SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
โดย
อาจารย์นันทนา คะลา โปรแกรมอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
ทฤษฎีการจูงใจเพื่อป้ องกันโรค
(Protection Motivation Theory)
แบบจาลองการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
(Transtheoretical Model/Stage of change)
เริ่มครั้งแรกโดย Rogers R.W. ปี 1975
ปรับปรุงแก้ไขอีกครั้งโดย Dunn & Rogers
ปี 1986
รวมกันระหว่างแบบแผนความเชื่อด้าน
สุขภาพ (Health belief model) และทฤษฎี
ความคาดหวังในตนเอง (Self-efficacy
theory)
กล่าวว่า “การที่บุคคลใดจะมีการปฏิบัติตัวเพื่อป้ องกัน
โรคหรือไม่ ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบ 4 อย่าง
1.การรับรู้อันตรายหรือความรุนแรงของโรคนั้น
2.การรับรู้ว่าตนเองเสี่ยงต่อการเป็นโรคนั้นหรือไม่
3.ความคาดหวังในความสามารถของตนเองที่จะปฏิบัติเพื่อ
เพื่อป้ องกันโรคนั้น
4.ความคาดหวังในผลของการปฏิบัติ
การนาเสนอข้อมูลที่ทาให้เกิดความกลัวและ
การกระตุ้นหรือปลุกเร้าร่วมกับการขู่ โดยใช้
สื่อเป็นหลัก ในการเผยแพร่ข้อมูล
การสื่อสารที่เน้นการ
ขู่ เพื่อทาให้เกิดความ
เชื่อ หรือรู้สึกว่าตน
กาลังตกอยู่ในภาวะที่
เสี่ยงต่ออันตราย
การตัดสินความสามารถของตนเอง ต่อการจัดการ
และแสดงพฤติกรรมของบุคคล เพื่อให้บรรลุเป้ าหมาย
ที่ต้องการ
มุ่งนาเสนอข้อมูลที่เกี่ยวกับการปรับและ/หรือละ
พฤติกรรมที่ไม่ถูกต้อง เพื่อหลีกเหลี่ยงอันตรายที่
กาลังคุกคามสุขภาพ
บุคคลเห็นว าอันตรายต อสุขภาพ
นั้นรุนแรง
บุคคลมีความรู สึกไม มั่นคงหรือ
เสี่ยงต อ อันตรายนั้น
เชื่อว าการตอบสนองโดยการ
ปรับตัวเป น วิธีการที่ดีที่สุดที่จะกาจัด
อันตรายนั้น
บุคคลมีความเชื่อมั่นในตนเองว าจะสามารถ
ปรับตัวตอบสนอง หรือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมนั้น
ได อย าง สมบูรณ
ผลจากการปรับตัวที่ไม พึงประสงค์ นั้นมีน้อย
อุปสรรคเกี่ยวกับการปรับตัวหรือปรับเปลี่ยน
พฤติกรรมนั้นต่า
02/07/09อ.ศกุนตลา อนุเรือง 13
02/07/09อ.ศกุนตลา อนุเรือง 14
เน้น ความรุนแรงของการเป็นโรค
ใช้สื่อกระตุ้นเกิดความกลัวแต่ต้องไม่
ไม่กระตุ้นให้กลัวมากเกินไป จะปิดกั้น
กั้นการรับรู้ของบุคคล
VS
สื่อแบบไหนที่คุณจะเลือก???
เป็นทฤษฎีที่อธิบายถึงแรงจูงใจและ
ความพร้อมของบุคคลในการปรับเปลี่ยน
พฤติกรรม
 1983 Prochaska & Diclemente
นักจิตวิทยา ชาวอเมริกันพัฒนา
ทฤษฎีนี้มาจากการทาจิตบาบัดเพื่อ
การงดสูบบุหรี่ และพบว่าพฤติกรรมมี
การเปลี่ยนแปลงอย่างเป็นขั้นตอน
และแต่ละขั้นตอนใช้กระบวนการ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ต่างกัน
การรับประทานอาหาร
การใช้ถุงยางอนามัย เพื่อป้ องกันโรคติดต่อทาง
เพศสัมพันธ์
การตรวจมะเร็งเต้านม
การออกกาลังกาย
1. ขั้นก่อนชั่งใจ (Precontemplation)
ไม่มีความตั้งใจหรือความคิดในการ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในระยะ 6 เดือนข้างหน้า
2. ขั้นชั่งใจ (Contemplation)
เริ่มมีความตั้งใจหรือความคิดเกี่ยวกับการ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ยังไม่มีแผนที่จะปรับเปลี่ยน
พฤติกรรมในระยะเวลาอันใกล้ในระยะ 6 เดือนข้างหน้า
3. ขั้นพร้อมปฏิบัติหรือตัดสินใจ (Preparation)
การมีความพร้อมในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมใน
ระยะเวลาอันใกล้หรืออาจจะได้ลองปฏิบัติบ้างแล้ว แต่ยังไม่
ไม่อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม ในระยะเวลา 30 วันข้างหน้า
4. ขั้นปฏิบัติ (Action)
มีการปฏิบัติ หรือพฤติกรรมที่เหมาะสมไปแล้ว
ระยะเวลาหนึ่ง น้อยกว่า 6 เดือน
5. ขั้นคงไว้ซึ่งพฤติกรรม (Maintenance)
การที่มีพฤติกรรมในระยะเวลานานพอควร นาน
กว่า 6 เดือน
ขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
ก่อนชั่งใจ ชั่งใจ พร้อมที่จะปฏิบัติ ปฏิบัติ คงไว้ซึ่งการปฏิบัติ
การกระตุ้นให้ตื่นตัว
การประเมินสิ่งแวดล้อม
การระบายอารมณ์
กระบวนการ
การประเมินตนเอง
การประกาศอิสรภาพของตนเอง
การเสริมแรงในการจัดการ
การมีความสัมพันธ์แบบช่วยเหลือ
การสร้างเงื่อนไขต่อสิ่งที่มากระทบ
การควบคุมสิ่งเร้า
ให้นักศึกษาจัดกลุ่มค้นคว้างานวิจัยที่นาแนวคิด/ทฤษฎีมาใช้
เป็นกรอบแนวคิด
 ทฤษฎีการจูงใจเพื่อป้ องกันโรค (3 กลุ่ม)
(Protection Motivation Theory)
 แบบจาลองการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (2 กลุ่ม)
(Transtheoretical Model/Stage of
change)
 PRECEDE Model (3 กลุ่ม)
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์

More Related Content

What's hot

Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Nan Natni
 
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนวิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนUtai Sukviwatsirikul
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศSrion Janeprapapong
 
สมรรถภาพทางกลไก
สมรรถภาพทางกลไกสมรรถภาพทางกลไก
สมรรถภาพทางกลไก593non
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสWuttipong Tubkrathok
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...ssuser858855
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Supaluk Juntap
 
ข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยNU
 
6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพ6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพWatcharin Chongkonsatit
 
โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้dnavaroj
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลังPhanuwat Somvongs
 
กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีพัน พัน
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุSirinoot Jantharangkul
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์Lamai Fungcholjitt
 

What's hot (20)

Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
 
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนวิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
 
อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
โครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟีโครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟี
 
สมรรถภาพทางกลไก
สมรรถภาพทางกลไกสมรรถภาพทางกลไก
สมรรถภาพทางกลไก
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบส
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
ข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัย
 
6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพ6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพ
 
โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้
 
วัยผู้ใหญ่
วัยผู้ใหญ่วัยผู้ใหญ่
วัยผู้ใหญ่
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง
 
กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสี
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1
 

Similar to 6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์

บทที่ 7 วัคซีน
บทที่ 7 วัคซีนบทที่ 7 วัคซีน
บทที่ 7 วัคซีนPa'rig Prig
 
รูปแบบการวิจัย
รูปแบบการวิจัยรูปแบบการวิจัย
รูปแบบการวิจัยRamkhamhaeng University
 
9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัยguest9e1b8
 
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาลการจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาลโรงพยาบาลสารภี
 
การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง
การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทองการจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง
การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทองJumpon Utta
 
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวชเรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวชKanti Bkk
 
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิดบทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิดPa'rig Prig
 
เภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทก
เภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทกเภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทก
เภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทกpitsanu duangkartok
 
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉินTAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉินtaem
 
หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55sivapong klongpanich
 
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6Kruthai Kidsdee
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2kungcomedu
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์Apichat kon
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้Pimpika Jinak
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมpasanozzterr
 

Similar to 6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์ (20)

บทที่ 7 วัคซีน
บทที่ 7 วัคซีนบทที่ 7 วัคซีน
บทที่ 7 วัคซีน
 
รูปแบบการวิจัย
รูปแบบการวิจัยรูปแบบการวิจัย
รูปแบบการวิจัย
 
9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย
 
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาลการจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
 
Analytical Study
Analytical StudyAnalytical Study
Analytical Study
 
การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง
การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทองการจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง
การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง
 
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวชเรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
 
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิดบทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
 
เภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทก
เภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทกเภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทก
เภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทก
 
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉินTAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
 
หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55
 
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6
 
Research process
Research processResearch process
Research process
 
จำแนกประเภท
จำแนกประเภทจำแนกประเภท
จำแนกประเภท
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
Theoryorem
TheoryoremTheoryorem
Theoryorem
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
Evidence-Based Medicine: Risk & Harm
Evidence-Based Medicine: Risk & HarmEvidence-Based Medicine: Risk & Harm
Evidence-Based Medicine: Risk & Harm
 

More from Gawewat Dechaapinun

เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰Gawewat Dechaapinun
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰Gawewat Dechaapinun
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรGawewat Dechaapinun
 
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณบทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณGawewat Dechaapinun
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรGawewat Dechaapinun
 
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์Gawewat Dechaapinun
 
Chapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlChapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlGawewat Dechaapinun
 
Chapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsChapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsGawewat Dechaapinun
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesGawewat Dechaapinun
 

More from Gawewat Dechaapinun (20)

Chapter 5 glazes defects
Chapter 5 glazes defectsChapter 5 glazes defects
Chapter 5 glazes defects
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
 
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณบทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
 
งานนำเสนอ7
งานนำเสนอ7งานนำเสนอ7
งานนำเสนอ7
 
งานนำเสนอ6
งานนำเสนอ6งานนำเสนอ6
งานนำเสนอ6
 
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5
 
งานนำเสนอ4
งานนำเสนอ4งานนำเสนอ4
งานนำเสนอ4
 
Chapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlChapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and control
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
Chapter 2.3 glaze calculations
Chapter 2.3 glaze calculationsChapter 2.3 glaze calculations
Chapter 2.3 glaze calculations
 
Chapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsChapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classifications
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
 

6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์

Editor's Notes

  1. ทั้ง 4 องค์ประกอบจะร่วมกันสร้างแรงจูงใจให้เกิดขึ้น ถ้ามีแรงจูงใจมากก็จะผลักดันให้บุคคลนั้นมีการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโรคเป็น
  2. 1.กระตุ้นให้ตื่นตัว (Consciousness raising) คือ การเพิ่มความตระหนักเกี่ยวกับพฤติกรรมที่ไม่สมควรจะทำ ให้ทราบถึงผลที่ตามมาและป้องกัน 2. การระบายอารมณ์ (Dramatic relief) การกระตุ้นให้บุคคลระบายอารมณ์จากการประเมินสถานการณ์และสร้างความต้องการให้เกิดความเปลี่ยนแปลง 3. การประเมินตนเอง (Self-evaluation) การประเมินตนเองในเรื่องของข้อดีและประโยชน์ของการทำพฤติกรรมที่ควรจะปฏิบัติ ร่วมทั้งสะท้อนข้อเสียและปัญหาของการทำพฤติกรรมเสี่ยง 4. การประเมินสิ่งแวดล้อม (environment evaluation) การให้บุคคลประเมินผลกระทบของการทำพฤติกรรมของเขาที่อาจเกิดกับบุคคลอื่น ๆ ไม่ว่าจะเป็น เพื่อน ครอบครัว หรือสังคม 5. การประกาศอิสรภาพของตนเอง (Self-liberation) การให้บุคคลประกาศความตั้งใจในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมให้คนอื่นรับรู้ เพื่อเป็นการสร้างข้อตกลงในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม 6. การมีความสัมพันธ์ในเชิงช่วยเหลือ (helping relationships) การให้บุคคลได้รับกำลังใจ การสนับสนุน การยอมรับจากบุคคลอื่นๆ ในการช่วยให้บุคคลมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม 7. การสร้างเงื่อนไขต่อสิ่งที่มากระทบ (counter conditioning) การกำหนดเงื่อนไขให้กับตัวเองในการสร้างพฤติกรรมที่เหมาะสมมาแทนที่พฤติกรรมที่ไม่สมควรทำ 8. การเสริมแรงในการจัดการ (Reinforement management) เป็นการให้แรงเสริม คำชมหรือรางวัล เมื่อบุคคลมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปในทางที่เหมาะสม การได้รับการตอบสนองว่ามีพฤติกรรมที่เหมาะสม จะส่งผลให้คนอยากทำพฤติกรรมต่อไป 9. การควบคุมสิ่งเร้า (stimulus control) การให้บุคคลเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมรอบตัว เพื่อควบคุมสิ่งเร้า ที่อาจจะกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม เช่น การกำจัดไฟแช็กและที่เขี่ยบุหรี่ ไม่ให้มีอยู่ในบ้าน เพื่อป้องกันไม่ให้สูบบุหรี่ 10. การประกาศอิสรภพของสังคม (Social liberation) เป็นกระบวนการที่สังคม ประกาศการเปลี่ยนแปลงทางสิ่งแวดล้อม ในการสนับสนุนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่เหมาะสม เช่นการกำหนดเขตปลอดบุหรี่