SlideShare a Scribd company logo
1 of 83
Download to read offline
จิตวิทยาพัฒนาการเด็ก
(Psychological Development in Pediatrics)




                   Tadsawiya Padkao, PT, M.Sc.
                  School of Allied Health Sciences
                Naresuan University (Phayao Campus)
              Padkao T                        1
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
• สามารถอธิบายความหมายและประเภทของพัฒนาการทาง
  จิตวิทยาได้
• สามารถอธิบายความสัมพันธ์ของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ
  พัฒนาการของบุคคลได้
• สามารถอธิบายลักษณะเฉพาะของพัฒนาการและทฤษฎีที่
  สาคัญได้
• สามารถอธิบายลาดับพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์
  สังคม และสติปัญญาในช่วงอายุต่างๆ ได้

                        Padkao T                     2
Freud - Psychoanalysis

หนักแน่น

มั่นคง

เข้มแข็ง
ลามก
Padkao T                       3
Clinical Psychology




        Padkao T      4
Clinical Psychology

                Kline
      (ภาษากรีก แปลว่า เตียงที่มคน
                                ี                Clinic
                 นอน)




General psychology          Applied Psychology   Clinical Psychology




                                     Padkao T                      5
Clinical Psychology
• “ Clinical Psychology ” หมายถึง จิตวิทยาที่นามาใช้
  กับบุคคลทีมีปัญหาเกี่ยวกับพฤติกรรม เพื่อการวิเคราะห์โรค
            ่
  และรักษา หรือความหมายกว้าง หมายถึง วิชาที่ว่าด้วยการ
  ช่วยเหลือบุคคลทีมีสุขภาพจิตผิดปกติ ให้คืนสู่สภาพจิตใจที่
                  ่
  สมบูรณ์และปรับตัวเข้ากับสังคมด้วยความสุข




                           Padkao T                          6
Development




    Padkao T   7
ความหมายของพัฒนาการ
                (Development)
ความหมายโดยทั่วไป หมายถึง ความเจริญงอกงามและการเปลียนแปลงไป
                                                   ่
                           ในทางที่ดีขึ้น

ความหมายทางจิตวิทยา หมายถึง การเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ เช่น
  ร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาของบุคคลอย่างมีขนตอน  ั้
  และเป็นระเบียบแบบแผน นับตั้งแต่เริ่มปฏิสนธิจนกระทั่งเสียชีวิต
  โดยมากจะเป็นการเปลี่ยนแปลงในเชิงคุณภาพ เพื่อให้บุคคลนั้น
     พร้อมจะแสดงความสามารถในการกระทากิจกรรมใหม่ๆ ที่
                       เหมาะสมกับวัย
                            Padkao T            เติมศักดิ์ คทวณิช,   2546
                                                                      8
ระดับของพัฒนาการ
• พัฒนาการทางอวัยวะ
  (Physiological Development)


• พัฒนาการของมนุษย์
  (Human Development)




             Padkao T           9
ประเภทของพัฒนาการของมนุษย์
• ด้านร่างกาย (Physical or Motor Development)
• ด้านสติปัญญา (Cognitive Development)
• ด้านจิตใจ-อารมณ์ (Emotional Development)
• ด้านสังคม (Social Development)
• ด้านจิตวิญญาณ (Spiritual Development)




                       Padkao T                 10
Physical or Motor Development
        ความสามารถของร่างกายในการทรงตัวใน
   อิริยาบถต่างๆ และการเคลื่อนไหวโดยมาใช้
   กล้ามเนื้อมัดใหญ่ การใช้สัมผัสรับรู้และการใช้ตา
   และมือประสานกันในการทากิจกรรมต่างๆ




                       Padkao T                      11
Cognitive Development
   ความสามารถในการเรียนรู้ความสัมพันธ์
ระหว่างสิ่งต่างๆ กับตนเอง การรู้คิด รู้เหตุผลและ
ความสามารถในการแก้ปัญหา




                    Padkao T                   12
Emotional Development
     ความสามารถในด้านการแสดงความรู้สึก
ความสามารถในการแยกแยะความลึกซึ้งและ
ควบคุมการแสดงออกทางอารมณ์อย่างเหมาะสม
เมื่อเผชิญกับสถานการณ์ต่างๆ ตลอดจนการ
สร้างความความรู้สึกที่ดีและนับถือตนเอง


                Padkao T                 13
Social Development
       ความสามารถในการสร้างสัมพันธภาพกับ
ผู้อื่น มีทักษะการปรับตัวในสังคม สามารถทา
หน้าที่ตามบทบาทของตน ร่วมมือกับผู้อื่น มีความ
รับผิดชอบและเป็นตัวของตัวเอง




                  Padkao T                  14
Spiritual Development
    ความสามารถในด้านการรู้คุณค่าของชีวิตของ
ตนเอง ความมีศรัทธาและคุณธรรม
ความสามารถแยกแยะความผิดชอบชั่วดีและสร้าง
สานึกของความเป็นมนุษย์ ควบคุมจิตใจ ความคิด
และพฤติกรรมของตนเองให้เป็นไปในทาง
สร้างสรรค์ต่อตนเอง ส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม

                 Padkao T                 15
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพัฒนาการของบุคคล
           มี 3 ประการ ดังต่อไป

       • การเจริญเติบโต (Growth)

        • วุฒิภาวะ (Maturation)

         • การเรียนรู้ (Learning)

                   Padkao T             16
Growth
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างต่างๆของร่างกายที่เกี่ยวกับขนาด
 น้าหนัก สัดส่วน ส่วนสูง กระดูก กล้ามเนื้อ รูปร่าง ซึ่งเป็นการ
                   เปลี่ยนแปลงเชิงปริมาณ

เช่น เด็กจากส่วนสูง 150 cm ต่อไปจะสูง 151  152  153 cm ตามลาดับ


       เป็นพื้นฐานที่สาคัญก่อนที่จะเกิดพัฒนาการด้านอื่น ๆ



                                        Padkao T                    17
Maturation
 หมายถึง การเจริญเติบโตของอวัยวะต่างๆ ในร่างกาย ซึ่งเกิด
ขึ้นกับบุคคลตามลาดับขั้นและเป็นไปตามธรรมชาติจนถึงสูงสุด มี
 ผลทาให้บุคคลนั้นเกิดความพร้อมทีจะกระทากิจกรรมต่างๆ ได้
                                 ่
                       เหมาะสมกับวัย
   • เกิดขึ้นตามธรรมชาติ
   • ไม่สามารถคาดกาลได้ล่วงหน้า
   • เป็นปัจจัยทีมีความสาคัญที่สุดที่
                 ่
   จะทาให้เกิดพัฒนาการด้านต่างๆ**

                           Padkao T                     18
Learning
• การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอย่างค่อนข้างถาวร โดยอาศัย
   การฝึกฝน ฝึกหัด หรือประสบการณ์เดิมที่มีอยู่ ยิ่งมีการ
 ฝึกหัดมากเท่าไร การแสดงพฤติกรรมเหล่านั้นก็จะเกิดความ
                 เชี่ยวชาญมากขึ้นเท่านัน
                                       ้


        เป็นปัจจัยที่ทาให้พัฒนาการ
             สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น

                         Padkao T                      19
แผนผังแสดงกระบวนการเกิดพัฒนาการของบุคคล

      การ
                    *วุฒิภาวะ              พัฒนาการ      การเรียนรู้
  เจริญเติบโต


      Arnold Gesell (นักจิตวิทยาพัฒนาการ) “ การฝึกฝนและฝึกหัดใดๆ ก็
      ตามจะเสียเวลาเปล่าถ้าร่างกายของบุคคลนั้นยังไม่เกิดวุฒิภาวะหรือความ
      พร้อมขึ้น ”




                                                                       20
                                Padkao T
ยกตัวอย่างพัฒนาการ แล้ววิเคราะห์ว่า ปัจจัย
      ด้าน Growth, Maturation,
      Learning ของพัฒนาการนั้นๆ
             คืออะไรบ้าง ?




                  Padkao T              21
Principle of Development




         Padkao T          22
• Cephalocaudau Law –                       • อาศัยเวลาและความต่อเนื่อง                • มีแบบแผนเฉพาะและตามลาดับ
  แนวดิ่ง ยึดศีรษะเป็นหลัก (ควบคุม                                                       เสมอ ไม่ข้ามขั้นเด็ดขาด
                                            • เริ่มตั้งแต่วัยทารก เด็ก
  ศีรษะคอขานิ้วเท้า)
                                              วัยรุ่น สูงสุดวัยผู้ใหญ่ตอนต้น          • ช้า/เร็วต่างกันในแต่ละบุคคล
• Proximodistal Law – แนว
  ขวาง ยึดลาตัวเป็นหลัก (ควบคุม                เริ่มเสื่อม                            • เช่น Development
  ลาตัวไหล่แขนนิ้วมือ)                   • เช่น การพูด การเดิน                        milestone


                                             ลักษณะ
ทิศทาง                                       ต่อเนื่องกัน                               ลาดับขั้น

Arnold
Gesell                • Jean Piaget: “เราไม่มีทางแยก
                        วุฒิภาวะกับการเรียนรู้ออกจากกันได้
                                                                    • Maturation เกิดตาม
                                                                      ธรรมชาติ ไม่สามารถคาดการณ์
                        โดยเด็ดขาด”                                   ได้
                      • Maturation = ขั้นต้นของสชว.
                        ในการจัดระบบเพื่อหาประสบการณ์
                                                                    • เช่น การพูด การเดิน
                      • Learning = เพิ่มความชานาญ
                        ให้กับประสงการณ์นั้นๆ
                      ต้องอาศัย
                      Maturation &
                                                                        อัตราเวลา
                      Learning                                          แตกต่างกัน
                                                             Padkao T                                            23
Theories of Development




        Padkao T          29
Theories of Development

เกิดจากการสังเกตพฤติกรรมมนุษย์ที่แตกต่าง
    กันไปในแต่ละคน แต่ละวัย จึงมีการคิดค้น
        ทฤษฎีต่างๆ เพื่ออธิบายสิ่งเหล่านี้




                   Padkao T              30
Theories of Development
• ประกอบด้วย
  1. Psychoanalysis Theory or Freud’s Psychosexual
     and Personality Development Theory
  2. Psychosocial Theory or Erikson’s Psychosocial
     Theory
  3. Cognitive Development Theory or Piajet’s
     Cognitive Development Theory
  4. Moral Development Theory or Kohlberg’s Moral
     Development Theory

                      Padkao T                   31
1. Freud’s Psychosexual and
Personality Development Theory

           Simund Freud (1856-1936)

            นักจิตวิทยาผูนาของกลุ่มจิตวิเคราะห์
                         ้
            (Psychoanalysis Theory)




             Padkao T                             32
Principle
• Focus: the effects of the sexual pleasure
  drive on a person's emerging personality
• แนวคิด : “พัฒนาการความต้องการทางเพศและบุคลิกภาพของ
  บุคคลต้องอาศัยการพัฒนาที่ต่อเนื่องอย่างเป็นลาดับขั้นจนกลายเป็น
  บุคลิกที่ถาวรในที่สุด”
• ระยะวิกฤติ (crisis period) (แรกเกิด – 5 ปี) เป็นช่วงเวลาที่มี
  ความสาคัญต่อการสร้างบุคลิกภาพอย่างมาก
       - เด็กทุกแสวงหา Pleasure Principle โดยอาศัย
  Erogenous Zone ที่เปลี่ยนแปลงตามอายุ
       - ตอบสนองเพียงพอหรือไม่  Personality


                             Padkao T                         33
Principle (cont.)
• Do not receive an appropriate amount of
  gratification - receiving either too little or too
  much - may become fixated in a particular
  stage.




                        Padkao T                   34
Stage of Psychosexual and
Personality Development Theory

         1. Oral stage ; 0-1 yr-old
         2. Anal stage ; 2-3 yr-old
        3. Phallic stage ; 3-6 yr-old
      4. Latency stage ; 7-11 yr-old
      5. Genital stage ; 12-19 yr-old



                  Padkao T              35
1.1 Oral Period            (ระยะปาก)
• 0-1 yr
• Erogenous zone = the mouth
• Found:
  - 0-6 month: Sucking period // ID , Omnipotent
  - 6-12 month: Biting period // begin present EGO
  - 1 yr : EGOsense developing



                         Padkao T                    36
Achievement (Oral Period)
Appropriate         • Normal personality
     Oral Fixation or Oral Frustration  Oral Personality



                    • เช่น ต้องร้องไห้อยู่นานกว่าจะได้ดูดนม, หย่านมเร็ว ฯ
                    • เมื่อเป็นวัยรุ่นหรือผู้ใหญ่ จะพูดมาก ชอบนินทาว่าร้าย
                      ผู้อื่น รับประทานจุกจิก ดูดนิ้ว อมปากกา ติดบุหรี่
Too Little            Oral sex
                    • Self love or narcissistic
                    • Introvent tendency or sociopath or
                      paranoid

                    • เช่น มารดาเลี้ยงดูแบบตามใจเกินไป โดยให้กินนมตลอด
Too Much            • เมื่อเป็นวัยรุ่นหรือผู้ใหญ่ จะเอาแต่ใจตนเอง
                             Padkao T                                    37
1.2 Anal Period            (ระยะทวาร)
• 2-3 yr
• Erogenous zone = the anus
• Found: (like to eliminate faeces)
  - Sense of belonging & Possessive need
  - Smearing activity




                        Padkao T                38
Achievement (Anal Period)
                    • เช่น ได้รับการฝึกหัดเพื่อขับถ่ายอย่างค่อยเป็นค่อยไป เหมาะสม
Appropriate         • Normal personality

     Anal Fixation or Anal Frustration  Anal Personality

                    • เช่น ถูกปล่อยปะละเลย ไม่เคยถูกเตือน/อมรม
Too Little
                      เรื่องขับถ่าย
                    • เมื่อเป็นวัยรุ่นหรือผู้ใหญ่ จะสกปรก โสมม หน้า
                      ใหญ่ใจใหญ่
                    • เช่น ถูกบังคับ-ข่มขู่-ลงโทษ เพื่อให้ขับถ่ายเป็น
                      เวลา/เป็นที่
                    • เมื่อเป็นวัยรุ่นหรือผู้ใหญ่ จะชอบสะสมของ
Too Much              ตระหนี่ หวงของ ชอบนั่งติดอยู่กับที่ใดที่หนึ่ง
                      เป็นระยะเวลานานๆ เจ้าระเบียบ ย้าคิดย้าทา
                      เรื่องความสะอาด
                             Padkao T                             39
1.3 Phallic Period        (ระยะอวัยวะเพศ)
• 3-6 yr
• Erogenous zone = the genitals
• Children take an increasing interest in their own
  genitals and show a curiosity about other people's
  bodies. (Differ in adult)
• Found: “Complex” & “Resolution of the Complex”
            Ordipus Complex // Castration anxiety
                                (กลัวการถูกตอน  กลัวการผ่าตัด/ความตาย)
           Electra Complex // Penis envy (อิจฉาอวัยวะเพศชาย)
  -                        Padkao T                                40
Achievement (Anal Period)
Appropriate            • Normal personality
    Phallic Fixation or Phallic Frustration  Phallic Personality



Too Little             • -


                       • เช่น ถูกมองว่าเป็นเรื่องผิดปกติ มีการ
Too Much
                         ลงโทษ ดุว่า ตาหนิ ข่มขู่
                       • เมื่อเป็นวัยรุนหรือผู้ใหญ่ จะทาให้เกิด
                                       ่
                         การแปรปรวนทางเพศ
                               Padkao T                             41
1.4 Latency Period          (ระยะสงบ)
• 7-11 yr
• Erogenous zone = Inactive
• This is partly due to the repression of
  sexual drives. Freud suggests that these
  repressed drives may be redirected into
  other activities, such as the formation of
  friendships, or hobbies.


                    Padkao T               42
1.5 Genital Period (ระยะสนใจเพศตรงข้าม)
• 12-19 yr
• Erogenous zone = Inactive
• Drive energy is focused on the genitals once more, but
  this time with an adult expression of sexuality.
• Freud emphasized the importance of secondary process
  thinking as a form of symbolic gratification in this stage.
  Thus, forming loving relationships or assuming the
  responsibilities of adult life may all be seen as symbolic
  ways of satisfying the drive energy of this stage.
• Achievement: If too much, the individual cannot reach
  maturity/heterosexual, cannot shift the focus from their
  own body, their own parents and their immediate needs
  to larger responsibilities involving others.

                            Padkao T                    43
2. Erikson’s Psychosocial Theory


           Erik H. Erikson (1902 - 1994 )


                     ลูกศิษย์ของฟรอยด์
              จึงถือเป็น Contemporary
             prychoanalytic theorist

                Padkao T              44
Principle
• คล้ายทบ.ของฟรอยด์ แต่อีริคสันได้ให้ความสาคัญกับปัจจัย
  ทางสังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมทางจิตใจมากกว่าการ
  ตอบสนองทางร่างกาย และเชื่อว่าพัฒนาการของบุคคลจะ
  เกิดขึ้นอยูตลอดเวลาตั้งแต่เกิดจนกระทั่งเสียชีวิต
             ่




                        Padkao T                     45
Stages of Psychosocial Development Theory
 1. Hope: Trust vs. Mistrust (Infants, 0 to 1 year)
 2. Will: Autonomy vs. Shame & Doubt (Toddlers, 1 to 3
   years)
 3. Purpose: Initiative vs. Guilt (Preschool, 4 to 6 years)
 4. Competence: Industry vs. Inferiority (Childhood, 7 to
   12 years)
 5. Fidelity: Identity vs. Role Confusion (Adolescents, 13
   to 19 years)
 6. Love: Intimacy vs. Isolation (Young Adults, 20 to 34
   years)
 7. Care: Generativity vs. Stagnation (Middle Adulthood,
   35 to 65 years)
 8. Wisdom: Ego Integrity vs. Despair (Seniors, 65
   years onwards)          Padkao T                    46
2.1 ขั้นของความไว้วางใจกับไม่ไว้วางใจ
                 (Trust & Mistrust) (0-1 ปี)
      เป็นช่วงพัฒนาการเกี่ยวกับความรู้สึกไว้ใจและไม่ไว้ใจ ระยะนี้ถ้า
 ต้องการได้รับการตอบสนอง ด้วยดี ได้รับความอบอุน ความสนใจ
                                                  ่
 จากผู้ใหญ่ เขาจะมองสิงแวดล้อมในแง่ดี ไว้วางใจผู้อื่นซึ่งจะติดไป
                          ่
 จนเป็นผู้ใหญ่ แต่ถ้าอยูในสิ่งแวดล้อมแบบตรงกันข้าม เมื่อเป็น
                        ่
 ผู้ใหญ่มักมองคนในแง่ร้าย ไม่ไว้วางใจใคร ซึ่งลักษณะเหล่านี้ส่งผล
 มาก ต่อการทางานและการปรับตัวในสังคมการทางาน
(Ages) Stage      Significant   Psychosocial   Psychosocial   Maladaptations
& Psychosocial     relations     modalities      virtues      & malignancies
    crisis
    (0-1)           Mother        to get,         hope,          sensory
   Infant                        to give in       faith         distortion
      &                            return                       withdrawal
  Trust vs
  mistrust                         Padkao T                            47
2.2 ขั้นของความเป็นตัวของตัวเองกับความไม่มั่นใจในตัวเอง
             (Autonomy & Doubt) (1-3 ปี)
     เป็นพัฒนาการด้านความเป็นอิสระ เป็นตัวของตัวเองหากถูกเลี้ยงโดย
ผู้ใหญ่ผ่อนปรน ให้เขาช่วยตัวเองเรื่องกิน แต่งตัว ทาอะไรนิดๆ หน่อยๆ
เขาจะรู้สึกมั่นใจในตนเอง แต่ถ้าถูกบังคับให้อยู่ในเกณฑ์มากเกินไป เคร่ง
ระเบียบมากไป โดนดุว่าบ่อยๆ เขาอาจท้อแท้ มองตนเองว่าไม่มี
ความสามารถ ไม่มั่นใจในตนเอง ที่สุดเมื่อเป็นผู้ใหญ่ก็ มักขาดความเชื่อมั่น
ไม่กล้าตัดสินใจ ไม่สู้ชีวิต ขาดความพยายาม ซึ่งเป็นอุปสรรคต่องาน
(Ages) Stage     Significant   Psychosocial   Psychosocial    Maladaptation
& Psychosocial    relations     modalities      virtues             s &
    crisis                                                     malignancies
    (1-3)         Parents      to hold on,        will,        impulsivity
   Toddler                      to let go     determination    compulsion

Autonomy vs
 shame and
   doubt
                                   Padkao T                              48
2.3 ขั้นความคิดริเริ่มกับความรู้สึกผิด
                   (Initiative & Guilt) (3-6 ปี)
• วัยนี้สามารถสร้างจินตนาการของตนขึ้นมาได้และมักจะมี
  ความคิดริเริ่มเป็นของตนเอง ดังนั้นเด็กในช่วงวัยนี้จึงมักเล่นของ
  เล่นเพื่อทดแทนจินตนาการ
• เด็กต้องการความเป็นอิสระ ดังนั้นหากส่งเสริมและให้เด็กได้ทา
  กิจกรรมต่างๆ และยอมรับผลงานของเด็ก พร้อมทั้งให้กาลังใจ
  จึงจะทาให้เด็กกล้าแสดงความริเริ่มใหม่และพร้อมจะแสดงออกมา
  ได้ตลอดเวลา
• แต่ ถ้าเด็กถูกขัดขวางหรือถูกตอกย้าในความผิดพลาดที่ได้กระทา
  ไป เด็กจะเกิดความรู้สึกผิดและไม่กล้าที่จะคิดสร้างสรรค์อะไร
  ใหม่ๆ ด้วยตนเอง
                               Padkao T                       49
(Ages) Stage     Significant   Psychosocial   Psychosocial   Maladaptation
& Psychosocial    relations     modalities      virtues            s &
    crisis                                                    malignancies



(3-6)              Family      to go after,    purpose,      ruthlessness
Preschooler                       to play      courage         inhibition
Initiative vs
guilt




                                   Padkao T                             50
2.4 ขั้นความขยันหมั่นเพียรกับรู้สึกมีปมด้อย
(Industry & Inferiority) (6-12 ปี)
      วัยนี้ ถ้าทาอะไรได้รับผลดี ได้รับกาลังใจและคอยชี้แนะ จะภาคภูมิใจ
ในผลงานจากความพยายามของตน แต่ถ้าผิดหวังจะเกิดความรู้สึกด้อย
นานๆเข้าเป็นปมด้อย อาจมองตนเอง ต่ากว่าความเป็นจริง ส่งผลสู่การ
ขาดความเชื่อมั่นในวัยผู้ใหญ่ ถ้าเป็นนักธุรกิจ พ่อค้า ก็มกเป็นประเภทไม่
                                                         ั
กล้าตัดสินใจนัก ผิดกับผู้ทเติบโตมาพร้อมกับความรู้สกที่ดีเกี่ยวกับตนเอง
                            ี่                         ึ
ถ้าเป็นนักธุรกิจก็มกมีความเชื่อมั่นสูง กล้าได้กล้าเสีย
                    ั
(Ages) Stage     Significant    Psychosocial   Psychosocial   Maladaptation
& Psychosocial    relations      modalities      virtues            s &
    crisis                                                     malignancies
(6-12)           Neighborhoo    to complete,   competence         narrow
School-age       d and school     to make                       virtuosity
child                              things                         inertia
Industry vs                       together
inferiority
                                    Padkao T                                 51
2.5 ขั้นรู้จักตนเองกับไม่รจักตนเอง
                             ู้
   (Ego Identity & Role Confusion) (12-18 ปี)
• เป็นระยะของความขัดแย้งทางสังคมและจิตใจของบุคคลขั้นที่วิกฤตมาก
  ที่สุด (รอยต่อ เด็ก  ผู้ใหญ่)
• สนใจตนเองมากเป็นพิเศษถ้าอยู่ในสิ่งแวดล้อมไม่เหมาะสม บางคนว้าวุ่น ไม่
  แน่ใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง มีพฤติกรรมเป็นปัญหา แต่ถ้าพัฒนาการใน
  ขั้นที่แล้วๆ มาดี ถึงวัยนี้มักมองตนเอง ด้วยความเป็นจริง รู้บทบาทหน้าที่
  ตนเองดี มีความรับผิดชอบต่อเนื่องไปถึงวัยผู้ใหญ่
   (Ages) Stage     Significant    Psychosocial   Psychosocial   Maladaptation
   & Psychosocial    relations      modalities      virtues           s &
       crisis                                                     malignancies
   (12-18)          Peer groups,      to be        fidelity,      fanaticism
   Adolescent        role models    oneself,        loyalty       repudiation
   Ego-identity                     to share
   vs role-                          oneself
   confusion
                                      Padkao T                             52
2.6 ขั้นรู้สึกว่าตนมีเพื่อนที่อยู่ใกล้ชิดผูกพันกับความรู้สึกว้าเหว่อ้างว้าง
(Intimacy & Isolation)
(18-25 ปี)

พัฒนาการวัยนี้มักขึ้นกับวัยต้นๆ ถ้าวัยต้นมองสิ่งแวดล้อมในแง่ดี วัยนี้จะ
 ปรับตัวเข้ากับเพื่อนได้ดี เข้ากับเพศตรงข้ามได้ดี เป็นมิตร แต่ถ้าตรงข้ามก็
มักจะแยกตัวจากเพื่อนจากสังคม ปรับตนไม่เหมาะสม อาจมีพฤติกรรมเป็น
                      ปัญหาในวัยผู้ใหญ่ narcissism

 (Ages) Stage      Significant   Psychosocial    Psychosocial   Maladaptation
 & Psychosocial     relations     modalities       virtues           s &
     crisis                                                      malignancies
 (18-25)           Partners,     to lose and         love        promiscuity
 Young adult        friends      find oneself                    exclusivity
 Intimacy vs                         in a
 isolation                         another

                                     Padkao T                                 53
2.7 ขั้นเป็นห่วงชนรุ่นหลังกับคิดถึงแต่ตนเอง
  (Generativity & Stagnation) (25-45 ปี)
• เป็นวัยแห่งความเป็นพ่อแม่ที่แท้จริง
• อาจมีความรับผิดชอบแบบผู้ใหญ่หรือในบางรายก็เฉื่อยชา ขาด
  ความกระตือรือร้น ไม่ขยันหมั่นเพียร ขั้นนี้จะเป็นอย่างไร มักเป็น
  ผลสืบเนื่องมาจากขั้นต้นๆ ที่ผ่านมา
 (Ages) Stage &    Significant   Psychosocial   Psychosocial   Maladaptations
   Psychosocial     relations     modalities      virtues      & malignancies
      crisis
 (25-45)           Household,    to make be,       care        overextension
 Middle aged       co-workers    to take care                   rejectivity
 adult                                of
 Generativity vs
 self-absorption
                                   Padkao T                             54
2.7 ขั้นความรู้สึกมั่นคงทางใจกับท้อแท้สนหวัง
                                         ิ้
  (Integrity & Despair) (45 ปีขึ้นไป)

• เป็นระยะบั้นปลายของชีวิต
• วัยนี้ถ้าช่วงต้นๆ มีพัฒนาการมาดีจะเป็นผู้ใหญ่ที่สมบูรณ์ มีความ
  รับผิดชอบสูง กล้าเผชิญปัญหา ทาประโยชน์ต่อสังคม มองโลก
  ด้วยสายตาที่เป็นจริง มีวุฒิภาวะของความเป็นผู้ใหญ่
 (Ages) Stage &   Significant   Psychosocial   Psychosocial   Maladaptations
   Psychosocial    relations     modalities      virtues      & malignancies
      crisis
 (45+)            Mankind or       to be,        wisdom        presumption
 Old adult        "my kind"       through                        despair
 Integrity vs                   having been,
 despair                        to face not
                                    being
                                  Padkao T                             55
3. Piajet’s Cognitive Development
              Theory


              Jean Piaget (1896-1980)




               Padkao T             56
Principle
• พัฒนาการทางสติปัญญา ของมนุษย์เกิดจากทั้ง พันธุกรรมและ
  สิ่งแวดล้อม
• พัฒนาการทางสติปัญญาของมนุษย์เป็นลาดับขั้น 4 ขั้น
• แต่ละขั้นจะมีลักษณะของการเจริญเติบโตทางปัญญาเฉพาะ
• Jean Piaget ได้อธิบายการเกิดกระบวนการทางปัญญาของมนุษย์
  ว่าคือ การรู้คิดของมนุษย์อันเกิดจากการที่มนุษย์ที่รู้จักปรับตัวให้เข้า
  กับสภาพแวดล้อม โดยอาศัยกระบวนการ 2 อย่างในการเกิด
  กระบวนการทางปัญญาคือ
   1. การดูดซึมเข้าสู่โครงสร้างทางความคิด (Assimilation)
   2 . การปรับโครงสร้างของความคิด (Accommodation)


                                Padkao T                             57
Stages of Piajet’s Cognitive
   Development Theory
    1. ขั้นประสาทสัมผัสและการเคลื่อนไหว
          (Sensori-motor stage)
    2. ขั้นเตรียมสาหรับความคิดที่มีเหตุผล
          (Preoperational stage)
   3. ขั้นคิดอย่างมีเหตุผลและเป็นรูปธรรม
   (Concrete Operational stage)
4. ขั้นคิดอย่างมีเหตุผลและอย่างมีเป็นนามธรรม
  (Formal Operational stage)
3.1ขั้นประสาทสัมผัส และการเคลื่อนไหว
         (Sensori-motor period) (0-2 ปี)
• เด็กเริ่มเรียนรู้โดยอาศัยประสาทสัมผัสและการเคลื่อนไหวร่างกายเพื่อ
  ตอบสนองสิ่งแวดล้อม
   ∴เด็กใช้ประสาทสัมผัสกับสวล.มาก  พัฒนาการทางเชาวน์ปัญญามากด้วย
• ในขั้นนี้แบ่งย่อยออกเป็นอีก 6 ขั้น คือ
        - 0-2 เดือน (Reflex action)
        - 2-4 เดือน (Primary circular reaction)
        - 4-8 เดือน (Secondary circular reaction)
        - 9-12 เดือน (Coordination of secondary
                              schemata)
        - 12-18 เดือน (Tertiary circular reaction)
        - 18-24 เดือน (The intervention of new means
                               though mental combination)
0-4 เดือน
• Reflex action ทารกตอบสนองโดยอาศัยปฏิกิริยา
  สะท้อนไม่สามารถบังคับหรือใช้ความคิด เช่น การ
  ตอบสนองต่อเสียงดัง ทารกสะดุ้ง แสง ทารกกระพริบ
  ตา
• เด็กอาศัยปฏิกิริยาสะท้อนโดยไม่ตองมีการเรียนรู้
                                 ้
4-8 เดือน
• สนใจการเคลื่อนไหว โดยการมองและเคลื่อนตาตาม
• Primary circular reaction (วงกลมปฐมภูม) คือ ิ
  ทารกทาปฏิกิริยาเกี่ยวกับร่างกายตนเองซ้า ๆ กัน เช่น
  เอานิ้วใส่ปาก กาๆ แบๆ
8 -12 เดือน
• Secondary circular reaction (วงกลมทุติยภูมิ)
  คือ ทารกทาให้เหตุการณ์ภายนอกตนเกิดซ้าอีก เพื่อ
  ทดลองว่าจะเกิดผลอย่างไร เช่น นอนในเปล โมบายอยู่
  ข้างบนแตะ มีเสียงแตะซ้าอีก
1 ปี 4 เดือน
• Coordination of secondary reaction คือ
  พฤติกรรมที่การเกิดจากความตั้งใจและมีเป้าหมาย
  (intention มาก่อน action) โดยใช้พฤติกรรมใน
  อดีตมาช่วยในการแก้ปัญหา เช่น ผลักหมอนเพือหา
                                           ่
  ของเล่น จากเดิมทีผลักเหมือนเพียงแค่ดูหมอนล้ม
                   ่
• มีการเลียนแบบ (imitation) พฤติกรรมง่ายๆ จาก
  บุคคลรอบข้าง
1 ปี 8 เดือน

• แสดงพฤติกรรมลองผิดลองถูก (trial and error)
• Tertiary circular reaction (วงกลมตติยภูมิ) คือ
  เด็กแสดงปฏิกิริยาที่ซับซ้อนกว่าเดิมและเป็นพฤติกรรม
  หรือปฏิกิริยาใหม่ๆ เช่น มีการสารวจ และทดลองสิ่งใหม่
  ๆ เริ่มเข้าใจความเป็นเหตุเป็นผล อะไรเป็นสาเหตุ และ
  เป็นผล เช่น การชอบทิ้งของจากที่สง การปาของใบหน้า
                                     ู
  แม่
2 ปี
• Beginning of thought (เด็กจะเริ่มใช้สมอง
  ใน
  การคิดในการทดลองกับวัตถุเพื่อแก้ปัญหา)
• เริ่มเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างของสองสิ่ง เริ่มมี
  Insigth
• The invention of new means
  though mental combination คือ เด็ก
  เรียนรู้พฤติกรรมของผู้ใหญ่และสวล. รอบตัว ทาให้
  เด็กไม่ตองใช้เวลามากนักในการทดลองกับวัตถุเพื่อ
            ้
  แก้ปัญหา
3.2 ขั้นเตรียมสาหรับความคิดที่มีเหตุผล
   (Preoperational stage) (อายุ 2-7 ปี)
• “ปฏิบัติการ” (operation) ความสามารถในการจัดกระทา
  ต่อวัตถุและเข้าใจความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นนั้น เช่น การจัดวัตถุ
  ตามลาดับของขนาด
• เด็กเริ่มมีพฒนาการทางด้านภาษา
              ั
• เด็กยังไม่สามารถพิจารณาความสัมพันธ์
  ที่เชื่อมโยงกัน หรือให้เหตุผลต่อเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ อัน
  เนื่องจากอิทธิพลของ “centration”
• “centration” (การรับรู้แต่เฉพาะจุดเด่นของสิ่งเร้า โดยไม่
  สนใจรายละเอียดปลีกย่อย) คือ เด็กจะตั้งใจทีละอย่าง
ยกตัวอย่าง
• เด็กไม่สามารถพิจารณา 2 มิติได้พร้อม ๆ กัน ในด้านความสูง
  และความกว้างของแก้วในเวลาเดียวกัน
o ยึดตนเองเป็นศูนย์กลาง (ego centrism) ไม่เข้าใจถึงความคิด
  หรือความรู้สึกของผู้อื่น
o ยังไม่สามารถแก้ปัญหาการเรียงลาดับได้ (seriation) และยังไม่
  สามารถเข้าใจการคิดย้อนกลับไปมา (reversibility) ได้
o ยังไม่เข้าใจเรื่องเกี่ยวกับความคงสภาพปริมาณของสสาร
  (conservation) เนื่องจากเด็กในวัยนี้จะให้เหตุผลจากรูปร่าง
  (status) เท่านั้น ไม่ใช่การเปลี่ยนแปลงเป็นรูปอื่น
  (transformation)


          **ใช้สายตาตัดสินใจเท่านั้น**
                          Padkao T                         68
3.3ขั้นคิดอย่างมีเหตุผลและเป็นรูปธรรม
(Concrete Operational stage) (7-11 ปี)
• ใช้เหตุผลในการตัดสิ้นใจแก้ปัญหาต่างๆได้ดีขึ้น
• ลักษณะพัฒนาการทางเชาวน์ปัญญาของเด็กในวัยนี้ไว้ดังนี้
   – เด็กวัยนี้จะสามารถสร้างจินตนาการในความคิดของตนขึ้นมาได้ (mental
       representations)
   – เป็นวัยที่จะเริ่มเข้าใจเกี่ยวกับการคงสภาพปริมาณของสสาร
       (conservation)
   – เด็กวัยนี้เริ่มมีความสามารถในการคิดแบบเปรียบเทียบ (relational
       terms)
   – เด็กวัยนี้สามารถสร้างกฎเกณฑ์เพื่อจัดสิงรอบตัวให้เป็นหมวดหมู่ได้ (class
                                             ่
       inclusion)
   – เด็กวัยนี้จะมีความสามารถในการเรียงลาดับ (serialization and
       hierarchical arrangement)
   – เด็กวัยนี้จะสามารถคิดย้อนกลับไปมาได้ (reversibility)
ยกตัวอย่าง
เหรียญ 2 กอง สามารถนามาเข้าด้วยกันเป็นกองรวม และสามารถ
   แยกออกจากกันอีก แล้วสามารถนากลับมารวมกันในสภาพของ
                          จุดเริ่มต้นได้
                               หรือ
        เอาน้าในแก้วสูงไปเติมในแก้วเตี้ย น้าก็จะเท่ากัน
                     ไม่ว่าจะอยู่ในแก้วไหน
                               หรือ
        การรับรู้ภาพผลไม้ทนามาประกอบเป็นภาพคน
                            ี่
รูปภาพ
4.ขั้นคิดอย่างมีเหตุผลและเป็นนามธรรม
  (Formal Operational stage) (12 ปีขึ้นไป)
• เด็กมีความสามารถในการจินตนาการถึงปัญหาต่าง ๆ
  อย่างมีเหตุผลได้
• เด็กมีความสามารถในการเข้าใจปัญหาเกี่ยวกับ
  transitivity (ความสัมพันธ์ระหว่างของ 2 สิ่งจะส่งผลไป
  ถึงของอีกสิ่งหนึ่งซึ่งสัมพันธ์กับของสองสิ่งแรก ตัวอย่าง
  ปัญหา เช่น เมื่อ
                       A=B และ B = C แล้ว A=C หรือ
                       ถ้า A< B และ B<C แล้ว A<C
4. Kohlberg’s Moral Development
             Theory


           Lawrence Kohlberg (1927-1987)

             วิจัยพัฒนาการทางจริยธรรมตามแนว
                ทฤษฎีของเพียเจต์ แต่โคลเบิรก์ได้
              ปรับปรุงวิธีวิจัย การวิเคราะห์ผลรวม
             และได้วิจัยอย่างกว้างขวางในประเทศ
                   อื่นที่มีวัฒนธรรมต่างๆ กัน

               Padkao T                             73
Principle
• นิยามของจริยธรรมของโคลเบิร์ก
          “จริยธรรมเป็นความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับความถูกผิด และ
  เกิดขึ้นจากขบวนการทางความคิดอย่างมีเหตุผล ซึ่งต้องอาศัยวุฒิ
  ภาวะทางปัญญา”
• แนวคิด “พัฒนาการทางจริยธรรมเป็นผลจากการพัฒนาการของ
  โครงสร้างทางความคิดความเข้าใจเกี่ยวกับจริยธรรม”
• ส่วนมากการพัฒนาทางจริยธรรมของเด็กจะไม่ถึงขั้นสูงสุดในอายุ
  10 ปี แต่จะมีการพัฒนาขึ้นอีกหลายขั้นจากอายุ 11-25 ปี
• การใช้เหตุผลเพื่อการตัดสินใจที่จะเลือกกระทาอย่างใดอย่างหนึ่ง จะ
  แสดงให้เห็นถึงความเจริญของจิตใจของบุคคล
• การใช้เหตุผลเชิงจริยธรรม ไม่ได้ขึ้นอยู่กับกฎเกณฑ์ของสังคมใด
  สังคมหนึ่งโดยเฉพาะ แต่เป็นการใช้เหตุผลที่ลึกซึ้งยากแก่การเข้าใจ
  ยิ่งขึ้นตามลาดับของวุฒิภาวะทางปัญญา
                              Padkao T                          74
Principle
• โคห์ลเบิร์กเชื่อว่าพัฒนาการทางจริยธรรมของบุคคลจะ
  ดาเนินเป็นลาดับขั้น ตั้งแต่ขั้นที่ 1 ถึงขั้นที่ 6 โดยไม่มีการ
  ข้ามขั้น แต่




                               Padkao T                           75
Padkao T   76
ระดับที่ 1 ระดับก่อนเกณฑ์ทางสังคม (Pre-
  conventional Level) (แรกเกิด – 10 ปี)
• ระดับนีเด็กจะรับกฎเกณฑ์และข้อกาหนดของพฤติกรรมที่
         ้
  “ดี” “ไม่ดี” จากผู้มีอานาจเหนือตน เช่น บิดามารดา ครูหรือ
  เด็กโต และมักจะคิดถึงผลตามที่จะนารางวัลหรือการลงโทษ
       พฤติกรรม “ดี” คือ พฤติกรรมที่แสดงแล้วได้รางวัล
       พฤติกรรม “ไม่ด” คือ พฤติกรรมที่แสดงแล้วได้รับโทษ
                        ี
• โดยบุคคลจะตอบสนองต่อกฎเกณฑ์ซึ่งผู้มีอานาจทางกาย
  เหนือตนเองกาหนดขึ้น จะตัดสินใจเลือกแสดงพฤติกรรมที่
  เป็นหลักต่อตนเอง โดยไม่คานึงถึงผู้อื่น ระดับนี้เป็น 2 ขั้น
  คือ
                            Padkao T                       77
ขั้นที่ 1 ขั้นของการลงโทษและเชื่อฟัง
(punishment and obedience orientation) (0-7 ปี)

• เป็นขันที่เด็กจะใช้ผลของการแสดงพฤติกรรมเป็นเครื่อง
         ้
  ตัดสินว่าถูกหรือผิด
• เช่น ถ้าเด็กหยิบของคนอื่นมาโดยไม่บอกเจ้าของแล้วถูก
  ลงโทษ เด็กจะรู้ทันทีว่าเป็นการกระทาที่ผิด และจะไม่ทา
  เช่นนั้นอีกเพราะกลัวการถูกลงโทษ




                           Padkao T                      78
ขั้นที่ 2 ขั้นการแสวงหารางวัล
(naively egoistic orientation) (7-10 ปี)
• เป็นขันที่เด็กจะสนใจปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ ข้อบังคับต่างๆ
        ้
  หรือพฤติกรรมใดๆ ที่เมื่อทาไปแล้วได้รับรางวัลหรือคา
  ชมเชยเป็นสิงตอบแทนเท่านัน
                ่                 ้
• เด็กจะยังไม่คานึงถึงความยุติธรรม ความเห็นอกเห็นใจ หรือ
  การเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อผู้อื่น
                ดังนั้นพฤติกรรมของเด็กในขั้นนี้จงเป็นไปด้วย
                                                ึ
  ความพอใจในรางวัลที่ได้รับมากกว่าการกลัวการถูกลงโทษ
• พฤติกรรมของเด็กในขั้นนี้ทาเพื่อสนองความต้องการของ
  ตนเอง แต่มักจะเป็นการแลกเปลี่ยนกับคนอืน เช่น ประโยค
                                             ่
  “ถ้าเธอทาให้ฉน ฉันจะให้.......”
                   ั       Padkao T                       79
ระดับที่ 2 ระดับจริยธรรมตามกฎเกณฑ์ของสังคม
   (Conventional Level) (10-16 ปี)
• พฤติกรรมที่เป็นไปตามความหวังของสังคมทีตนเป็นสมาชิก
                                            ่
  อยู่ โดยไม่คานึงถึงรางวัลหรือการลงโทษ แต่ถอว่ามาตรฐาน
                                              ื
  ทางจริยธรรมทั้งหลายเป็นสิ่งทีคนในสังคมเดียวกันควรจะ
                                ่
  ปฏิบัติให้เป็นแนวทางเดียวกัน และปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ของ
  สังคมโดยคานึงถึงจิตใจของผู้อน   ื่




                         Padkao T                     80
ขั้นที่ 1 ขั้นทาตามเพื่อนและสิ่งที่สังคมยอมรับ สาหรับ “เด็กดี”
(interpersonal concordance of “goodbye-
nicegirl” orientation) (10-13 ปี)
  • โคลเบิร์ก อธิบายว่า พัฒนาการทางจริยธรรมขั้นนี้เป็น
    พฤติกรรมของ “คนดี” ตามมาตรฐานหรือความคาดหวัง
    ของบิดา มารดาหรือเพื่อนวัยเดียวกัน พฤติกรรม “ดี”
    หมายถึง พฤติกรรมที่จะทาให้ผู้อนชอบและยอมรับ หรือไม่
                                  ื่
    ประพฤติผิดเพราะเกรงว่าพ่อแม่จะเสียใจ
  • มักจะปฏิบัตตามความความคาดหวังของเพื่อนและเลียนแบบ
               ิ
    บุคคลที่ตนคิดว่าเป็นคนดี (goodboy - nicegirl)
  • เน้นการกระทาตามความคาดหวังมากกว่าการถูกลงโทษ/
    รางวัล
                                 Padkao T                        81
ขั้นที่ 2 ขั้นกฎและระเบียบ
(law and order orientation) (13-16 ปี)
 • โคลเบิร์ก อธิบายว่า เหตุผลทางจริยธรรมในขันนี้ ถือว่า
                                                   ้
   สังคมจะอยูด้วยความมีระเบียบเรียบร้อยต้องมีกฎหมายและ
              ่
   ข้อบังคับ คนดีหรือคนที่มีพฤติกรรมถูกต้องคือ คนที่ปฏิบัติ
   ตามระเบียบบังคับหรือกฎหมาย ทุกคนควรเคารพกฎหมาย
   เพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยและความเป็นระเบียบของ
   สังคม
 • ดังนั้น “คนดีหรือคนทีทาถูกต้อง” คือคนที่ปฏิบัติตามระเบียบ
                        ่
   กฎเกณฑ์ ข้อบังคับ กฎหมายของสังคม รวมทังปฏิบัติตาม
                                                 ้
   หน้าที่ของตนอย่างเคร่งครัดมากกว่าจะคานึงถึงรางวัลหรือ
   การลงโทษที่จะได้รับหรือเป็นเพราะทาตามผูอน้ ื่
                          Padkao T                       82
ระดับที่ 3 ระดับจริยธรรมเหนือกฎเกณฑ์ทางสังคม
 (Post-conventional Level) (20+ ปี)
• ผู้ทาหรือผู้แสดงพฤติกรรมได้พยายามที่จะตีความหมายของ
  หลักการและมาตรฐานทางจริยธรรมด้วยวิจารณญาณ การ
  ตัดสินใจ “ถูก” “ผิด” “ไม่ควร” มาจากวิจารณญาณของ
  ตนเอง ปราศจากอิทธิพลของผู้มอานาจหรือกลุ่มทีตนเป็น
                                ี             ่
  สมาชิก




                        Padkao T                    83
ขั้นที่ 1 ขั้นทาตามสัญญา
(social contract orientation) (16 ปีขึ้นไป)
 • โคลเบิร์ก อธิบายว่า ขั้นนี้เน้นถึงความสาคัญของมาตรฐาน
   ทางจริยธรรมที่ทุกคนหรือคนส่วนใหญ่ในสังคมยอมรับว่า
   เป็นสิ่งที่ถูกสมควรที่จะปฏิบัติตาม โดยพิจารณาถึง
   ประโยชน์และสิทธิของบุคคลก่อนที่จะใช้เป็นมาตรฐานทาง
   จริยธรรม ได้ใช้ความคิดและเหตุผลเปรียบเทียบว่าสิ่งไหน
   ผิดและสิ่งไหนถูก
 • “ถูก” และ “ผิด” ขึ้นอยู่กับค่านิยมและความคิดเห็นของ
   บุคคลแต่ละบุคคล แม้วาจะเห็นความสาคัญของสัญญาหรือ
                            ่
   ข้อตกลงระหว่างบุคคล แต่เปิดให้มีการแก้ไข โดยคานึงถึง
   ประโยชน์และสถานการณ์แวดล้อมในขณะนัน       ้
                         Padkao T                    84
ขั้นที่ 2 ขั้นอุดมคติสากล (universal ethical principle
orientation) (ตั้งแต่วัยผู้ใหญ่เป็นต้นไป)
  • โคลเบิร์ก อธิบายว่า ขั้นนี้เป็นหลักการมาตรฐานจริยธรรม
    สากล เป็นหลักการเพื่อมนุษยธรรม เพื่อความเสมอภาคใน
    สิทธิมนุษยชนและเพื่อความยุติธรรมของมนุษย์ทุกคน
  • “ถูก” และ “ผิด” เป็นสิ่งที่ขึ้นมโนธรรมของแต่ละบุคคลที่
    เลือกยึดถือ

         โดยทั่วไปพบว่าบุคคลทั้งหลายจะพัฒนาทางจริยธรรม
    ได้เพียงขั้นกฎและระเบียบ (ระดับที่ 2 ขั้นที่ 2) เท่านัน
                                                          ้

                           Padkao T                      85
เจ้าชู้
           โรคจิต

           ตอแหล

           มึงๆ งงๆ
Padkao T              86
ตารางเปรียบเทียบทฤษฎีพัฒนาการทั้ง 4 ทฤษฎี
                                     ประยุทธ ไทยธานี




                   Padkao T                    87
กิจกรรม

• แบ่งกลุ่มทั้งหมด 20 กลุ่ม (กลุ่มละ 6-7 คน)
  • แสดงบทบาทสมมติในแต่ละขั้นของแต่ละ
                ทฤษฎีพฒนาการ
                      ั




                    Padkao T               88

More Related Content

What's hot

เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560daykrm
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6โครงสร้างสาระวิทย์ป.6
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6supphawan
 
เด็กที่มีความต้องการพิเศษ (Children with special needs )
เด็กที่มีความต้องการพิเศษ (Children with special needs )เด็กที่มีความต้องการพิเศษ (Children with special needs )
เด็กที่มีความต้องการพิเศษ (Children with special needs )Pitchayakarn Nitisahakul
 
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Nan Natni
 
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติAomiko Wipaporn
 
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010 เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010 kanidta vatanyoo
 
การนำ Dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
การนำ Dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้การนำ Dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
การนำ Dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้jamrat
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3ทศพล พรหมภักดี
 
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)Dr.Woravith Chansuvarn
 
Powerpointองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
Powerpointองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์Powerpointองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
Powerpointองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์Nitiwat First
 
การวัดความสามารถในการคิด
การวัดความสามารถในการคิดการวัดความสามารถในการคิด
การวัดความสามารถในการคิดWuttipong Tubkrathok
 
ประวัติความเป็นมาของกีตาร์
ประวัติความเป็นมาของกีตาร์ประวัติความเป็นมาของกีตาร์
ประวัติความเป็นมาของกีตาร์kruood
 
ใบงานที่ 8 การสร้างแผนภูมิ
ใบงานที่ 8 การสร้างแผนภูมิใบงานที่ 8 การสร้างแผนภูมิ
ใบงานที่ 8 การสร้างแผนภูมิMeaw Sukee
 
01การจำแนกสารรอบตัว
01การจำแนกสารรอบตัว01การจำแนกสารรอบตัว
01การจำแนกสารรอบตัวdnavaroj
 
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน ม.ต้น
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน  ม.ต้นเฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน  ม.ต้น
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน ม.ต้นpeter dontoom
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556dnavaroj
 
การประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติการประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติNU
 

What's hot (20)

เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
 
Ast.c2560.5t
Ast.c2560.5tAst.c2560.5t
Ast.c2560.5t
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6โครงสร้างสาระวิทย์ป.6
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6
 
เด็กที่มีความต้องการพิเศษ (Children with special needs )
เด็กที่มีความต้องการพิเศษ (Children with special needs )เด็กที่มีความต้องการพิเศษ (Children with special needs )
เด็กที่มีความต้องการพิเศษ (Children with special needs )
 
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
 
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
 
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010 เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
 
การนำ Dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
การนำ Dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้การนำ Dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
การนำ Dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
 
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
 
Powerpointองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
Powerpointองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์Powerpointองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
Powerpointองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
การวัดความสามารถในการคิด
การวัดความสามารถในการคิดการวัดความสามารถในการคิด
การวัดความสามารถในการคิด
 
คางทูม
คางทูมคางทูม
คางทูม
 
ประวัติความเป็นมาของกีตาร์
ประวัติความเป็นมาของกีตาร์ประวัติความเป็นมาของกีตาร์
ประวัติความเป็นมาของกีตาร์
 
ใบงานที่ 8 การสร้างแผนภูมิ
ใบงานที่ 8 การสร้างแผนภูมิใบงานที่ 8 การสร้างแผนภูมิ
ใบงานที่ 8 การสร้างแผนภูมิ
 
01การจำแนกสารรอบตัว
01การจำแนกสารรอบตัว01การจำแนกสารรอบตัว
01การจำแนกสารรอบตัว
 
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน ม.ต้น
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน  ม.ต้นเฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน  ม.ต้น
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน ม.ต้น
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
การประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติการประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติ
 

Similar to Psychological Development in Pediatrics _ Padkao T

Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1New Born
 
152010010020
152010010020152010010020
152010010020Aaesah
 
บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55
บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55
บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55Decode Ac
 
พัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์พัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์khuwawa2513
 
1281507500 sex 3
1281507500 sex 31281507500 sex 3
1281507500 sex 3Nok Tiwung
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1supap6259
 
โหงวเฮ้งกับงาน HR
โหงวเฮ้งกับงาน HRโหงวเฮ้งกับงาน HR
โหงวเฮ้งกับงาน HRAek Samroeng
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1Sareenakache
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1maina052
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1sitipatimoh050
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1azmah055
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1ai-sohyanya
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1oppalove
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1Sareenakache
 

Similar to Psychological Development in Pediatrics _ Padkao T (20)

1051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 1
1051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 11051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 1
1051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 1
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1
 
152010010020
152010010020152010010020
152010010020
 
บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55
บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55
บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55
 
Innov tu 620817_n
Innov tu 620817_nInnov tu 620817_n
Innov tu 620817_n
 
พัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์พัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์
 
1281507500 sex 3
1281507500 sex 31281507500 sex 3
1281507500 sex 3
 
3
33
3
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
 
โหงวเฮ้งกับงาน HR
โหงวเฮ้งกับงาน HRโหงวเฮ้งกับงาน HR
โหงวเฮ้งกับงาน HR
 
4
44
4
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 

More from School of Allied Health Science of NPU (11)

Pulmonary diseases (payao uni)
Pulmonary diseases (payao uni)Pulmonary diseases (payao uni)
Pulmonary diseases (payao uni)
 
Pulmonay Surgery_Padkao T
Pulmonay Surgery_Padkao TPulmonay Surgery_Padkao T
Pulmonay Surgery_Padkao T
 
Cardiac surgeries_Padkao T
Cardiac surgeries_Padkao TCardiac surgeries_Padkao T
Cardiac surgeries_Padkao T
 
Pulmonary function test
Pulmonary function testPulmonary function test
Pulmonary function test
 
Cxr example and test 2010
Cxr example and test 2010Cxr example and test 2010
Cxr example and test 2010
 
Cxr for pt 2010
Cxr for pt 2010Cxr for pt 2010
Cxr for pt 2010
 
Endurance exercise_Padkao T
Endurance exercise_Padkao TEndurance exercise_Padkao T
Endurance exercise_Padkao T
 
Exercise Stress Testing_Padkao T
Exercise Stress Testing_Padkao TExercise Stress Testing_Padkao T
Exercise Stress Testing_Padkao T
 
Primary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao TPrimary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao T
 
Physical Therapy in Community_Padkao T
Physical Therapy in Community_Padkao TPhysical Therapy in Community_Padkao T
Physical Therapy in Community_Padkao T
 
Physical Therapy in Community_Padkao T
Physical Therapy in Community_Padkao TPhysical Therapy in Community_Padkao T
Physical Therapy in Community_Padkao T
 

Psychological Development in Pediatrics _ Padkao T

  • 1. จิตวิทยาพัฒนาการเด็ก (Psychological Development in Pediatrics) Tadsawiya Padkao, PT, M.Sc. School of Allied Health Sciences Naresuan University (Phayao Campus) Padkao T 1
  • 2. วัตถุประสงค์การเรียนรู้ • สามารถอธิบายความหมายและประเภทของพัฒนาการทาง จิตวิทยาได้ • สามารถอธิบายความสัมพันธ์ของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ พัฒนาการของบุคคลได้ • สามารถอธิบายลักษณะเฉพาะของพัฒนาการและทฤษฎีที่ สาคัญได้ • สามารถอธิบายลาดับพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาในช่วงอายุต่างๆ ได้ Padkao T 2
  • 4. Clinical Psychology Padkao T 4
  • 5. Clinical Psychology Kline (ภาษากรีก แปลว่า เตียงที่มคน ี Clinic นอน) General psychology Applied Psychology Clinical Psychology Padkao T 5
  • 6. Clinical Psychology • “ Clinical Psychology ” หมายถึง จิตวิทยาที่นามาใช้ กับบุคคลทีมีปัญหาเกี่ยวกับพฤติกรรม เพื่อการวิเคราะห์โรค ่ และรักษา หรือความหมายกว้าง หมายถึง วิชาที่ว่าด้วยการ ช่วยเหลือบุคคลทีมีสุขภาพจิตผิดปกติ ให้คืนสู่สภาพจิตใจที่ ่ สมบูรณ์และปรับตัวเข้ากับสังคมด้วยความสุข Padkao T 6
  • 7. Development Padkao T 7
  • 8. ความหมายของพัฒนาการ (Development) ความหมายโดยทั่วไป หมายถึง ความเจริญงอกงามและการเปลียนแปลงไป ่ ในทางที่ดีขึ้น ความหมายทางจิตวิทยา หมายถึง การเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ เช่น ร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาของบุคคลอย่างมีขนตอน ั้ และเป็นระเบียบแบบแผน นับตั้งแต่เริ่มปฏิสนธิจนกระทั่งเสียชีวิต โดยมากจะเป็นการเปลี่ยนแปลงในเชิงคุณภาพ เพื่อให้บุคคลนั้น พร้อมจะแสดงความสามารถในการกระทากิจกรรมใหม่ๆ ที่ เหมาะสมกับวัย Padkao T เติมศักดิ์ คทวณิช, 2546 8
  • 9. ระดับของพัฒนาการ • พัฒนาการทางอวัยวะ (Physiological Development) • พัฒนาการของมนุษย์ (Human Development) Padkao T 9
  • 10. ประเภทของพัฒนาการของมนุษย์ • ด้านร่างกาย (Physical or Motor Development) • ด้านสติปัญญา (Cognitive Development) • ด้านจิตใจ-อารมณ์ (Emotional Development) • ด้านสังคม (Social Development) • ด้านจิตวิญญาณ (Spiritual Development) Padkao T 10
  • 11. Physical or Motor Development ความสามารถของร่างกายในการทรงตัวใน อิริยาบถต่างๆ และการเคลื่อนไหวโดยมาใช้ กล้ามเนื้อมัดใหญ่ การใช้สัมผัสรับรู้และการใช้ตา และมือประสานกันในการทากิจกรรมต่างๆ Padkao T 11
  • 12. Cognitive Development ความสามารถในการเรียนรู้ความสัมพันธ์ ระหว่างสิ่งต่างๆ กับตนเอง การรู้คิด รู้เหตุผลและ ความสามารถในการแก้ปัญหา Padkao T 12
  • 13. Emotional Development ความสามารถในด้านการแสดงความรู้สึก ความสามารถในการแยกแยะความลึกซึ้งและ ควบคุมการแสดงออกทางอารมณ์อย่างเหมาะสม เมื่อเผชิญกับสถานการณ์ต่างๆ ตลอดจนการ สร้างความความรู้สึกที่ดีและนับถือตนเอง Padkao T 13
  • 14. Social Development ความสามารถในการสร้างสัมพันธภาพกับ ผู้อื่น มีทักษะการปรับตัวในสังคม สามารถทา หน้าที่ตามบทบาทของตน ร่วมมือกับผู้อื่น มีความ รับผิดชอบและเป็นตัวของตัวเอง Padkao T 14
  • 15. Spiritual Development ความสามารถในด้านการรู้คุณค่าของชีวิตของ ตนเอง ความมีศรัทธาและคุณธรรม ความสามารถแยกแยะความผิดชอบชั่วดีและสร้าง สานึกของความเป็นมนุษย์ ควบคุมจิตใจ ความคิด และพฤติกรรมของตนเองให้เป็นไปในทาง สร้างสรรค์ต่อตนเอง ส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม Padkao T 15
  • 16. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพัฒนาการของบุคคล มี 3 ประการ ดังต่อไป • การเจริญเติบโต (Growth) • วุฒิภาวะ (Maturation) • การเรียนรู้ (Learning) Padkao T 16
  • 17. Growth การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างต่างๆของร่างกายที่เกี่ยวกับขนาด น้าหนัก สัดส่วน ส่วนสูง กระดูก กล้ามเนื้อ รูปร่าง ซึ่งเป็นการ เปลี่ยนแปลงเชิงปริมาณ เช่น เด็กจากส่วนสูง 150 cm ต่อไปจะสูง 151  152  153 cm ตามลาดับ เป็นพื้นฐานที่สาคัญก่อนที่จะเกิดพัฒนาการด้านอื่น ๆ Padkao T 17
  • 18. Maturation หมายถึง การเจริญเติบโตของอวัยวะต่างๆ ในร่างกาย ซึ่งเกิด ขึ้นกับบุคคลตามลาดับขั้นและเป็นไปตามธรรมชาติจนถึงสูงสุด มี ผลทาให้บุคคลนั้นเกิดความพร้อมทีจะกระทากิจกรรมต่างๆ ได้ ่ เหมาะสมกับวัย • เกิดขึ้นตามธรรมชาติ • ไม่สามารถคาดกาลได้ล่วงหน้า • เป็นปัจจัยทีมีความสาคัญที่สุดที่ ่ จะทาให้เกิดพัฒนาการด้านต่างๆ** Padkao T 18
  • 19. Learning • การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอย่างค่อนข้างถาวร โดยอาศัย การฝึกฝน ฝึกหัด หรือประสบการณ์เดิมที่มีอยู่ ยิ่งมีการ ฝึกหัดมากเท่าไร การแสดงพฤติกรรมเหล่านั้นก็จะเกิดความ เชี่ยวชาญมากขึ้นเท่านัน ้ เป็นปัจจัยที่ทาให้พัฒนาการ สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น Padkao T 19
  • 20. แผนผังแสดงกระบวนการเกิดพัฒนาการของบุคคล การ *วุฒิภาวะ พัฒนาการ การเรียนรู้ เจริญเติบโต Arnold Gesell (นักจิตวิทยาพัฒนาการ) “ การฝึกฝนและฝึกหัดใดๆ ก็ ตามจะเสียเวลาเปล่าถ้าร่างกายของบุคคลนั้นยังไม่เกิดวุฒิภาวะหรือความ พร้อมขึ้น ” 20 Padkao T
  • 21. ยกตัวอย่างพัฒนาการ แล้ววิเคราะห์ว่า ปัจจัย ด้าน Growth, Maturation, Learning ของพัฒนาการนั้นๆ คืออะไรบ้าง ? Padkao T 21
  • 23. • Cephalocaudau Law – • อาศัยเวลาและความต่อเนื่อง • มีแบบแผนเฉพาะและตามลาดับ แนวดิ่ง ยึดศีรษะเป็นหลัก (ควบคุม เสมอ ไม่ข้ามขั้นเด็ดขาด • เริ่มตั้งแต่วัยทารก เด็ก ศีรษะคอขานิ้วเท้า) วัยรุ่น สูงสุดวัยผู้ใหญ่ตอนต้น • ช้า/เร็วต่างกันในแต่ละบุคคล • Proximodistal Law – แนว ขวาง ยึดลาตัวเป็นหลัก (ควบคุม  เริ่มเสื่อม • เช่น Development ลาตัวไหล่แขนนิ้วมือ) • เช่น การพูด การเดิน milestone ลักษณะ ทิศทาง ต่อเนื่องกัน ลาดับขั้น Arnold Gesell • Jean Piaget: “เราไม่มีทางแยก วุฒิภาวะกับการเรียนรู้ออกจากกันได้ • Maturation เกิดตาม ธรรมชาติ ไม่สามารถคาดการณ์ โดยเด็ดขาด” ได้ • Maturation = ขั้นต้นของสชว. ในการจัดระบบเพื่อหาประสบการณ์ • เช่น การพูด การเดิน • Learning = เพิ่มความชานาญ ให้กับประสงการณ์นั้นๆ ต้องอาศัย Maturation & อัตราเวลา Learning แตกต่างกัน Padkao T 23
  • 24. Theories of Development Padkao T 29
  • 25. Theories of Development เกิดจากการสังเกตพฤติกรรมมนุษย์ที่แตกต่าง กันไปในแต่ละคน แต่ละวัย จึงมีการคิดค้น ทฤษฎีต่างๆ เพื่ออธิบายสิ่งเหล่านี้ Padkao T 30
  • 26. Theories of Development • ประกอบด้วย 1. Psychoanalysis Theory or Freud’s Psychosexual and Personality Development Theory 2. Psychosocial Theory or Erikson’s Psychosocial Theory 3. Cognitive Development Theory or Piajet’s Cognitive Development Theory 4. Moral Development Theory or Kohlberg’s Moral Development Theory Padkao T 31
  • 27. 1. Freud’s Psychosexual and Personality Development Theory Simund Freud (1856-1936) นักจิตวิทยาผูนาของกลุ่มจิตวิเคราะห์ ้ (Psychoanalysis Theory) Padkao T 32
  • 28. Principle • Focus: the effects of the sexual pleasure drive on a person's emerging personality • แนวคิด : “พัฒนาการความต้องการทางเพศและบุคลิกภาพของ บุคคลต้องอาศัยการพัฒนาที่ต่อเนื่องอย่างเป็นลาดับขั้นจนกลายเป็น บุคลิกที่ถาวรในที่สุด” • ระยะวิกฤติ (crisis period) (แรกเกิด – 5 ปี) เป็นช่วงเวลาที่มี ความสาคัญต่อการสร้างบุคลิกภาพอย่างมาก - เด็กทุกแสวงหา Pleasure Principle โดยอาศัย Erogenous Zone ที่เปลี่ยนแปลงตามอายุ - ตอบสนองเพียงพอหรือไม่  Personality Padkao T 33
  • 29. Principle (cont.) • Do not receive an appropriate amount of gratification - receiving either too little or too much - may become fixated in a particular stage. Padkao T 34
  • 30. Stage of Psychosexual and Personality Development Theory 1. Oral stage ; 0-1 yr-old 2. Anal stage ; 2-3 yr-old 3. Phallic stage ; 3-6 yr-old 4. Latency stage ; 7-11 yr-old 5. Genital stage ; 12-19 yr-old Padkao T 35
  • 31. 1.1 Oral Period (ระยะปาก) • 0-1 yr • Erogenous zone = the mouth • Found: - 0-6 month: Sucking period // ID , Omnipotent - 6-12 month: Biting period // begin present EGO - 1 yr : EGOsense developing Padkao T 36
  • 32. Achievement (Oral Period) Appropriate • Normal personality Oral Fixation or Oral Frustration  Oral Personality • เช่น ต้องร้องไห้อยู่นานกว่าจะได้ดูดนม, หย่านมเร็ว ฯ • เมื่อเป็นวัยรุ่นหรือผู้ใหญ่ จะพูดมาก ชอบนินทาว่าร้าย ผู้อื่น รับประทานจุกจิก ดูดนิ้ว อมปากกา ติดบุหรี่ Too Little Oral sex • Self love or narcissistic • Introvent tendency or sociopath or paranoid • เช่น มารดาเลี้ยงดูแบบตามใจเกินไป โดยให้กินนมตลอด Too Much • เมื่อเป็นวัยรุ่นหรือผู้ใหญ่ จะเอาแต่ใจตนเอง Padkao T 37
  • 33. 1.2 Anal Period (ระยะทวาร) • 2-3 yr • Erogenous zone = the anus • Found: (like to eliminate faeces) - Sense of belonging & Possessive need - Smearing activity Padkao T 38
  • 34. Achievement (Anal Period) • เช่น ได้รับการฝึกหัดเพื่อขับถ่ายอย่างค่อยเป็นค่อยไป เหมาะสม Appropriate • Normal personality Anal Fixation or Anal Frustration  Anal Personality • เช่น ถูกปล่อยปะละเลย ไม่เคยถูกเตือน/อมรม Too Little เรื่องขับถ่าย • เมื่อเป็นวัยรุ่นหรือผู้ใหญ่ จะสกปรก โสมม หน้า ใหญ่ใจใหญ่ • เช่น ถูกบังคับ-ข่มขู่-ลงโทษ เพื่อให้ขับถ่ายเป็น เวลา/เป็นที่ • เมื่อเป็นวัยรุ่นหรือผู้ใหญ่ จะชอบสะสมของ Too Much ตระหนี่ หวงของ ชอบนั่งติดอยู่กับที่ใดที่หนึ่ง เป็นระยะเวลานานๆ เจ้าระเบียบ ย้าคิดย้าทา เรื่องความสะอาด Padkao T 39
  • 35. 1.3 Phallic Period (ระยะอวัยวะเพศ) • 3-6 yr • Erogenous zone = the genitals • Children take an increasing interest in their own genitals and show a curiosity about other people's bodies. (Differ in adult) • Found: “Complex” & “Resolution of the Complex” Ordipus Complex // Castration anxiety (กลัวการถูกตอน  กลัวการผ่าตัด/ความตาย) Electra Complex // Penis envy (อิจฉาอวัยวะเพศชาย) - Padkao T 40
  • 36. Achievement (Anal Period) Appropriate • Normal personality Phallic Fixation or Phallic Frustration  Phallic Personality Too Little • - • เช่น ถูกมองว่าเป็นเรื่องผิดปกติ มีการ Too Much ลงโทษ ดุว่า ตาหนิ ข่มขู่ • เมื่อเป็นวัยรุนหรือผู้ใหญ่ จะทาให้เกิด ่ การแปรปรวนทางเพศ Padkao T 41
  • 37. 1.4 Latency Period (ระยะสงบ) • 7-11 yr • Erogenous zone = Inactive • This is partly due to the repression of sexual drives. Freud suggests that these repressed drives may be redirected into other activities, such as the formation of friendships, or hobbies. Padkao T 42
  • 38. 1.5 Genital Period (ระยะสนใจเพศตรงข้าม) • 12-19 yr • Erogenous zone = Inactive • Drive energy is focused on the genitals once more, but this time with an adult expression of sexuality. • Freud emphasized the importance of secondary process thinking as a form of symbolic gratification in this stage. Thus, forming loving relationships or assuming the responsibilities of adult life may all be seen as symbolic ways of satisfying the drive energy of this stage. • Achievement: If too much, the individual cannot reach maturity/heterosexual, cannot shift the focus from their own body, their own parents and their immediate needs to larger responsibilities involving others. Padkao T 43
  • 39. 2. Erikson’s Psychosocial Theory Erik H. Erikson (1902 - 1994 ) ลูกศิษย์ของฟรอยด์ จึงถือเป็น Contemporary prychoanalytic theorist Padkao T 44
  • 40. Principle • คล้ายทบ.ของฟรอยด์ แต่อีริคสันได้ให้ความสาคัญกับปัจจัย ทางสังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมทางจิตใจมากกว่าการ ตอบสนองทางร่างกาย และเชื่อว่าพัฒนาการของบุคคลจะ เกิดขึ้นอยูตลอดเวลาตั้งแต่เกิดจนกระทั่งเสียชีวิต ่ Padkao T 45
  • 41. Stages of Psychosocial Development Theory 1. Hope: Trust vs. Mistrust (Infants, 0 to 1 year) 2. Will: Autonomy vs. Shame & Doubt (Toddlers, 1 to 3 years) 3. Purpose: Initiative vs. Guilt (Preschool, 4 to 6 years) 4. Competence: Industry vs. Inferiority (Childhood, 7 to 12 years) 5. Fidelity: Identity vs. Role Confusion (Adolescents, 13 to 19 years) 6. Love: Intimacy vs. Isolation (Young Adults, 20 to 34 years) 7. Care: Generativity vs. Stagnation (Middle Adulthood, 35 to 65 years) 8. Wisdom: Ego Integrity vs. Despair (Seniors, 65 years onwards) Padkao T 46
  • 42. 2.1 ขั้นของความไว้วางใจกับไม่ไว้วางใจ (Trust & Mistrust) (0-1 ปี) เป็นช่วงพัฒนาการเกี่ยวกับความรู้สึกไว้ใจและไม่ไว้ใจ ระยะนี้ถ้า ต้องการได้รับการตอบสนอง ด้วยดี ได้รับความอบอุน ความสนใจ ่ จากผู้ใหญ่ เขาจะมองสิงแวดล้อมในแง่ดี ไว้วางใจผู้อื่นซึ่งจะติดไป ่ จนเป็นผู้ใหญ่ แต่ถ้าอยูในสิ่งแวดล้อมแบบตรงกันข้าม เมื่อเป็น ่ ผู้ใหญ่มักมองคนในแง่ร้าย ไม่ไว้วางใจใคร ซึ่งลักษณะเหล่านี้ส่งผล มาก ต่อการทางานและการปรับตัวในสังคมการทางาน (Ages) Stage Significant Psychosocial Psychosocial Maladaptations & Psychosocial relations modalities virtues & malignancies crisis (0-1) Mother to get, hope, sensory Infant to give in faith distortion & return withdrawal Trust vs mistrust Padkao T 47
  • 43. 2.2 ขั้นของความเป็นตัวของตัวเองกับความไม่มั่นใจในตัวเอง (Autonomy & Doubt) (1-3 ปี) เป็นพัฒนาการด้านความเป็นอิสระ เป็นตัวของตัวเองหากถูกเลี้ยงโดย ผู้ใหญ่ผ่อนปรน ให้เขาช่วยตัวเองเรื่องกิน แต่งตัว ทาอะไรนิดๆ หน่อยๆ เขาจะรู้สึกมั่นใจในตนเอง แต่ถ้าถูกบังคับให้อยู่ในเกณฑ์มากเกินไป เคร่ง ระเบียบมากไป โดนดุว่าบ่อยๆ เขาอาจท้อแท้ มองตนเองว่าไม่มี ความสามารถ ไม่มั่นใจในตนเอง ที่สุดเมื่อเป็นผู้ใหญ่ก็ มักขาดความเชื่อมั่น ไม่กล้าตัดสินใจ ไม่สู้ชีวิต ขาดความพยายาม ซึ่งเป็นอุปสรรคต่องาน (Ages) Stage Significant Psychosocial Psychosocial Maladaptation & Psychosocial relations modalities virtues s & crisis malignancies (1-3) Parents to hold on, will, impulsivity Toddler to let go determination compulsion Autonomy vs shame and doubt Padkao T 48
  • 44. 2.3 ขั้นความคิดริเริ่มกับความรู้สึกผิด (Initiative & Guilt) (3-6 ปี) • วัยนี้สามารถสร้างจินตนาการของตนขึ้นมาได้และมักจะมี ความคิดริเริ่มเป็นของตนเอง ดังนั้นเด็กในช่วงวัยนี้จึงมักเล่นของ เล่นเพื่อทดแทนจินตนาการ • เด็กต้องการความเป็นอิสระ ดังนั้นหากส่งเสริมและให้เด็กได้ทา กิจกรรมต่างๆ และยอมรับผลงานของเด็ก พร้อมทั้งให้กาลังใจ จึงจะทาให้เด็กกล้าแสดงความริเริ่มใหม่และพร้อมจะแสดงออกมา ได้ตลอดเวลา • แต่ ถ้าเด็กถูกขัดขวางหรือถูกตอกย้าในความผิดพลาดที่ได้กระทา ไป เด็กจะเกิดความรู้สึกผิดและไม่กล้าที่จะคิดสร้างสรรค์อะไร ใหม่ๆ ด้วยตนเอง Padkao T 49
  • 45. (Ages) Stage Significant Psychosocial Psychosocial Maladaptation & Psychosocial relations modalities virtues s & crisis malignancies (3-6) Family to go after, purpose, ruthlessness Preschooler to play courage inhibition Initiative vs guilt Padkao T 50
  • 46. 2.4 ขั้นความขยันหมั่นเพียรกับรู้สึกมีปมด้อย (Industry & Inferiority) (6-12 ปี) วัยนี้ ถ้าทาอะไรได้รับผลดี ได้รับกาลังใจและคอยชี้แนะ จะภาคภูมิใจ ในผลงานจากความพยายามของตน แต่ถ้าผิดหวังจะเกิดความรู้สึกด้อย นานๆเข้าเป็นปมด้อย อาจมองตนเอง ต่ากว่าความเป็นจริง ส่งผลสู่การ ขาดความเชื่อมั่นในวัยผู้ใหญ่ ถ้าเป็นนักธุรกิจ พ่อค้า ก็มกเป็นประเภทไม่ ั กล้าตัดสินใจนัก ผิดกับผู้ทเติบโตมาพร้อมกับความรู้สกที่ดีเกี่ยวกับตนเอง ี่ ึ ถ้าเป็นนักธุรกิจก็มกมีความเชื่อมั่นสูง กล้าได้กล้าเสีย ั (Ages) Stage Significant Psychosocial Psychosocial Maladaptation & Psychosocial relations modalities virtues s & crisis malignancies (6-12) Neighborhoo to complete, competence narrow School-age d and school to make virtuosity child things inertia Industry vs together inferiority Padkao T 51
  • 47. 2.5 ขั้นรู้จักตนเองกับไม่รจักตนเอง ู้ (Ego Identity & Role Confusion) (12-18 ปี) • เป็นระยะของความขัดแย้งทางสังคมและจิตใจของบุคคลขั้นที่วิกฤตมาก ที่สุด (รอยต่อ เด็ก  ผู้ใหญ่) • สนใจตนเองมากเป็นพิเศษถ้าอยู่ในสิ่งแวดล้อมไม่เหมาะสม บางคนว้าวุ่น ไม่ แน่ใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง มีพฤติกรรมเป็นปัญหา แต่ถ้าพัฒนาการใน ขั้นที่แล้วๆ มาดี ถึงวัยนี้มักมองตนเอง ด้วยความเป็นจริง รู้บทบาทหน้าที่ ตนเองดี มีความรับผิดชอบต่อเนื่องไปถึงวัยผู้ใหญ่ (Ages) Stage Significant Psychosocial Psychosocial Maladaptation & Psychosocial relations modalities virtues s & crisis malignancies (12-18) Peer groups, to be fidelity, fanaticism Adolescent role models oneself, loyalty repudiation Ego-identity to share vs role- oneself confusion Padkao T 52
  • 48. 2.6 ขั้นรู้สึกว่าตนมีเพื่อนที่อยู่ใกล้ชิดผูกพันกับความรู้สึกว้าเหว่อ้างว้าง (Intimacy & Isolation) (18-25 ปี) พัฒนาการวัยนี้มักขึ้นกับวัยต้นๆ ถ้าวัยต้นมองสิ่งแวดล้อมในแง่ดี วัยนี้จะ ปรับตัวเข้ากับเพื่อนได้ดี เข้ากับเพศตรงข้ามได้ดี เป็นมิตร แต่ถ้าตรงข้ามก็ มักจะแยกตัวจากเพื่อนจากสังคม ปรับตนไม่เหมาะสม อาจมีพฤติกรรมเป็น ปัญหาในวัยผู้ใหญ่ narcissism (Ages) Stage Significant Psychosocial Psychosocial Maladaptation & Psychosocial relations modalities virtues s & crisis malignancies (18-25) Partners, to lose and love promiscuity Young adult friends find oneself exclusivity Intimacy vs in a isolation another Padkao T 53
  • 49. 2.7 ขั้นเป็นห่วงชนรุ่นหลังกับคิดถึงแต่ตนเอง (Generativity & Stagnation) (25-45 ปี) • เป็นวัยแห่งความเป็นพ่อแม่ที่แท้จริง • อาจมีความรับผิดชอบแบบผู้ใหญ่หรือในบางรายก็เฉื่อยชา ขาด ความกระตือรือร้น ไม่ขยันหมั่นเพียร ขั้นนี้จะเป็นอย่างไร มักเป็น ผลสืบเนื่องมาจากขั้นต้นๆ ที่ผ่านมา (Ages) Stage & Significant Psychosocial Psychosocial Maladaptations Psychosocial relations modalities virtues & malignancies crisis (25-45) Household, to make be, care overextension Middle aged co-workers to take care rejectivity adult of Generativity vs self-absorption Padkao T 54
  • 50. 2.7 ขั้นความรู้สึกมั่นคงทางใจกับท้อแท้สนหวัง ิ้ (Integrity & Despair) (45 ปีขึ้นไป) • เป็นระยะบั้นปลายของชีวิต • วัยนี้ถ้าช่วงต้นๆ มีพัฒนาการมาดีจะเป็นผู้ใหญ่ที่สมบูรณ์ มีความ รับผิดชอบสูง กล้าเผชิญปัญหา ทาประโยชน์ต่อสังคม มองโลก ด้วยสายตาที่เป็นจริง มีวุฒิภาวะของความเป็นผู้ใหญ่ (Ages) Stage & Significant Psychosocial Psychosocial Maladaptations Psychosocial relations modalities virtues & malignancies crisis (45+) Mankind or to be, wisdom presumption Old adult "my kind" through despair Integrity vs having been, despair to face not being Padkao T 55
  • 51. 3. Piajet’s Cognitive Development Theory Jean Piaget (1896-1980) Padkao T 56
  • 52. Principle • พัฒนาการทางสติปัญญา ของมนุษย์เกิดจากทั้ง พันธุกรรมและ สิ่งแวดล้อม • พัฒนาการทางสติปัญญาของมนุษย์เป็นลาดับขั้น 4 ขั้น • แต่ละขั้นจะมีลักษณะของการเจริญเติบโตทางปัญญาเฉพาะ • Jean Piaget ได้อธิบายการเกิดกระบวนการทางปัญญาของมนุษย์ ว่าคือ การรู้คิดของมนุษย์อันเกิดจากการที่มนุษย์ที่รู้จักปรับตัวให้เข้า กับสภาพแวดล้อม โดยอาศัยกระบวนการ 2 อย่างในการเกิด กระบวนการทางปัญญาคือ 1. การดูดซึมเข้าสู่โครงสร้างทางความคิด (Assimilation) 2 . การปรับโครงสร้างของความคิด (Accommodation) Padkao T 57
  • 53. Stages of Piajet’s Cognitive Development Theory 1. ขั้นประสาทสัมผัสและการเคลื่อนไหว (Sensori-motor stage) 2. ขั้นเตรียมสาหรับความคิดที่มีเหตุผล (Preoperational stage) 3. ขั้นคิดอย่างมีเหตุผลและเป็นรูปธรรม (Concrete Operational stage) 4. ขั้นคิดอย่างมีเหตุผลและอย่างมีเป็นนามธรรม (Formal Operational stage)
  • 54. 3.1ขั้นประสาทสัมผัส และการเคลื่อนไหว (Sensori-motor period) (0-2 ปี) • เด็กเริ่มเรียนรู้โดยอาศัยประสาทสัมผัสและการเคลื่อนไหวร่างกายเพื่อ ตอบสนองสิ่งแวดล้อม ∴เด็กใช้ประสาทสัมผัสกับสวล.มาก  พัฒนาการทางเชาวน์ปัญญามากด้วย • ในขั้นนี้แบ่งย่อยออกเป็นอีก 6 ขั้น คือ - 0-2 เดือน (Reflex action) - 2-4 เดือน (Primary circular reaction) - 4-8 เดือน (Secondary circular reaction) - 9-12 เดือน (Coordination of secondary schemata) - 12-18 เดือน (Tertiary circular reaction) - 18-24 เดือน (The intervention of new means though mental combination)
  • 55. 0-4 เดือน • Reflex action ทารกตอบสนองโดยอาศัยปฏิกิริยา สะท้อนไม่สามารถบังคับหรือใช้ความคิด เช่น การ ตอบสนองต่อเสียงดัง ทารกสะดุ้ง แสง ทารกกระพริบ ตา • เด็กอาศัยปฏิกิริยาสะท้อนโดยไม่ตองมีการเรียนรู้ ้
  • 56. 4-8 เดือน • สนใจการเคลื่อนไหว โดยการมองและเคลื่อนตาตาม • Primary circular reaction (วงกลมปฐมภูม) คือ ิ ทารกทาปฏิกิริยาเกี่ยวกับร่างกายตนเองซ้า ๆ กัน เช่น เอานิ้วใส่ปาก กาๆ แบๆ
  • 57. 8 -12 เดือน • Secondary circular reaction (วงกลมทุติยภูมิ) คือ ทารกทาให้เหตุการณ์ภายนอกตนเกิดซ้าอีก เพื่อ ทดลองว่าจะเกิดผลอย่างไร เช่น นอนในเปล โมบายอยู่ ข้างบนแตะ มีเสียงแตะซ้าอีก
  • 58. 1 ปี 4 เดือน • Coordination of secondary reaction คือ พฤติกรรมที่การเกิดจากความตั้งใจและมีเป้าหมาย (intention มาก่อน action) โดยใช้พฤติกรรมใน อดีตมาช่วยในการแก้ปัญหา เช่น ผลักหมอนเพือหา ่ ของเล่น จากเดิมทีผลักเหมือนเพียงแค่ดูหมอนล้ม ่ • มีการเลียนแบบ (imitation) พฤติกรรมง่ายๆ จาก บุคคลรอบข้าง
  • 59. 1 ปี 8 เดือน • แสดงพฤติกรรมลองผิดลองถูก (trial and error) • Tertiary circular reaction (วงกลมตติยภูมิ) คือ เด็กแสดงปฏิกิริยาที่ซับซ้อนกว่าเดิมและเป็นพฤติกรรม หรือปฏิกิริยาใหม่ๆ เช่น มีการสารวจ และทดลองสิ่งใหม่ ๆ เริ่มเข้าใจความเป็นเหตุเป็นผล อะไรเป็นสาเหตุ และ เป็นผล เช่น การชอบทิ้งของจากที่สง การปาของใบหน้า ู แม่
  • 60. 2 ปี • Beginning of thought (เด็กจะเริ่มใช้สมอง ใน การคิดในการทดลองกับวัตถุเพื่อแก้ปัญหา) • เริ่มเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างของสองสิ่ง เริ่มมี Insigth • The invention of new means though mental combination คือ เด็ก เรียนรู้พฤติกรรมของผู้ใหญ่และสวล. รอบตัว ทาให้ เด็กไม่ตองใช้เวลามากนักในการทดลองกับวัตถุเพื่อ ้ แก้ปัญหา
  • 61. 3.2 ขั้นเตรียมสาหรับความคิดที่มีเหตุผล (Preoperational stage) (อายุ 2-7 ปี) • “ปฏิบัติการ” (operation) ความสามารถในการจัดกระทา ต่อวัตถุและเข้าใจความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นนั้น เช่น การจัดวัตถุ ตามลาดับของขนาด • เด็กเริ่มมีพฒนาการทางด้านภาษา ั • เด็กยังไม่สามารถพิจารณาความสัมพันธ์ ที่เชื่อมโยงกัน หรือให้เหตุผลต่อเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ อัน เนื่องจากอิทธิพลของ “centration” • “centration” (การรับรู้แต่เฉพาะจุดเด่นของสิ่งเร้า โดยไม่ สนใจรายละเอียดปลีกย่อย) คือ เด็กจะตั้งใจทีละอย่าง
  • 62. ยกตัวอย่าง • เด็กไม่สามารถพิจารณา 2 มิติได้พร้อม ๆ กัน ในด้านความสูง และความกว้างของแก้วในเวลาเดียวกัน
  • 63. o ยึดตนเองเป็นศูนย์กลาง (ego centrism) ไม่เข้าใจถึงความคิด หรือความรู้สึกของผู้อื่น o ยังไม่สามารถแก้ปัญหาการเรียงลาดับได้ (seriation) และยังไม่ สามารถเข้าใจการคิดย้อนกลับไปมา (reversibility) ได้ o ยังไม่เข้าใจเรื่องเกี่ยวกับความคงสภาพปริมาณของสสาร (conservation) เนื่องจากเด็กในวัยนี้จะให้เหตุผลจากรูปร่าง (status) เท่านั้น ไม่ใช่การเปลี่ยนแปลงเป็นรูปอื่น (transformation) **ใช้สายตาตัดสินใจเท่านั้น** Padkao T 68
  • 64. 3.3ขั้นคิดอย่างมีเหตุผลและเป็นรูปธรรม (Concrete Operational stage) (7-11 ปี) • ใช้เหตุผลในการตัดสิ้นใจแก้ปัญหาต่างๆได้ดีขึ้น • ลักษณะพัฒนาการทางเชาวน์ปัญญาของเด็กในวัยนี้ไว้ดังนี้ – เด็กวัยนี้จะสามารถสร้างจินตนาการในความคิดของตนขึ้นมาได้ (mental representations) – เป็นวัยที่จะเริ่มเข้าใจเกี่ยวกับการคงสภาพปริมาณของสสาร (conservation) – เด็กวัยนี้เริ่มมีความสามารถในการคิดแบบเปรียบเทียบ (relational terms) – เด็กวัยนี้สามารถสร้างกฎเกณฑ์เพื่อจัดสิงรอบตัวให้เป็นหมวดหมู่ได้ (class ่ inclusion) – เด็กวัยนี้จะมีความสามารถในการเรียงลาดับ (serialization and hierarchical arrangement) – เด็กวัยนี้จะสามารถคิดย้อนกลับไปมาได้ (reversibility)
  • 65. ยกตัวอย่าง เหรียญ 2 กอง สามารถนามาเข้าด้วยกันเป็นกองรวม และสามารถ แยกออกจากกันอีก แล้วสามารถนากลับมารวมกันในสภาพของ จุดเริ่มต้นได้ หรือ เอาน้าในแก้วสูงไปเติมในแก้วเตี้ย น้าก็จะเท่ากัน ไม่ว่าจะอยู่ในแก้วไหน หรือ การรับรู้ภาพผลไม้ทนามาประกอบเป็นภาพคน ี่
  • 67. 4.ขั้นคิดอย่างมีเหตุผลและเป็นนามธรรม (Formal Operational stage) (12 ปีขึ้นไป) • เด็กมีความสามารถในการจินตนาการถึงปัญหาต่าง ๆ อย่างมีเหตุผลได้ • เด็กมีความสามารถในการเข้าใจปัญหาเกี่ยวกับ transitivity (ความสัมพันธ์ระหว่างของ 2 สิ่งจะส่งผลไป ถึงของอีกสิ่งหนึ่งซึ่งสัมพันธ์กับของสองสิ่งแรก ตัวอย่าง ปัญหา เช่น เมื่อ A=B และ B = C แล้ว A=C หรือ ถ้า A< B และ B<C แล้ว A<C
  • 68. 4. Kohlberg’s Moral Development Theory Lawrence Kohlberg (1927-1987) วิจัยพัฒนาการทางจริยธรรมตามแนว ทฤษฎีของเพียเจต์ แต่โคลเบิรก์ได้ ปรับปรุงวิธีวิจัย การวิเคราะห์ผลรวม และได้วิจัยอย่างกว้างขวางในประเทศ อื่นที่มีวัฒนธรรมต่างๆ กัน Padkao T 73
  • 69. Principle • นิยามของจริยธรรมของโคลเบิร์ก “จริยธรรมเป็นความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับความถูกผิด และ เกิดขึ้นจากขบวนการทางความคิดอย่างมีเหตุผล ซึ่งต้องอาศัยวุฒิ ภาวะทางปัญญา” • แนวคิด “พัฒนาการทางจริยธรรมเป็นผลจากการพัฒนาการของ โครงสร้างทางความคิดความเข้าใจเกี่ยวกับจริยธรรม” • ส่วนมากการพัฒนาทางจริยธรรมของเด็กจะไม่ถึงขั้นสูงสุดในอายุ 10 ปี แต่จะมีการพัฒนาขึ้นอีกหลายขั้นจากอายุ 11-25 ปี • การใช้เหตุผลเพื่อการตัดสินใจที่จะเลือกกระทาอย่างใดอย่างหนึ่ง จะ แสดงให้เห็นถึงความเจริญของจิตใจของบุคคล • การใช้เหตุผลเชิงจริยธรรม ไม่ได้ขึ้นอยู่กับกฎเกณฑ์ของสังคมใด สังคมหนึ่งโดยเฉพาะ แต่เป็นการใช้เหตุผลที่ลึกซึ้งยากแก่การเข้าใจ ยิ่งขึ้นตามลาดับของวุฒิภาวะทางปัญญา Padkao T 74
  • 70. Principle • โคห์ลเบิร์กเชื่อว่าพัฒนาการทางจริยธรรมของบุคคลจะ ดาเนินเป็นลาดับขั้น ตั้งแต่ขั้นที่ 1 ถึงขั้นที่ 6 โดยไม่มีการ ข้ามขั้น แต่ Padkao T 75
  • 71. Padkao T 76
  • 72. ระดับที่ 1 ระดับก่อนเกณฑ์ทางสังคม (Pre- conventional Level) (แรกเกิด – 10 ปี) • ระดับนีเด็กจะรับกฎเกณฑ์และข้อกาหนดของพฤติกรรมที่ ้ “ดี” “ไม่ดี” จากผู้มีอานาจเหนือตน เช่น บิดามารดา ครูหรือ เด็กโต และมักจะคิดถึงผลตามที่จะนารางวัลหรือการลงโทษ พฤติกรรม “ดี” คือ พฤติกรรมที่แสดงแล้วได้รางวัล พฤติกรรม “ไม่ด” คือ พฤติกรรมที่แสดงแล้วได้รับโทษ ี • โดยบุคคลจะตอบสนองต่อกฎเกณฑ์ซึ่งผู้มีอานาจทางกาย เหนือตนเองกาหนดขึ้น จะตัดสินใจเลือกแสดงพฤติกรรมที่ เป็นหลักต่อตนเอง โดยไม่คานึงถึงผู้อื่น ระดับนี้เป็น 2 ขั้น คือ Padkao T 77
  • 73. ขั้นที่ 1 ขั้นของการลงโทษและเชื่อฟัง (punishment and obedience orientation) (0-7 ปี) • เป็นขันที่เด็กจะใช้ผลของการแสดงพฤติกรรมเป็นเครื่อง ้ ตัดสินว่าถูกหรือผิด • เช่น ถ้าเด็กหยิบของคนอื่นมาโดยไม่บอกเจ้าของแล้วถูก ลงโทษ เด็กจะรู้ทันทีว่าเป็นการกระทาที่ผิด และจะไม่ทา เช่นนั้นอีกเพราะกลัวการถูกลงโทษ Padkao T 78
  • 74. ขั้นที่ 2 ขั้นการแสวงหารางวัล (naively egoistic orientation) (7-10 ปี) • เป็นขันที่เด็กจะสนใจปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ ข้อบังคับต่างๆ ้ หรือพฤติกรรมใดๆ ที่เมื่อทาไปแล้วได้รับรางวัลหรือคา ชมเชยเป็นสิงตอบแทนเท่านัน ่ ้ • เด็กจะยังไม่คานึงถึงความยุติธรรม ความเห็นอกเห็นใจ หรือ การเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อผู้อื่น ดังนั้นพฤติกรรมของเด็กในขั้นนี้จงเป็นไปด้วย ึ ความพอใจในรางวัลที่ได้รับมากกว่าการกลัวการถูกลงโทษ • พฤติกรรมของเด็กในขั้นนี้ทาเพื่อสนองความต้องการของ ตนเอง แต่มักจะเป็นการแลกเปลี่ยนกับคนอืน เช่น ประโยค ่ “ถ้าเธอทาให้ฉน ฉันจะให้.......” ั Padkao T 79
  • 75. ระดับที่ 2 ระดับจริยธรรมตามกฎเกณฑ์ของสังคม (Conventional Level) (10-16 ปี) • พฤติกรรมที่เป็นไปตามความหวังของสังคมทีตนเป็นสมาชิก ่ อยู่ โดยไม่คานึงถึงรางวัลหรือการลงโทษ แต่ถอว่ามาตรฐาน ื ทางจริยธรรมทั้งหลายเป็นสิ่งทีคนในสังคมเดียวกันควรจะ ่ ปฏิบัติให้เป็นแนวทางเดียวกัน และปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ของ สังคมโดยคานึงถึงจิตใจของผู้อน ื่ Padkao T 80
  • 76. ขั้นที่ 1 ขั้นทาตามเพื่อนและสิ่งที่สังคมยอมรับ สาหรับ “เด็กดี” (interpersonal concordance of “goodbye- nicegirl” orientation) (10-13 ปี) • โคลเบิร์ก อธิบายว่า พัฒนาการทางจริยธรรมขั้นนี้เป็น พฤติกรรมของ “คนดี” ตามมาตรฐานหรือความคาดหวัง ของบิดา มารดาหรือเพื่อนวัยเดียวกัน พฤติกรรม “ดี” หมายถึง พฤติกรรมที่จะทาให้ผู้อนชอบและยอมรับ หรือไม่ ื่ ประพฤติผิดเพราะเกรงว่าพ่อแม่จะเสียใจ • มักจะปฏิบัตตามความความคาดหวังของเพื่อนและเลียนแบบ ิ บุคคลที่ตนคิดว่าเป็นคนดี (goodboy - nicegirl) • เน้นการกระทาตามความคาดหวังมากกว่าการถูกลงโทษ/ รางวัล Padkao T 81
  • 77. ขั้นที่ 2 ขั้นกฎและระเบียบ (law and order orientation) (13-16 ปี) • โคลเบิร์ก อธิบายว่า เหตุผลทางจริยธรรมในขันนี้ ถือว่า ้ สังคมจะอยูด้วยความมีระเบียบเรียบร้อยต้องมีกฎหมายและ ่ ข้อบังคับ คนดีหรือคนที่มีพฤติกรรมถูกต้องคือ คนที่ปฏิบัติ ตามระเบียบบังคับหรือกฎหมาย ทุกคนควรเคารพกฎหมาย เพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยและความเป็นระเบียบของ สังคม • ดังนั้น “คนดีหรือคนทีทาถูกต้อง” คือคนที่ปฏิบัติตามระเบียบ ่ กฎเกณฑ์ ข้อบังคับ กฎหมายของสังคม รวมทังปฏิบัติตาม ้ หน้าที่ของตนอย่างเคร่งครัดมากกว่าจะคานึงถึงรางวัลหรือ การลงโทษที่จะได้รับหรือเป็นเพราะทาตามผูอน้ ื่ Padkao T 82
  • 78. ระดับที่ 3 ระดับจริยธรรมเหนือกฎเกณฑ์ทางสังคม (Post-conventional Level) (20+ ปี) • ผู้ทาหรือผู้แสดงพฤติกรรมได้พยายามที่จะตีความหมายของ หลักการและมาตรฐานทางจริยธรรมด้วยวิจารณญาณ การ ตัดสินใจ “ถูก” “ผิด” “ไม่ควร” มาจากวิจารณญาณของ ตนเอง ปราศจากอิทธิพลของผู้มอานาจหรือกลุ่มทีตนเป็น ี ่ สมาชิก Padkao T 83
  • 79. ขั้นที่ 1 ขั้นทาตามสัญญา (social contract orientation) (16 ปีขึ้นไป) • โคลเบิร์ก อธิบายว่า ขั้นนี้เน้นถึงความสาคัญของมาตรฐาน ทางจริยธรรมที่ทุกคนหรือคนส่วนใหญ่ในสังคมยอมรับว่า เป็นสิ่งที่ถูกสมควรที่จะปฏิบัติตาม โดยพิจารณาถึง ประโยชน์และสิทธิของบุคคลก่อนที่จะใช้เป็นมาตรฐานทาง จริยธรรม ได้ใช้ความคิดและเหตุผลเปรียบเทียบว่าสิ่งไหน ผิดและสิ่งไหนถูก • “ถูก” และ “ผิด” ขึ้นอยู่กับค่านิยมและความคิดเห็นของ บุคคลแต่ละบุคคล แม้วาจะเห็นความสาคัญของสัญญาหรือ ่ ข้อตกลงระหว่างบุคคล แต่เปิดให้มีการแก้ไข โดยคานึงถึง ประโยชน์และสถานการณ์แวดล้อมในขณะนัน ้ Padkao T 84
  • 80. ขั้นที่ 2 ขั้นอุดมคติสากล (universal ethical principle orientation) (ตั้งแต่วัยผู้ใหญ่เป็นต้นไป) • โคลเบิร์ก อธิบายว่า ขั้นนี้เป็นหลักการมาตรฐานจริยธรรม สากล เป็นหลักการเพื่อมนุษยธรรม เพื่อความเสมอภาคใน สิทธิมนุษยชนและเพื่อความยุติธรรมของมนุษย์ทุกคน • “ถูก” และ “ผิด” เป็นสิ่งที่ขึ้นมโนธรรมของแต่ละบุคคลที่ เลือกยึดถือ โดยทั่วไปพบว่าบุคคลทั้งหลายจะพัฒนาทางจริยธรรม ได้เพียงขั้นกฎและระเบียบ (ระดับที่ 2 ขั้นที่ 2) เท่านัน ้ Padkao T 85
  • 81. เจ้าชู้ โรคจิต ตอแหล มึงๆ งงๆ Padkao T 86
  • 83. กิจกรรม • แบ่งกลุ่มทั้งหมด 20 กลุ่ม (กลุ่มละ 6-7 คน) • แสดงบทบาทสมมติในแต่ละขั้นของแต่ละ ทฤษฎีพฒนาการ ั Padkao T 88