SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน หมอนรองกระกูด โรคใกล้ตัวที่ควรรู้ไว้
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นางสาว ณัฏฐณิชา มณีโชติ เลขที่ 17 ชั้น ม.6 ห้อง 13
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1 นางสาว ณัฏฐณิชา มณีโชติ เลขที่ 17
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
หมอนรองกระกูด โรคใกล้ตัวที่ควรรู้ไว้
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Do you know Herniated disk?
ประเภทโครงงาน พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว ณัฏฐณิชา มณีโชติ
ชื่อที่ปรึกษา คุณครู เขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
คนไทยในปัจจุบันไม่ว่าจะวัยทางานหรือวัยรุ่น ต่างล้วนมีโอกาสเสี่ยงเป็นโรคหมอนรองกระดูกกัน
ทั้งนั้นโดยเฉพาะวัยทางาน เนื่องจากการนั่งอยู่กับหน้าคอมพิวเตอร์หลายชั่วโมงหรือเป็นเวลานาน
และหากพูดถึง “หมอนรองกระดูก” แล้ว วัยรุ่นส่วนใหญ่อาจไม่ค่อยให้ความสนใจสักเท่าไร แต่ถ้าเริ่ม
ทางานไปได้สักพัก คุณจะเริ่มได้ยินคานี้บ่อยขึ้น หรือบางทีอาจได้ยินเองจากปากของหมอ เมื่อคุณไป
ตรวจร่างกายที่โรงพยาบาลก็เป็นได้
วัตถุประสงค์
1.เรียนรู้โรคหมอนรองกระดูก
2.รู้วิธีการรักษา และการป้องกันไม่ให้เกิด โรคหมอนรองกระดูก
3.สามารถนาความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจาวันได้
ขอบเขตโครงงาน
1.สามารถนาเสนอให้แก่คนทั่วไปได้
2.มีเนื้อหาน่าอ่าน เข้าใจง่าย
หลักการและทฤษฎี
หมอนรองกระดูก คืออะไร?
หมอนรองกระดูก คือเนื้อเยื่อที่ลักษณะด้านนอกเป็นเหมือนพังผืดเหนียวๆ ซ้อนกันเป็นวงรอบหลายๆ
ชั้น และด้านในนุ่มๆ หยุ่นๆ คล้ายวุ้น พบในบริเวณส่วนที่เชื่อมต่อระหว่างกระดูกสันหลังแต่ละข้อ ที่วาง
พาดยาวไปตั้งแต่คอ อก จนถึงเอว
3
หมอนรองกระดูก มีหน้าที่ และความสาคัญอย่างไร?
หมอนรองกระดูกทาหน้าที่เป็นข้อต่อในการขยับของกระดูกสันหลัง และรับแรงกระแทกเมื่อทากิจกรรม
ต่างๆ เช่น นั่ง ยืน กระโดด เอนหลัง บิดตัว และอื่นๆ เหมือนกับเป็น “โช้คอัพ” ให้กับกระดูกสันหลังของ
เรา ของนอกจากนี้หมอนรองกระดูกยังคอยปกป้องไม่ให้กระดูกสันหลังเคลื่อนที่อีกด้วย
ทาไมวัยทางานถึงเสี่ยงหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท?
ที่หมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท เป็นอาการที่พบได้บ่อยๆ ในหมู่วัยทางาน อายุระหว่าง 20-50 ปีนั้น
เพราะเป็นวัยที่ใช้ร่างหนัก พักผ่อนน้อย และอาจจาเป็นต้องทางานในสถานที่ และเวลาที่จากัดอยู่เสมอๆ
รวมถึงพฤติกรรมเหล่านี้ที่เสี่ยงต่ออาการหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท
อาการของโรคหมอนรองกระดูกเคลื่อนทับเส้นประสาท
อาการอาจแสดงออกได้ทั้งบริเวณหลังและขา คนทั่วไปมักเข้าใจว่ามีเพียงอาการปวดหลังอย่างเดียว ที่
จริงแล้วอาการที่ขานั้นสาคัญและจาเพาะเจาะจงกับโรคนี้มากกว่า นั่นแสดงถึงว่าเกิดการรบกวน
เส้นประสาทสันหลังที่วิ่งไปเลี้ยงที่ขาแล้ว หมอนรองกระดูกที่เคลื่อนออกมามักทาให้เกิดอาการแบบ
ฉับพลันเพราะมีการอักเสบที่รุนแรง
อาการที่หลัง: ปวดหลังบริเวณเอวส่วนล่าง อาจมีอาการที่หลังเพียงข้างเดียวหรือทั้งสองข้าง มักมีอาการ
ในท่านั่ง หรือมีการนั่งงอตัวไปทางด้านหน้าซึ่งเป็นท่าที่หมอนรองกระดูกได้รับแรงกดทับมากที่สุด
อาการที่ขา: อาการแสดงที่ขามีได้ 3 แบบ คือ อาการปวด ชา หรือการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อ
อาการปวดหรือชาขาที่เกิดจากหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาทมีลักษณะคือ มีอาการตามแนวที่
เส้นประสาทวิ่งไป สามารถปวดได้ตั้งแต่บริเวณเอว ต้นขา น่อง ไปจนถึงบริเวณเท้าและนิ้วเท้าได้ การ
อ่อนแรงของกล้ามเนื้อก็มีลักษณะคล้ายอาการปวดและชา คือจะมีการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อมัดที่เลี้ยง
ด้วยเส้นประสาทเส้นที่ถูกกดทับนั้น
พฤติกรรมเสี่ยง หมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท
1. ก้มๆ เงยๆ บ่อยๆ หรือมากเกินไป
2. ยกของหนักซ้าๆ ท่าเดิมๆ
3. ผู้ที่มีอาชีพที่ต้องทางานอยู่ในบริเวณที่มีการสั่นสะเทือนบ่อยๆ เช่น เขตก่อสร้าง
4. ผู้ที่มีน้าหนักตัวมาก
5. อยู่ท่าใดท่าหนึ่งเป็นเวลานานเกินไป โดยไม่มีการปรับเปลี่ยนอิริยาบถ เช่น ผู้ที่ทางานหน้าจอ
คอมพิวเตอร์นานเกินไป
4
วิธีรักษา หมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท
วิธีรักษาหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาทมีหลายวิธี ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของอาการที่เป็นอยู่ โดยอาจ
เริ่มจากการทานยาเพื่อลดความปวด และการอักเสบ จากนั้นจึงทากายภาพบาบัด และอาจฉีดยาลดการ
อักเสบที่เส้นประสาท ในกรณีที่มีอาการรุนแรงอาจต้องเข้ารับการผ่าตัด
ป้องกันหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาทได้อย่างไร?
1. ไม่ยกของหนัก หรือยกของท่าเดิมๆ มากเกินไป
2. ควรปรับเปลี่ยนอิริยาบถในการทางานทุกๆ 2-3 ชั่วโมง
3. หมั่นออกกาลังกาย ทาการบริหารเพิ่มความแข็งแรงให้กับกล้ามเนื้อหลัง และหน้าท้องให้แข็งแรง
ท่ากายบริหารเสริมสร้างกล้ามเนื้อหลัง และหน้าท้อง ป้องกันอาการหมอนรองกระดูกทับ
เส้นประสาท
1) นอนหงาย ยกขาขึ้นข้างหนึ่งให้สูงจากพื้นประมาณ 1คืบ เข่าเหยียดตรง กระดกปลายเท้าเข้าหาตัว
ค้างไว้ 5 วินาที แล้วทาสลับกับขาอีกข้าง
2) นอนหงาย ใช้มือทั้งสองกอดเข่าข้างหนึ่ง โน้มเข่าลงมาให้ชิดลาตัว ค้างไว้ 5 วินาที แล้วทาสลับกับเข่า
อีกข้าง
3) นอนหงาย ชันเข่าขึ้น ประสานมือสองข้างไว้ด้านหลังบริเวณเอว จากนั้นแขม่วท้อง กดหลังลงค้างไว้ 5
วินาที
ในแต่ละท่า ควรทาซ้า 3-5 ครั้ง ทุกวัน
5
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
-เลือกหัวข้อที่สนใจ
-นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน
-ศึกษารวบรวมข้อมูล
-จัดทารายงาน
-นาเสนอครู
-ปรับปรุงและแก้ไข
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
-อินเทอร์เน็ต
-หนังสือที่เกี่ยวข้อง
-คอมพิวเตอร์
-โทรศัพท์
งบประมาณ
100 บาท
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
1
6
1
7
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
6
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้จัดทามีความเข้าใจในหัวข้อที่สนใจมากขึ้น
2.สามารถนาความรู้เผยแพร่ให้กับคนอื่นได้
3.ผู้จัดทามีความเข้าใจในการทางานอย่างเป็นระบบมากขั้น
สถานที่ดาเนินการ
1.ห้องคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
2.ห้องEnglish Corner
3.โต๊ะทางานที่บ้าน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
2.กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา
แหล่งอ้างอิง
พฤติกรรมสี่ยงโรคหมอนรองกระดูก(2560). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก
http://www.sanook.com/health/5293/.(31 สิงหาคม 2560)
โรคหมอนรองกระดูก(2559). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https://www.bumrungrad.com/th/spine-
institute-surgery-bangkok-thailand-best-jci/conditions/herniated-disc .(31 สิงหาคม 2560)
หมอนรองกระดูกกดทับเส้นประสาท(2558). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก
http://www.somdej.or.th/index.php/2015-11-12-03-28-53 .(31 สิงหาคม 2560)

More Related Content

What's hot

โครงงานกล้วยไม้ไทย
โครงงานกล้วยไม้ไทยโครงงานกล้วยไม้ไทย
โครงงานกล้วยไม้ไทยGuy Prp
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project THXB
 
2562-final-project_17
2562-final-project_172562-final-project_17
2562-final-project_17ssusera79710
 
2561 project07
2561 project07 2561 project07
2561 project07 PPhumin
 
การขับขี่อย่างปลอดภัย1
การขับขี่อย่างปลอดภัย1การขับขี่อย่างปลอดภัย1
การขับขี่อย่างปลอดภัย1Nuttida Meepo
 
Project มหัศจรรย์โลมา
Project มหัศจรรย์โลมาProject มหัศจรรย์โลมา
Project มหัศจรรย์โลมาmind jirapan
 
2560 project -1-1
2560 project -1-12560 project -1-1
2560 project -1-1rungthiwa_
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project thunniti
 
โครงงานเปรม
โครงงานเปรมโครงงานเปรม
โครงงานเปรมThanakorn Intrarat
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม Krookhuean Moonwan
 
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออกใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออกselenagomezz
 

What's hot (20)

โครงงานกล้วยไม้ไทย
โครงงานกล้วยไม้ไทยโครงงานกล้วยไม้ไทย
โครงงานกล้วยไม้ไทย
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2562-final-project_17
2562-final-project_172562-final-project_17
2562-final-project_17
 
2561 project07
2561 project07 2561 project07
2561 project07
 
การขับขี่อย่างปลอดภัย1
การขับขี่อย่างปลอดภัย1การขับขี่อย่างปลอดภัย1
การขับขี่อย่างปลอดภัย1
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
Diabetes
DiabetesDiabetes
Diabetes
 
Project มหัศจรรย์โลมา
Project มหัศจรรย์โลมาProject มหัศจรรย์โลมา
Project มหัศจรรย์โลมา
 
2560 project -1-1
2560 project -1-12560 project -1-1
2560 project -1-1
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
โครงงานเปรม
โครงงานเปรมโครงงานเปรม
โครงงานเปรม
 
2562 final-project-18
2562 final-project-182562 final-project-18
2562 final-project-18
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม
 
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออกใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
 
Suwadee22
Suwadee22Suwadee22
Suwadee22
 
Sasawat
SasawatSasawat
Sasawat
 
สารคดี
สารคดีสารคดี
สารคดี
 
Lin
LinLin
Lin
 
2559_project_(1)
2559_project_(1)2559_project_(1)
2559_project_(1)
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 

Similar to 2560 project

โครงงานกัวซา
โครงงานกัวซาโครงงานกัวซา
โครงงานกัวซาPinchanok Muangping
 
2560 project (1) ใบงาน5
2560 project  (1) ใบงาน52560 project  (1) ใบงาน5
2560 project (1) ใบงาน5Wanwisa Ngoennoi
 
2560 project งานชาเขียว
2560 project งานชาเขียว2560 project งานชาเขียว
2560 project งานชาเขียวNu Beer Yrc
 
โครงร่างรายงาน(กู้คืนอัตโนมัติ)
โครงร่างรายงาน(กู้คืนอัตโนมัติ)โครงร่างรายงาน(กู้คืนอัตโนมัติ)
โครงร่างรายงาน(กู้คืนอัตโนมัติ)arisa promlar
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project Guy Prp
 
มหัศจรรย์โลมา
มหัศจรรย์โลมามหัศจรรย์โลมา
มหัศจรรย์โลมาmind jirapan
 
เป็ด
เป็ดเป็ด
เป็ดxQler
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานyhrtdf hdhtht
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project dreamee
 
2560 project doc.doc doc
2560 project doc.doc doc2560 project doc.doc doc
2560 project doc.doc docAom Nachanok
 
โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์
โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์
โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์omaha123
 

Similar to 2560 project (20)

โครงงานกัวซา
โครงงานกัวซาโครงงานกัวซา
โครงงานกัวซา
 
2560 project (1) ใบงาน5
2560 project  (1) ใบงาน52560 project  (1) ใบงาน5
2560 project (1) ใบงาน5
 
2560 project งานชาเขียว
2560 project งานชาเขียว2560 project งานชาเขียว
2560 project งานชาเขียว
 
โครงร่างรายงาน(กู้คืนอัตโนมัติ)
โครงร่างรายงาน(กู้คืนอัตโนมัติ)โครงร่างรายงาน(กู้คืนอัตโนมัติ)
โครงร่างรายงาน(กู้คืนอัตโนมัติ)
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project -
2560 project -2560 project -
2560 project -
 
มหัศจรรย์โลมา
มหัศจรรย์โลมามหัศจรรย์โลมา
มหัศจรรย์โลมา
 
2560 project -3
2560 project -32560 project -3
2560 project -3
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
เป็ด
เป็ดเป็ด
เป็ด
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
Diabetes
DiabetesDiabetes
Diabetes
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project doc.doc doc
2560 project doc.doc doc2560 project doc.doc doc
2560 project doc.doc doc
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
Yoga
YogaYoga
Yoga
 
ใบงานที่5
ใบงานที่5ใบงานที่5
ใบงานที่5
 
โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์
โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์
โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์
 

2560 project

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน หมอนรองกระกูด โรคใกล้ตัวที่ควรรู้ไว้ ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว ณัฏฐณิชา มณีโชติ เลขที่ 17 ชั้น ม.6 ห้อง 13 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1 นางสาว ณัฏฐณิชา มณีโชติ เลขที่ 17 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) หมอนรองกระกูด โรคใกล้ตัวที่ควรรู้ไว้ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Do you know Herniated disk? ประเภทโครงงาน พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว ณัฏฐณิชา มณีโชติ ชื่อที่ปรึกษา คุณครู เขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน คนไทยในปัจจุบันไม่ว่าจะวัยทางานหรือวัยรุ่น ต่างล้วนมีโอกาสเสี่ยงเป็นโรคหมอนรองกระดูกกัน ทั้งนั้นโดยเฉพาะวัยทางาน เนื่องจากการนั่งอยู่กับหน้าคอมพิวเตอร์หลายชั่วโมงหรือเป็นเวลานาน และหากพูดถึง “หมอนรองกระดูก” แล้ว วัยรุ่นส่วนใหญ่อาจไม่ค่อยให้ความสนใจสักเท่าไร แต่ถ้าเริ่ม ทางานไปได้สักพัก คุณจะเริ่มได้ยินคานี้บ่อยขึ้น หรือบางทีอาจได้ยินเองจากปากของหมอ เมื่อคุณไป ตรวจร่างกายที่โรงพยาบาลก็เป็นได้ วัตถุประสงค์ 1.เรียนรู้โรคหมอนรองกระดูก 2.รู้วิธีการรักษา และการป้องกันไม่ให้เกิด โรคหมอนรองกระดูก 3.สามารถนาความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจาวันได้ ขอบเขตโครงงาน 1.สามารถนาเสนอให้แก่คนทั่วไปได้ 2.มีเนื้อหาน่าอ่าน เข้าใจง่าย หลักการและทฤษฎี หมอนรองกระดูก คืออะไร? หมอนรองกระดูก คือเนื้อเยื่อที่ลักษณะด้านนอกเป็นเหมือนพังผืดเหนียวๆ ซ้อนกันเป็นวงรอบหลายๆ ชั้น และด้านในนุ่มๆ หยุ่นๆ คล้ายวุ้น พบในบริเวณส่วนที่เชื่อมต่อระหว่างกระดูกสันหลังแต่ละข้อ ที่วาง พาดยาวไปตั้งแต่คอ อก จนถึงเอว
  • 3. 3 หมอนรองกระดูก มีหน้าที่ และความสาคัญอย่างไร? หมอนรองกระดูกทาหน้าที่เป็นข้อต่อในการขยับของกระดูกสันหลัง และรับแรงกระแทกเมื่อทากิจกรรม ต่างๆ เช่น นั่ง ยืน กระโดด เอนหลัง บิดตัว และอื่นๆ เหมือนกับเป็น “โช้คอัพ” ให้กับกระดูกสันหลังของ เรา ของนอกจากนี้หมอนรองกระดูกยังคอยปกป้องไม่ให้กระดูกสันหลังเคลื่อนที่อีกด้วย ทาไมวัยทางานถึงเสี่ยงหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท? ที่หมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท เป็นอาการที่พบได้บ่อยๆ ในหมู่วัยทางาน อายุระหว่าง 20-50 ปีนั้น เพราะเป็นวัยที่ใช้ร่างหนัก พักผ่อนน้อย และอาจจาเป็นต้องทางานในสถานที่ และเวลาที่จากัดอยู่เสมอๆ รวมถึงพฤติกรรมเหล่านี้ที่เสี่ยงต่ออาการหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท อาการของโรคหมอนรองกระดูกเคลื่อนทับเส้นประสาท อาการอาจแสดงออกได้ทั้งบริเวณหลังและขา คนทั่วไปมักเข้าใจว่ามีเพียงอาการปวดหลังอย่างเดียว ที่ จริงแล้วอาการที่ขานั้นสาคัญและจาเพาะเจาะจงกับโรคนี้มากกว่า นั่นแสดงถึงว่าเกิดการรบกวน เส้นประสาทสันหลังที่วิ่งไปเลี้ยงที่ขาแล้ว หมอนรองกระดูกที่เคลื่อนออกมามักทาให้เกิดอาการแบบ ฉับพลันเพราะมีการอักเสบที่รุนแรง อาการที่หลัง: ปวดหลังบริเวณเอวส่วนล่าง อาจมีอาการที่หลังเพียงข้างเดียวหรือทั้งสองข้าง มักมีอาการ ในท่านั่ง หรือมีการนั่งงอตัวไปทางด้านหน้าซึ่งเป็นท่าที่หมอนรองกระดูกได้รับแรงกดทับมากที่สุด อาการที่ขา: อาการแสดงที่ขามีได้ 3 แบบ คือ อาการปวด ชา หรือการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อ อาการปวดหรือชาขาที่เกิดจากหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาทมีลักษณะคือ มีอาการตามแนวที่ เส้นประสาทวิ่งไป สามารถปวดได้ตั้งแต่บริเวณเอว ต้นขา น่อง ไปจนถึงบริเวณเท้าและนิ้วเท้าได้ การ อ่อนแรงของกล้ามเนื้อก็มีลักษณะคล้ายอาการปวดและชา คือจะมีการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อมัดที่เลี้ยง ด้วยเส้นประสาทเส้นที่ถูกกดทับนั้น พฤติกรรมเสี่ยง หมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท 1. ก้มๆ เงยๆ บ่อยๆ หรือมากเกินไป 2. ยกของหนักซ้าๆ ท่าเดิมๆ 3. ผู้ที่มีอาชีพที่ต้องทางานอยู่ในบริเวณที่มีการสั่นสะเทือนบ่อยๆ เช่น เขตก่อสร้าง 4. ผู้ที่มีน้าหนักตัวมาก 5. อยู่ท่าใดท่าหนึ่งเป็นเวลานานเกินไป โดยไม่มีการปรับเปลี่ยนอิริยาบถ เช่น ผู้ที่ทางานหน้าจอ คอมพิวเตอร์นานเกินไป
  • 4. 4 วิธีรักษา หมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท วิธีรักษาหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาทมีหลายวิธี ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของอาการที่เป็นอยู่ โดยอาจ เริ่มจากการทานยาเพื่อลดความปวด และการอักเสบ จากนั้นจึงทากายภาพบาบัด และอาจฉีดยาลดการ อักเสบที่เส้นประสาท ในกรณีที่มีอาการรุนแรงอาจต้องเข้ารับการผ่าตัด ป้องกันหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาทได้อย่างไร? 1. ไม่ยกของหนัก หรือยกของท่าเดิมๆ มากเกินไป 2. ควรปรับเปลี่ยนอิริยาบถในการทางานทุกๆ 2-3 ชั่วโมง 3. หมั่นออกกาลังกาย ทาการบริหารเพิ่มความแข็งแรงให้กับกล้ามเนื้อหลัง และหน้าท้องให้แข็งแรง ท่ากายบริหารเสริมสร้างกล้ามเนื้อหลัง และหน้าท้อง ป้องกันอาการหมอนรองกระดูกทับ เส้นประสาท 1) นอนหงาย ยกขาขึ้นข้างหนึ่งให้สูงจากพื้นประมาณ 1คืบ เข่าเหยียดตรง กระดกปลายเท้าเข้าหาตัว ค้างไว้ 5 วินาที แล้วทาสลับกับขาอีกข้าง 2) นอนหงาย ใช้มือทั้งสองกอดเข่าข้างหนึ่ง โน้มเข่าลงมาให้ชิดลาตัว ค้างไว้ 5 วินาที แล้วทาสลับกับเข่า อีกข้าง 3) นอนหงาย ชันเข่าขึ้น ประสานมือสองข้างไว้ด้านหลังบริเวณเอว จากนั้นแขม่วท้อง กดหลังลงค้างไว้ 5 วินาที ในแต่ละท่า ควรทาซ้า 3-5 ครั้ง ทุกวัน
  • 5. 5 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน -เลือกหัวข้อที่สนใจ -นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน -ศึกษารวบรวมข้อมูล -จัดทารายงาน -นาเสนอครู -ปรับปรุงและแก้ไข เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ -อินเทอร์เน็ต -หนังสือที่เกี่ยวข้อง -คอมพิวเตอร์ -โทรศัพท์ งบประมาณ 100 บาท ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 1 6 1 7 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน
  • 6. 6 ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.ผู้จัดทามีความเข้าใจในหัวข้อที่สนใจมากขึ้น 2.สามารถนาความรู้เผยแพร่ให้กับคนอื่นได้ 3.ผู้จัดทามีความเข้าใจในการทางานอย่างเป็นระบบมากขั้น สถานที่ดาเนินการ 1.ห้องคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย 2.ห้องEnglish Corner 3.โต๊ะทางานที่บ้าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 2.กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา แหล่งอ้างอิง พฤติกรรมสี่ยงโรคหมอนรองกระดูก(2560). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://www.sanook.com/health/5293/.(31 สิงหาคม 2560) โรคหมอนรองกระดูก(2559). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https://www.bumrungrad.com/th/spine- institute-surgery-bangkok-thailand-best-jci/conditions/herniated-disc .(31 สิงหาคม 2560) หมอนรองกระดูกกดทับเส้นประสาท(2558). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://www.somdej.or.th/index.php/2015-11-12-03-28-53 .(31 สิงหาคม 2560)