SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
งานอุปสมบท ภายในท้องถิ่น
อ.บ้านโป่ง จ.ราชบุรี
อุปสมบท หมายถึง การเข้าถึง คือการบวช เป็นศัพท์เฉพาะในศาสนา
พุทธ ใช้หมายถึงการบวชเป็ นภิกษุและภิกษุณี เรียกเต็มว่า อุปสมบทกรรม
อุปสมบทเป็นสังฆกรรมอย่างหนึ่ง ในพระพุทธศาสนา พระพุทธเจ้าทรง
วางหลักเกณฑ์และระเบียบปฏิบัติไว้รัดกุมและละเอียดมาก ทั้งนี้เพื่อให้
ได้ศาสนทายาทที่ดีไว้สืบสานพระพุทธศาสนา ในประเทศไทยจะถือเป็ น
ประเพณีเลยว่า ลูกชายของครอบครัวเป็นพุทธต้องบวชสักครั้งในชีวิตเพื่อให้
แม่เกาะชายผ้าเหลือง ชดใช้ค่าน้านม อันเป็นสืบต่ออายุพระพุทธศาสนาโดย
เปลี่ยนจากผู้นับถือพระรัตนตรัยขึ้นไปเป็ นส่วนหนึ่งของพระรัตนตรัย
ความหมายของการอุปสมบท
เอหิภิกขุอุปสัมปทาการอุปสมบทที่กล่าวคาว่าท่านจงมาเป็นภิกษุเถิด เป็น
การอุปสมบทที่พระพุทธเจ้าบวชให้โดยพระองค์เอง
ติสรณคมนูปสัมปทาการอุปสมบทที่ผู้บวชกล่าวว่าพระรัตนตรัยเป็ นที่พึง ที่
ราลึก เป็นการอุปสมบทโดยพระเถระที่พระพุทธเจ้าทรงแต่งตั้งอนุญาตแทน
พระองค์(เกิดจากการลาบากในการเดินทางมาทูลขอให้พระพุทธเจ้าทรง
ประทานอุปสมบทให้)
ญัตติจตุตถกรรมวาจาการอุปสมบทด้วยการเห็นชอบของสงฆ์ ตามพระบรม
พุทธานุญาติ ที่ใช้กันในปัจจุบันนี้ (เกิดจากการที่พระพุทธเจ้าทรงมอบให้
สงฆ์เป็นผู้ตัดสินใจในการให้อนุญาตกุลบุตรผู้มาขออุปสมบท)
ประเภทของการอุปสมบท
มีการอุปสมบทที่พิเศษแตกต่างไปจากนี้ เช่น การประทานโอวาท ๓
ประการแก่พระมหากัสสปะ การให้อุปสมบทด้วยการประทานครุธรรม๘
ประการ แก่พระนางกีสาโคตมี และทรงเปลี่ยนให้การบวชแบบติสรณคมนูป
สัมปทา ให้เป็นรูปแบบการบวชของสามเณร สามเณรี สิกขมานา แทน
ส่วนคาว่า บรรพชา ซึ่งหมายถึงการบวชเป็ นสามเณรสามเณรี สิกขมานา
แม่ชี และพราหมณ์ (ผู้ถืออุโบสถศีล) ส่วนอาชีวัฏฐมกศีลแม้บางคนอาจถือ
แล้วนุ่งขาวปฏิบัติธรรม แต่จะไม่ใช่การบรรพชาแต่เป็นเพียงการรับศีลที่สูง
กว่าปัญจศีลเท่านั้น
ประเภทของการอุปสมบท (ต่อ)
บัณเฑาะก์
คนลักเพศ (บวชตนเอง)
ผู้นับถือศาสนาอื่น
สัตว์เดรัจฉาน
ผู้ทามาตุฆาต
ผู้ทาปิ ตุฆาต
ผู้ฆ่าพระอรหันต์
ผู้ข่มขืนภิกษุณี
ผู้ทาสังฆเภท
ผู้ทาร้ายพระพุทธเจ้าจนห้อพระ
โลหิต
คนสองเพศ
บุคคลที่ห้ามบวช
ก่อนที่เราจะไปศึกษาในเรื่องของขั้นตอนการบวชพระ จะขอกล่าวถึงพิธี
การบวชพระที่ใช้ในปัจจุบัน ซึ่งมีอยู่ 2 แบบด้วยกัน คือ แบบอุกาสะ และ
แบบเอสาหัง โดยคาว่า "อุกาสะ" แปลว่า ขอโอกาส ส่วนคาว่า "เอสาหัง"
แปลว่า ข้าพเจ้านั้น ในประเทศไทยการบวชพระแบบอุ กาสะนั้น จะใช้ กันใน
คณะสงฆ์ฝ่ ายมหานิกาย ซึ่งเป็นแบบเดิมที่ใช้กันมาแต่โบราณกาล ส่วนการ
บวชพระแบบเอสาหัง จะใช้ในคณะสงฆ์ธรรมยุตินิกาย โดยการประยุกต์มา
จากแบบอุกาสะเพื่อย่อขั้นตอนให้สั้นขึ้น มีใช้มาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 4 พระ
บาลสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยยึดรูปแบบมาจากพระสงฆ์ประเทศ
พม่า
ขั้นตอนการบวชพระทาอย่างไร
ขั้นตอนการบวชพระ ในที่นี้จึงจะขอกล่าวถึงเฉพาะพิธีการบวชพระแบบ อุ
กาสะเท่านั้น เนื่องจากเป็นการบวชแบบเดิมที่มีมาแต่โบราณ แม้ว่าการบวชใน
ประเทศไทยจะมี 2 แบบ แต่ก็ยึดหลักการบวชตามพุทธบัญญัติทุกประการ
ต่างกันเพียงข้อปลีกย่อยบางข้อเท่านั้น ขั้นตอนการบวชพระแบบอุกาสะ มีดังนี้
1. โกนผมนาค
เริ่มโดยพ่อแม่และญาติผู้ใหญ่
หรือผู้ที่มาร่วมบุญงานบวชพระใน
ครั้งนี้ ทาการขลิบผมให้นาคเป็น
ปฐมฤกษ์ จากนั้นพระสงฆ์จะทา
การโกนผมให้นาค ตามประเพณี
การบวชพระที่ปฏิบัติโดยทั่วกันนั้น
ผมนาคที่โกนแล้วจะห่อด้วยใบบัว
แล้วนาไปลอยที่แม่น้าหรือวางไว้ใต้
ร่มโพธิ์ ในการปลงผมนั้นจะปลงที่
บ้านหรือที่วัดก็ได้แล้วแต่ความ
สะดวก
การแต่งตัวนาคนั้นควรแต่งด้วย
ชุดขาวทั้งหมด ซึ่งจะบ่งบอกถึงความ
สะอาดบริสุทธิ์ ทั้งกาย วาจา ใจ ของ
ผู้ที่จะบวช ไม่ควรมีเครื่องประดับ
ประดามากจนเกินไป โดยขอแนะนา
เครื่องแต่งตัวนาคตามประเพณีนิยม
ดังนี้
1. เสื้อเชิ้ตแขนยาวสีขาว 2. สบงขาว
3. อังสะขาว 4.เข็มขัด
5. เสื้อคลุมนาค 6. สร้อยคอ
2. แต่งตัวนาค
ท่านละ 1 ครั้ง (ไม่แบมือ) แล้วรับ
มอบผ้าไตรจากมารดาบิดาญาติ
ผู้ใหญ่
3.กราบมารดา-บิดา
4.ขอขมาผู้ล่วงลับ
จัดเป็ นขบวนแห่อย่างเอิกเกริก ให้
เจ้านาคขี่ม้ามีกลดกั้น ให้มารดาเป็ นผู้
อุ้มไตรจีวร บิดาอุ้มบาตรและถือ
ตาลปัตร ญาติพี่น้องต่างก็ถือเครื่อง
อัฐบริขารและสิ่งของอื่น ตลอดจนเครื่อง
ไทยธรรม ผู้ที่ไปร่วมงานก็ช่วยกันถือ
สิ่งของด้วย จัดเป็ นแถวแนวตามลาดับ
ขบวนเดินตามเจ้านาคไป ขณะออกจาก
บ้านจะมีการโห่ร้อง ๓ ลา เมื่อเคลื่อน
ขบวน บางรายก็มีกลองเถิดเทิง หรือแตร
วง พวกรากระบี่กระบองและแสดงละคร
จาอวด แต่งแฟนซี แห่นาหน้าเจ้านาคไป
จึงเรียกกันว่า “แห่นาค”
5.การแห่นาค
ก่อนเข้าโบสถ์ เจ้านาคจุดธูป
เทียนบูชาเสมาหน้าโบสถ์ ซึ่งถือว่า
เสมานั้นเป็ นเครื่องหมายสาคัญทาง
พระพุทธศาสนา เพราะโบสถ์ทุกแห่ง
ต้องมีเสมาตั้งไว้โดยรอบทั้ง ๘ ทิศ
เพื่อแสดงเขตของพระพุทธ ซึ่งเรียก
กันว่า “พัทธสีมา” แปลว่า เขตที่
ผูกพันแล้ว ผู้ที่ย่างเข้าไปในเขตพัทธ
สีมาต้องสารวมกาย วาจา ให้
เรียบร้อย รองเท้าที่ใส่ก็ควรถอดออก
ถือไป ฉะนั้น การบูชาเสมาก็คือการ
แสดงความเคารพและราลึกถึง
พระพุทธเจ้าโดยตรง
6.การบูชาเสมา
เมื่อบูชาเสมาเสร็จแล้วนาคก็เข้าโบสถ์ บิดามารดาจูงมือนาคเข้าโบสถ์ โดย
มารดาอยู่เบื้องขวา บิดาอยู่เบื้องซ้ายเสมอไป เป็นการจูงนาคไปถวายพระสงฆ์
มิใช่นาคจูงบิดามารดาไปสวรรค์ ตามที่คนบางคนเข้าใจ ครั้นนาคเข้าไปในพระ
อุโบสถแล้ว ก็จุดธูปเทียนบูชาพระ บิดามารดาตลอดจนญาติและมิตรสหายทั้ง
ปวงก็เข้าไปนั่งในพระอุโบสถด้วย จวนได้เวลาเจ้านาคก็มากราบบิดามารดา รับ
ผ้าไตรจีวร อุ้มเข้าไปขอบรรพชาต่อหน้าพระอุปัชฌาย์ รับโอวาทแล้วออกมา
ครองผ้าและเข้าไปรับศีลจากพระอาจารย์(องค์คู่สวด) ท้ายอาสน์สงฆ์ นาคจะ
ได้ภาวะเป็นสามเณรในระยะนี้ เสร็จการรับศีลแล้ว ก็อุ้มบาตรเข้าไปหา
อุปัชฌาย์อีก ประเคนบาตรแล้วขอนิสสัย คู่สวดก็เอาบาตรคล้องให้เจ้านาค
แล้วบอกชื่อบาตร จีวร เป็นต้น เป็นภาษาบาลี ต่อจากนี้พระผู้เป็นคู่สวดจะบอก
ให้นาคออกไปยืน ณ ที่แห่งหนึ่งโดยระยะประมาณห่างจากสงฆ์ ๑๒ ศอก ใน
ระหว่างที่เดินไปนั้น นาคจะต้องเดินประนมมือออกไป
7.นาคเข้าโบสถ์ตอนบวช
เมื่อถึงที่แล้วยืนหันหน้ามาทางสงฆ์ ครั้นแล้วพระคู่สวดก็สวดสมมุติตนต่อ
หน้าสงฆ์ แล้วจึงเดินออกมาซักถามเจ้านาค บทถามนี้มีหลายข้อตามกฎ เช่น
ถามว่าเป็ นโรคเรื้อนหรือไม่ ฯลฯ ตลอดไปจนถึงกับถามว่า เป็นมนุษย์ใช่ไหม?
(กลัวว่าจะเป็ นพระยานาคปลอมตัวมาบวชอีก) นี้เป็นต้น เมื่อจบการสอบถาม
แล้ว องค์คู่สวดก็กลับเข้าไปสู่ที่ประชุมสงฆ์ เรียกเจ้านาคนั้นเข้าไปขออุปสมบท
แก่สงฆ์ ลาดับนั้นพระอุปัชฌาย์จะประกาศให้สงฆ์ทราบ และให้องค์คู่สวดไต่
ถามนาคในท่ามกลางสงฆ์อีกครั้งหนึ่ง เมื่อถามเสร็จแล้วก็สวดญัตติกรรม
7.นาคเข้าโบสถ์ตอนบวช(ต่อ)
เสร็จแล้วอุปัชฌาย์ ก็จะบอกอนุศาสน์ ๘ อย่าง
ที่เรียกว่าอนุศาสน์คือคาสอนพระบวชใหม่ให้รู้จักกรณียะ(สิ่งที่ควรกระทา)
เบื้องต้น ๔ อย่าง
1.เที่ยวบิณฑบาต 2.นุ่งห่มผ้าบังสุกุล
3.อยู่โคนไม้ 4.ฉันยาดองด้วยน้ามูตรเน่า
และให้รู้อกรณีย์(สิ่งที่ไม่ควรทา)อีก ๔ อย่าง
1.เสพเมถุน 2.ลักของเขา
3.ฆ่าสัตว์(ฆ่ามนุษย์) 4.โอ้อวดคุณวิเศษซึ่งไม่มีในตน
7.นาคเข้าโบสถ์ตอนบวช
นอกจากนี้ก็บอก ศีล สมาธิ ปัญญา รวมเรียกว่า ไตรสิกขา เมื่อพระ
อุปัชฌาย์บอกไตรสิกขาจบแล้ว พระภิกษุใหม่ก็ออกมานั่งรับเครื่องไทยธรรม
เสร็จแล้วกลับไปนั่ง ณ ที่เดิม เจ้าภาพจัดการถวายเครื่องไทยธรรมแก่พระ
อุปัชฌาย์ พระคู่สวด และพระอันดับทั้งปวง
เสร็จแล้วพระอุปัชฌาย์ท่านเริ่มอนุโมทนา เมื่อท่านว่า”ยะถา” พระภิกษุ
ใหม่กรวดน้าอุทิศส่วนกุศลแด่ผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว ตลอดจนถึงสรรพสัตว์ทั้ง
ปวง พอพระท่านสวด”สัพพีติโย” ก็นั่งประนมมือรับพรต่อไปจนจบ แล้ว
กราบพระ นับว่าเสร็จสิ้นพิธีอุปสมบทเท่านี้
7.นาคเข้าโบสถ์ตอนบวช
การฉลองพระบวชใหม่นี้ มิได้กาหนดกาลเวลา จะฉลองเมื่อใดก็ได้ พิธี
การก็มีสวดมนต์กับเลี้ยงพระเท่านั้น บางองค์บวชแล้วก็ไม่มีการฉลอง และก็
ไม่ถือว่าผิดแบบแผนแต่อย่างใด ตามประเพณีนั้น คือ เมื่อบวชแล้ วก็จัดการ
ฉลอง หรือมิฉะนั้นก็รอไว้ฉลองเอามือจวนจะสึกเลยก็ได้
8.การฉลองพระบวชใหม่

More Related Content

What's hot

พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
Padvee Academy
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
Padvee Academy
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 

What's hot (20)

กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทย
 
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายานอัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
 
บทบรรยายพระคุณแม่
บทบรรยายพระคุณแม่บทบรรยายพระคุณแม่
บทบรรยายพระคุณแม่
 
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู2
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู2บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู2
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู2
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
 
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdfปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
 
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานแนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
 
พระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนพระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซน
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญาปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
 
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎกพัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 
บาลีไวยากรณ์ ๔ (แบบฝึกหัด ๑)
บาลีไวยากรณ์ ๔ (แบบฝึกหัด ๑)บาลีไวยากรณ์ ๔ (แบบฝึกหัด ๑)
บาลีไวยากรณ์ ๔ (แบบฝึกหัด ๑)
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
 
พระพุทธศาสนาสมัยอยุธยา นารีรัตน์
พระพุทธศาสนาสมัยอยุธยา   นารีรัตน์พระพุทธศาสนาสมัยอยุธยา   นารีรัตน์
พระพุทธศาสนาสมัยอยุธยา นารีรัตน์
 
สรุปนักธรรมเอก_V 2565.pdf
สรุปนักธรรมเอก_V 2565.pdfสรุปนักธรรมเอก_V 2565.pdf
สรุปนักธรรมเอก_V 2565.pdf
 

Similar to งานอุปสมบท(หน้าที่พลเมือง)

พระพุทธศาสนากับป่าไม้
พระพุทธศาสนากับป่าไม้พระพุทธศาสนากับป่าไม้
พระพุทธศาสนากับป่าไม้
Kasetsart University
 
วิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยวิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทย
Tongsamut vorasan
 
บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษา
บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษาบทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษา
บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษา
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช   พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช   พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...
Tongsamut vorasan
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
Tongsamut vorasan
 

Similar to งานอุปสมบท(หน้าที่พลเมือง) (9)

พระพุทธศาสนากับป่าไม้
พระพุทธศาสนากับป่าไม้พระพุทธศาสนากับป่าไม้
พระพุทธศาสนากับป่าไม้
 
วิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยวิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทย
 
พระพุทธศาสนา.docx
พระพุทธศาสนา.docxพระพุทธศาสนา.docx
พระพุทธศาสนา.docx
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษา
บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษาบทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษา
บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษา
 
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช   พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช   พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
 
ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์
 

งานอุปสมบท(หน้าที่พลเมือง)