ๓๒ คณะทีปรึกษา : รศ.วารินทร์ มาศกุล : รศ.ดร.วิไล เทียนรุงโรจน์ หนุนภักดี ่ ่ : คุณพจนา ประกาศเวชกิจ บรรณาธิการ : รศ.อมรา รอดดารา ผูชวยบรรณาธิการ : คุณกวี บุญดีสกุลโชค : คุณณชัยยัณห์ ยิมส�ำรวย ้่ ้ กองบรรณาธิการ : คุณภรณี บุญมี : คุณกาญจนา กรัณยประเสริฐ : คุณกุลเวช เจนวัฒนวิทย์ : คุณธนา เตรัตนชัย : คุณนิภา วรพันธ์ : คุณดวงกมล สุวชชากุล ิ : คุณอัจฉริยา นันทกิจ : คุณจรินทร พรชัยวิรช ั : คุณสมรรัตน์ มาพบสุข : คุณจตุพร สินตรา : คุณณัชชา บูรณะเหตุ : คุณปรีชา แสนเขียว คณะกรรมการวารสารยุวพุทธสัมพันธ์ ตระหนัก ถึงความส�ำคัญของการเป็นชาวพุทธที่แท้จริง ตามหลัก ปฏิ ัติการของชาวพุทธทั้ง ๑๒ ประการ แนวคิดในการ บ จัดท�ำวารสารในปีนี้จึงขอน�ำเสนอ ข้อธรรม และธรรมะ บรรยายทีจะส่งเสริมและเผยแผ่หลักการ เพือการตระหนัก ่ ่ รู้และปฏิบัติตามแนวทางอย่างสม�่ำเสมอ ส่วนในด้านรูป เล่ม เนื้อหาของวารสารในแต่ละฉบับก็พยายามเลือกสรร ธรรมะบรรยาย และคอลัมน์ที่หลากหลายมาเสนอเพื่อ ให้เกิดประโยชน์คุ้มค่า ส�ำหรับสมาชิกทุกท่านโดยเฉพาะ เด็กและเยาวชนซึ่งจะเป็นก�ำลังอันส�ำคัญของชาติต่อไปใน อนาคต รองศาสตราจารย์อมรา รอดดารา บรรณาธิการ กุมภาพันธ์ - เมษายน ๒๕๕๗ 1
  • 4. สมา ราจากม นายกส ค พลต�ำรวจตรี นรวัฒน์ เจริญรัชต์ภาคย์ ท่านสมาชิกและสาธุชนทังหลาย เราได้ผานเทศกาลปีใหม่มาแล้วรวมทังได้ผานสถานการณ์วนวายของบ้านเมือง ้ ่ ้ ่ ุ่ ในช่วงส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ ซึ่งสาเหตุของความขัดแย้งและความแตกแยกที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่ก็มาจากรากเหง้าของ กิเลส โดยมีความหลงเป็นตัวน�ำ แล้วตามด้วยความโลภและความโกรธ หากคนในประเทศชาติยดมันในคุณธรรม จริยธรรม ึ ่ รักษาศีล ๕ กันได้มากกว่านี้ หันหน้ามาปฏิบตธรรมกันมากขึน ยึดมันในค�ำสอนของพระพุทธศาสนาอย่างมุงมันจริงจังแล้ว ั ิ ้ ่ ่ ่ ประเทศชาติคงจะพบกับความสงบและเจริญก้าวหน้ายิงไปกว่านี้ ่ การจัดหลักสูตรปฏิบตธรรมในปีนี้ ยุวพุทธิกสมาคมแห่งประเทศไทยฯ ได้พยายามก�ำหนดหลักสูตรให้มคณภาพยิง ั ิ ี ุ ่ ขึน สร้างความสัปปายะในแต่ละหลักสูตรให้มากขึน รวมทังมีการพัฒนาปรับปรุงด้านการเงิน และการบริหารจัดการ เพือให้ ้ ้ ้ ่ เป็นไปตามวิสยทัศน์และนโยบายของสมาคมทีจะสนับสนุนงานวิปสสนากรรมฐานแนวทางการเจริญสติปฏฐานสี่ ทังนีการ ั ่ ั ั ้ ้ ด�ำเนินการของสมาคมก็ได้มการพัฒนาด้านการบริหารให้มระบบทีดยงขึนเพือความก้าวหน้าและเดินไปข้างหน้าอย่างมันคง ี ี ่ ี ิ่ ้ ่ ่ เพือเตรียมพร้อมกับสถานการณ์ทไม่แน่นอน และนอกจากกิจกรรมวิปสสนากรรมฐานแล้ว ในช่วงไตรมาสแรกสมาคมได้จด ่ ี่ ั ั กิจกรรมพิเศษส�ำหรับวันมาฆบูชา ซึงตรงกับวันขึน ๑๕ ค�ำ เดือน ๓ และถือเป็นวันของพระธรรมอีกด้วย รวมถึงในเดือน ่ ้ ่ มีนาคม ๒๕๕๗ นี้ จะมีการประชุมสามัญประจ�ำปี พร้อมทังท�ำบุญในวันนันด้วย ดังนันจึงขอเรียนเชิญท่านสมาชิกได้เข้าร่วม ้ ้ ้ ประชุมและร่วมท�ำกิจกรรมต่าง ๆ รวมทังร่วมสนับสนุนการท�ำงานของสมาคมดังทีผานมา ้ ่่ ท้ายทีสดนี้ ผมขอฝากข้อคิดจากพุทธพจน์ ให้แก่ทกท่านได้นำไปพิจารณาเพือเป็นแนวทางในการประพฤติปฏิบติ ่ ุ ุ � ่ ั ตน ด�ำรงตนให้มความสุข ดังนี้ ี “ดูกอนภิกษุทงหลาย ข้าวเปลือก ทรัพย์ เงินทองหรือของทีบคคลหวงแหนอย่างใดอย่างหนึง รวมทังทาสกรรมกร ่ ั้ ่ ุ ่ ้ คนใช้และทีอยูอาศัยสิงอืนๆ ทังหมดนีบคคลน�ำไปไม่ได้ ต้องทอดทิงไว้ทงหมด แต่สงทีบคคลท�ำด้วยกาย วาจา หรือด้วยใจ ่ ่ ่ ่ ้ ้ ุ ้ ั้ ิ่ ่ ุ นันแหละทีจะเป็นของเขา เป็นสิงทีเขาต้องน�ำไปเหมือนเงาตามตัว เพราะฉะนันผูฉลาดพึงสังสมกัลยาณธรรมอันจะน�ำไปสู่ ่ ่ ่ ่ ้ ้ ่ สัมปรายภพได้ บุญย่อมเป็นทีพงของสัตว์ทงหลายทังในโลกนีและโลกหน้า” ่ ึ่ ั้ ้ ้ 2 ขอส่งความระลึกถึง ความปรารถนาดี และขออนุโมทนาในกุศลจิตของทุกท่านด้วยครับ ยุวพุทธสัมพันธ์ ฉบับที่ ๘๙
  • 5. หลักชาวพุทธ เรือง : พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตโต) ่ ฺ ปัจจุบนนี้ ปัญหาส�ำคัญยิงอย่างหนึง ั ่ ่ ซึงปรากฏชัดในสังคม คือการทีคนมากมายเป็น ่ ่ ชาวพุทธกันเพียงในนาม โดยไม่มทงความรูและ ี ั้ ้ การปฏิบตของชาวพุทธ สภาพเช่นนีเ้ ป็นเหมือน ัิ เมฆหมอกทีบดบังแสงสว่างและความงามแห่ง ่ คุณค่าของพระพุทธศาสนา นอกจากตัวบุคคล นันจะไม่เจริญงอกงามในธรรมแล้ว สังคมก็สญ ้ ู เสียประโยชน์มากมายที่พึงได้จากพระพุทธ ศาสนา จึงเป็นปัญหาร้ายแรงทีควรตืนตัวขึนมา ่ ่ ้ เร่งแก้ไข ค�ำว่า “ชาวพุทธ” มิใช่เป็นถ้อยค�ำ ที่พึงเรียกขานกันอย่างเลื่อนลอย บุคคลที่จะ เรียกได้ว่าเป็น “ชาวพุทธ” จะต้องมีหลักการ มีคุณสมบัติประจ�ำตัว และมีมาตรฐานความ ประพฤติ ที่รองรับ ยืนยัน และแสดงออกถึง ความเป็นชาวพุทธนั้น “ บอกว่าฉันเป็นชาวพุทธ แต่ความเป็นชาวพุทธอยูทไหน ่ ี่ ท�ำอย่างไร? ” ๕. ส�ำเร็จด้วยกระท�ำกรรมดี: ข้าฯ จะสร้าง ความส�ำเร็จด้วยการกระท�ำทีดงามของตน โดย ่ี พากเพียรอย่างไม่ประมาท ๒. ปฏิบตการ ั ิ ข้าฯ จะน�ำชีวต และร่วมน�ำสังคมประเทศ ิ ชาติ ไปสูความดีงาม และความสุขความเจริญ ่ ด้วยการปฏิบติ ดังต่อไปนี้ ั ก) มีศลวัตรประจ�ำตน ี ๑. บู ช าปู ช นี ย ์ : มีปกติกราบไหว้แสดงความ หลักการ และปฏิบัติการ ที่เรียกว่า เคารพ ต่อพระรัตนตรัย บิดามารดา ครูอาจารย์ ่ “หลักชาวพุทธ” ดังต่อไปนี้ เป็นภูมธรรมขัน และบุคคลทีควรเคารพ ิ ้ พืนฐานของชาวพุทธ ผูทตงมันอยูในหลักการ ๒. มี ศี ล ห่ า งอบาย: สมาทานเบญจศีลให้เป็น ้ ้ ี่ ั้ ่ ่ และด�ำเนินตามปฏิบัติการนี้นอกจากเป็นชาว นิ จ ศี ล คื อ หลั ก ความประพฤติ ป ระจ� ำ ตั ว พุทธสมแก่นามแล้วจะมีชวตทีพฒนาก้าวหน้า ไม่มืดมัวด้วยอบายมุข ีิ ่ ั งอกงาม และช่วยให้สังคมเจริญมั่นคงดํารง ๓. สาธยายพุทธมนต์: สวดสาธยายพุทธวจนะ อยูในสันติสขเป็นผูสบต่อวิถชาวพุทธไว้ พร้อมทั้ง หรื อ บทสวดมนต์ โ ดยเข้ า ใจความหมาย ่ ุ ้ื ี อย่างน้อยก่อนนอนทุกวัน รักษาธรรมและความเกษมศานต์ให้แก่โลก ๔. ฝึกฝนจิตด้วยภาวนา: ท�ำจิตใจให้สงบ ผ่องใส ้ ี่ ื่ “หลั ก ชาวพุ ท ธ”อั น พึ ง ถื อ เป็ น เจริญสมาธิ อันค�ำจุนสติทตนตัว หนุนปัญญา ทีรทวชัดเท่าทัน และอธิษฐานจิตเพือจุดหมาย ่ ู้ ั่ ่ บรรทัดฐาน มีดงต่อไปนี้ ั ทีเป็นกุศล วันละ ๕–๑๐ นาที ่ ี ๑. หลักการ ๑. ฝึกแล้วคือเลิศมนุษย์: ข้าฯ มันใจว่า มนุษย์ ่ จะประเสริ ฐ เลิ ศ สุ ด แม้ ก ระทั่ง เป็น พุทธะได้ เพราะฝึกตนด้วยสิกขาคือการศึกษา ๒. ใฝ่พทธคุณเป็นสรณะ: ข้าฯ จะฝึกตนให้มี ุ ปัญญา มีความบริสทธิ์ และมีเมตตากรุณาตาม ุ อย่างองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ๓. ถือธรรมะเป็นใหญ่: ข้าฯ ถือธรรม คือความจริง ความถูกต้องดีงาม เป็นใหญ่ เป็นเกณฑ์ตดสิน ั ๔. สร้างสังคมให้เยียงสังฆะ: ข้าฯ จะสร้าง ่ สังคมตังแต่ในบ้าน ให้มความสามัคคี เป็นทีมา ้ ี ่ เกือกูลร่วมกันสร้างสรรค์ ้ ข) เจริญกุศลเนืองนิตย์ ๕. ท�ำกิจวัตรวันพระ: บ�ำเพ็ญกิจวัตรวันพระ ด้ ว ยการตั ก บาตรหรื อ แผ่เ มตตาฟั ง ธรรม หรืออ่านหนังสือธรรมโดยบุคคลที่บ้านที่วัด ทีโรงเรียน หรือทีทำงาน ร่วมกัน ประมาณ ๑๕ นาที ่ ่ � ๖. พร้อมสละแบ่งปัน: เก็บออมเงิน และ แบ่งมาบ�ำเพ็ญทาน เพื่อบรรเทาทุกข์ เพื่อ บูชาคุณ เพื่อสนับสนุนกรรมดี อย่างน้อย สัปดาห์ละ ๑ ครั้ง ๗. หมั่ น ท� ำ คุ ณ ประโยชน์ : เพิ่ ม พู น บุ ญ กรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์อทศแด่พระรัตนตรัย ุ ิ เรือง : พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตโต) ่ ฺ มารดาบิดา ครูอาจารย์ และท่านผูเป็นบุพการี ้ ของสังคมแต่อดีตสืบมาอย่างน้อยสัปดาห์ละ ๑ ครัง ้ ๘.ได้ปราโมทย์ดวยไปวัด: ไปวั ด ชมอารามที่ ้ รื่ น รมย์ และไปร่ ว มกิ จกรรม ทุกวันส�ำ คัญ ทางพระพุ ท ธศาสนาและวั น ส� ำ คั ญ ของ ครอบครั ว ค) ท�ำชีวตให้งามประณีต ิ ๙. กินอยูพอดี: ฝึกความรูจกประมาณในการ ่ ้ั บริโภคด้วยปัญญา ให้กนอยูพอดี ิ ่ ๑๐.มีชวตงดงาม:ปฏิบตกจส่วนตนดูแลของใช้ ีิ ั ิิ ของตนเองและท�ำงานของชีวิตด้วยตนเอง ท�ำได้ ท�ำเป็น อย่างงดงามน่าภูมใจ ิ ๑๑. ไม่ตามใจจนหลง: ชมรายการบั น เทิ ง วั น ละไม่เ กิ น ก� ำ หนดที่ ต กลงกั น ในบ้ า นไม่ มั ว ส� ำ เริ ง ส� ำ ราญปล่ อ ยตั ว ให้ เ หลิ ง หลงไหล ไปตามกระแสสิ่งล่อเร้าชวนละเลิงและมีวัน ปลอดการบันเทิงอย่างน้อยเดือนละ ๑ วัน ๑๒. มีองค์พระครองใจ: มีสงทีบชาไว้สกการะ ิ่ ่ ู ั ประจ�ำตัวเป็นเครืองเตือนใจให้ระลึกถึงพระคุณ ่ ของพระรั ต นตรั ย และตั้ งมั่ นอยู่ใ นหลักชาว พุทธ ด้วยการปฏิบติ ๓ หมวด ๑๒ ข้อนี้ ั ข้าพเจ้าเป็นชาวพุทธแท้จริง ทีมนใจว่าจะสามารถ ่ ั่ รักษาธรรมไว้และร่วมน�ำโลกไปสูสนติสข ่ั ุ บุ ค คลที่ ถื อ ปฏิ บั ติ ต าม“หลั ก ชาว พุทธ”ดังกล่าวมานีเป็นผูมภมธรรมพืนฐานของ ้ ้ ี ู ิ ้ ชาวพุทธ จึงเป็นชาวพุทธทีแท้จริง สมกับชือ ่ ่ เรียกขาน ปฏิมเสตมตฺนา ฺ จงตรวจสอบตนด้วยตนเอง กุมภาพันธ์ - เมษายน ๒๕๕๗ 3
  • 6. บูชาปูชนีย์ บูชาจากใจ เรื่อง : พ.นวลจันทร์ เรื่อง : พระนวลจันทร์ กิตติปัญโญ “ ามิได้แล้ว ...ถ้าไม่มี “คุณ”แม้เพียงเท่านีกหาประมาณค่ ้ ็ ท่านเหล่านันทรงจ�ำค�ำสอน สืบทอดกันต่อมา ไม่มทาง ้ ี ทีธรรมะจะเดินทางมาถึงรุนเราได้เลย! ความมืดบอด ่ ่ ของ อวิชชา ก็จะยังคงมีอยูเต็มที่ ่ ” มงคล ๓๘ ประการนัน เกิดจากเหล่าเทวดาได้ถกกันว่า ้ อะไรคือมงคลอันสูงสุดในชีวต ถกเถียงกันไปมาอย่างหาข้อสรุปไม่ได้ ิ สุดท้ายจึงไปเรียนถามพระพุทธเจ้าให้ท่านทรงเป็นผู้ตอบ พระพุทธองค์จงกล่าวถึงมงคลอันสูงสุด ๓๘ ประการ หนึงในนันคือ ปูชา จ ึ ่ ้ ปูชนียานัง หรือการบูชาบุคคลทีสมควรบูชา ่ ท�ำไมจึงต้องบูชาบุคคลทีสมควรบูชาเพราะหลายคนมักบูชาใน ่ สิงทีไม่มคณค่าแก่การบูชา เช่นบูชาจอมปลวก ต้นกล้วยรูปร่างประหลาด ่ ่ ีุ จึงไม่เป็นมงคลแก่ชวต ไม่ได้นำพาชีวตไปสูความเจริญ ดังนันหากอยาก ีิ � ิ ่ ้ ให้ชวตเป็นมงคลจึงสมควรบูชาในสิงทีควรบูชา ีิ ่ ่ การเคารพบู ช าเกิ ด จากการเห็ น คุ ณ ค่ า ของสิ่ ง ใดสิ่ ง หนึ่ ง ซึงการทีเราจะเห็นคุณค่าของสิงใดสิงหนึงนันเกิดจากปัญญา ถ้ายังไม่ ่ ่ ่ ่ ่ ้ เห็น หรือยังไม่มปญญาอาจต้องมีผชทาง ซึงพระศาสดาของเราเป็นผู้ ี ั ู้ ี้ ่ ชีทางโดยมีพระสงฆ์เป็นผูบอกทางให้เห็นคุณเห็นโทษ เมือเราเห็นคุณ ้ ้ ่ ตามนัน ก็เกิดมงคลในชีวต ดังนันชาวพุทธทีแท้จงควรท�ำตามมงคล ้ ิ ้ ่ ึ ทัง ๓๘ ข้อ ส่วนอย่างอืนนอกเหนือจากนี้ ไม่นบเป็นมงคลในพระพุทธ ้ ่ ั ศาสนา บุคคลทีเราควรบูชานัน เช่น พ่อ-แม่ ซึงเป็นผูททำให้เราเกิดมา ่ ้ ่ ้ ี่ � หากเราไม่ได้มาเกิดคงไม่มีโอกาสได้สดับฟังธรรมของพระพุทธเจ้า ดังนันพ่อแม่จงเป็นผูทมคณมีคาสมควรบูชาอย่างสูงสุด การบูชาพ่อแม่ ้ ึ ้ ี่ ี ุ ่ นัน อาจบูชาด้วยอามิส เช่นให้ขาวของเครืองใช้ คอยอาบน�ำ ล้างเท้า ้ ้ ่ ้ ตัดเล็บให้พอแม่ หรือบูชาด้วยการปฏิบตตามทีทานสังสอน ่ ั ิ ่ ่ ่ 4 ยุวพุทธสัมพันธ์ ฉบับที่ ๘๙ พระรัตนตรัยคือคุณของพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ มีไว้ให้เราได้ตรึกตามตรองตาม เพราะตามความ เป็นจริงแม้อทปปัจจยตา ปฏิจจสมุปบาท อริยสัจ ๔ จะ ิ ั มีมาก่อนอยูแล้ว แต่เราไม่ใช่ผมสพพัญญุตญาณ ต่อให้ ่ ู้ ี ั ธรรมอยูเ่ ฉพาะหน้า เราก็ไม่สามารถเห็น ไม่สามารถรูจก ้ั ถ้าพระสัมมาสัมพุทธเจ้าไม่ทรงเข้าไปเห็น เข้าไปสัมผัส แล้วน�ำมาบัญญัติ แจกแจง จ�ำแนก ถ่ายทอดสืบต่อมายัง สงฆ์สาวก สายธารแห่งสาวก สายธารแห่งการสืบทอด ทรงจ�ำค�ำสอนจึงถูกบันทึกไว้ในรูปแบบต่างๆใบลาน บ้าง คัมภีรบาง หนังสือบ้าง สาวกในแต่ละยุคสมัยเห็น ์้ คุณค่าในค�ำสอน พุทธวจนจากพระโอษฐ์ จนถึงกับต้อง รักษากันด้วยชีวต...บางยุคมีการเผาท�ำลาย มีการสังหาร ิ นักบวช ต้องหลบลี้ หนีภย จึงต้องอาศัยการสวดทรงจ�ำ ั แบบปากต่อปาก สิงนีจงมีคณค่า และ น่าอัศจรรย์มาก ่ ้ึ ุ “คุ ณ ”แม้ เ พี ย งเท่ า นี้ ก็ ห าประมาณค่ า มิ ไ ด้ แล้ว...ถ้าไม่มทานเหล่านันทรงจ�ำค�ำสอน สืบทอดกัน ี ่ ้ ต่อมาไม่มีทางที่ธรรมะจะเดินทางจะมาถึงรุ่นเราได้ เลย! ความมืดบอดของ อวิชชา ก็จะยังคงมีอยูเต็มที่ ่ จะไม่มทางรู้ บาป บุญ คุณ โทษ ชีวตจะเดินไปตาม ี ิ สัญชาตญาณ ค�ำว่า สงบ ร่มเย็น หรือ นิพพาน จะ ไม่มโอกาสได้สมผัส! นีคอ “คุณ” ของสงฆ์สาวกของ ี ั ่ ื พระผูมพระภาคฯ ผูปฏิบตดแล้ว ้ ี ้ ั ิ ี
  • 7. บูชาปูชนีย์ บูชาจากใจ เรื่อง : พ.นวลจันทร์ พระราชาทีทำงานหนักเพือประชาชน ให้เราอยูดกนดี ครูบา่ � ่ ่ ีิ อาจารย์ผประสิทธิประสาทวิชา สอนให้เรามีความรู ผูให้ขาวให้ ู้ ์ ้ ้ ้ น�ำเรา ผูททำดีมคณกับเรา ธรรมชาติ ธาตุ ๔ ขันธ์ ๕ อวัยวะใน ้ ้ ี่ � ี ุ ร่างกาย ปอด หัวใจทีทำงานไม่เคยหยุด ประเทศชาติ แผ่นดิน ่ � บ้านเกิดทีเราอาศัยอยู่ ท�ำกินหาเลียงชีพจนมีเงินมีทองขึนมา ่ ้ ้ กว้างขวางออกไปจนถึงโลกของเรา ทังหมดนีลวนมีคณ ้ ้้ ุ ยิ่งบุคคลใดเป็นเหตุปัจจัยให้ชักน�ำหรือแนะน�ำให้ เราเข้าใจ เข้าถึงธรรม อยูในศีลในธรรม บุคคลนันถือว่ามี ่ ้ คุณอันสูงสุด บุคคลอย่างนีไม่ควรลืม เพราะมีทานจึงท�ำให้ ้ ่ เราได้พนภัยทางโลก อย่างอาตมามักน�ำลูกศิษย์ลกหาไปกราบ ้ ู นมัสการพระอาจารย์มหาเหล็ก [ พระครูภาวนาวิหารธรรม วิ. (พระอาจารย์มหาเหล็ก จันทสีโล)] ซึงเป็นผูชกน�ำอาตมามาเดิน ่ ้ั ทางสายนี้ ทุกปี เป็นอาจริยบูชา ถ้าไม่มทานอาจารย์ อาตมาจะ ี ่ มานังตรงนีได้อย่างไร เพราะมีพระอาจารย์ มีทานจึงมีพระรูปนี้ ่ ้ ่ ตอนนี้ แบบนีได้ ้ สถานทีไหนทีทำให้เราเข้าใจในธรรม ได้เห็นธรรม ก็ควรบูชา ่ ่ � อย่างตระหนักในคุณ เช่น ยุวพุทธิกสมาคมฯ ตอนปี ๒๕๔๑ อาตมามี โอกาสได้เข้าร่วมโครงการปฏิบตธรรม และอาศัยอยูทนน ไม่อย่างนัน ัิ ่ ี่ ั่ ้ จะนอนทีไหน ดังนันตอนนีถามีโอกาสได้ตอบแทนช่วยเหลือ อาตมา ่ ้ ้้ ก็จะรีบท�ำ หากท�ำอะไรไม่ได้อย่างน้อยก็เป็นต้นบุญ บอกญาติโยม ใช้ปากใช้วาจาป่าวประกาศยามทียวพุทธฯต้องการความช่วยเหลือ ุ่ ไม่นงเฉยดูดาย ิ่ เมือเราเห็น “คุณ” ในทุกอย่าง เราจะเป็นผูให้ จะมี ่ ้ แต่ให้กบทุกสิงทุกอย่าง จึงตอบแทนเพราะเห็นคุณเห็นค่าและ ั ่ ส�ำนึกในคุณค่าของทุกสิงทุกอย่างแม้แต่จกรวาลนี้ โลกนี้ ประเทศ ่ ั นี้ สังคมนี้ บ้านนี้ ครอบครัวนี้ ไปจนถึงธาตุ ๔ ขันธ์ ๕ ของเรานี้ การเห็นคุณค่าของสิ่งต่างๆนั้นจะต้องตระหนักจริงๆและต้อง ออกมาจากจิตจากใจข้างใน มิใช่แค่คดตามด้วยสมอง ซึงการจะ ิ ่ ท�ำให้เกิดสิงนีได้ตองเกิดจากการท�ำกรรมฐานถ้าคุณไม่ทำกรรม่ ้ ้ � ฐาน ได้แต่ฟงและอ่าน การแสดงออกก็จะได้เพียงครึงเดียวคือ ั ่ ร่างกายภายนอก มิได้ตรงออกมาจากจิตใจ ทีเห็นคุณค่าจริงๆ ่ ดังนันเราจึงต้องหมันเติมกุศล เติมสัมมาทิฏฐิ วกเข้ามา ้ ่ ท�ำตามแนวทางมรรคมีองค์ ๘ ท�ำความสะอาดใจข้างในให้ วิสทธิ ุ เกลียง บริสทธิ เมือ “สติ” เกิด “อกุศล” ก็ไม่สามารถแทรกเข้า ้ ุ ์ ่ มาเป็นส่วนประสมของจิตได้ ในขณะนันบนวิถจตจึงไม่มกเลสเข้า ้ ีิ ีิ ครอบง�ำ เราจึงค่อยน้อมจิตแบบนีมาเจริญสติปฏฐาน ้ ั “ เมือใดทีเราท�ำกรรมฐาน เมือนันเราจะเห็น ่ ่ ่ ้ คุณของสิงต่างๆ มาจากข้างใน เมือใดทีเราเห็นคุณ ่ ่ ่ ของทุกสิงอย่างจากใจ ออกมาจากใจจริงๆ เมือนัน ่ ่ ้ แหละเราจะสามารถบูชาในสิงทีสมควรบูชาได้อย่าง ่ ่ แท้จริง ” ภูมิ เว สปฺปรสานํ กตญฺญกตเวทิตา ุิ ู ความกัตญญูกตเวที เป็นพืนฐานของคนดี ้ บริษท วิคเตอร์ มาร์เก็ตติง จ�ำกัด ั ้ โดยคุณอุไร เจนกุลประสูตร มอบเป็นธรรมบรรณาการ กุมภาพันธ์ - เมษายน ๒๕๕๗ 5
  • 8. ศีลประกันชีวิตสู่นิพพาน เรื่อง : พระชาญชัย อธิปญฺโญ เรื่อง : พระชาญชัย อธิปญโญ ศีลมีความส�ำคัญต่อการอยู่ร่วมกันของมวล มนุษย์ และเป็นเครื่องวัดความเป็นมนุษย์อีกด้วย มนุษย์ หมายถึงผู้ที่มีจิตใจสูงซึ่งจะต้องมีศีล ๕ เป็นเครื่องรองรับ หากศีลข้อใดข้อหนึ่งรักษาไม่ได้ ความเป็นผู้มีจิตใจสูงก็พลอยมัวหมองไปด้วย จึงเป็น ได้แค่คน และหากเป็นคนที่ไม่มีศีลเลย ความเป็นคน ก็หมดไป มีสภาวะจิตไม่ต่างอะไรกับสัตว์นรก เปรต อสุรกาย หรือสัตว์เดรัจฉาน ดังค�ำที่กล่าวว่าตัวเป็น คนแต่ใจเป็นเปรต(มนุสสเปโต) หรือตัวเป็นคนแต่ใจ เป็นสัตว์เดรัจฉาน(มนุสสดิรัจฉาโน) เป็นต้น ศี ล ๕ มี ไ ว้ เ พื่ อ ป้ อ งกั น ไม่ ใ ห้ ค นในสั ง คม เบียดเบียนกัน อันที่จริงแล้วไม่มีใครอยากจะให้ผู้อื่น มาท�ำร้ายร่างกายตน หรือมาฆ่าตน ด้วยเหตุนี้ศีลข้อ ๑ ห้ามมิให้ฆ่าสัตว์(รวมถึงคนด้วย) จึงมีความจ�ำเป็น เพราะจะช่วยให้เรามีความมั่นคงปลอดภัยในชีวิต มาล่วงละเมิดทางเพศในคู่ครองของตน ด้วยเหตุนี้ศีลข้อ ๓ ห้ามมิให้ ประพฤติผิดทางกาม จึงมีความจ�ำเป็น เพราะจะช่วยให้บุคคลมีความ มั่นคงในชีวิตครอบครัว เราต่างไม่ต้องการให้ใครมาโกหกหลอกลวง ใส่ร้าย ตลอดจน ใช้วาจาประทุษร้ายท�ำลายเรา อันจะท�ำให้เราได้รับความเสียหาย ด้วย เหตุนี้ศีลข้อ ๔ ห้ามมิให้กล่าวค�ำเท็จ จึงมีความจ�ำเป็น เพราะจะช่วย ไม่ให้เราถูกหลอกลวงหรือถูกใส่ร้าย ทรั พ ย์ ส มบั ติ นั้ น แต่ ล ะคนหามาด้ ว ยความ เหนื่อยยาก เพื่อน�ำมาเลี้ยงดูชีวิต จึงไม่ต้องการให้คน อื่นมาโกง มาลักขโมย หรือมาท�ำลายทรัพย์สินของ เรา ด้วยเหตุนี้ศีลข้อ ๒ ห้ามมิให้ลักทรัพย์ จึงมีความ จ�ำเป็น เพราะจะช่วยให้เรามีความมั่นคงปลอดภัยใน ทรัพย์สิน การเสพสุราและสิ่งเสพติดให้โทษ เป็นเหตุให้ผู้เสพขาดสติ ตั้ง อยู่ในความประมาท ไม่สามารถควบคุมตัวเองได้ น�ำไปสู่การทะเลาะ วิวาทท�ำร้ายร่างกายและทรัพย์สิน หากขับขี่ยานพาหนะก็ไม่สามารถ ควบคุมรถได้เหมือนในยามปกติ เป็นเหตุให้เกิดอุบัติเหตุท�ำลายชีวิต และทรัพย์สินของตนเองและผู้อื่น นอกจากนี้ผู้ติดยาเสพติดมักจะมี พฤติกรรมลักขโมยชิงทรัพย์ของผู้อื่น เพื่อน�ำเงินมาซื้อยา ด้วยเหตุนี้ ศีลข้อ ๕ ห้ามมิให้เสพสุรายาเสพติดให้โทษ จึงมีความจ�ำเป็น เพราะ จะช่วยให้เรามีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน เมื่อมีคู่ครอง ต่างก็ปรารถนาที่จะให้ชีวิตคู่ ของตนด�ำเนินไปด้วยความราบรื่นยืนยาว เพื่อสร้าง ครอบครัวให้เป็นปึกแผ่นมั่นคง ไม่ต้องการให้ใคร ผู้ที่ผิดศีล ๕ หากจงใจที่จะท�ำหรือท�ำด้วยเจตนาจะได้รับ วิบากกรรมตอบสนอง ตามลักษณะของกรรมที่ได้ท�ำไว้ กล่าวคือ 6 ยุวพุทธสัมพันธ์ ฉบับที่ ๘๙
  • 9. ศีลประกันชีวิตสู่นิพพาน การผิดศีลข้อ ๑ ฆ่าคนและฆ่าสัตว์ หากเป็นสัตว์ ใหญ่ทมนุษย์อาศัยแรงงาน เช่น ช้าง ม้า วัว ควาย การฆ่า ี่ ได้มีการไตร่ตรองวางแผน จงใจที่จะฆ่า หาอาวุธที่จะใช้ ประหาร และลงมือด้วยใจทีอ�ำมหิต เป็นเหตุให้คนหรือสัตว์ ่ นันถึงแก่ความตาย พฤติกรรมของการกระท�ำดังกล่าวจะส่ง ้ ผลให้ผฆามีอายุสน หากเป็นการฆ่าสัตว์ทยอมลงมา เช่น หมู ู้ ่ ั้ ี่ ่ เป็ด ไก่ ปลา ถ้าฆ่าอยูเป็นประจ�ำ จะมีผลต่อสุขภาพท�ำให้มี ่ โรคร้ายทียากต่อการรักษา หากฆ่าสัตว์เล็กๆเช่นมด แมลง ่ ยุง ปลวก จะมีผลต่อสุขภาพท�ำให้เป็นโรคผิวหนัง การผิดศีลข้อ ๒ ลักทรัพย์ รวมถึงฉ้อโกง คอรัปชั่น หลอกลวงเอาทรัพย์ของคนอื่นมาเป็นของตน จะโดยวิธีใด ก็ตาม เมื่อเจ้าของเขาไม่ยินดีที่จะให้ ก็เป็นการเบียดเบียน ให้เจ้าของทรัพย์ได้รับความทุกข์เดือดร้อน วิบากกรรม จากการผิดศีลดังกล่าว ส่งผลให้ทรัพย์ของตนต้องวิบัติ ไปด้วยประการต่างๆ เช่น ถูกเขาโกง ถูกผู้ร้ายมาปล้น หรือลักขโมยไป ถูกทางการมายึดเอาไป ถูกไฟไหม้ ถูกภัย ธรรมชาติท�ำให้ทรัพย์เสียหาย เป็นต้น การผิดศีลข้อ ๓ ล่วงละเมิดทางเพศในคู่ครองของ ผู้อื่น วิบากกรรมที่ได้อาจจะถูกเขาข่มขืน เป็นคนส�ำส่อน ทางเพศ เป็นคนขายบริการทางเพศ คู่ครองนอกใจ ถูกเขา หลอกลวงให้อกหัก มีใจวิปริตทางเพศ การผิดศีลข้อ ๔ พูดโกหก วิบากกรรมที่ได้รับจะถูก ผู้อื่นโกหก หลอกลวง ใส่ร้ายป้ายสี ด่าทอ ส่อเสียด ท�ำให้ ได้รับความทุกข์ใจ นอกจากนี้จะพูดจาความใดก็มักจะไม่ ได้รับความเชื่อถือเท่าที่ควร เรื่อง : พระชาญชัย อธิปญฺโญ อานิสงส์ของศีลจะช่วยให้ได้มนุษยสมบัติ คือได้ เกิดเป็นมนุษย์ มีร่างกายสมประกอบ ไม่พิการ มีอายุยืน และหากมีหิริโอตตัปปะ คือมีความเกรงกลัวต่อบาป(หิริ) และละอายต่อบาป(โอตตัปปะ) ไม่ท�ำบาปทั้งในที่ลับและ ที่แจ้ง หากตอนจะตาย กุศลกรรมส่งผล ช่วยให้จิตผ่องใส ตายไปย่อมมีโอกาสเกิดบนสวรรค์ มีอายุยืนยาว และมี ความสุขอันประณีต นอกจากนี้ ศี ล ยั ง เป็ น พื้ น ฐานให้ เ ข้ า สู ่ อ ริ ย มรรค อริ ย ผล นั บ ตั้ ง แต่ พ ระโสดาบั น พระสกทาคามี พระ อนาคามี และพระอรหันต์ ซึ่งพระอริยบุคคลดังกล่าวอย่าง น้อยจะต้องมีคุณธรรมของศีล ๕ รองรับ เมื่อเป็นเช่นนี้จึงไม่ควรดูหมิ่นดูแคลนในศีล ขอ ให้ตระหนักว่าความเดือดเนื้อร้อนใจต่างๆที่เกิดขึ้นในชีวิต ประจ�ำวันของเรา ส่วนใหญ่มาจากวิบากกรรมของการผิด ศีลที่เราได้ท�ำไว้ ทั้งในชาตินี้และอดีตชาติ รักษาศีลเสียแต่วันนี้ ชีวิตจะเปลี่ยนแปลงในทาง ที่ดีขึ้นอย่างแน่นอน. สีลธนํ โหติ มีศีล คือมีทรัพย์อันประเสริฐ การผิดศีลข้อ ๕ เสพสุราและยาเสพติด วิบาก กรรมที่ได้จะเป็น ผู้ที่มีปัญญาทึบ ขาดสติ มีสุขภาพไม่ดี เป็นโรคร้ายแรงที่รักษายาก ได้รับความทุกข์ทรมาน วิบากกรรมจากการผิดศีลทั้ง ๕ ดังกล่าวข้างต้น อาจจะเป็นเพราะผลของกรรมที่ได้ท�ำไว้ในชาตินี้ หรือหาก ชาตินี้ไม่ได้ท�ำก็เป็นเพราะผลกรรมที่ท�ำไว้ในอดีตชาติส่ง มา การผิดศีลจึงเป็นเรื่องส�ำคัญต่อชีวิต หากผิดศีลที่รุนแรง ตายไปแล้ ว มี โ อกาสที่ จ ะไปเกิ ด ในอบายภู มิ ( นรก เปรต อสุรกาย สัตว์เดรัจฉาน)สูงมาก บริษท สมบูรณ์ เอสบี จ�ำกัด ั มอบเป็นธรรมบรรณาการ กุมภาพันธ์ - เมษายน ๒๕๕๗ 7
  • 10. สวดมนต์เองวันนี้ ดีกว่ารอคนอื่นสวดให้ กองบรรณาธิการ สวดมนต์เองวันนี้ ดีกว่ารอคนอืนสวดให้ ่ เรื่อง : กองบรรณาธิการ ค�ำว่า “มนต์” ความหมาย ตามพจนานุกรม หมายถึง คําศักดิสทธิ์ ์ ิ คําสําหรับสวดเพื่อเป็นสิริมงคล เช่น สวดมนต์ ค�ำเสกเป่าที่ถือว่าศักดิ์สิทธิ์ เช่น ร่ายมนต์ เวทมนต์ ค�ำว่า “มนต์” โดยทัวไปหมาย ่ ถึ ง ถ้ อ ยค� ำ ที่ ข ลั ง หรื อ ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ซึ่ ง สามารถท� ำ ให้ เ กิ ด ผลที่ มุ ่ ง หมายบาง อย่างด้วยอานุภาพของมนต์นน ั้ ในทางพระพุทธศาสนา ค�ำว่า “มนต์” หมายถึง หลักธรรม บทสอนใจ หากจะใช้ “มนต์ ” เพื่ อ สื่ อ ถึ ง ความ หมายแห่งถ้อยค�ำที่ขลังหรือศักดิ์สิทธิ์ ได้ก็เพราะการน�ำหลักธรรมในบทสวด ไปเป็นข้อประพฤติปฏิบัติจนเกิดผลที่ ปรารถนาได้อย่างน่าอัศจรรย์ บทพระพุทธมนต์ ในพระพุทธ ศาสนานิกายเถรวาทนั้นท่านใช้ภาษา บาลี ซึงถ้าแปลความหมายออกมาก็จะ ่ พบว่าส่วนใหญ่แล้วเป็นค�ำสวดบูชาเพือ ่ ระลึกถึงพระคุณของพระรัตนตรัย อัน ได้แก่พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ แทบทังสิน จึงนับเป็นอุบายในการ ้ ้ เจริญสติอย่างหนึ่ง ที่เรียก พุทธานุสติ ธรรมานุสติ และสังฆานุสติ 8 ยุวพุทธสัมพันธ์ ฉบับที่ ๘๙ “ สวดมนต์ดวยความตังใจ ้ ้ จนจิตเป็นสมาธิ แล้วใช้สติพจารณา ิ จนเกิดปัญญาและความรู้ความเข้าใจ ประโยชน์สงสุดของการสวดมนต์ ู นันคือ จะท�ำให้ทานบรรลุผล จนส�ำเร็จ ่ ่ เป็นพระอรหันต์ ” ในการสวดมนต์ทกครัง จะเริมด้วยค�ำบูชาพระบรมศาสดาว่า “นโม ุ ้ ่ ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ” แปลความว่า “ขอนอบ น้อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ซึ่งเป็น ผู้ไกลจากกิเลส ตรัสรู้ชอบ ได้โดยพระองค์เอง” และตามด้วยพระพุทธมนต์บทต่างๆ ตามแต่วาระและ โอกาส ซึ่งเป็นกิจที่เราชาวพุทธควรได้ประพฤติปฏิบัติเป็นกิจวัตรประจ�ำวัน จึงขอน้อมน�ำอานิสงส์ของการสวดสาธยายพระพุทธมนต์มาแบ่งปันกันดังนี้ อานิสงส์ของการสวดมนต์ เทศนาโดยท่านเจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) พรหมรังสี ยังมีคนส่วนใหญ่เข้าใจว่า การสวดมนต์มีประโยชน์น้อย และเสีย เวลามาก หรือฟังไม่รู้เรื่อง ความจริงแล้วการสวดมนต์มีประโยชน์อย่าง มากมาย เพราะการสวดมนต์เป็นการกล่าวถึงคุณงามความดี ขององค์ สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ว่าพระองค์ท่านมีคุณวิเศษอย่างไร พระธรรม ค�ำสอนของพระองค์มีคุณอย่างไร และพระสงฆ์ พระอรหันต์ พระอริยเจ้ามี คุณเช่นไร การสวดมนต์ด้วยความตั้งใจจนจิตเป็นสมาธิ แล้วใช้สติพิจารณา จนเกิดปัญญาและความรู้ความเข้าใจ ประโยชน์สูงสุดของการสวดมนต์นั่น คือจะท�ำให้ท่านบรรลุผล จนส�ำเร็จเป็นพระอรหันต์
  • 11. สวดมนต์เองวันนี้ ดีกว่ารอคนอื่นสวดให้ ที่ อ าตมากล่ า วเช่ น นี้ มี ห ลั ก ฐานปรากฏใน พระธรรมค�ำสอนที่กล่าวไว้ว่า โอกาสที่จะบรรลุธรรมเป็น พระอรหันต์มี ๕ โอกาสด้วยกันคือ ๑. เมื่อฟังธรรม ๒. เมื่อแสดงธรรม ๓. เมื่อสาธยายธรรม นั่นคือ การสวดมนต์ ๔. เมื่อตรึกตรองธรรม หรือเพ่งธรรมอยู่ในขณะนั้น ๕. เมื่อเจริญวิปัสสนาญาณ การสวดมนต์ ใ นตอนเช้ า และในตอนเย็ น เป็ น ประเพณีที่ปฏิบัติกันมา ตั้งแต่สมัยพุทธกาล พระพุทธเจ้า ทรงประกาศพระพุทธศาสนา บรรดาพุทธบริษัททั้งหลาย ต่างพากันมาเข้าเฝ้าพระพุทธองค์ โดยแบ่งเวลาเข้าเฝ้าเป็น ๒ เวลา นั่นคือ ตอนเช้าเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า เพื่อฟังธรรม ตอนเย็นเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้าเพื่อฟังธรรม การฟังธรรม เป็นการช�ำระล้างจิตใจที่เศร้าหมองให้หมดไป เพื่อส�ำเร็จสู่ มรรคผลพระนิพพาน การสวดมนต์นับเป็นการดีพร้อมซึ่ง ประกอบไปด้วยองค์ทง ๓ นันคือ ั้ ่ กองบรรณาธิการ * ที่ว่าประโยชน์แก่จิตอื่น คือ ผู้ใดที่ได้ยินได้ ฟังเสียงสวดมนต์จะพลอยได้เกิดความรู้เกิดปัญญา มีจิต สงบลึกซึ้งตามไปด้วย ผู้สวดก็เกิดกุศลไปด้วยโดยการให้ ทานโดยทางเสียง เหล่าพรหมเทพที่ชอบฟังเสียงในการ สวดมนต์ มีอยูจำนวนมากก็จะมาชุมนุมฟังกันอย่างมากมาย ่� เมือมีเหล่าพรหมเทพเข้ามาล้อมรอบตัวของผูสวดอยูเช่นนัน ่ ้ ่ ้ ภัยอันตรายต่างๆ ที่ไหนก็ไม่สามารถกล�้ำกรายผู้สวดมนต์ ได้ ตลอดจนอาณาเขตและบริเวณบ้านของผู้ที่สวดมนต์ ย่อมมีเกราะแห่งพรหมเทพและเทวดาทั้งหลายคุ้มครองภัย อันตราย ได้อย่างดีเยี่ยม ดูก่อน.. ท่านเจ้าพระยาและอุบาสก อุบาสิกาใน ที่นี้ การสวดมนต์เป็นการระลึกถึงพระพุทธคุณ พระธรรมคุณ พระสังฆคุณ เมื่อจิตมีที่พึ่ง คือคุณพระรัตนตรัย ความ กลัวก็ดี ความสะดุ้งกลัวก็ดี และความขนพองสยองเกล้า ก็ดี ภัยอันตรายใดๆ ก็ดี จะไม่มีแก่ผู้สวดมนต์นั่นแล.. สยํ กตานิ ปุญญานิ บุญที่ท�ำไว้ จะเป็นมิตรติดตามตัวไปเบื้องหน้า ๑. กาย มีอาการสงบเรียบร้อยและส�ำรวม ๒. ใจ มีความเคารพนบนอบต่อคุณพระรัตนตรัย ๓. วาจา เป็ น การกล่ า วถ้ อ ยค� ำ สรรเสริ ญ ถึ ง พระคุ ณ อั น ประเสริฐ ในพระคุณทั้ง ๓ พร้อมเป็นการขอขมา ในการ ผิดพลาดหากมี และกล่าวสักการะเทิดทูนสิ่งสูงยิ่ง ซึ่งเรา เรียกได้ว่าเป็นการสร้างกุศล ซึ่งเป็นมงคลอันสูงสุดทีเดียว อาตมาภาพ ขอรับรองแก่ท่านทั้งหลายว่า ถ้าหาก บุค คลใดได้ ส วดมนต์เช้า และเย็นไม่ขาดแล้ว บุค คลนั้ น ย่อมเข้าสู่แดนพระอรหันต์อย่างแน่นอน การสวดมนต์นี้ ควรสวดมนต์ให้มเสียงดังพอสมควร ย่อมก่อให้เกิดประโยชน์ ี แก่จตตน และประโยชน์แก่จตอืน ิ ิ ่ * ที่ว่าประโยชน์แก่จิตตน คือ เสียงในการสวดมนต์ จะกลบเสียงภายนอกไม่ให้เข้ามารบกวนจิต ก็จะท�ำให้เกิด ความสงบอยู่กับบทสวดมนต์นั้นๆ ท�ำให้เกิดสมาธิและ ปัญญา เข้ามาในจิตใจของผู้สวด *** ที่มาพระธรรมเทศนาจากหนังสือ อมตะธรรม สมเด็จโต พรหมรังสี บริษท นิว อิมเมจ อินเตอร์เนชันแนล ประเทศไทย จ�ำกัด ั ่ มอบเป็นธรรมบรรณาการ กุมภาพันธ์ - เมษายน ๒๕๕๗ 9
  • 12. กราบสติปฏฐาน ๔ ั กราบสติปัฏฐาน ๔ และการเดินจงกรม เรื่อง : พระมหาทองมัน สุทธจิตโต ่ ฺ ฺ และการเดินจงกรม เรื่อง : พระมหาทองมั่น สุทธฺจิตฺโต ต่อจากฉบับที่ ๘๘ “ การฝึกจิตทีขมยาก ทีเบา มักตกไปใน ่ ่ ่ อารมณ์ทนาใคร่ เป็นความดี,(เพราะว่า) ี่ ่ จิตทีฝกแล้ว น�ำสุขมาให้. ่ ึ ” 10 ยุวพุทธสัมพันธ์ ฉบับที่ ๘๙ (พุทธ) ขุ.ธ. ๒๕/๑๙. ฺ ท่ า ของการเก็ บ มื อ ดู แ ขน อาตมานะ มันจะไม่เกร็ง มันจะปล่อย แบบสบายสุดๆเลยนะ แต่ถาเกร็ง ก็จะ ้ มีอาการตึงตรงนี้ แต่ถ้าด้านหน้าก็จะ เป็นการพยุงไว้ อันนีคอไม่สดๆ นะ มี ้ ื ุ สามท่า ๑ อันนีกอย่างไว้ขางหน้า ๒ นี่ ้็ ้ ก็ไว้แบบสบาย ก็คือปล่อยสุดๆ เลย มันจะไม่ต้องพยุงไว้ ๓ กอดหน้าอก ตรงนี้ อันนีคอการเก็บมือ ถามว่าท�ำไม ้ ื ต้องเก็บมือ ถ้าไม่เก็บมือ เวลาเดินนะ มือเราจะแกว่ง พอมือเราเคลื่อนไหว มือเราแกว่งแล้วนี่ จิตเราก็จะไปรู้สอง อารมณ์ อารมณ์หนึ่งก็รู้ที่เท้าที่เคลื่อน อีกอารมณ์หนึ่งก็รู้ที่มือที่แกว่ง จะเป็น สมาธิได้ยากนะ เพราะสมาธิก็คือจิตที่ ตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งนะ ไม่ใช่วาอยูสองอารมณ์ ถ้าสองอารมณ์ ่ ่ ไม่ใช่จตทีตงมัน ิ ่ ั้ ่ ต่อไปก็ คื อ หลั ก ของการเดิ น จงกรม ข้อที่ควรระวังมากที่สุดก็คือ สายตา ฉะนั้นการเดินทุกครั้งให้เก็บ สายตา ค�ำว่าเก็บสายตานี่ก็คือ มอง ห่างจากปลายเท้าประมาณสี่ศอกนะ อย่าไปมองสูงเกินไป ยกเว้นบางครั้ง ที่โยมรู้สึกว่าตึงๆ หนักศีรษะ เพ่งมาก เกินไปก็อาจจะเปลียนสายตาได้ ก็มอง ่ ตรงได้ มองตรงก็อย่าไปใส่ใจในภาพ ข้างหน้านะ
  • 13. กราบสติปัฏฐาน ๔ และการเดินจงกรม ประการทีสองให้เดินช้ากว่าปกตินะ และก็เป็นธรรมชาติ ไม่ ่ เกร็ง เหมือนเราเดินทัวไป แต่วาช้านะ ประการต่อไป ต้องไม่ ่ ่ หลับตาเดิน ต้องลืมตาเดิน ไม่กมหน้ามองดูเท้า และก็ไม่ตอง ้ ้ พูดออกเสียง เคร่งกว่านันก็หามขยับปากอีก ท�ำไมถึงว่าห้าม ้ ้ ขยับปาก เพระว่าเวลาเราขยับปากนี่ จิตเราจะมารูทปากนะ ้ ี่ ปากทีขยับนี่ แต่วาไม่รทเี่ ท้าว่าอาการยกอาการเคลือนเป็นยังไง ่ ่ ู้ ่ ฉะนั้นเมื่อเรามาปฏิบัติเงียบ ก็ควรจะให้มันเงียบ จริงๆ ก็คอรูเพียงสิงเดียว ก็คออาการยก อาการย่าง อาการ ื ้ ่ ื เหยียบของเท้า ต่อไปก็คอ ไม่ยกเท้าสูงนะ ไม่กาวขายาว วาง ื ้ เท้าให้เสมอกัน ไม่เอาส้นหรือปลายเท้าลงก่อน อันนีกคอข้อ ้็ ื ควรระวังนะ และก็ตอไปนะ ไม่หยุดในระหว่างค�ำว่าขวาย่าง ่ หนอ ซ้ายย่างหนอ จากทีโยมเคยฝึกปฏิบตมาก็คอ เวลาขวา ่ ั ิ ื ยกขึน นะ หยุดนิดนึง แล้วก็ยาง หยุดนิดนึง หนอหยุดนิดนึง ้ ่ อันนีไม่ให้หยุดนะ ขวาย่างหนอ ซ้ายย่างหนอ เป็นลูกโซ่ เป็น ้ เส้นด้ายติดต่อกันไปนะ นีจตของเราจะไม่มชองว่าง เพือให้ ่ิ ี่ ่ จิตมันแวบๆ ออกไป อันนีเ้ ขาเรียกว่าเป็นการบริกรรมให้ตดต่อ ให้ตอเนือง ิ ่ ่ กันต่อไป ไม่สกแต่บริกรรมโดยไม่รอาการนะ การบริกรรมนี่ ั ู้ ให้สงเกตดูหน่อยว่า ขวาย่างหนอ ซ้ายย่างหนอนี่ ใจเราดูทเี่ ท้า ั หรืออยูทคำบริกรรมนะ ถ้าดูทเท้าก็ถกต้องแล้ว รูวาเท้ามัน ่ ี่ � ี่ ู ้่ เคลือน รูวาเท้ามันย่าง แต่ถาไปอยูทคำพูดนี่ ก็แสดงว่าเราสัก ่ ้่ ้ ่ ี่ � แต่บริกรรมจริงๆ ท่องได้ เดินได้ แต่วาไม่รอาการนะ ่ ู้ เรื่อง : พระมหาทองมัน สุทธจิตโต ่ ฺ ฺ แล้วก็คำบริกรรมกับอาการให้ตรงกัน ก็คอไปพร้อม � ื กันนันเอง ขวายกขึน ย่างเคลือนไป หนอก็วางลง ก�ำหนด ่ ้ ่ พร้อมรูอาการเคลือนไหวของเท้า ้ ่ อันนีเ้ ป็นหลักง่ายๆ นะ พอสุดทางเดินแล้วนีถาโยคี ่้ ใหม่กจะลืมค�ำว่า ยืนหนอ ยืนหนอ ก็จะกลับเลย ฉะนันก่อน ็ ้ เดิน ต้องมียนหนอ ก่อนกลับก็มยนหนอ พอถึงเวลากลับก็ ื ีื กลับหนอ กลับหนอ ถ้าได้ต้นจิตก็ควรจะใส่ ก่อนเดินให้ใส่ก่อน อยาก เดินหนอ อยากเดินหนอ ก่อนกลับก็ให้ใส่กอน อยากกลับ ่ หนอ อยากกลับหนอ แล้วค่อยกลับ อยากเดินหนอ อยาก เดินหนอ แล้วค่อยเดินนะ ใส่ต้นจิตลงไป ค�ำบริกรรมของ การเดินนะจริงๆ ตัวนีกสำคัญนะ เก็บมือนีใช้คำว่า ยกหนอ ้็ � ่ � ยกหนอ มาหนอ มาหนอ ก็ได้ แต่ถาใครรูสกว่ามันยังยากไปนะ ก็จะใช้คำว่า เคลือน ้ ้ึ � ่ หนอ เคลือนหนอ แทนนะ ใช้คำว่าเคลือน เคลือนหนอ เคลือน ่ � ่ ่ ่ หนอ มือเคลือนไปนีเ่ ป็นการเคลือนทังนันเลย อันนีจะง่ายกว่า ่ ่ ้ ้ ้ นะ หรือ ยกหนอ ยกหนอ มาหนอ มาหนอ ก็ได้ แต่เคลือน ่ หนอ นีจะเป็นค�ำทีงายๆ ต่อไปขณะทียนก�ำหนดว่า ยืนหนอ ่ ่่ ่ื ยืนหนอ ยืนหนอ จิตตํ รกฺเขถ เมธาวี. ฺ ผูมปญญาพึงรักษาจิต ้ี ั ขุ.ธ.๒๕/๑๙ โปรดติดตาม “กราบสติปฏฐาน ๔ และการเดินจงกรม” ได้ตอในฉบับหน้า ั ่ กุมภาพันธ์ - เมษายน ๒๕๕๗ 11
  • 14. ชีวิตสดใส หัวใจใฝ่ธรรมะ เรื่อง : พระราชสิทธิมนี (วิ.) ุ ชีวตสดใส ิ หัวใจใฝ่ ต่อจากฉบับที่ ๘๘ ธรรมะ ธรรมะที่ท�ำให้เมื่อเราปฏิบัติแล้ว เราจะได้สงใดสิงหนึงทีเราปรารถนา ไม่วาจะ ิ่ ่ ่ ่ ่ เป็นลาภ ยศ สุข สรรเสริญ เสือผ้าอาภรณ์ชด ้ ุ หนึ่งที่เราได้มา เราได้มาเพราะการปฏิบัติ ตามหลักธรรมะของพระพุทธเจ้า ข้ อ ที่ ห นึ่ ง ก็ คื อ ความขยั น ขยั น ท�ำงาน เมื่อขยันท�ำงานแล้วก็ได้เงินเดือนมา ข้อที่สองรู้จักเก็บรักษา ข้อที่สาม มีเพื่อนดี ไม่ ค บเพื่ อ นที่ เ ป็ น คนพาล ชั ก น� ำ ให้ เ รา ประพฤติผดศีลธรรม ทรัพย์สมบัตกอยูได้ ข้อ ิ ิ็ ่ ทีสี่ ตัวเราเองก็มธรรมะ มีสติบอกตัวเองอยู่ ่ ี ว่า เราต้องรูจกพอเพียง ้ั ทรัพย์สมบัติที่เราได้มา เมื่อเราน�ำ ธรรมะของพระพุทธเจ้าไปจัด ก็จะท�ำให้ ชีวตของเรามีความสุข เรียกว่าชีวตของเราก็ ิ ิ มีความสดใส เพราะว่าเรารู้จักด�ำเนินชีวิต ตามหลักในทางพุทธศาสนา อย่างทีพระบาท ่ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ก็ได้ทรงตรัสถึงเรื่อง การด�ำเนินชีวิตแบบพอเพียง เราทั้งหลายก็ พยายามปฏิบตตามนัน ชีวตก็มความสุข ั ิ ้ ิ ี แต่เราท่านทั้งหลายก็ยอมรับความ เป็ น จริ ง ว่ า ประเทศของเรานั้ น ในสมั ย ปัจจุบนเรามีแหล่ง มีสถานที่ มีวตถุ ทีจะเป็น ั ั ่ เหตุ เป็ น ปั จ จั ย ให้ เ ราได้ ส มบั ติ ท างกาย 12 ยุวพุทธสัมพันธ์ ฉบับที่ ๘๙ เรื่อง : พระราชสิทธิมุนี ((วิ.) “ ทธเจ้า ... ธรรมะของพระพุ เป็นเหมือนแสงสว่างน�ำทางชีวตของเรา ิ ให้ชวตของเราออกจากทีมด ีิ ่ื ทีมดในทีนกคอว่า ปกคลุมไปด้วย โลภะ โทสะ โมหะ... ่ ื ่ ี้ ็ ื ” มากมายหลายประการ เราอยากได้อะไรเราก็ได้หมด ถ้าหากว่าเรามีปจจัย ั พอเพียง เช่น เราอยากรับประทานอาหาร เราสามารถทีจะไปซือได้ตลอด ่ ้ คืนตลอดวัน ตามทีเ่ ราปรารถนา แต่เราก็มานึกถึงหลักความจริงว่า ชีวิตของคนเราต้องรู้จักพอ เพียง เอาเท่าทีจำเป็น มีเท่าทีจำเป็น เราก็รสกสบายไม่ให้มอะไรมากจน ่� ่� ู้ ึ ี เกิ น ไป ชี วิ ต ก็ มี ค วามสุ ข เป็ น ชี วิ ต ที่ ส ดใส แล้ ว นึ ก ถึ ง หลั ก ธรรมะของ พระพุทธเจ้า คือพูดได้ง่ายว่าในชีวิตประจ�ำวันของเรานี้ สิ่งที่เป็นวัตถุนั้น อย่าไปนึกถึงมากจนเกินไป ถ้าหากว่าเราไปนึกถึงมากเกินไป เราก็จะเป็นทาสของวัตถุ เมือเรา ่ เป็นทาสของวัตถุนี้ เราก็จะมีความทุกข์มากขึน การทีเราจะไม่เป็นทาสของ ้ ่ วัตถุสงใดสิงหนึงมากจนเกินไปนัก เราต้องมีหวใจพิเศษ เรียกว่าหัวใจต้อง ิ่ ่ ่ ั ใฝ่ธรรมะ พระพุทธเจ้าพระองค์ได้ตรัสว่า “ธมฺมจารี สุขง เสติ” บุคคลผูมี ั ้ ปกติประพฤติธรรมย่อมอยูเ่ ป็นสุข
  • 15. ชีวิตสดใส หัวใจใฝ่ธรรมะ เพราะฉะนั้นความสุขของคน เรานี้ จิตใจเป็นเรืองทีสำคัญทีสด นันก็ ่ ่� ุ่ ่ คือว่า เมือมีอาหารกายก็ตองมีอาหารใจ ่ ้ นันเอง ท่านทังหลายมาวันนี้ ท่านมา ่ ้ ฟังธรรมะเป็นการให้อาหารใจแก่ชีวิต ของเรา อาหารใจนี้ เ ป็ น นามธรรม สัมผัสรูได้ดวยใจ ้ ้ คนเรานี้ ถ้าหากว่าเราใช้ปญญา ั แต่ในเรื่องของการฟัง ใช้ปัญญาแต่ใน เรื่องพินิจพิจารณา เป็นคนมีเหตุมีผล เราจะไม่คอยรูจกจิตใจของตัวเองเท่าไร ่ ้ั ท่านทังหลายมาพิจารณาดู อย่างคนไทย ้ เรานีเ้ ป็นชาวพุทธ เรารูจกศีล ๕ นันคือ ้ั ้ อะไรบ้าง วันนี้ก็ได้ถือโอกาสแปลศีล ๕ ให้ทานทังหลายได้วาตามด้วย เพือว่า ่ ้ ่ ่ เราจะได้ทบทวนว่าเราเป็นชาวพุทธนี้ ศีล ๕ ประการมีความหมายเป็นอย่างนี้ เรื่อง : พระราชสิทธิมนี (วิ.) ุ เวลาทีเราจะละเมิดศีล เราก็จะได้มสติ ่ ี มากขึ้ น กว่ า เดิ ม บางที เ รารั บ ศี ล ไป อย่างเดียว ไม่รู้จักความหมาย ท�ำให้ เราลืมได้วาอะไรทีเ่ ป็นข้องดเว้นบ้าง ่ เพราะฉะนัน การทีเ่ ราเป็นชาว ้ พุทธ เรามีความรู้ในทางทฤษฎี รู้จัก ธรรมะ รูจกพระพุทธเจ้าสอนอะไรบ้าง ้ั แต่วาความรูทเี่ รามีอยูนี้ บางทีมนก็ไม่สง ่ ้ ่ ั ่ ถึงหัวใจของเราว่า เรารูตามทีพระพุทธเจ้า ้ ่ สอนจริงๆ ไหม คือความรูทมอยูนี้ จิต ้ ี่ ี ่ ของเรานีไม่ได้รบรูในระดับทีลกซึง ก็จง ้ ั ้ ่ึ ้ ึ เป็นเหตุให้คนเรานี้ บางทีกทำความผิด ็ � ทั้งๆ ที่รู้อยู่ ที่เป็นเช่นนี้เพราะอะไร เพราะอ�ำนาจของกิเลสที่ท�ำให้จิตใจ เศร้าหมองมีกำลังมาก แต่วาก�ำลังของ � ่ สติ สมาธินมนอ่อนไป ี้ ั โปรดติดตาม “ชีวตสดใส หัวใจใฝ่ธรรมะ” ได้ตอในฉบับหน้า ิ ่ ปญฺญาชีว ชีวตมาหฺ เสฏฐํ ี ิ ชีวตทีอยูดวยปัญญา ประเสริฐสุด ิ ่ ่้ NC Tour & Enterprise Co.,Ltd. บริษท เอ็นซี ทัวร์ แอนด์ เอ็นเตอร์ไพรส์ จ�ำกัด ั มอบเป็นธรรมบรรณาการ กุมภาพันธ์ - เมษายน ๒๕๕๗ 13
  • 16. ฝึกฝนจิตละกิเลส “ ” เรื่อง : ปรียวิศว์ โยธีพทกษ์ ิ ั เรือง : ปรียวิศว์ โยธีพทกษ์ ่ ิ ั ความเพียรทีถกต้องคือสิงใด ? ู่ ่ ความเข้าใจหนึงทีคลาดเคลือนไปก็คอ “ความเพียรทีถก ่ ่ ่ ื ู่ ต้องคือสิงใด ” เพราะหลายคนมีความเข้าใจทีวาการปฏิบตธรรม ่ ่่ ั ิ สามารถเกิดขึนได้เฉพาะในห้องกรรมฐาน หรือ หลักสูตรปฏิบติ ้ ั เท่านัน โดยทีอาจจะหลงลืมประเด็นทีสำคัญทีสดเรืองหนึงไปก็คอ ้ ่ ่� ุ่ ่ ่ ื การภาวนานันอยูทจต และจิตก็ทำงานอยูตลอดเวลา คล้ายกับ ้ ่ ี่ ิ � ่ การทีมนุษย์กหายใจอยูตลอดเวลา ดังนันนักปฏิบตทงหลายก็ควร ่ ็ ่ ้ ั ิ ั้ ต้อง “ปฏิบตได้ตลอดเวลา” คือ อกาลิโก ไม่ประกอบด้วยกาล เช่น ัิ กัน ดั ง ตั ว อย่ า งของบทสนทนานี้ ซึ่ ง เป็ น พระราชปุ จ ฉาของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวทีมตอหลวงปูดลย์ อตุโล ว่า ่ ั ่ ี่ ่ ู “หลวงปู่ การละกิเลสนั้นควรละอะไรก่อน” จากนั้น หลวงปูกกล่าววิสชนาว่า ่็ ั “กิเลสทั้งหมดเกิดรวมที่จิต ให้เพ่งมองดูที่จิต อันไหนเกิดก่อนให้ละอันนั้นก่อน” ความเพียรชอบ = ชอบความเพียร คุณเคยสงสัยไหมครับว่า “ท�ำไมเมืองไทยสมัยนีมนช่างวุนวาย สับสน ้ ั ่ และผูคนไร้ซงมโนธรรมใดๆ เสียเหลือเกิน ” ้ ึ่ จริงที่สุดว่าผู้ที่จะสามารถท�ำแบบนี้ได้นั้นต้องอาศัย ความเพียรอยูตลอดเวลา เท่าทีสามารถ เท่าทีมโอกาส ไม่วาจะ ่ ่ ่ ี ่ เป็นวันไหนๆ เวลาใดๆ หากผู้ใดคลาดจากการตั้งเจตนาไว้ใน ทิศทางนี้ ก็คงเรียกได้วายังไม่สามารถทีจะเข้าสูการพัฒนาจิตให้ ่ ่ ่ เกิดปัญญาและสันติสข ได้อย่างแท้จริง และแน่นอนว่าใครจะไปรู้ ุ ดีได้เท่ากับตัวของนักปฏิบตแต่ละท่านเองว่าในแต่ละนาทีทผาน ั ิ ี่ ่ ไป “บัดนีเ้ ราท�ำอะไรอยู” เราก�ำลังเจริญความเพียรทีถกต้องอยู่ ่ ู่ ไหม (สัมมาวายามะ,สัมมัปปธาน ๔) สิงใดทีควรละเราเพียรละ ่ ่ อยูหรือเปล่า สิงใดทีควรเจริญเราเพียรเจริญอยูหรือไม่ ่ ่ ่ ่ ทังๆทีเ่ รียกได้เลยว่าเราก�ำลังอยูในยุคเฟืองฟู ้ ่ ่ ของการปฏิบัติธรรมอันอุดมไปด้วยค�ำสอน และผู้รู้ ธรรมมากมายยุคหนึง ถ้าศาสนาเจริญขนาดนี้ ท�ำไม ่ ผู้คนถึงไม่เจริญตาม การปฏิบัติธรรมไม่มีประโยชน์ ผู้คนเข้าใจการปฏิบัติกันไม่ถูกต้อง มันยังไงกันแน่ ความคลาดเคลือนบกพร่องคืออะไร ? ่ 14 ยุวพุทธสัมพันธ์ ฉบับที่ ๘๙
  • 17. ฝึกฝนจิตละกิเลส เรื่อง : ปรียวิศว์ โยธีพทกษ์ ิ ั วิรเยน ทุกขมจฺเจติ ิ ฺ คนล่วงทุกข์ได้เพราะความเพียร ขุ.สุ.๒๕/๓๖๑ ดังนั้นความเพียรทางจิตในการเจริญสติ เพื่อเพียรเจริญ กุศลและเพียรละอกุศล จึงถือเป็นการสร้างเหตุทถกตรงทีสดต่อการ ี่ ู ่ ุ วิมุตติหลุดพ้น ตามหลักของเหตุปัจจัย นั่นก็คือหมั่นสร้างเหตุที่ เหมาะสมเพือน�ำทางจิตไปบนมรรควิถทถกต้อง ซึงท่านก็เคยแสดง ่ ี ี่ ู ่ ไว้ในพระสูตรหนึงชือสติสตร(สติวรรคที๔)* รวมความได้วา ่ ่ ู ่ ่ “การเจริญสตินนเป็นเหตุ ท�ำให้เห็นโทษของบาปอกุศลจน ั้ ท�ำให้เกิดการส�ำรวมระวังขึ้นเอง และนั่นจึงเป็นเหตุให้ศีลสมบูรณ์ จนเกิดความสงบตังมันไม่หวันไหวไปของจิต จนสามารถเห็นสภาพ ้ ่ ่ ธรรมได้ตามความเป็นจริง จนเกิดปัญญาและน�ำไปสู่ความเบื่อ หน่ายคลายก�ำหนัด และความไม่ยดมันแห่งจิตได้ในบันปลาย” ึ ่ ้ หากต้องตอบค�ำถามทีวา ท�ำไมโลกจึงแสนจะวุนวายทังๆที่ ่่ ่ ้ ศาสนาก็เจริญมาก ก็คงต้องตอบว่าเพราะผู้ปฏิบัติส่วนใหญ่ใช้ชีวิต อยูนอกห้องกรรมฐานมากกว่าในห้องกรรมฐานนันไง แล้วหากพวก ่ ่ เขาเหล่านันไม่สามารถรักษาระดับของความเพียรชอบทางจิต ให้มี ้ อยูสม�ำเสมอเป็น อกาลิโก ได้ จิตของเขาก็ตองถูกกิเลสเผาลน และ ่ ่ ้ โลกก็จะรุมร้อน วุนวาย แบบนีนนแหละ....เป็นไปตามเหตุปจจัย ่ ่ ้ ั่ ั ดังนันเราควรมาช่วยกันศึกษาและฝึกฝนจิตใจของเราให้ถก ้ ู ต้องตามหลักของความเพียรชอบ กันเถิด อกุศลใดเกิดขึนแล้วก็รบ ้ ี ละเสีย อกุศลใดยังไม่เกิดก็เพียรปิดกันไว้ กุศลใดยังไม่เกิดก็รบเจริญ ้ ี เสีย กุศลใดทีมอยูแล้วก็พฒนาให้ยงขึนไปอีก โดยไม่ขนอยูกบเวลา ่ ี ่ ั ิ่ ้ ึ้ ่ ั หรือสถานทีใดๆทังสิน ท�ำได้ทนที ณ ปัจจุบน และท�ำไปด้วยฉันทะ ่ ้ ้ ั ั ความพอใจ ก่อนจะ like, comment หรือ share สิงใด ก็ ่ อย่าลืมหลักของการเจริญกุศลและละอกุศลเสียล่ะ อย่างนี้จึงจะเรียกว่า ธรรมะ เป็น “อกาลิโก” โดย แท้จริง เพราะสามารถปฏิบตได้และให้ผลได้ไม่จำกัด ั ิ � กาลจริงๆ และเมื่อนั้น โลกภายนอกทั้งมวลก็คงเข้าสู่ ความเป็ น ปกติ สุ ข ได้ ตามผลอั น สมควรของการ ปฏิบตภาวนาทางจิตนันเอง ั ิ ่ {*} อ้างอิง: พระไตรปิฎกบาลีสยามรัฐ(ฉบับไทย) เล่มที่ ๒๓ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๕ อังคุตตรนิกาย สัตตก-อัฏฐกนวกนิบาต หน้า ๒๗๑ ข้อที่ ๑๘๗ สติวรรคที๔ สติสตร ่ ู คุณกิงกาญจน์ อารักษ์พทธนันท์ ่ ุ มอบเป็นธรรมบรรณาการ กุมภาพันธ์ - เมษายน ๒๕๕๗ 15