SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
1
Clinical Practice Guideline for Acne
เพ็ญวดี ทิมพัฒนพงศ
วัณณศรี สินธุภัค
สุชาย ศรีปรัชญาอนันต
นุชา เนียมประดิษฐ
ความนํา
แนวทางการดูแลรักษาโรคผิวหนังเปน
ความเห็นรวมกันของกลุมผูรูที่ปฏิบัติการดูแลรักษา
ผูปวย แนวทางที่วางไวนี้เพื่อใชเปนแนวทางในการ
ดูแลรักษาผูปวย มิใชกฎตายตัวที่ตองปฏิบัติการ
รักษาตามที่เขียนไวทุกประการ ทั้งนี้เพราะผูปวยแต
ละรายมีปญหาที่แตกตางกัน การวางแนวทางการ
รักษานี้เปนการสรางมาตรฐานและพัฒนาการดูแล
รักษาโรคผิวหนัง เพื่อใหประชาชนที่มาพบแพทย
ไดรับความมั่นใจวาจะไดรับการดูแลรักษาที่ดี
คณะผูจัดทําขอสงวนสิทธิ์ในการนําไปใชอางอิง
ทางกฏหมายโดยไมผานการพิจารณาจาก
ผูทรงคุณวุฒิ หรือผูเชี่ยวชาญในแตละกรณี
นิยาม (Definition)
สิว คือ การอักเสบของหนวยรูขนและตอม
ไขมัน (pilosebaceous unit) โดยมากมักเปนบริเวณ
หนา คอ และลําตัวสวนบน ซึ่งเปนตําแหนงที่มีตอม
ไขมันขนาดใหญอยูหนาแนน มักพบในวัยรุน แต
บางคนอาจเปนๆหายๆจนอายุเลย 40 ป ทั้งนี้ขึ้นอยู
กับปจจัยที่สงเสริมใหเกิดสิว
การวินิจฉัย (Diagnosis)
1.ลักษณะทางคลินิก (Clinical criteria)
1.1 ลักษณะจําเพาะของสิว คือมีcomedone
(ductal hypercornification) อาจจะมี lesion หลาย
แบบปะปนกันไดแก
ก. ชนิดไมอักเสบ
- closed comedone เปนตุมกลมเล็กแข็งสีขาว
จะเห็นชัดขึ้นเมื่อดึงผิวหนังใหตึงหรือโดยการคลํา
- open comedone เปนตุมกลมเล็กแข็งคลาย
dosed comedone แตตรงยอดมีรูเปดและมีกอนสีดํา
อุดอยูปากขุมขน
ข. ชนิดอักเสบ ไดแก
- papule ตุมสีแดงขนาดเล็ก
- pustule ตุมแดงขนาดเล็ก มีหนองที่ยอด
- nodule กอนสีแดงภายในมีหนองปนเลือด
บางครั้งอาจเปนหลายหัวติดกันหรือมี open
comedone หัวดํามากกวา 1 หัวอุดอยู มักพบบริเวณ
หลังของผูเปนสิวชนิดรุนแรง (acne conglobata)
- cyst กอนนูนแดง นิ่ม ภายในมีหนองปนเลือด
2
ค. รองรอยการหายของโรคสิว มีหลายแบบ
ไดแก Pitted scar, papulo - nodular scar, keloid,
pigmented maeule
1.2 บริเวณที่เปนสิวบอย คือ หนา รองลงมาคือ
คอ หลัง และอกสวนบน
1.3 ชนิดของสิว
- Acne vulgaris พบบอย
- ชนิดรุนแรง เชน Acne conglobata, Acne
fulminans, Pyoderma faciale
- Steroid induced acne และจากยาอื่นๆ
- Chlor acne (สัมผัสกับสารพวก (Chlorinated
hydrocarbon)
- Cosmetic acne
- Endocrine acne เชน สิวเกิดรวมกับ
Polycystic ovary syndrome (PCOS)
- Infantile acne
- Acne excorie'e
- etc.
1.4 การจัดระดับความรุนแรงของสิว
- เล็กนอย (mild) มีหัวสิวไมอักเสบเปนสวน
ใหญจํานวนไมมาก หรือมีสิวอักเสบขนาดเล็กรวม
ดวยจํานวนนอย
- ปานกลาง (moderate) มี papule และ pustule
ขนาดเล็กจํานวนมาก มี nodule จํานวนนอย
- รุนแรง (severe) มี papule และ pustule
มากมายมี nodule หรือ cyst เปนจํานวนมาก หรือมี
nodule อักเสบอยูนานและกลับเปนซ้ําหรือมีหนอง
ไหล มี sinus tract หรือหายแลวเกิดแผลเปน
2. การตรวจทางหองปฏิบัติการ
โดยทั่วไปไมจําเปนตองทํายกเวนในรายที่สงสัย
วาจะเปน
- endocrine acne เชน ผูหญิงที่ขนดกดํา อวน
ประจําเดือนผิดปกติเปนประจํา เสียงหาว ศีรษะลาน
แบบผูชาย ควรปรึกษาผูเชี่ยวชาญทางนรีเวชและ
ตอมไรทอดวย
- gram-negative folliculitis โดยทํา Bacterial
culture
- Pityrosporum หรือ bacterial folliculitis โดย
ทํา pus smear and stain ดวย Gram
- โรคอื่นที่คลายสิว อาจตองทํา Biopsy
3. การวินิจฉัยแยกโรค
โรคผิวหนังคลายสิว (Acne-like conditions)
ไดแก
- Pityrosporum folliculitis
- Gram negative folliculitis
- Acneiform drug eruption
- Etc.
การรักษา
หลักในการรักษาสิว
1. ใหความรูแกผูปวย
1.1 ใหทราบถึงลักษณะและความรุนแรงของสิว
ตลอดจนสาเหตุประกอบตางๆ ที่อาจทําใหอาการ
ของสิวดีขึ้นหรือเลวลง เปนการรักษาทางจิตใจให
ผูปวย เพื่อใหผูปวยเกิดความมั่นใจและลดความวิตก
กังวลจากความเขาใจและการรับรูผิดๆ ถูกๆ จาก
เพื่อนฝูงหรือคําโฆษณาตางๆเชน เชื่อวาสิวเกิดจาก
ความสกปรกหรืออาหารบางอยางเปนตัวกระตุน
ความเชื่อนี้ยังไมมีหลักฐานสนับสนุนทางการแพทย
3
1.2 ใหความมั่นใจวาสิวที่หนาจะดีขึ้นได
โดยทั่วไปถาไดรับการรักษาที่ถูกตองเหมาะสม สิว
จะเริ่มดีขึ้นในเวลาประมาณ 2-3 เดือน และจะดีขึ้น
มากในเวลา 4-8 เดือน และหลังจากนั้นอาจตองใช
ยาคุมโรคไวเปนระยะเวลาหนึ่งจนกวาจะพนวัยที่
เปนสิว และที่สําคัญคือ ผูปวยตองเชื่อฟงและปฏิบัติ
ตามคําแนะนําของแพทยอยางเครงครัด ทั้งในดาน
การรับประทานยาและการใชยาทา โดยแพทย
จะตองบอกถึงผลดีและผลขางเคียงของยาแตละตัว
ใหผูปวยทราบดวย
2. Standard treatment รักษารอยโรคแบบ
มาตรฐานตามความรุนแรงของสิว
Mild Acne
ใชเฉพาะยาทา ไดแก
- Benzoyl peroxide 2.5%-5%
- Retinoic acid 0.01%-0.05%
- Clindamycin 1% solution
- Erythromycin 2%-4% solution หรือ gel
- Sulfur, resorcinol
หมายเหตุ ไมควรใช Clindamycin หรือ
Erythromycin ทาอยางเดียว เพราะมีความเสี่ยงตอ
การเกิดเชื้อดื้อยาควรใชรวมกับ Benzoyl peroxide
Moderate Acne
ใชยาทา (ดังกลาวแลวใน mild acne) รวมกับยา
รับประทานคือ Tetracycline วันละ 500 - 1000 mg
ในกรณีที่แพ Tetracycline ใหใช erythromycin
1000 mg/day ระยะเวลาของการใชยา ดูบทสงทาย
Severe Acne
ควรปรึกษาแพทยผูเชี่ยวชาญโรค
ทางเลือกอื่นสําหรับการรักษา
1.Alternative treatment ใชในรายที่ใชยา
มาตรฐานแลวไมไดผลซึ่งควรพิจารณาเมื่อรักษา
ผูปวยติดตอกันไปแลว 4 – 6 สัปดาหขึ้นไปหรือเมื่อ
ผูปวยเกิดการแพยามาตรฐาน
1.1 ยาทา ไดแก
: synthetic retinoid (adapalene, tazarotene,
isotretinoin) มีฤทธิ์ในการละลาย comedone
: 20% azelaic acid มีฤทธิ์ในการฆาเชื้อ
แบคทีเรีย และละลาย comedone
1.2 ยารับประทาน ไดแก (รายละเอียดดูบทสง
ทาย)
: ยาปฏิชีวนะ ไดแก
- trimethoprim-sulfamethoxazole หรือ
amoxycillin ใชในรายที่เปน gram negative
folliculitis
- doxycycline 100-200mg/d หรือ
minocycline 50-100mg/d ใชในรายที่ใช
tetracycline แลวไมไดผล
: ยาประเภท ฮอรโมน ไดแก Low dose estrogen
plus cyproterone acetate ใชไดเฉพาะผูปวยหญิง
หรือรักษาดวยวิธีมาตรฐานแลวไมไดผล
1.3 การรักษาตอไปนี้ควรใชโดยผูเชี่ยวชาญ
ก. ยาพวก retinoid ไดแก 13-cis-retinoic
acid ใชเฉพาะในสิวอักเสบรุนแรง (Nodulo- cystic
acne) ตั้งแตสิวหัวชางขึ้นไปหรือในรายที่ใชวิธีอื่นๆ
แลวไมไดผล ในรายสิวที่กอใหเกิดความนาเกลียด
หรือความเครียดแกผูปวย
ข. systemic corticosteroid ใหในราย
severe nodular acne ใหขนาดต่ําๆ (ไมเกิน 15 มก./
วัน ) ในระยะเวลาไมเกิน 1 เดือน
4
ค. Intralesional steroid ใช crystalline
suspension of traimcinolone acetonide เพราะไม
ละลายงาย และจะอยูในเนื้อเยื่อเปนเดือน ขนาดที่ใช
1 - 2.5 mg./ ml. ฉีดเขาตุมละ 0.05 ml. ฉีดไมเกิน 10
mg. ตอสัปดาห เพื่อกัน systemic side effect ฉีดใน
รายตุมหนองอักเสบและเจ็บ เพื่อลดอาการอักเสบ
และลดการเกิดแผลเปน งดการฉีดรอบตา รอบจมูก
2. Option ใชเฉพาะผูเชี่ยวชาญเทานั้น
- ยา เชน Spironolactone
- Antibiotic อื่นๆ ตาม sensitivity
- Physical agents เชน น้ําแข็งแหง
ไนโตรเจนเหลว เพื่อชวยลดการอักเสบ
- รักษาแผลเปน โดยวิธี chemosurgery,
dermabrasion, laserbrasion, และ collagen injection
- Chemical peeling
การติดตามผล
1. นัดผูปวยมาตรวจซ้ําครั้งแรกใน 1-4 สัปดาห
เพื่อสอบถามถึงวิธีการใชยา และผลขางเคียง
2. ตอไปอาจนัดผูปวยทุก 1-3 เดือน เพื่อปรับ
ขนาดยา
3. ดูผลการรักษา หลังรักษาอยางตอเนื่องกัน
แลวอยางนอย 4 ถึง 6 สัปดาหขึ้นไป ถาไมไดผล
หรือเลวลง จึงจะพิจารณาเปลี่ยนยา
4. หลังจากสิวยุบหมดแลว ควรใหผูปวยใชยา
ทาคุมไวจนกวาจะพนวัยที่เปนสิว
หมายเหตุ ในหญิงมีครรภหรือระยะใหนมลูก
ควรใหใชเฉพาะยาทาเทานั้นและควรหลีกเลี่ยงการ
ทา retinoic acid
บทสงทาย
ยาทารักษาสิว
1.Tretinoin (trans-retinoic acid, vitamin A acid)
การออกฤทธิ์ เปนยาที่มีฤทธิ์ Comedolytic ที่ดี
ที่สุดออกฤทธิ์โดย
ก. เรง epidermal cell turnover ทําใหสิ่งอุดตัน
ที่อัดแนนในหลวมและหลุดออก ทําให closed
comedone เปลี่ยนเปน open comedone และหลุด
ออกไปจาก follicle
ข. ลดการยึดติดกันของ horny cells ทําให
horny cell หลุดลอกออกไปเร็วขึ้น ยาจึงสามารถ
ปองกันการเกิด comedone ใหม จึงสามารถใชในแง
prophylactic treatment
ค. ลดอาการอักเสบ ทําใหตุมสิวอักเสบหาย
รวมทั้ง granulomatous reaction ดวย
ง. กระตุนการสรางเสนเลือดฝอยใหมๆในชั้น
papillary dermis ทําใหมีการเพิ่ม blood flow ทําให
เห็นผิวหนังเปนสีชมพู
จ. เพิ่มการสะสมของเนื้อเยื่อใหม (new
collagen) อยางชาๆจะเกิดหลังการใชยาแลวเปน
เวลานานหลายเดือน จึงมีผลในการรักษา
photoaging ดวย
ขอบงชี้
- ผื่นสิวชนิด comedone
- ผื่นสิวทุกชนิด แตตองใชรวมกับยาอื่นๆที่มี
ฤทธิ์ตางกัน เชน antibiotics
- สิวที่เกิดจากสารเคมี เชน acne cosmetica,
pomade acne, oil acne and chloracne
- ใชไดดีมากสําหรับเปน prophylaxis ของสิว
หลังจากรักษาการอักเสบ ดวย systemic drug ได
แลว
5
- ทาประมาณ 2-3 ครั้ง/สัปดาห ก็เพียงพอ
สําหรับเปนยาควบคุมสิวเพื่อไมใหกลับเปนซ้ํา
- ใชไดทุกอายุแมแตเด็กทารก
- ควรหลีกเลี่ยงการใชยานี้ในขณะตั้งครรภหรือ
ใหนมบุตร
ผลิตภัณฑยา ทําในรูป cream และ gel มีความ
เขมขน 0.01%, 0.025%, 0.05% และ 0.1% ถาเปน
aqueous cream จะระคายนอยลง
วิธีใช ทาบางๆทั่วหนาวันละ 1 ครั้งกอนนอน แต
ตองอธิบายใหผูปวยทราบวาการทายาใน 1-2
สัปดาหแรก อาจมีผื่นเหอมากขึ้นเล็กนอย และยา
อาจทําใหหนาแดงและลอกบาง ซึ่งถือวาปกติแตถา
เปนมากเกินไป ควรลดความเขมขนและความถี่ของ
การใชยาลง เมื่อใชยานี้ควรหลีกเลี่ยงแสงแดด หรือ
ทายากันแสงแดดในเวลากลางวัน การดูวายาใหผล
ในการรักษาหรือไม จะตองใชยาแลวอยางนอย 2-3
เดือน systemic toxicity ไมมี เพราะยามีการดูดซึม
แค 3-4% เทานั้น
2. Benzoyl peroxide
การออกฤทธิ์
1. ฆาเชื้อ gram positive organism & yeast ที่
พบในทอรูขน, ตอมไขมัน ซึ่ง P.acnes เปนตัว
สําคัญ แตไมฆา normal flora ใน GI tract ตางจาก
oral antibiotic ซึ่งจะฆา normal flora ดวย ยาออก
ฤทธิ์โดยปลอยออกซิเจนอิสระออกมาเพื่อไป
oxidise protein ของเชื้อ P.acnes ทําใหจํานวนเชื้อ
ลดลง
2. กระตุน epidermal mitosis ทําใหเกิด
acanthosis & hyperkeratosis
3. ยามี irritating effect ปานกลาง ทําใหผิวแหง
และลอกเปนขุยๆ peeling action นี้อาจทําใหเขาใจ
ผิดวาไปลดการทํางานของตอมไขมัน ผิวเลยแหง
4. ยาไมมีผล sebostatic
ขอบงชี้
- mild to moderate papulopustular acne แต
ไมไดผลใน comedonal acne
ผลิตภัณฑยา มีในรูปของ aquagel, alcohol และ
acetone gel ในความเขมขนตางๆ กัน ตั้งแต 2.5%,
4%, 5% และ 10% ถาเปน aquagel จะระคายนอย
กวา
วิธีใช
1. ทาบางๆทั่วหนา เชา เย็น หลังลางหนาและ
เช็ดแหงแลว
2. ถาใชรวมกับ retinoic acid ควรทาคนละ
เวลา
3. อาจทําใหเกิดระคายเคืองตอผิวหนัง ผิวแหง
ลอก
4. อาจทําใหเกิด allergic contact dermatitisได
5. ถาทาบริเวณลําตัวควรใสเสื้อผาสีขาวรองไว
เพราะยาจะกัดสีเสื้อผาทําใหดางได
3. Topical antibiotics
ขอบงชี้
- ไดผลในผื่นสิวอักเสบทุกชนิด โดยเฉพาะที่
อักเสบไมมากจนตองใหยารับประทาน
ผลิตภัณฑยา ที่ใชมาก ไดแก 1% clindamycin
phosphate lotion หรือ gel, 1-2% erythromycin base
solution หรือ gel
6
วิธีใช
- ทาเฉพาะตุมที่อักเสบเทานั้น โดยใชปลายนิ้ว
มือแตม วันละ 2-3 ครั้ง
- clindamycin และ erythromycin ใหผลของ
การรักษาใกลเคียงกัน clindamycin คอนขาง
ปลอดภัย แตมีรายงานวาทําใหเกิด bloody diarrhoea
& colitis เหมือนที่เกิดกับยารับประทานบางแต
อาการจะหายอยางรวดเร็วหลังหยุดยา erythromycin
ไมทําใหเกิดการระคายเคืองหรือการแพสัมผัส
คอนขางปลอดภัย ผลขางเคียงเฉพาะที่ของยาเหลานี้
มีบาง ไดแก อาการแดง ลอก และแสบๆโดยเฉพาะ
รอบๆตาซึ่งมักเกิดจากตัวทําละลาย (vehicle)
4. Azelaic acid
ขอบงชี้
- ไดผลสําหรับ mild to moderate acne
ผลิตภัณฑยา อยูในรูป 20% cream
วิธีใช
- ทาบางๆทั่วใบหนา วันละ 2 ครั้ง เชาและกอน
นอน
- ผลขางเคียงอาจมีอาการระคายเคือง แสบ แดง
หรือหนาลอก
5. Adapalene (Naphthoic acid) เปน synthetic
retinoic analoque
ขอบงชี้
- ใชไดดีกับสิวชนิด comedone ทั้ง open &
closed และสิวอักเสบ
ผลิตภัณฑยา เปนรูปของ 0.1% gel
วิธีใช
- ทาทั่วหนากอนนอน
- ยาไมมีผลทําใหผิวไวตอแสงแดด
6. Topical Isotretinoin
ขอบงชี้ ใชไดผลสําหรับ mild to moderate acne ทั้ง
ชนิด comedone และสิวอักเสบ
ผลิตภัณฑยา เปนรูปของ 0.05% gel
วิธีใช ทาทั่วหนากอนนอน
ยารับประทาน
1. Tetracycline
- ไมไดผลใน open & closed comedone เพราะ
ไมใช comedolytics แตจะไดผลในผื่นสิวอักเสบ
โดยเฉพาะตุมหนอง แตกวาจะเห็นผลใชเวลาหลาย
สัปดาห ซึ่งเกิดจากการลดการเกิดใหมของ
papulopustules โดยไปยับยั้งการเจริญของ P.acnes
ใน microcomedones ขนาดที่จะใชในการรักษาสิว
500-1000 มก./วัน ขนาดสูงสุด 1500 มก./วัน
ขอบงชี้และวิธีใช
- moderate to papulopustular acne
- acne conglobata
- ใชไดในเด็กตั้งแตอายุ 12 ปขึ้นไป
- form ที่ใชคือ tetracycline hydrochloride,
phosphate, oxytetracycline, doxytetracycline
- ควรรับประทานยากอนอาหารตอนทองวาง
อาหารที่ทําลายฤทธิ์และลดปริมาณการดูดซึมของ
ยา ไดแก นม (มีแคลเซียมสูง) วิตามินที่มีธาตุเหล็ก
และแรธาตุอื่นๆ ยาเคลือบกระเพาะ และแคลเซียม
และใหรับประทานกอนอาหารถาคลื่นไสอาเจียนให
เปลี่ยนเปน doxytetracycline แทนเพราะใหยาขนาด
นอยกวา คือ 100-200 mg./วัน เนื่องจากยานี้ถูก
อาหารและแรธาตุตางๆ ทําลายฤทธิ์ไดยากกวา
- ระยะเวลาของการใชยาไมมีกําหนดที่แนนอน
แตพบวาคอนขางปลอดภัย แมจะใหติดตอกันเปนป
7
ในขนาด 250 มก./วัน แตก็ควรตรวจผูปวยทุกๆ 3
เดือน การพิจารณาหยุดยาใหดูจากอาการเปนสําคัญ
แตถาใหยาแลว 3-6 เดือนยังไดผลไมดี อาจตอง
พิจารณาเปลี่ยนวิธีการรักษา
- ในรายที่แพ tetracycline อาจเปลี่ยนให
erythromycin 1000 มก./วัน แทน
2. Isotretinoin (13-cis-retinoic acid)
ขอบงชี้
ใชเฉพาะในรายซึ่งเปนสิวชนิดรุนแรง และ
รักษาดวยวิธีอื่นๆไมไดผล นอกจากนี้อาจใชรักษา
ผูปวยที่เปน rosacea, gram negative folliculitis,
dissecting cellulitis of scalp และ pyoderma faciale
ขนาดที่ใชคือ 0.1 ถึง 1 mg./kg/d.
ขอหามของการใชยา คือ หามใชในผูปวยที่
ตั้งครรภเพราะมี teratogenic effect และผูปวยที่แพ
paraben เพราะใช paraben เปนสาร preservative ใน
gelatin capsule
เมื่อใหยานี้ในผูปวยหญิงตองใหคําแนะนําแก
ผูปวยถึงการคุมกําเนิดอยางมีประสิทธิภาพขณะกิน
ยาและหลังหยุดยาอยางนอย 1 เดือน
ขอแนะนํากอนการใชยา
1. เลือกผูปวยที่ควรใชยาใหถูกตอง
2. อธิบายถึงผลในการรักษาและผลขางเคียง
ของยา
3. ถาผูปวยเปนเด็ก ควรอธิบายใหบิดามารดา
เขาใจดวย
4. ระวังการใชยาในสตรี ควรตรวจปสสาวะ
พิสูจนวาไมมีการตั้งครรภกอนรับประทานยา
5. ควรตรวจเลือดเพื่อดูการทํางานของตับ, ดู
ระดับเม็ดเลือดและระดับไขมันเสนเลือดเปนระยะๆ
ตั้งแตกอนใหยา 1 เดือนและ 3 เดือนหลังใหยา
6. ไมควรใชในผูปวยที่มีการทํางานพบตับและ
ไตผิดปกติ
7. ชั่งน้ําหนักเพื่อคํานวณขนาดยา
8. ในสตรีเริ่มใหยาในวันที่ 3 ของประจําเดือน
9. อาจให non-medicated emollient
10. ในผูที่สายตาสั้น งดการใช contend ใหงดใช
ชั่วคราว ใหใชแวนแทน
11. งดการบริจาคโลหิตระวางรักษาและหลัง
รักษาอยางนอย 3 เดือน
ผลขางเคียง
1. Cheilitis พบเกือบทุกราย โดยเฉพาะถาให
dose สูง ควรใหทา vaseline ointment บอยๆ
2. Dry skin พบมากที่หนา upper arm, wrist,
lower leg โดยเฉพาะในหนาหนาวที่มีความชื้นต่ํา
ผิวจะเปนแบบ scaling, icthyosiform dermatitis
3. Ophthalmologic side effects ไดแก ตาแหง
(ระหวางใชยานี้ควรงดใช contact lens) cornea ขุน
และลด night vision
4. Hair loss, increase sunburn, skin infection
5. Sticky palms & soles พบไมมาก
6. Friction blister เกิดจากการทํางานหนักหรือ
เลนกีฬา
7. Musculo-skeletal symptoms พบ arthralgia
ไดประมาณ15% มักเกิดหลังจากออกกําลังกายหรือ
มี activity มากๆ
8. Hyperostosis and diffuse interstitial
skeletal hyperostosis(DISH) พบนอยมาก
8
9. Pseudotumor cerebri เปน benign
intracranial hypertension อาจเกิดจากยาอื่นไดอีก
หลายตัว เชน ไมควรใช tetracycline รวมกัน
10. Early epiphyseal closure ดังนั้นจึงไมควรใช
ในเด็กอายุต่ํากวา 18 ป
3. Sulfamethoxazole trimethoprim
ยาที่ใชไดแก combination ของ 160 mg.
Trimethoprim, 800 mg. Sulfamethoxazole
รับประทานวันละ 2 ครั้ง
ขอบงชี้
- Gram negative folliculitis
4. ยาประเภทฮอรโมน ไดแก
- Spironolactone(aldosterone antagonist)
- Antiandrogen and estrogen ไดแก
2 mg. Cyproterone acetate + 50 mg. Ethinyl
estradiol (Diane)
2 mg. Cyproterone acetate + 35 mg. Ethinyl
estradiol (Diane 35)
ใชในผูหญิงที่เปนสิวและหนามันมากๆในราย
resistant papulopustular acne, refractory acne
conglobata ผูหญิงที่เปนสิวรวมกับมี irregular
menstruation หรือรวมกับ PCOS อาการหนามันจะ
ลดลง 25-35%
ผลขางเคียง
menstrual abnormality, breast tenderness &
enlargement, nausea & vomiting, fluid retention,
leg edema, headache, melasma, coronary and
peripheral thrombosis.
References
1. Downing DT,Stewart ME, Strauss JS Biology of
sebaceous glands. In : Fitzpatrick TB, Eisem AZ,
Wolff K, Freedberg IM, Austen KF, Dermatology
in general medicine 4th
edition MC Graw-Hill,
New York 1993 : 1 ; 210-21.
2. Kligman A.M. An overview of acne J. Invest
Dermatol 1974: 62 ; 268-87.
3. Pochi PE, Strauss JS : Endocrinologic control of
the development and activity of the human
sebaceous gland J Invest Dermatol 1974: 62: 191.
4. Thody AJ, Shuster S Control and function of
sebaceous glands. Physiol Rev 1989: 69: 383-416.
5. Wotiz HH, Mescon H, Doppel H, Lesson HM. The
in vitro metabolism of testosterone by human skin.
J Invest Dermatol 1956 : 26 : 113-20.
6. Shuster S, Thody AJ. The control and
measurement of sebum secretion. J Invest
Dermatol 1974 : 62 : 172-90.
7. Marples RR. The microflora of the face and acne
lesions. J Invest Dermatol 1974 : 62 : 326-31.
8. Gould DJ, Cunliffe WJ, Holland KT, J Invest
Dermatol 1977: 68: 251.
9. Allaker RP, Greenman J, Osborne RH. The
production of inflammatory compounds by
Proionibacterium acnes and other skin organism.
Br J dermatol 1987: 117: 175-83.
10. Puhvel SM, Salamoto M. An in vivo evaluation of
the inflammatory effect of purified comedonal
components in human skin. J Invest Dermatol
1977: 69: 401-6.
11. Ardl KA. Acne In Arndt KA.ed,Manual of
dermatologic therapeutics. Boston; Little,brown
and Company 1989: 3-13.
12. Strauss JS Sebaceous glands. Acne vulgaris in
Fitzpatrick TB,Eisem AZ,Wolff K,Freedberg
IM,Austen KF. Dermatology in general medicine
4th
edition Me Graw-Hill,New York 1993: 1: 709-
26.
13. Amdt KA. Formulary In Amdt KA. cd. Manual of
dermatologic therapeutics. Boston Little,brown
and Company 1989: 201-4.
14. Nazzarp-Porro M Azelaic acid. J Am Acad
Dermatol 1987: 17: 1033-41.
15. Cunliffe WJ,Holland KT Clinical and laboratory
studies on treatment with 20% azelaic acid cream
for acne. Acta Derm Venereol [Suppl 143]
(Stockh) 1989: 69: 31-4.
16. Jones DII,King K,Miller AJ. et. al. A dose
response study of 13-cis retinoic acid in acne
vulgaris. Br J Dermatol 1983: 108: 333-43.
9
17. Strauss JS,Repini RP,Shalita Ar,et. al. Isotretinoin
therapy for acne result of a multicenter dose-
response study. J Am Acad Dermatol 1984: 10:
490-6.
18. King K,Jones DH,Daltrey DC,et. al. A double-
blind study of the effects of 13 cis retinoic acid on
acne, sebum excretion rate and microbial
population. Br J Dermatol 1982: 107: 583-90.
19. Cullen JP. Intralesional corticosteroids. J Am Acad
Dermatol1981: 4: 149-51.
20. Levine RM,Rasmussen JE. Intrasional
corticosteroids in the treatment of nodulocystic
acne. Arch Dermatol 1983: 119 : 480-1.
21. Knapp Tr,Kaplan EN,Daniels JR. Injectable
collagen for soft tissue augmentation. Plastic
Reconstr Surg 1977: 60: 398/405.
22. Cunliffe W.J. In Cunliffe W.J. ed : Acne London :
Martin Dunitz Ltd.1989 : 93-114, 11-75, 230-1
23. Ebling FJG, Cunliffe WJ. Acne vulgaris In
Champion RH, Burton JL, Ebling FJG, eds:
Textbook of Dermatology, 5th
ed,
London,Blackwell Scientific Publications,1992:
1717.
24. Golinick HPM, Zouboulis CC, Akamatsu H, et al.
Pathogenesis and pathogenesis related treatment of
acne. J. Dermatol1991 : 18 : 489-99
25. Sansone G, Reisner RM. Differential rates of
conversion of testosterone to dihydrotestosterone
in acne and in normal human skin a possible
pathogenic factor in acne. J Invest Dermatol 1971:
56: 366-72.
26. Pochi PE, Shalita AR, Strauss JS, et al. Report of
the consensus conference on acne classification. J
Am Acad Dermatol 1991: 24: 495-500.
ปรับปรุง มิถุนายน 2548

More Related Content

What's hot

การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุSirinoot Jantharangkul
 
Drugs used in disorders of coagulation
Drugs used in disorders of coagulationDrugs used in disorders of coagulation
Drugs used in disorders of coagulationSirinoot Jantharangkul
 
Drug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation presentDrug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation presentAuMi Pharmaza
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554Utai Sukviwatsirikul
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)Aphisit Aunbusdumberdor
 
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด Utai Sukviwatsirikul
 
การพยาบาลผู้ป่วยโรคผิวหนัง
การพยาบาลผู้ป่วยโรคผิวหนังการพยาบาลผู้ป่วยโรคผิวหนัง
การพยาบาลผู้ป่วยโรคผิวหนังChutchavarn Wongsaree
 
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการรกัษาไวรัสตับอกัเสบบีในผู้ใหญ่ รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง
แนวทางการรกัษาไวรัสตับอกัเสบบีในผู้ใหญ่ รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง แนวทางการรกัษาไวรัสตับอกัเสบบีในผู้ใหญ่ รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง
แนวทางการรกัษาไวรัสตับอกัเสบบีในผู้ใหญ่ รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง Utai Sukviwatsirikul
 
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยาการจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยาRachanont Hiranwong
 
Clinical practice guidelines for anaphylaxis 2017
Clinical practice guidelines for anaphylaxis 2017Clinical practice guidelines for anaphylaxis 2017
Clinical practice guidelines for anaphylaxis 2017Utai Sukviwatsirikul
 
อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยา
อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยาอาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยา
อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยาLatthapol Winitmanokul
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)Aiman Sadeeyamu
 
TAEM10: Endocrine Emergency
TAEM10: Endocrine EmergencyTAEM10: Endocrine Emergency
TAEM10: Endocrine Emergencytaem
 

What's hot (20)

การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
 
Drugs used in disorders of coagulation
Drugs used in disorders of coagulationDrugs used in disorders of coagulation
Drugs used in disorders of coagulation
 
A003
A003A003
A003
 
Medication reconciliation slide
Medication reconciliation slideMedication reconciliation slide
Medication reconciliation slide
 
Drug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation presentDrug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation present
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
 
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
 
การพยาบาลผู้ป่วยโรคผิวหนัง
การพยาบาลผู้ป่วยโรคผิวหนังการพยาบาลผู้ป่วยโรคผิวหนัง
การพยาบาลผู้ป่วยโรคผิวหนัง
 
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
 
แนวทางการรกัษาไวรัสตับอกัเสบบีในผู้ใหญ่ รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง
แนวทางการรกัษาไวรัสตับอกัเสบบีในผู้ใหญ่ รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง แนวทางการรกัษาไวรัสตับอกัเสบบีในผู้ใหญ่ รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง
แนวทางการรกัษาไวรัสตับอกัเสบบีในผู้ใหญ่ รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง
 
Case study : dengue fever
Case study : dengue feverCase study : dengue fever
Case study : dengue fever
 
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยาการจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
 
Clinical practice guidelines for anaphylaxis 2017
Clinical practice guidelines for anaphylaxis 2017Clinical practice guidelines for anaphylaxis 2017
Clinical practice guidelines for anaphylaxis 2017
 
อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยา
อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยาอาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยา
อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยา
 
Adverse drug reaction 09
Adverse drug reaction 09Adverse drug reaction 09
Adverse drug reaction 09
 
Pharmacotherapy stroke
Pharmacotherapy strokePharmacotherapy stroke
Pharmacotherapy stroke
 
Guideline diabetes-care-2017
Guideline diabetes-care-2017Guideline diabetes-care-2017
Guideline diabetes-care-2017
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
TAEM10: Endocrine Emergency
TAEM10: Endocrine EmergencyTAEM10: Endocrine Emergency
TAEM10: Endocrine Emergency
 

Viewers also liked

Viewers also liked (20)

Control Your Emotions With Mind Control
Control Your Emotions With Mind ControlControl Your Emotions With Mind Control
Control Your Emotions With Mind Control
 
Clinical Practice Guideline Acne 2010
Clinical Practice Guideline Acne  2010Clinical Practice Guideline Acne  2010
Clinical Practice Guideline Acne 2010
 
Funciones s.o.
Funciones s.o.Funciones s.o.
Funciones s.o.
 
UMM!!! Europa
UMM!!! EuropaUMM!!! Europa
UMM!!! Europa
 
Checking E-mail
Checking E-mailChecking E-mail
Checking E-mail
 
Facilities
FacilitiesFacilities
Facilities
 
Moviemaker report
Moviemaker reportMoviemaker report
Moviemaker report
 
MBA
MBAMBA
MBA
 
Conan 2011: Beardpocalypse Programming Stunt
Conan 2011: Beardpocalypse Programming StuntConan 2011: Beardpocalypse Programming Stunt
Conan 2011: Beardpocalypse Programming Stunt
 
Hardware and software
Hardware and softwareHardware and software
Hardware and software
 
Microsoft windows phone_激安購入方法
Microsoft windows phone_激安購入方法Microsoft windows phone_激安購入方法
Microsoft windows phone_激安購入方法
 
El corazón no se equivoca
El corazón no se equivocaEl corazón no se equivoca
El corazón no se equivoca
 
Plato del buen comer
Plato del buen comerPlato del buen comer
Plato del buen comer
 
The foundation of history
The foundation of historyThe foundation of history
The foundation of history
 
The Koyal Group Info Mag Review: Gamle Mennesker Avslore Hemmeligheter
The Koyal Group Info Mag Review: Gamle Mennesker Avslore HemmeligheterThe Koyal Group Info Mag Review: Gamle Mennesker Avslore Hemmeligheter
The Koyal Group Info Mag Review: Gamle Mennesker Avslore Hemmeligheter
 
Destroy Approach Anxiety With Strange Mental Tricks
Destroy Approach Anxiety With Strange Mental TricksDestroy Approach Anxiety With Strange Mental Tricks
Destroy Approach Anxiety With Strange Mental Tricks
 
Lingkunganku
LingkungankuLingkunganku
Lingkunganku
 
Food as Medicine
Food as MedicineFood as Medicine
Food as Medicine
 
MCM
MCMMCM
MCM
 
Niño caso
Niño casoNiño caso
Niño caso
 

Similar to Clinical Practice Guideline for Acne โดย เพ็ญวดี ทิมพัฒนพงศ์และคณะ

Similar to Clinical Practice Guideline for Acne โดย เพ็ญวดี ทิมพัฒนพงศ์และคณะ (20)

Acne 2010
Acne 2010Acne 2010
Acne 2010
 
Cpg psoriasis institue of derm
Cpg psoriasis institue of dermCpg psoriasis institue of derm
Cpg psoriasis institue of derm
 
Cpg psoriasis
Cpg psoriasisCpg psoriasis
Cpg psoriasis
 
Cpg acne 2010
Cpg acne 2010Cpg acne 2010
Cpg acne 2010
 
Cpg acne 2010
Cpg acne 2010Cpg acne 2010
Cpg acne 2010
 
Acne 2010
Acne 2010Acne 2010
Acne 2010
 
Cpg acne 2010
Cpg acne 2010Cpg acne 2010
Cpg acne 2010
 
Acne 2010
Acne 2010Acne 2010
Acne 2010
 
Acne vulgaris treatment & management
Acne vulgaris treatment & managementAcne vulgaris treatment & management
Acne vulgaris treatment & management
 
Skin topic
Skin topicSkin topic
Skin topic
 
Topical corticosteroids
Topical corticosteroids Topical corticosteroids
Topical corticosteroids
 
Psoriasis แนวทางการรักษา
Psoriasis แนวทางการรักษาPsoriasis แนวทางการรักษา
Psoriasis แนวทางการรักษา
 
Cpg ad
Cpg adCpg ad
Cpg ad
 
Acne medications
Acne medicationsAcne medications
Acne medications
 
Cpg superficial fungal infection
Cpg superficial fungal infectionCpg superficial fungal infection
Cpg superficial fungal infection
 
รักษามะเร็ง
รักษามะเร็งรักษามะเร็ง
รักษามะเร็ง
 
Men skincare treatment
Men skincare  treatmentMen skincare  treatment
Men skincare treatment
 
Medication in-psoriasis-2559
Medication in-psoriasis-2559Medication in-psoriasis-2559
Medication in-psoriasis-2559
 
การรักษามะเร็ง
การรักษามะเร็งการรักษามะเร็ง
การรักษามะเร็ง
 
Skin part 2
Skin part 2Skin part 2
Skin part 2
 

More from Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 

More from Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

Clinical Practice Guideline for Acne โดย เพ็ญวดี ทิมพัฒนพงศ์และคณะ

  • 1. 1 Clinical Practice Guideline for Acne เพ็ญวดี ทิมพัฒนพงศ วัณณศรี สินธุภัค สุชาย ศรีปรัชญาอนันต นุชา เนียมประดิษฐ ความนํา แนวทางการดูแลรักษาโรคผิวหนังเปน ความเห็นรวมกันของกลุมผูรูที่ปฏิบัติการดูแลรักษา ผูปวย แนวทางที่วางไวนี้เพื่อใชเปนแนวทางในการ ดูแลรักษาผูปวย มิใชกฎตายตัวที่ตองปฏิบัติการ รักษาตามที่เขียนไวทุกประการ ทั้งนี้เพราะผูปวยแต ละรายมีปญหาที่แตกตางกัน การวางแนวทางการ รักษานี้เปนการสรางมาตรฐานและพัฒนาการดูแล รักษาโรคผิวหนัง เพื่อใหประชาชนที่มาพบแพทย ไดรับความมั่นใจวาจะไดรับการดูแลรักษาที่ดี คณะผูจัดทําขอสงวนสิทธิ์ในการนําไปใชอางอิง ทางกฏหมายโดยไมผานการพิจารณาจาก ผูทรงคุณวุฒิ หรือผูเชี่ยวชาญในแตละกรณี นิยาม (Definition) สิว คือ การอักเสบของหนวยรูขนและตอม ไขมัน (pilosebaceous unit) โดยมากมักเปนบริเวณ หนา คอ และลําตัวสวนบน ซึ่งเปนตําแหนงที่มีตอม ไขมันขนาดใหญอยูหนาแนน มักพบในวัยรุน แต บางคนอาจเปนๆหายๆจนอายุเลย 40 ป ทั้งนี้ขึ้นอยู กับปจจัยที่สงเสริมใหเกิดสิว การวินิจฉัย (Diagnosis) 1.ลักษณะทางคลินิก (Clinical criteria) 1.1 ลักษณะจําเพาะของสิว คือมีcomedone (ductal hypercornification) อาจจะมี lesion หลาย แบบปะปนกันไดแก ก. ชนิดไมอักเสบ - closed comedone เปนตุมกลมเล็กแข็งสีขาว จะเห็นชัดขึ้นเมื่อดึงผิวหนังใหตึงหรือโดยการคลํา - open comedone เปนตุมกลมเล็กแข็งคลาย dosed comedone แตตรงยอดมีรูเปดและมีกอนสีดํา อุดอยูปากขุมขน ข. ชนิดอักเสบ ไดแก - papule ตุมสีแดงขนาดเล็ก - pustule ตุมแดงขนาดเล็ก มีหนองที่ยอด - nodule กอนสีแดงภายในมีหนองปนเลือด บางครั้งอาจเปนหลายหัวติดกันหรือมี open comedone หัวดํามากกวา 1 หัวอุดอยู มักพบบริเวณ หลังของผูเปนสิวชนิดรุนแรง (acne conglobata) - cyst กอนนูนแดง นิ่ม ภายในมีหนองปนเลือด
  • 2. 2 ค. รองรอยการหายของโรคสิว มีหลายแบบ ไดแก Pitted scar, papulo - nodular scar, keloid, pigmented maeule 1.2 บริเวณที่เปนสิวบอย คือ หนา รองลงมาคือ คอ หลัง และอกสวนบน 1.3 ชนิดของสิว - Acne vulgaris พบบอย - ชนิดรุนแรง เชน Acne conglobata, Acne fulminans, Pyoderma faciale - Steroid induced acne และจากยาอื่นๆ - Chlor acne (สัมผัสกับสารพวก (Chlorinated hydrocarbon) - Cosmetic acne - Endocrine acne เชน สิวเกิดรวมกับ Polycystic ovary syndrome (PCOS) - Infantile acne - Acne excorie'e - etc. 1.4 การจัดระดับความรุนแรงของสิว - เล็กนอย (mild) มีหัวสิวไมอักเสบเปนสวน ใหญจํานวนไมมาก หรือมีสิวอักเสบขนาดเล็กรวม ดวยจํานวนนอย - ปานกลาง (moderate) มี papule และ pustule ขนาดเล็กจํานวนมาก มี nodule จํานวนนอย - รุนแรง (severe) มี papule และ pustule มากมายมี nodule หรือ cyst เปนจํานวนมาก หรือมี nodule อักเสบอยูนานและกลับเปนซ้ําหรือมีหนอง ไหล มี sinus tract หรือหายแลวเกิดแผลเปน 2. การตรวจทางหองปฏิบัติการ โดยทั่วไปไมจําเปนตองทํายกเวนในรายที่สงสัย วาจะเปน - endocrine acne เชน ผูหญิงที่ขนดกดํา อวน ประจําเดือนผิดปกติเปนประจํา เสียงหาว ศีรษะลาน แบบผูชาย ควรปรึกษาผูเชี่ยวชาญทางนรีเวชและ ตอมไรทอดวย - gram-negative folliculitis โดยทํา Bacterial culture - Pityrosporum หรือ bacterial folliculitis โดย ทํา pus smear and stain ดวย Gram - โรคอื่นที่คลายสิว อาจตองทํา Biopsy 3. การวินิจฉัยแยกโรค โรคผิวหนังคลายสิว (Acne-like conditions) ไดแก - Pityrosporum folliculitis - Gram negative folliculitis - Acneiform drug eruption - Etc. การรักษา หลักในการรักษาสิว 1. ใหความรูแกผูปวย 1.1 ใหทราบถึงลักษณะและความรุนแรงของสิว ตลอดจนสาเหตุประกอบตางๆ ที่อาจทําใหอาการ ของสิวดีขึ้นหรือเลวลง เปนการรักษาทางจิตใจให ผูปวย เพื่อใหผูปวยเกิดความมั่นใจและลดความวิตก กังวลจากความเขาใจและการรับรูผิดๆ ถูกๆ จาก เพื่อนฝูงหรือคําโฆษณาตางๆเชน เชื่อวาสิวเกิดจาก ความสกปรกหรืออาหารบางอยางเปนตัวกระตุน ความเชื่อนี้ยังไมมีหลักฐานสนับสนุนทางการแพทย
  • 3. 3 1.2 ใหความมั่นใจวาสิวที่หนาจะดีขึ้นได โดยทั่วไปถาไดรับการรักษาที่ถูกตองเหมาะสม สิว จะเริ่มดีขึ้นในเวลาประมาณ 2-3 เดือน และจะดีขึ้น มากในเวลา 4-8 เดือน และหลังจากนั้นอาจตองใช ยาคุมโรคไวเปนระยะเวลาหนึ่งจนกวาจะพนวัยที่ เปนสิว และที่สําคัญคือ ผูปวยตองเชื่อฟงและปฏิบัติ ตามคําแนะนําของแพทยอยางเครงครัด ทั้งในดาน การรับประทานยาและการใชยาทา โดยแพทย จะตองบอกถึงผลดีและผลขางเคียงของยาแตละตัว ใหผูปวยทราบดวย 2. Standard treatment รักษารอยโรคแบบ มาตรฐานตามความรุนแรงของสิว Mild Acne ใชเฉพาะยาทา ไดแก - Benzoyl peroxide 2.5%-5% - Retinoic acid 0.01%-0.05% - Clindamycin 1% solution - Erythromycin 2%-4% solution หรือ gel - Sulfur, resorcinol หมายเหตุ ไมควรใช Clindamycin หรือ Erythromycin ทาอยางเดียว เพราะมีความเสี่ยงตอ การเกิดเชื้อดื้อยาควรใชรวมกับ Benzoyl peroxide Moderate Acne ใชยาทา (ดังกลาวแลวใน mild acne) รวมกับยา รับประทานคือ Tetracycline วันละ 500 - 1000 mg ในกรณีที่แพ Tetracycline ใหใช erythromycin 1000 mg/day ระยะเวลาของการใชยา ดูบทสงทาย Severe Acne ควรปรึกษาแพทยผูเชี่ยวชาญโรค ทางเลือกอื่นสําหรับการรักษา 1.Alternative treatment ใชในรายที่ใชยา มาตรฐานแลวไมไดผลซึ่งควรพิจารณาเมื่อรักษา ผูปวยติดตอกันไปแลว 4 – 6 สัปดาหขึ้นไปหรือเมื่อ ผูปวยเกิดการแพยามาตรฐาน 1.1 ยาทา ไดแก : synthetic retinoid (adapalene, tazarotene, isotretinoin) มีฤทธิ์ในการละลาย comedone : 20% azelaic acid มีฤทธิ์ในการฆาเชื้อ แบคทีเรีย และละลาย comedone 1.2 ยารับประทาน ไดแก (รายละเอียดดูบทสง ทาย) : ยาปฏิชีวนะ ไดแก - trimethoprim-sulfamethoxazole หรือ amoxycillin ใชในรายที่เปน gram negative folliculitis - doxycycline 100-200mg/d หรือ minocycline 50-100mg/d ใชในรายที่ใช tetracycline แลวไมไดผล : ยาประเภท ฮอรโมน ไดแก Low dose estrogen plus cyproterone acetate ใชไดเฉพาะผูปวยหญิง หรือรักษาดวยวิธีมาตรฐานแลวไมไดผล 1.3 การรักษาตอไปนี้ควรใชโดยผูเชี่ยวชาญ ก. ยาพวก retinoid ไดแก 13-cis-retinoic acid ใชเฉพาะในสิวอักเสบรุนแรง (Nodulo- cystic acne) ตั้งแตสิวหัวชางขึ้นไปหรือในรายที่ใชวิธีอื่นๆ แลวไมไดผล ในรายสิวที่กอใหเกิดความนาเกลียด หรือความเครียดแกผูปวย ข. systemic corticosteroid ใหในราย severe nodular acne ใหขนาดต่ําๆ (ไมเกิน 15 มก./ วัน ) ในระยะเวลาไมเกิน 1 เดือน
  • 4. 4 ค. Intralesional steroid ใช crystalline suspension of traimcinolone acetonide เพราะไม ละลายงาย และจะอยูในเนื้อเยื่อเปนเดือน ขนาดที่ใช 1 - 2.5 mg./ ml. ฉีดเขาตุมละ 0.05 ml. ฉีดไมเกิน 10 mg. ตอสัปดาห เพื่อกัน systemic side effect ฉีดใน รายตุมหนองอักเสบและเจ็บ เพื่อลดอาการอักเสบ และลดการเกิดแผลเปน งดการฉีดรอบตา รอบจมูก 2. Option ใชเฉพาะผูเชี่ยวชาญเทานั้น - ยา เชน Spironolactone - Antibiotic อื่นๆ ตาม sensitivity - Physical agents เชน น้ําแข็งแหง ไนโตรเจนเหลว เพื่อชวยลดการอักเสบ - รักษาแผลเปน โดยวิธี chemosurgery, dermabrasion, laserbrasion, และ collagen injection - Chemical peeling การติดตามผล 1. นัดผูปวยมาตรวจซ้ําครั้งแรกใน 1-4 สัปดาห เพื่อสอบถามถึงวิธีการใชยา และผลขางเคียง 2. ตอไปอาจนัดผูปวยทุก 1-3 เดือน เพื่อปรับ ขนาดยา 3. ดูผลการรักษา หลังรักษาอยางตอเนื่องกัน แลวอยางนอย 4 ถึง 6 สัปดาหขึ้นไป ถาไมไดผล หรือเลวลง จึงจะพิจารณาเปลี่ยนยา 4. หลังจากสิวยุบหมดแลว ควรใหผูปวยใชยา ทาคุมไวจนกวาจะพนวัยที่เปนสิว หมายเหตุ ในหญิงมีครรภหรือระยะใหนมลูก ควรใหใชเฉพาะยาทาเทานั้นและควรหลีกเลี่ยงการ ทา retinoic acid บทสงทาย ยาทารักษาสิว 1.Tretinoin (trans-retinoic acid, vitamin A acid) การออกฤทธิ์ เปนยาที่มีฤทธิ์ Comedolytic ที่ดี ที่สุดออกฤทธิ์โดย ก. เรง epidermal cell turnover ทําใหสิ่งอุดตัน ที่อัดแนนในหลวมและหลุดออก ทําให closed comedone เปลี่ยนเปน open comedone และหลุด ออกไปจาก follicle ข. ลดการยึดติดกันของ horny cells ทําให horny cell หลุดลอกออกไปเร็วขึ้น ยาจึงสามารถ ปองกันการเกิด comedone ใหม จึงสามารถใชในแง prophylactic treatment ค. ลดอาการอักเสบ ทําใหตุมสิวอักเสบหาย รวมทั้ง granulomatous reaction ดวย ง. กระตุนการสรางเสนเลือดฝอยใหมๆในชั้น papillary dermis ทําใหมีการเพิ่ม blood flow ทําให เห็นผิวหนังเปนสีชมพู จ. เพิ่มการสะสมของเนื้อเยื่อใหม (new collagen) อยางชาๆจะเกิดหลังการใชยาแลวเปน เวลานานหลายเดือน จึงมีผลในการรักษา photoaging ดวย ขอบงชี้ - ผื่นสิวชนิด comedone - ผื่นสิวทุกชนิด แตตองใชรวมกับยาอื่นๆที่มี ฤทธิ์ตางกัน เชน antibiotics - สิวที่เกิดจากสารเคมี เชน acne cosmetica, pomade acne, oil acne and chloracne - ใชไดดีมากสําหรับเปน prophylaxis ของสิว หลังจากรักษาการอักเสบ ดวย systemic drug ได แลว
  • 5. 5 - ทาประมาณ 2-3 ครั้ง/สัปดาห ก็เพียงพอ สําหรับเปนยาควบคุมสิวเพื่อไมใหกลับเปนซ้ํา - ใชไดทุกอายุแมแตเด็กทารก - ควรหลีกเลี่ยงการใชยานี้ในขณะตั้งครรภหรือ ใหนมบุตร ผลิตภัณฑยา ทําในรูป cream และ gel มีความ เขมขน 0.01%, 0.025%, 0.05% และ 0.1% ถาเปน aqueous cream จะระคายนอยลง วิธีใช ทาบางๆทั่วหนาวันละ 1 ครั้งกอนนอน แต ตองอธิบายใหผูปวยทราบวาการทายาใน 1-2 สัปดาหแรก อาจมีผื่นเหอมากขึ้นเล็กนอย และยา อาจทําใหหนาแดงและลอกบาง ซึ่งถือวาปกติแตถา เปนมากเกินไป ควรลดความเขมขนและความถี่ของ การใชยาลง เมื่อใชยานี้ควรหลีกเลี่ยงแสงแดด หรือ ทายากันแสงแดดในเวลากลางวัน การดูวายาใหผล ในการรักษาหรือไม จะตองใชยาแลวอยางนอย 2-3 เดือน systemic toxicity ไมมี เพราะยามีการดูดซึม แค 3-4% เทานั้น 2. Benzoyl peroxide การออกฤทธิ์ 1. ฆาเชื้อ gram positive organism & yeast ที่ พบในทอรูขน, ตอมไขมัน ซึ่ง P.acnes เปนตัว สําคัญ แตไมฆา normal flora ใน GI tract ตางจาก oral antibiotic ซึ่งจะฆา normal flora ดวย ยาออก ฤทธิ์โดยปลอยออกซิเจนอิสระออกมาเพื่อไป oxidise protein ของเชื้อ P.acnes ทําใหจํานวนเชื้อ ลดลง 2. กระตุน epidermal mitosis ทําใหเกิด acanthosis & hyperkeratosis 3. ยามี irritating effect ปานกลาง ทําใหผิวแหง และลอกเปนขุยๆ peeling action นี้อาจทําใหเขาใจ ผิดวาไปลดการทํางานของตอมไขมัน ผิวเลยแหง 4. ยาไมมีผล sebostatic ขอบงชี้ - mild to moderate papulopustular acne แต ไมไดผลใน comedonal acne ผลิตภัณฑยา มีในรูปของ aquagel, alcohol และ acetone gel ในความเขมขนตางๆ กัน ตั้งแต 2.5%, 4%, 5% และ 10% ถาเปน aquagel จะระคายนอย กวา วิธีใช 1. ทาบางๆทั่วหนา เชา เย็น หลังลางหนาและ เช็ดแหงแลว 2. ถาใชรวมกับ retinoic acid ควรทาคนละ เวลา 3. อาจทําใหเกิดระคายเคืองตอผิวหนัง ผิวแหง ลอก 4. อาจทําใหเกิด allergic contact dermatitisได 5. ถาทาบริเวณลําตัวควรใสเสื้อผาสีขาวรองไว เพราะยาจะกัดสีเสื้อผาทําใหดางได 3. Topical antibiotics ขอบงชี้ - ไดผลในผื่นสิวอักเสบทุกชนิด โดยเฉพาะที่ อักเสบไมมากจนตองใหยารับประทาน ผลิตภัณฑยา ที่ใชมาก ไดแก 1% clindamycin phosphate lotion หรือ gel, 1-2% erythromycin base solution หรือ gel
  • 6. 6 วิธีใช - ทาเฉพาะตุมที่อักเสบเทานั้น โดยใชปลายนิ้ว มือแตม วันละ 2-3 ครั้ง - clindamycin และ erythromycin ใหผลของ การรักษาใกลเคียงกัน clindamycin คอนขาง ปลอดภัย แตมีรายงานวาทําใหเกิด bloody diarrhoea & colitis เหมือนที่เกิดกับยารับประทานบางแต อาการจะหายอยางรวดเร็วหลังหยุดยา erythromycin ไมทําใหเกิดการระคายเคืองหรือการแพสัมผัส คอนขางปลอดภัย ผลขางเคียงเฉพาะที่ของยาเหลานี้ มีบาง ไดแก อาการแดง ลอก และแสบๆโดยเฉพาะ รอบๆตาซึ่งมักเกิดจากตัวทําละลาย (vehicle) 4. Azelaic acid ขอบงชี้ - ไดผลสําหรับ mild to moderate acne ผลิตภัณฑยา อยูในรูป 20% cream วิธีใช - ทาบางๆทั่วใบหนา วันละ 2 ครั้ง เชาและกอน นอน - ผลขางเคียงอาจมีอาการระคายเคือง แสบ แดง หรือหนาลอก 5. Adapalene (Naphthoic acid) เปน synthetic retinoic analoque ขอบงชี้ - ใชไดดีกับสิวชนิด comedone ทั้ง open & closed และสิวอักเสบ ผลิตภัณฑยา เปนรูปของ 0.1% gel วิธีใช - ทาทั่วหนากอนนอน - ยาไมมีผลทําใหผิวไวตอแสงแดด 6. Topical Isotretinoin ขอบงชี้ ใชไดผลสําหรับ mild to moderate acne ทั้ง ชนิด comedone และสิวอักเสบ ผลิตภัณฑยา เปนรูปของ 0.05% gel วิธีใช ทาทั่วหนากอนนอน ยารับประทาน 1. Tetracycline - ไมไดผลใน open & closed comedone เพราะ ไมใช comedolytics แตจะไดผลในผื่นสิวอักเสบ โดยเฉพาะตุมหนอง แตกวาจะเห็นผลใชเวลาหลาย สัปดาห ซึ่งเกิดจากการลดการเกิดใหมของ papulopustules โดยไปยับยั้งการเจริญของ P.acnes ใน microcomedones ขนาดที่จะใชในการรักษาสิว 500-1000 มก./วัน ขนาดสูงสุด 1500 มก./วัน ขอบงชี้และวิธีใช - moderate to papulopustular acne - acne conglobata - ใชไดในเด็กตั้งแตอายุ 12 ปขึ้นไป - form ที่ใชคือ tetracycline hydrochloride, phosphate, oxytetracycline, doxytetracycline - ควรรับประทานยากอนอาหารตอนทองวาง อาหารที่ทําลายฤทธิ์และลดปริมาณการดูดซึมของ ยา ไดแก นม (มีแคลเซียมสูง) วิตามินที่มีธาตุเหล็ก และแรธาตุอื่นๆ ยาเคลือบกระเพาะ และแคลเซียม และใหรับประทานกอนอาหารถาคลื่นไสอาเจียนให เปลี่ยนเปน doxytetracycline แทนเพราะใหยาขนาด นอยกวา คือ 100-200 mg./วัน เนื่องจากยานี้ถูก อาหารและแรธาตุตางๆ ทําลายฤทธิ์ไดยากกวา - ระยะเวลาของการใชยาไมมีกําหนดที่แนนอน แตพบวาคอนขางปลอดภัย แมจะใหติดตอกันเปนป
  • 7. 7 ในขนาด 250 มก./วัน แตก็ควรตรวจผูปวยทุกๆ 3 เดือน การพิจารณาหยุดยาใหดูจากอาการเปนสําคัญ แตถาใหยาแลว 3-6 เดือนยังไดผลไมดี อาจตอง พิจารณาเปลี่ยนวิธีการรักษา - ในรายที่แพ tetracycline อาจเปลี่ยนให erythromycin 1000 มก./วัน แทน 2. Isotretinoin (13-cis-retinoic acid) ขอบงชี้ ใชเฉพาะในรายซึ่งเปนสิวชนิดรุนแรง และ รักษาดวยวิธีอื่นๆไมไดผล นอกจากนี้อาจใชรักษา ผูปวยที่เปน rosacea, gram negative folliculitis, dissecting cellulitis of scalp และ pyoderma faciale ขนาดที่ใชคือ 0.1 ถึง 1 mg./kg/d. ขอหามของการใชยา คือ หามใชในผูปวยที่ ตั้งครรภเพราะมี teratogenic effect และผูปวยที่แพ paraben เพราะใช paraben เปนสาร preservative ใน gelatin capsule เมื่อใหยานี้ในผูปวยหญิงตองใหคําแนะนําแก ผูปวยถึงการคุมกําเนิดอยางมีประสิทธิภาพขณะกิน ยาและหลังหยุดยาอยางนอย 1 เดือน ขอแนะนํากอนการใชยา 1. เลือกผูปวยที่ควรใชยาใหถูกตอง 2. อธิบายถึงผลในการรักษาและผลขางเคียง ของยา 3. ถาผูปวยเปนเด็ก ควรอธิบายใหบิดามารดา เขาใจดวย 4. ระวังการใชยาในสตรี ควรตรวจปสสาวะ พิสูจนวาไมมีการตั้งครรภกอนรับประทานยา 5. ควรตรวจเลือดเพื่อดูการทํางานของตับ, ดู ระดับเม็ดเลือดและระดับไขมันเสนเลือดเปนระยะๆ ตั้งแตกอนใหยา 1 เดือนและ 3 เดือนหลังใหยา 6. ไมควรใชในผูปวยที่มีการทํางานพบตับและ ไตผิดปกติ 7. ชั่งน้ําหนักเพื่อคํานวณขนาดยา 8. ในสตรีเริ่มใหยาในวันที่ 3 ของประจําเดือน 9. อาจให non-medicated emollient 10. ในผูที่สายตาสั้น งดการใช contend ใหงดใช ชั่วคราว ใหใชแวนแทน 11. งดการบริจาคโลหิตระวางรักษาและหลัง รักษาอยางนอย 3 เดือน ผลขางเคียง 1. Cheilitis พบเกือบทุกราย โดยเฉพาะถาให dose สูง ควรใหทา vaseline ointment บอยๆ 2. Dry skin พบมากที่หนา upper arm, wrist, lower leg โดยเฉพาะในหนาหนาวที่มีความชื้นต่ํา ผิวจะเปนแบบ scaling, icthyosiform dermatitis 3. Ophthalmologic side effects ไดแก ตาแหง (ระหวางใชยานี้ควรงดใช contact lens) cornea ขุน และลด night vision 4. Hair loss, increase sunburn, skin infection 5. Sticky palms & soles พบไมมาก 6. Friction blister เกิดจากการทํางานหนักหรือ เลนกีฬา 7. Musculo-skeletal symptoms พบ arthralgia ไดประมาณ15% มักเกิดหลังจากออกกําลังกายหรือ มี activity มากๆ 8. Hyperostosis and diffuse interstitial skeletal hyperostosis(DISH) พบนอยมาก
  • 8. 8 9. Pseudotumor cerebri เปน benign intracranial hypertension อาจเกิดจากยาอื่นไดอีก หลายตัว เชน ไมควรใช tetracycline รวมกัน 10. Early epiphyseal closure ดังนั้นจึงไมควรใช ในเด็กอายุต่ํากวา 18 ป 3. Sulfamethoxazole trimethoprim ยาที่ใชไดแก combination ของ 160 mg. Trimethoprim, 800 mg. Sulfamethoxazole รับประทานวันละ 2 ครั้ง ขอบงชี้ - Gram negative folliculitis 4. ยาประเภทฮอรโมน ไดแก - Spironolactone(aldosterone antagonist) - Antiandrogen and estrogen ไดแก 2 mg. Cyproterone acetate + 50 mg. Ethinyl estradiol (Diane) 2 mg. Cyproterone acetate + 35 mg. Ethinyl estradiol (Diane 35) ใชในผูหญิงที่เปนสิวและหนามันมากๆในราย resistant papulopustular acne, refractory acne conglobata ผูหญิงที่เปนสิวรวมกับมี irregular menstruation หรือรวมกับ PCOS อาการหนามันจะ ลดลง 25-35% ผลขางเคียง menstrual abnormality, breast tenderness & enlargement, nausea & vomiting, fluid retention, leg edema, headache, melasma, coronary and peripheral thrombosis. References 1. Downing DT,Stewart ME, Strauss JS Biology of sebaceous glands. In : Fitzpatrick TB, Eisem AZ, Wolff K, Freedberg IM, Austen KF, Dermatology in general medicine 4th edition MC Graw-Hill, New York 1993 : 1 ; 210-21. 2. Kligman A.M. An overview of acne J. Invest Dermatol 1974: 62 ; 268-87. 3. Pochi PE, Strauss JS : Endocrinologic control of the development and activity of the human sebaceous gland J Invest Dermatol 1974: 62: 191. 4. Thody AJ, Shuster S Control and function of sebaceous glands. Physiol Rev 1989: 69: 383-416. 5. Wotiz HH, Mescon H, Doppel H, Lesson HM. The in vitro metabolism of testosterone by human skin. J Invest Dermatol 1956 : 26 : 113-20. 6. Shuster S, Thody AJ. The control and measurement of sebum secretion. J Invest Dermatol 1974 : 62 : 172-90. 7. Marples RR. The microflora of the face and acne lesions. J Invest Dermatol 1974 : 62 : 326-31. 8. Gould DJ, Cunliffe WJ, Holland KT, J Invest Dermatol 1977: 68: 251. 9. Allaker RP, Greenman J, Osborne RH. The production of inflammatory compounds by Proionibacterium acnes and other skin organism. Br J dermatol 1987: 117: 175-83. 10. Puhvel SM, Salamoto M. An in vivo evaluation of the inflammatory effect of purified comedonal components in human skin. J Invest Dermatol 1977: 69: 401-6. 11. Ardl KA. Acne In Arndt KA.ed,Manual of dermatologic therapeutics. Boston; Little,brown and Company 1989: 3-13. 12. Strauss JS Sebaceous glands. Acne vulgaris in Fitzpatrick TB,Eisem AZ,Wolff K,Freedberg IM,Austen KF. Dermatology in general medicine 4th edition Me Graw-Hill,New York 1993: 1: 709- 26. 13. Amdt KA. Formulary In Amdt KA. cd. Manual of dermatologic therapeutics. Boston Little,brown and Company 1989: 201-4. 14. Nazzarp-Porro M Azelaic acid. J Am Acad Dermatol 1987: 17: 1033-41. 15. Cunliffe WJ,Holland KT Clinical and laboratory studies on treatment with 20% azelaic acid cream for acne. Acta Derm Venereol [Suppl 143] (Stockh) 1989: 69: 31-4. 16. Jones DII,King K,Miller AJ. et. al. A dose response study of 13-cis retinoic acid in acne vulgaris. Br J Dermatol 1983: 108: 333-43.
  • 9. 9 17. Strauss JS,Repini RP,Shalita Ar,et. al. Isotretinoin therapy for acne result of a multicenter dose- response study. J Am Acad Dermatol 1984: 10: 490-6. 18. King K,Jones DH,Daltrey DC,et. al. A double- blind study of the effects of 13 cis retinoic acid on acne, sebum excretion rate and microbial population. Br J Dermatol 1982: 107: 583-90. 19. Cullen JP. Intralesional corticosteroids. J Am Acad Dermatol1981: 4: 149-51. 20. Levine RM,Rasmussen JE. Intrasional corticosteroids in the treatment of nodulocystic acne. Arch Dermatol 1983: 119 : 480-1. 21. Knapp Tr,Kaplan EN,Daniels JR. Injectable collagen for soft tissue augmentation. Plastic Reconstr Surg 1977: 60: 398/405. 22. Cunliffe W.J. In Cunliffe W.J. ed : Acne London : Martin Dunitz Ltd.1989 : 93-114, 11-75, 230-1 23. Ebling FJG, Cunliffe WJ. Acne vulgaris In Champion RH, Burton JL, Ebling FJG, eds: Textbook of Dermatology, 5th ed, London,Blackwell Scientific Publications,1992: 1717. 24. Golinick HPM, Zouboulis CC, Akamatsu H, et al. Pathogenesis and pathogenesis related treatment of acne. J. Dermatol1991 : 18 : 489-99 25. Sansone G, Reisner RM. Differential rates of conversion of testosterone to dihydrotestosterone in acne and in normal human skin a possible pathogenic factor in acne. J Invest Dermatol 1971: 56: 366-72. 26. Pochi PE, Shalita AR, Strauss JS, et al. Report of the consensus conference on acne classification. J Am Acad Dermatol 1991: 24: 495-500. ปรับปรุง มิถุนายน 2548