SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
Guideline management of Atopic Dermatitis
คํานํา
Atopic dermatitis หรือโรคผื่นภูมิแพผิวหนัง เปนโรคผิวหนังเรื้อรังที่พบไดบอยในวัย
เด็ก ในระยะ 10 ปที่ผานมามีอัตราความชุกของโรคประมาณรอยละ 13 พบวารอยละ 90 มีอาการของ
โรคนี้กอนอายุ 5 ป จึงนับวาเปนโรคที่เปนปญหาในเด็กหลายดาน ทั้งการเรียนและปญหาทางดาน
จิตใจ รวมไปถึงความกังวลของพอแมและคนในครอบครัว ซึ่งโรคนี้จะเปนตอเนื่องไปจนถึงวัยผูใหญ
ได
สาเหตุของโรคนี้ ยังไมเปนที่ทราบแนนอน พบวามีปจจัยหลายอยาง ไดแก การ
ถายทอดทางพันธุกรรม เปนแบบ multifactorial รวมกับปจจัยทางสิ่งแวดลอม และความผิดปกติ
ทางอิมมูน
ลักษณะทางคลินิก
โรคนี้มีลักษณะทางคลินิกที่สําคัญในการวินิจฉัย คือ
- ผื่นมีอาการคันมาก
- อาการเริ่มเปนภายในอายุไมเกิน 2 ป
- มีประวัติผิวแหงมานาน หรือตั้งแตเกิด
- ผื่นเรื้อรัง เปนๆ หายๆ มาเกิน 6 เดือน
- ผื่นมีลักษณะแตกตางกันออกไปตามระยะของโรคและตามวัยของเด็กที่เปนโรค
โดยแบงออกไดเปน 3 วัย ดังนี้
1. Infantile atopic dermatitis วัยทารก (1 - 2 ขวบ)
ผื่นเริ่มเปนที่ใบหนา รอบปากและแกม มักจะเริ่มมีผื่นหลังอายุ 2 เดือน ตอมาผื่น
จะพบกระจายมาที่ extensor surfaces ของแขน, ขา และหนังศีรษะจะแหงเปนขุย มักจะเปนผื่นชนิด
acute หรือ subacute stage ของ eczema
2. Childhood atopic dermatitis
ผื่นบริเวณใบหนา หรือสวนอื่นของลําตัวจะนอยลง แตผื่นมักจะพบมากขึ้นบริเวณขอ
พับตางๆ เชน ขอพับแขน, ขอพับขา, ขอมือ, ขอเทา, ซอกคอ บริเวณที่มีเหงื่อออกมากจะเปนตัวทําให
ผิวหนังระคายเคือง เนื่องจากเปนผื่นเรื้อรัง ผื่นในวัยนี้จึงมักเปนผื่นแบบ chronic คือ จะเปนผื่นหนา
2
บางรายผื่นอาจเปนแบบ subacute ได อาจมีการติดเชื้อแบคทีเรีย หรือเชื้อราแทรกซอนไดบอย หรือ
มีการอักเสบมากระยะ acute เกิดขึ้นไดเปนครั้งคราว
3. Adolescent or adult type
ผื่นจะเปนอยูเฉพาะบริเวณที่ถูกระคายเคืองบอย หรือมีการเกาไดงาย เชน มือ แขน
ตนคอ รอบหัวนม มีลักษณะที่เรียกวา Linearity (เปนแนวตามบริเวณที่เกา) และผื่นจะหนา
(lichenification)
การวินิจฉัยโรค
โรคนี้วินิจฉัยไดโดยอาศัย
1. ประวัติ
มีประวัติโรคภูมิแพในครอบครัวที่มีสายเลือดเดียวกัน เชน เปนโรคหอบหืด แพ
อากาศ ผื่นภูมิแพ จากการศึกษาพบวา1
ถาพอและแมเปนโรคผื่นภูมิแพ ลูกจะเปนโรคนี้ไดสูงถึงรอยละ 81
พอหรือแมเปนโรคผื่นภูมิแพ อีกคนเปนโรคหอบหืด หรือแพอากาศ ลูกเปนโรคนี้รอย
ละ 59
พอหรือแมเปนโรคผื่นภูมิแพ แตอีกคนปกติ ลูกมีโอกาสเปนโรคผื่นภูมิแพรอยละ 56
2. อาศัยลักษณะทางคลินิก
• อาการคันคอนขางมาก
• ลักษณะผื่นตามวัยของเด็ก (ดังกลาวขางตน)
3. อาศัย criteria ของ Hanifin และ Rajka ซึ่งถูกดัดแปลงใหงายขึ้นชวยในการวินิจฉัย ดังนี้
Criteria สําหรับทารก
- Major features
Family history of atopic dermatitis
Evidence of pruritic dermatitis
Typical facial or extensor eczematous or lichenified dermatitis
- Minor features
3
Xerosis/ichthyosis/hyperlinear palms
Perifollicular accentuation
Chronic scalp scaling
Periauricular fissures
Criteria สําหรับเด็กและผูใหญ
- Major features ตองมีตั้งแต 3 อยางขึ้นไป
1. Pruritus
2. Typical morphology and distribution
Facial and extensor involvement during infancy and early childhood
Flexural lichenification and linearity by adolescence
3. Chronic or chronically relapsing dermatitis
4. Personal or family history of atopy (asthma, allergic
rhinoconjunctivitis, atopic dermatitis)
- Minor or less specific features
Xerosis
Periauricular fissures
Ichthyosis/hyperlinearity/keratosis pilaris
IgE reactivity (increased serum IgE, RAST, or prick test reactivity)
Hand/foot dermatitis
Cheilitis
Scalp dermatitis
Susceptibility to cutaneous infections (especially to Staphylococcus
aureus and Herpes simplex)
Perifollicular accentuation (especially in pigmented races)
4. การตรวจทางหองปฏิบัติการ สวนใหญไมมีความจําเปน นอกจากเพื่อการศึกษา หรือใน
รายที่มีปญหา เชน
การหาระดับ IgE ในเลือด
4
การนับจํานวนเม็ดโลหิตขาวชนิด Eosinophil ในเลือด
การทําทดสอบผิวหนัง : Prick test หรือ RAST
แนวทางการรักษา
1. การรักษาพื้นฐาน (Conventional therapy)
1.1 ลดการระคายเคืองผิวหนัง โดย
• ใชสารเคลือบผิว (Emollients)2
เปน cream, ointment หรือ oil ทาผิวหนังบอยๆ
หรือทาทันทีหลังอาบน้ําหรือหลังแชในอางน้ํานาน 15-20 นาที โดยทาภายใน
3 นาที (3 minute rule) กอนที่น้ําที่ผิวจะระเหย เชน Petrolatum (Vaseline®
)
,light liquid paraffin (Oilatum emollient®
), eucerite (Eucerin®
) 5-10%
Urea cream, 2-3% salicylic acid ointment เปนตน
• เลี่ยงการใชหรือสัมผัสสิ่งระคายเคือง เชน สบูบางชนิด, ผงซักฟอก, เสื้อผาเนื้อ
หยาบๆ สากๆ ยาที่เหนียวเหนอะหนะ ไรฝุน พรม ขนสัตว เปนตน
1.2 อาหาร : ยังเปนปญหาถกเถียงกันในเรื่องอาหารที่กอภูมิแพวาควรเลี่ยงหรือไม สรุปวาถา
ทารกมีอัตราเสี่ยงของโรคนี้สูง ควรใหทารกดื่มนมมารดา และมารดากินอาหารที่กอภูมิแพนอยชวย
ลดความชุกของโรคนี้ได เพราะการแพอาหารเปนตัวกระตุน (Trigger) ใหโรคกําเริบในเด็กบางกลุม
เทานั้น จึงควรเลี่ยงเฉพาะในรายที่มีประวัติชัดเจนวาแพอาหารชนิดใด และอาการโรคดีขึ้นเมื่องด
อาหารชนิดนั้นๆ แตถาแพอาหารหลายชนิด เชน ไข นมวัว ถั่วลิสง ถั่วตางๆ ถั่วเหลือง ปลาทะเล
ขาวสาลี ก็ควรทํา double-blind, placebo controlled food challenge เพื่อจะไดงดเฉพาะชนิดที่แพ
จริงๆ เพราะพบวา ปญหาการแพอาหารในเด็กจะคอยๆ ดีขึ้นและไมแพอีกหลังอายุ 1 ป1
ยกเวนถั่ว
ลิสง
1.3 การติดเชื้อ พบวา เชื้อที่กระตุนใหโรคกําเริบไดบอยไดแก Staphylococcus aureus, เชื้อ
รา, herpes virus ตองใหการรักษาเชื้อที่พบบอยเหลานี้รวมดวย
1.4 ลดการอักเสบของผิวหนัง โดยใช Topical corticosteroid เลือกใชใหเหมาะสมตาม
ความรุนแรงของโรค อายุของผูปวย ลักษณะและตําแหนงของโรค รวมทั้งการกระจายของโรค,
พยายามลด potency ของยาลงใหต่ําเทาที่จะควบคุมโรคได ควรพยายามลดการใชยานี้ โดยใช
emollients แทนทันทีที่การอักเสบหายไป การเลือกใชยาสตีรอยด ตองเลือกยาที่มีฤทธิ์หรือความ
แรงใหเหมาะกับตําแหนงรอยโรค เชน ที่หนา บริเวณขอพับ อวัยวะเพศ ควรใชยาฤทธิ์ออน แตใน
5
บริเวณที่ผื่นหนาเปนเรื้อรัง ใชยาฤทธิ์ออนแลวไมไดผลตองใหยากลุมที่มีฤทธิ์แรงขึ้นและเปน ointment
base หรือ อาจใชวิธีบริหารยาทาโดยวิธี occlusion เพื่อใหไดผลดีขึ้น
การแบงกลุมยาทาสตีรอยดตามความแรงของยา โดยอาศัย vasoconstriction index
(McKenzie-Stougton test) เฉพาะยาที่มีใชในเมืองไทย แบงไดเปน 3 กลุมใหญๆ ดังนี้
1. กลุมที่มีฤทธิ์ออน (mild or low potency)
- Hydrocortisone acetate 1% cream (Hytisone®
, Preves HC®
)
- Prednisolone 0.5% cream (Prednisil®
)
- Triamcinolone acetonide 0.02% cream (Aristocort®
, Simacort®
)
2. กลุมที่มีฤทธิ์ปานกลาง (Moderate or intermediate potency)
- Betamethaone valerate 0.1% cream (Besone®
, Betnovate®
,
Celestoderm®
-V, Valbet®
)
- Prednicarbate 0.25% cream (Dermatop®
)
- Clobetasone 17-butyrate 0.05% cream (Eumovate®
)
- Fluocinolone acetonide 0.025% cream (Synalar®
, Supralan®
,
Fluciderm®
)
- Triamcinolone acetonide 0.1% cream (Aristocort A®
, Ftorocort®
,
Trilosil®
)
- Mometasone furoate 0.1% cream (Elomet®
)
3. กลุมที่มีฤทธิ์แรง (high potency)
- Betamethasone dipropionate 0.05% cream (Diprosone®
,
Beprosone®
)
- Beclomethasone dipropionate 0.025% cream (Stecort®
)
- Amcinonide 0.1% cream (Visderm®
)
- Desoximetasone 0.025% cream (Esperson®
cream and 0.05% gel,
Topicorte®
)
- Fluclorolone acetonide 0.02% cream (Topilar®
)
- Mometasone furoate 0.1% ointment (Elomet®
)
6
- Clobetasol propionate 0.05% cream (Dermovate®
, Clobet®
,
Clobasone®
, Dermasil®
)
- Betamethasone dipropionate 0.05% + 10% propylene glycol
(Diprotop®
)
1.5 ลดอาการคัน
• โดยให antihistamines หรือ tranquilizer ในรายที่คันมาก เชน Hydroxyzine,
loratadine, cetirizine, tricyclic antidepressants (doxipin)
• ลดการเกา โดยตัดเล็บใหสั้น ตะไบเล็บอยาใหคม สวมถุงมือเวลานอน เพื่อ
ไมใหเกาในเวลาหลับ
1.6 ลดความเครียด หรือความวิตกกังวล ทั้งตัวผูปวยและทุกคนในครอบครัวโดยอธิบาย
ถึงสาเหตุการเกิดโรค การดําเนินโรค การพยากรณโรค และใหความรูในการดูแลหลีกเลี่ยงปจจัยที่ทํา
ใหเกิดโรคกําเริบ เปนตน
2. การรักษาในรายที่เปนมากและดื้อตอการรักษาพื้นฐาน
ในรายที่เปนมาก หรือรักษาดวยวิธีการรักษาเบื้องตนแลวไมดีขึ้น หรือเปนมากขึ้นก็
สามารถพิจารณาใหการรักษาดังตอไปนี้ได ตามความเหมาะสมหรือความจําเปน เชน
2.1 Immunomodulation therapy
• Cyclosporin A (Cs A)3,4
มีฤทธิ์ยับยั้งหนาที่ของ Langerhans cell ลดการ
กระตุนของ T-helper cell
ใหกินในขนาด 5 มก./กก./วัน นาน 6 สัปดาห ถึง 3 เดือน ไดผลดี แตหลังหยุดยา
2-6 สัปดาห กลับเปนซ้ําไดใหม แตอาการเปนซ้ําจะมีความรุนแรงของโรคลดลงเรื่อยๆ
ถาใหกินยาในขนาดต่ํา 0.5-0.7 มก./กก./วัน แตใหนานประมาณ 2 ป (22 - 29
เดือน) ไดผลดีภายใน 3 - 5 สัปดาห โรคกลับเปนซ้ํานอย5
• Recombinant human interferon-gamma6,7
มีฤทธิ์ยับยั้งการทํางานของ TH2
cell ลดการสราง IgE
ขนาดยา 0.05 มก./ตรม.ผิวกาย/วัน ฉีดเขาใตผิวหนังทุกวันเปนเวลา 12 สัปดาห
อาการทางผิวหนังดีขึ้นชัดเจน จํานวน eosinophils และระดับ IgE ในเลือดลดลง เมื่อเทียบกับกลุม
7
ควบคุม อาการขางเคียงของยาที่พบคือ ปวดศีรษะ ปวดกลามเนื้อ ไขหนาวสั่น และอาจมี liver
enzymes เพิ่มขึ้นเล็กนอย
• Thymopoietic hormones เปน synthetic thymic hormone มีฤทธิ์ชวยกระตุน
Differentiation ของ Thymocytes ใหเปน mature T-cell สวนใหญกระตุน TH1 cells ใหทําหนาที่ได
เต็มที่ มี 2 ชนิด
1. Thymopentin (TP - 5)8, 9
ใชยาในขนาด 50 มก. ฉีดใตผิวหนังทุกวันๆ ละครั้ง เปนเวลา 6 สัปดาห เปรียบ
เทียบกับฉีดขนาดเทากัน สัปดาหละ 3 ครั้ง เปนเวลา 12 สัปดาห พบวาไดผลใกลเคียงกันอาการดี
ขึ้นหลังใหยาครบ แตเกิดอาการเปนซ้ําภายหลังหยุดยา 4 สัปดาห
2. Thymostimulin (TP - 1)10, 11
ใชยาในขนาด 0.75 - 1.5 มก./กก./วัน ฉีดเขาใตผิวหนังสัปดาหละ 2 ครั้ง เปน
เวลา 10 สัปดาห อาการของโรคดีขึ้นเมื่อเทียบกับกลุมควบคุมภายหลังใหยาครบ
สรุปยาทั้ง 2 ชนิดนี้ใหผลดีแตไมชัดเจนเทากับ cyclosporin และ interferon
• การฉีด allergen - antibody complex12
เชน complex ตอตัวไรฝุน ฉีดเขาใน
ผิวหนัง 2 ครั้ง หางกัน 3 เดือน ลดขนาดลงในปที่ 2 พบวาไดผลดีรอยละ 83 อาการหายหมดรอยละ
50 ที่เหลือกลับเปนซ้ําระยะสั้นๆ และมีอาการนอย
• สมุนไพรจีน13
(Traditional chinese herbal therapy) ชื่อวา Zemaphyte
ประกอบดวย สมุนไพร 10 ชนิด ชงดื่มแบบชาจีน ฤทธิ์ของยานี้ ยังไมทราบแนชัดพบวาไดผล แตมี
พิษตอตับไดเมื่อใชยานี้เปนเวลานาน
ยาใหมที่เพิ่งนํามาใชในระยะ 2 - 3 ปที่แลว ไดแก
• Tacrolimus15
(FK 506) เปน immunosuppressive drug ที่นํามาใชในการ
ปองกันการปฏิเสธ graft (graft versus host reaction) ในการทําการปลูกถายอวัยวะ ตอมามีการ
นํามาใชทางโรคผิวหนังที่มีความผิดปกติทางอิมมูน เชน โรคสะเก็ดเงิน, โรคผื่นภูมิแพ โดยใชในรูปยา
ทาในความเขมขนตางๆ กัน คือ 0.03%, 0.1% และ 0.3% ointment จากการศึกษาใชในผูปวย AD ที่
เปนคอนขางรุนแรงโดยทา วันละ 2 ครั้ง เปนเวลา 3 สัปดาห พบวาไดผลดีไมแตกตางกันขนาดยาทั้ง 3
ซึ่งไดผลดีกวากลุมควบคุมชัดเจนและแทรกซึมเขาในผิวหนังไดดีกวา CsA และมีฤทธิ์แรงกวา CsA 10
- 100 เทา16
แตมีการดูดซึมเขากระแสโลหิตนอยมาก จึงไมมีอาการขางเคียงทาง systemic นอกจาก
มีอาการ burning sensation เฉพาะที่ไดในการใชยาระยะแรก และสามารถใชยานี้ไดปลอดภัยในเด็ก
8
เชนเดียวกับผูใหญ แมวาจะใชทาในพื้นที่ผิวกายของผื่นมากกวารอยละ 30 (ในผูใหญ) และมากกวา
รอยละ 1 ในเด็ก17
Tacrolimus ชวยใหอาการคันดีขึ้นภายใน 3 วัน มีการศึกษายานี้ทั้งในยุโรป
อเมริกา และญี่ปุน พบวาสามารถใชไดปลอดภัยในระยะยาว ใชไดในเด็ก และมีฤทธิ์เปรียบเทียบได
กับ potent corticosteroids แตไมทําใหเกิด atrophy ไมมีผลตอ keratinocyte proliferation และไม
รบกวน collagen synthesis18,19
• Ascomycin20, 21
(SDZ ASM981) ascomycin เปน macrolactam derivative มี
ฤทธิ์ anti-inflammatory activity สูง สามารถยับยั้งการเพิ่มของ T-cell หลังจากถูกกระตุนดวย
antigen ทําใหมีการลดลงทั้ง TH1 และ TH2 จึงนํามาใชรักษาโรคผื่นภูมิแพ ผื่นแพสัมผัส และโรค
สะเก็ดเงินได โดยมีการนํามาใชในรูปยาทา ใชไดผลดีใกลเคียงกับ Tacrolimus
2.2 Systemic corticosteroid ควรเลี่ยงการใชยานี้ ถึงแมวาการใชยานี้จะไดผลดีเร็ว แต
เมื่อหยุดยาโรคจะกําเริบมากเชนกัน ถาจําเปนจะตองใชก็ควรใหกินในระยะสั้นๆ แลวรีบลดขนาดลง
ภายใน 2 สัปดาห ขณะที่ลดขนาดยานี้ลง อาจตองเพิ่มยาทาที่มีฤทธิ์แรงขึ้นเพื่อลดอาการกําเริบของ
โรค ระยะหลังมีคนทดลองใช methylprednisolone23
ขนาดสูง 20 มก./กก./วัน ฉีดเขาทางหลอด
เลือดติดตอกัน 3 วัน ในรายที่เปนรุนแรงและดื้อตอการรักษาดวยวิธีอื่น พบวาไดผลดี 5 ใน 7 ราย
ไมพบผลเสียของการใชยา และไมมีการ relapse นานถึง 18 เดือน แตยังเปนการศึกษาการใชยานี้ใน
ระยะแรก อาจตองมีการศึกษาเพิ่มเติมใหมากขึ้นกวานี้
2.3 Oral psoralen photochemotherapy (Oral PUVA)22
ใชในรายเด็กโตที่มีอาการรุนแรง
โดยใหกิน 8-methoxypsoralen ขนาด 0.6 มก./กก. 2 ชั่วโมงกอนการฉายแสง UVA คอยๆ เพิ่มขนาด
UVA ขึ้น 0.5-2J/cm2
ตอสัปดาหจนไดขนาดประมาณ 15 J/cm2
ภายในเวลา 6 - 28 สัปดาห พบวา
ไดผลดี ผื่นหายไดรอยละ 74 ไมนิยมใชในเด็ก เนื่องจากการบริหารยาลําบากและผลขางเคียงสูงใน
เด็ก
References :
1. Rothe MJ, Grant-Kels JM. Atopic dermatitis : An update. J Am Acad Dermatol 1996;35:
1-13.
2. Hanifin JM, Tofte SJ. Update on therapy of atopic dermatitis. J Allergy Clin Immunol
1999;104:S123-5.
3. Van Joost T, Stolz E, Muele F. Efficacy of low dose cyclosporin in severe atopic disease.
Arch Dermatol 1987;123:166-7.
9
4. Stephens RB, Lee ML, Cooper A. Cyclosporin treatment of atopic dermatitis:five cases
studies and literature rerview. Australian J Dermatol 1994;35:55-9.
5. Sepp N, Fristch PO. Can cyclosporin A induce permanent remission of atopic
dermatitis. Br J Dermatol 1993;128:213-6.
6. Boguniewicz M, Jaffe HS, IzV A, et al. Recombinant gamma interferon in treatment of
patients with atopic dermatitis and elevated IgE levels. Am J Med 1990;88:365-70.
7. Reinhold U, Kukel S, Brzoska J, et al. Systemic interferon-gamma treatment in severe
atopic dermatitis. J am Acad Dermatol 1993;29:58-63.
8. Leung DYM, Hirsch RL, Schneider L, et al. Thymopoietin therapy reduces the clinical
severity of atopic dermatitis. J Allergy Clin Immunol 1990;85927-33.
9. Kang K, Cooper KD, Vanderbark A, et al. Thymopoietin pentapeptide (TP-5) improves
clinical parameters and lymphocyte subpopulations in atopic dermatitis. J Am Acad
Dermatol 1983;8:327-7.
10. Happer JI, White TR, Staughton R, et al. Thymostimulin therapy for atopic eczema. Br J
Dermatol 1989;119:14.
11. Harper JI, Mason UA, White TR, et al. A double-blind placebo-controlled study of
Thymostimulin for the treatment of atopic eczema. Br J Dermatol 1991;125:368-72.
12. Leroy BP, Lachapelle JM, Jacquemin M, et al. Treatment of atopic dermatitis by
allergen-antibody complexes: long-term clinical results and evolution of IgE antibodies.
Dermatology 1992;184:271-4.
13. Latchman Y, Bungy GA, Artherton DJ, et al. The efficacy of traditional chinese herbal
therapy in vitro. A model system for atopic dermatits : inhibition of CD23 expression of
blood monocytes. Br J Dermatol 1995;132:529-8.
14. Sheehan MP, Atherton DJ, Norris P, et al. Oral psoralen photochemotherapy in severe
childhood atopic eczema : an update. Br J Dermatol 1993;129:431-36.
15. Ruzicka T, Bieder T, Schopt E, et al. A short-term trial of tacrolimus ointment for atopic
dermatitis. European tacrolimus multicenter atopic dermatitis study group. N Engl J
Med 1997;337:816-21.
10
16. Sawada S, Suzuki G, Kawase Y, et al. Novel immunosuppressive agent, FK 506. In
vitro effects on cloned T-cell activation. J Immunol 1987;139:1797-83.
17. Alaiti S, Kang S, Fiedler VC, et al. Tacrolimus (FK 506) ointment for atopic dermatitis : A
phase I study in adults and children. J Am Acad Dermatol 1998;38:69-76.
18. Ruzicka T, Assmann T, Homey B. Tacrolimus : The drug for the turn of the Millennium?
Arch Dermatol 1999;135:574-80.
19. Baguniewicz M, Fiedler VC, Raimer S, et al. A randomized, vehicle-controlled trial of
tacrolimus ointment for treatment of atopic dermatitis in children. Pediatric tacrolimus
study group. J Allergy Clin Immunol 1998;102:637-44.
20. Grassberger M, Baumruker T, Enz A, et al. A novel anti-inflammatory drug. SDZ ASM
981, for the treatment of skin diseases : in vitro pharmacology. Br J Dermatol
1991;141:264-73.
21. Van Leent EJ, Graber M, Thurston M, et al. Effectiveness of the ascomycin
macrolactam SDZ ASM 981 in the topical treatment of atopic dermatitis. Arch Dermatol
1998;134:805-9.
22. Artheton DJ, Carabott F, Glover MT, et al. The role of psoralen chemotherapy (PUVA) in
the treatment of severe atopic eczema in adolescence. Br J Dermatol 1988;118:791-5.
23. Galli E, Chini L, Moschese V, et al. Methylprednisolone bolus : a novel therapy for
severe atopic dermatitis. Acta Pediatr 1994;83:315-7.
สุจิตรา วีรวรรณ, ประไพ พงษประสิทธิ์,
ศรีศุภลักษณ สิงคาลวณิช, อมรศรี ชุณหรัศมิ์,
จุฬาภรณ พฤกษชาติคุณากร, วาณี วิสุทธิ์เสรีวงศ,
วนิดา ลิ้มพงศานุรักษ, ศิริวรรณ วนานุกูล,
มนตรี อุดมเพทายกุล, ชมนาด นวลปลอด

More Related Content

Similar to Cpg ad

Skin part 2
Skin part 2Skin part 2
Skin part 2Or Chid
 
Clinical Practice Guideline for Acne โดย เพ็ญวดี ทิมพัฒนพงศ์และคณะ
Clinical Practice Guideline for Acne  โดย เพ็ญวดี ทิมพัฒนพงศ์และคณะClinical Practice Guideline for Acne  โดย เพ็ญวดี ทิมพัฒนพงศ์และคณะ
Clinical Practice Guideline for Acne โดย เพ็ญวดี ทิมพัฒนพงศ์และคณะUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย 2554
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย 2554แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย 2554
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย 2554Utai Sukviwatsirikul
 
เนติพงษ์ อนุพงษ์
เนติพงษ์   อนุพงษ์เนติพงษ์   อนุพงษ์
เนติพงษ์ อนุพงษ์supphawan
 
Topical corticosteroids
Topical corticosteroidsTopical corticosteroids
Topical corticosteroidsnop108
 
คู่มิอยา.pdf
คู่มิอยา.pdfคู่มิอยา.pdf
คู่มิอยา.pdfpraphan khunti
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผนFmz Npaz
 
Pharmacy guide
Pharmacy guidePharmacy guide
Pharmacy guideKaow Jaow
 
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลาสรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลาUtai Sukviwatsirikul
 

Similar to Cpg ad (20)

Skin part 2
Skin part 2Skin part 2
Skin part 2
 
Cpg psoriasis institue of derm
Cpg psoriasis institue of dermCpg psoriasis institue of derm
Cpg psoriasis institue of derm
 
Cpg psoriasis
Cpg psoriasisCpg psoriasis
Cpg psoriasis
 
Allergy
AllergyAllergy
Allergy
 
Acne 2010
Acne 2010Acne 2010
Acne 2010
 
Allergic rhinitis
Allergic rhinitisAllergic rhinitis
Allergic rhinitis
 
Clinical Practice Guideline for Acne โดย เพ็ญวดี ทิมพัฒนพงศ์และคณะ
Clinical Practice Guideline for Acne  โดย เพ็ญวดี ทิมพัฒนพงศ์และคณะClinical Practice Guideline for Acne  โดย เพ็ญวดี ทิมพัฒนพงศ์และคณะ
Clinical Practice Guideline for Acne โดย เพ็ญวดี ทิมพัฒนพงศ์และคณะ
 
Cpg for acne
Cpg for acneCpg for acne
Cpg for acne
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย 2554
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย 2554แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย 2554
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย 2554
 
Eye medication slide
Eye medication slideEye medication slide
Eye medication slide
 
เนติพงษ์ อนุพงษ์
เนติพงษ์   อนุพงษ์เนติพงษ์   อนุพงษ์
เนติพงษ์ อนุพงษ์
 
Topical corticosteroids
Topical corticosteroidsTopical corticosteroids
Topical corticosteroids
 
ตาแดง
ตาแดงตาแดง
ตาแดง
 
ตาแดง
ตาแดงตาแดง
ตาแดง
 
คู่มิอยา.pdf
คู่มิอยา.pdfคู่มิอยา.pdf
คู่มิอยา.pdf
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผน
 
Pharmacy guide
Pharmacy guidePharmacy guide
Pharmacy guide
 
Pharmacy Guide Pharmacy of Chula
Pharmacy Guide Pharmacy  of Chula Pharmacy Guide Pharmacy  of Chula
Pharmacy Guide Pharmacy of Chula
 
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลาสรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
 
Ophthalmic medication guideline
Ophthalmic medication guidelineOphthalmic medication guideline
Ophthalmic medication guideline
 

More from Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 

More from Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

Cpg ad

  • 1. Guideline management of Atopic Dermatitis คํานํา Atopic dermatitis หรือโรคผื่นภูมิแพผิวหนัง เปนโรคผิวหนังเรื้อรังที่พบไดบอยในวัย เด็ก ในระยะ 10 ปที่ผานมามีอัตราความชุกของโรคประมาณรอยละ 13 พบวารอยละ 90 มีอาการของ โรคนี้กอนอายุ 5 ป จึงนับวาเปนโรคที่เปนปญหาในเด็กหลายดาน ทั้งการเรียนและปญหาทางดาน จิตใจ รวมไปถึงความกังวลของพอแมและคนในครอบครัว ซึ่งโรคนี้จะเปนตอเนื่องไปจนถึงวัยผูใหญ ได สาเหตุของโรคนี้ ยังไมเปนที่ทราบแนนอน พบวามีปจจัยหลายอยาง ไดแก การ ถายทอดทางพันธุกรรม เปนแบบ multifactorial รวมกับปจจัยทางสิ่งแวดลอม และความผิดปกติ ทางอิมมูน ลักษณะทางคลินิก โรคนี้มีลักษณะทางคลินิกที่สําคัญในการวินิจฉัย คือ - ผื่นมีอาการคันมาก - อาการเริ่มเปนภายในอายุไมเกิน 2 ป - มีประวัติผิวแหงมานาน หรือตั้งแตเกิด - ผื่นเรื้อรัง เปนๆ หายๆ มาเกิน 6 เดือน - ผื่นมีลักษณะแตกตางกันออกไปตามระยะของโรคและตามวัยของเด็กที่เปนโรค โดยแบงออกไดเปน 3 วัย ดังนี้ 1. Infantile atopic dermatitis วัยทารก (1 - 2 ขวบ) ผื่นเริ่มเปนที่ใบหนา รอบปากและแกม มักจะเริ่มมีผื่นหลังอายุ 2 เดือน ตอมาผื่น จะพบกระจายมาที่ extensor surfaces ของแขน, ขา และหนังศีรษะจะแหงเปนขุย มักจะเปนผื่นชนิด acute หรือ subacute stage ของ eczema 2. Childhood atopic dermatitis ผื่นบริเวณใบหนา หรือสวนอื่นของลําตัวจะนอยลง แตผื่นมักจะพบมากขึ้นบริเวณขอ พับตางๆ เชน ขอพับแขน, ขอพับขา, ขอมือ, ขอเทา, ซอกคอ บริเวณที่มีเหงื่อออกมากจะเปนตัวทําให ผิวหนังระคายเคือง เนื่องจากเปนผื่นเรื้อรัง ผื่นในวัยนี้จึงมักเปนผื่นแบบ chronic คือ จะเปนผื่นหนา
  • 2. 2 บางรายผื่นอาจเปนแบบ subacute ได อาจมีการติดเชื้อแบคทีเรีย หรือเชื้อราแทรกซอนไดบอย หรือ มีการอักเสบมากระยะ acute เกิดขึ้นไดเปนครั้งคราว 3. Adolescent or adult type ผื่นจะเปนอยูเฉพาะบริเวณที่ถูกระคายเคืองบอย หรือมีการเกาไดงาย เชน มือ แขน ตนคอ รอบหัวนม มีลักษณะที่เรียกวา Linearity (เปนแนวตามบริเวณที่เกา) และผื่นจะหนา (lichenification) การวินิจฉัยโรค โรคนี้วินิจฉัยไดโดยอาศัย 1. ประวัติ มีประวัติโรคภูมิแพในครอบครัวที่มีสายเลือดเดียวกัน เชน เปนโรคหอบหืด แพ อากาศ ผื่นภูมิแพ จากการศึกษาพบวา1 ถาพอและแมเปนโรคผื่นภูมิแพ ลูกจะเปนโรคนี้ไดสูงถึงรอยละ 81 พอหรือแมเปนโรคผื่นภูมิแพ อีกคนเปนโรคหอบหืด หรือแพอากาศ ลูกเปนโรคนี้รอย ละ 59 พอหรือแมเปนโรคผื่นภูมิแพ แตอีกคนปกติ ลูกมีโอกาสเปนโรคผื่นภูมิแพรอยละ 56 2. อาศัยลักษณะทางคลินิก • อาการคันคอนขางมาก • ลักษณะผื่นตามวัยของเด็ก (ดังกลาวขางตน) 3. อาศัย criteria ของ Hanifin และ Rajka ซึ่งถูกดัดแปลงใหงายขึ้นชวยในการวินิจฉัย ดังนี้ Criteria สําหรับทารก - Major features Family history of atopic dermatitis Evidence of pruritic dermatitis Typical facial or extensor eczematous or lichenified dermatitis - Minor features
  • 3. 3 Xerosis/ichthyosis/hyperlinear palms Perifollicular accentuation Chronic scalp scaling Periauricular fissures Criteria สําหรับเด็กและผูใหญ - Major features ตองมีตั้งแต 3 อยางขึ้นไป 1. Pruritus 2. Typical morphology and distribution Facial and extensor involvement during infancy and early childhood Flexural lichenification and linearity by adolescence 3. Chronic or chronically relapsing dermatitis 4. Personal or family history of atopy (asthma, allergic rhinoconjunctivitis, atopic dermatitis) - Minor or less specific features Xerosis Periauricular fissures Ichthyosis/hyperlinearity/keratosis pilaris IgE reactivity (increased serum IgE, RAST, or prick test reactivity) Hand/foot dermatitis Cheilitis Scalp dermatitis Susceptibility to cutaneous infections (especially to Staphylococcus aureus and Herpes simplex) Perifollicular accentuation (especially in pigmented races) 4. การตรวจทางหองปฏิบัติการ สวนใหญไมมีความจําเปน นอกจากเพื่อการศึกษา หรือใน รายที่มีปญหา เชน การหาระดับ IgE ในเลือด
  • 4. 4 การนับจํานวนเม็ดโลหิตขาวชนิด Eosinophil ในเลือด การทําทดสอบผิวหนัง : Prick test หรือ RAST แนวทางการรักษา 1. การรักษาพื้นฐาน (Conventional therapy) 1.1 ลดการระคายเคืองผิวหนัง โดย • ใชสารเคลือบผิว (Emollients)2 เปน cream, ointment หรือ oil ทาผิวหนังบอยๆ หรือทาทันทีหลังอาบน้ําหรือหลังแชในอางน้ํานาน 15-20 นาที โดยทาภายใน 3 นาที (3 minute rule) กอนที่น้ําที่ผิวจะระเหย เชน Petrolatum (Vaseline® ) ,light liquid paraffin (Oilatum emollient® ), eucerite (Eucerin® ) 5-10% Urea cream, 2-3% salicylic acid ointment เปนตน • เลี่ยงการใชหรือสัมผัสสิ่งระคายเคือง เชน สบูบางชนิด, ผงซักฟอก, เสื้อผาเนื้อ หยาบๆ สากๆ ยาที่เหนียวเหนอะหนะ ไรฝุน พรม ขนสัตว เปนตน 1.2 อาหาร : ยังเปนปญหาถกเถียงกันในเรื่องอาหารที่กอภูมิแพวาควรเลี่ยงหรือไม สรุปวาถา ทารกมีอัตราเสี่ยงของโรคนี้สูง ควรใหทารกดื่มนมมารดา และมารดากินอาหารที่กอภูมิแพนอยชวย ลดความชุกของโรคนี้ได เพราะการแพอาหารเปนตัวกระตุน (Trigger) ใหโรคกําเริบในเด็กบางกลุม เทานั้น จึงควรเลี่ยงเฉพาะในรายที่มีประวัติชัดเจนวาแพอาหารชนิดใด และอาการโรคดีขึ้นเมื่องด อาหารชนิดนั้นๆ แตถาแพอาหารหลายชนิด เชน ไข นมวัว ถั่วลิสง ถั่วตางๆ ถั่วเหลือง ปลาทะเล ขาวสาลี ก็ควรทํา double-blind, placebo controlled food challenge เพื่อจะไดงดเฉพาะชนิดที่แพ จริงๆ เพราะพบวา ปญหาการแพอาหารในเด็กจะคอยๆ ดีขึ้นและไมแพอีกหลังอายุ 1 ป1 ยกเวนถั่ว ลิสง 1.3 การติดเชื้อ พบวา เชื้อที่กระตุนใหโรคกําเริบไดบอยไดแก Staphylococcus aureus, เชื้อ รา, herpes virus ตองใหการรักษาเชื้อที่พบบอยเหลานี้รวมดวย 1.4 ลดการอักเสบของผิวหนัง โดยใช Topical corticosteroid เลือกใชใหเหมาะสมตาม ความรุนแรงของโรค อายุของผูปวย ลักษณะและตําแหนงของโรค รวมทั้งการกระจายของโรค, พยายามลด potency ของยาลงใหต่ําเทาที่จะควบคุมโรคได ควรพยายามลดการใชยานี้ โดยใช emollients แทนทันทีที่การอักเสบหายไป การเลือกใชยาสตีรอยด ตองเลือกยาที่มีฤทธิ์หรือความ แรงใหเหมาะกับตําแหนงรอยโรค เชน ที่หนา บริเวณขอพับ อวัยวะเพศ ควรใชยาฤทธิ์ออน แตใน
  • 5. 5 บริเวณที่ผื่นหนาเปนเรื้อรัง ใชยาฤทธิ์ออนแลวไมไดผลตองใหยากลุมที่มีฤทธิ์แรงขึ้นและเปน ointment base หรือ อาจใชวิธีบริหารยาทาโดยวิธี occlusion เพื่อใหไดผลดีขึ้น การแบงกลุมยาทาสตีรอยดตามความแรงของยา โดยอาศัย vasoconstriction index (McKenzie-Stougton test) เฉพาะยาที่มีใชในเมืองไทย แบงไดเปน 3 กลุมใหญๆ ดังนี้ 1. กลุมที่มีฤทธิ์ออน (mild or low potency) - Hydrocortisone acetate 1% cream (Hytisone® , Preves HC® ) - Prednisolone 0.5% cream (Prednisil® ) - Triamcinolone acetonide 0.02% cream (Aristocort® , Simacort® ) 2. กลุมที่มีฤทธิ์ปานกลาง (Moderate or intermediate potency) - Betamethaone valerate 0.1% cream (Besone® , Betnovate® , Celestoderm® -V, Valbet® ) - Prednicarbate 0.25% cream (Dermatop® ) - Clobetasone 17-butyrate 0.05% cream (Eumovate® ) - Fluocinolone acetonide 0.025% cream (Synalar® , Supralan® , Fluciderm® ) - Triamcinolone acetonide 0.1% cream (Aristocort A® , Ftorocort® , Trilosil® ) - Mometasone furoate 0.1% cream (Elomet® ) 3. กลุมที่มีฤทธิ์แรง (high potency) - Betamethasone dipropionate 0.05% cream (Diprosone® , Beprosone® ) - Beclomethasone dipropionate 0.025% cream (Stecort® ) - Amcinonide 0.1% cream (Visderm® ) - Desoximetasone 0.025% cream (Esperson® cream and 0.05% gel, Topicorte® ) - Fluclorolone acetonide 0.02% cream (Topilar® ) - Mometasone furoate 0.1% ointment (Elomet® )
  • 6. 6 - Clobetasol propionate 0.05% cream (Dermovate® , Clobet® , Clobasone® , Dermasil® ) - Betamethasone dipropionate 0.05% + 10% propylene glycol (Diprotop® ) 1.5 ลดอาการคัน • โดยให antihistamines หรือ tranquilizer ในรายที่คันมาก เชน Hydroxyzine, loratadine, cetirizine, tricyclic antidepressants (doxipin) • ลดการเกา โดยตัดเล็บใหสั้น ตะไบเล็บอยาใหคม สวมถุงมือเวลานอน เพื่อ ไมใหเกาในเวลาหลับ 1.6 ลดความเครียด หรือความวิตกกังวล ทั้งตัวผูปวยและทุกคนในครอบครัวโดยอธิบาย ถึงสาเหตุการเกิดโรค การดําเนินโรค การพยากรณโรค และใหความรูในการดูแลหลีกเลี่ยงปจจัยที่ทํา ใหเกิดโรคกําเริบ เปนตน 2. การรักษาในรายที่เปนมากและดื้อตอการรักษาพื้นฐาน ในรายที่เปนมาก หรือรักษาดวยวิธีการรักษาเบื้องตนแลวไมดีขึ้น หรือเปนมากขึ้นก็ สามารถพิจารณาใหการรักษาดังตอไปนี้ได ตามความเหมาะสมหรือความจําเปน เชน 2.1 Immunomodulation therapy • Cyclosporin A (Cs A)3,4 มีฤทธิ์ยับยั้งหนาที่ของ Langerhans cell ลดการ กระตุนของ T-helper cell ใหกินในขนาด 5 มก./กก./วัน นาน 6 สัปดาห ถึง 3 เดือน ไดผลดี แตหลังหยุดยา 2-6 สัปดาห กลับเปนซ้ําไดใหม แตอาการเปนซ้ําจะมีความรุนแรงของโรคลดลงเรื่อยๆ ถาใหกินยาในขนาดต่ํา 0.5-0.7 มก./กก./วัน แตใหนานประมาณ 2 ป (22 - 29 เดือน) ไดผลดีภายใน 3 - 5 สัปดาห โรคกลับเปนซ้ํานอย5 • Recombinant human interferon-gamma6,7 มีฤทธิ์ยับยั้งการทํางานของ TH2 cell ลดการสราง IgE ขนาดยา 0.05 มก./ตรม.ผิวกาย/วัน ฉีดเขาใตผิวหนังทุกวันเปนเวลา 12 สัปดาห อาการทางผิวหนังดีขึ้นชัดเจน จํานวน eosinophils และระดับ IgE ในเลือดลดลง เมื่อเทียบกับกลุม
  • 7. 7 ควบคุม อาการขางเคียงของยาที่พบคือ ปวดศีรษะ ปวดกลามเนื้อ ไขหนาวสั่น และอาจมี liver enzymes เพิ่มขึ้นเล็กนอย • Thymopoietic hormones เปน synthetic thymic hormone มีฤทธิ์ชวยกระตุน Differentiation ของ Thymocytes ใหเปน mature T-cell สวนใหญกระตุน TH1 cells ใหทําหนาที่ได เต็มที่ มี 2 ชนิด 1. Thymopentin (TP - 5)8, 9 ใชยาในขนาด 50 มก. ฉีดใตผิวหนังทุกวันๆ ละครั้ง เปนเวลา 6 สัปดาห เปรียบ เทียบกับฉีดขนาดเทากัน สัปดาหละ 3 ครั้ง เปนเวลา 12 สัปดาห พบวาไดผลใกลเคียงกันอาการดี ขึ้นหลังใหยาครบ แตเกิดอาการเปนซ้ําภายหลังหยุดยา 4 สัปดาห 2. Thymostimulin (TP - 1)10, 11 ใชยาในขนาด 0.75 - 1.5 มก./กก./วัน ฉีดเขาใตผิวหนังสัปดาหละ 2 ครั้ง เปน เวลา 10 สัปดาห อาการของโรคดีขึ้นเมื่อเทียบกับกลุมควบคุมภายหลังใหยาครบ สรุปยาทั้ง 2 ชนิดนี้ใหผลดีแตไมชัดเจนเทากับ cyclosporin และ interferon • การฉีด allergen - antibody complex12 เชน complex ตอตัวไรฝุน ฉีดเขาใน ผิวหนัง 2 ครั้ง หางกัน 3 เดือน ลดขนาดลงในปที่ 2 พบวาไดผลดีรอยละ 83 อาการหายหมดรอยละ 50 ที่เหลือกลับเปนซ้ําระยะสั้นๆ และมีอาการนอย • สมุนไพรจีน13 (Traditional chinese herbal therapy) ชื่อวา Zemaphyte ประกอบดวย สมุนไพร 10 ชนิด ชงดื่มแบบชาจีน ฤทธิ์ของยานี้ ยังไมทราบแนชัดพบวาไดผล แตมี พิษตอตับไดเมื่อใชยานี้เปนเวลานาน ยาใหมที่เพิ่งนํามาใชในระยะ 2 - 3 ปที่แลว ไดแก • Tacrolimus15 (FK 506) เปน immunosuppressive drug ที่นํามาใชในการ ปองกันการปฏิเสธ graft (graft versus host reaction) ในการทําการปลูกถายอวัยวะ ตอมามีการ นํามาใชทางโรคผิวหนังที่มีความผิดปกติทางอิมมูน เชน โรคสะเก็ดเงิน, โรคผื่นภูมิแพ โดยใชในรูปยา ทาในความเขมขนตางๆ กัน คือ 0.03%, 0.1% และ 0.3% ointment จากการศึกษาใชในผูปวย AD ที่ เปนคอนขางรุนแรงโดยทา วันละ 2 ครั้ง เปนเวลา 3 สัปดาห พบวาไดผลดีไมแตกตางกันขนาดยาทั้ง 3 ซึ่งไดผลดีกวากลุมควบคุมชัดเจนและแทรกซึมเขาในผิวหนังไดดีกวา CsA และมีฤทธิ์แรงกวา CsA 10 - 100 เทา16 แตมีการดูดซึมเขากระแสโลหิตนอยมาก จึงไมมีอาการขางเคียงทาง systemic นอกจาก มีอาการ burning sensation เฉพาะที่ไดในการใชยาระยะแรก และสามารถใชยานี้ไดปลอดภัยในเด็ก
  • 8. 8 เชนเดียวกับผูใหญ แมวาจะใชทาในพื้นที่ผิวกายของผื่นมากกวารอยละ 30 (ในผูใหญ) และมากกวา รอยละ 1 ในเด็ก17 Tacrolimus ชวยใหอาการคันดีขึ้นภายใน 3 วัน มีการศึกษายานี้ทั้งในยุโรป อเมริกา และญี่ปุน พบวาสามารถใชไดปลอดภัยในระยะยาว ใชไดในเด็ก และมีฤทธิ์เปรียบเทียบได กับ potent corticosteroids แตไมทําใหเกิด atrophy ไมมีผลตอ keratinocyte proliferation และไม รบกวน collagen synthesis18,19 • Ascomycin20, 21 (SDZ ASM981) ascomycin เปน macrolactam derivative มี ฤทธิ์ anti-inflammatory activity สูง สามารถยับยั้งการเพิ่มของ T-cell หลังจากถูกกระตุนดวย antigen ทําใหมีการลดลงทั้ง TH1 และ TH2 จึงนํามาใชรักษาโรคผื่นภูมิแพ ผื่นแพสัมผัส และโรค สะเก็ดเงินได โดยมีการนํามาใชในรูปยาทา ใชไดผลดีใกลเคียงกับ Tacrolimus 2.2 Systemic corticosteroid ควรเลี่ยงการใชยานี้ ถึงแมวาการใชยานี้จะไดผลดีเร็ว แต เมื่อหยุดยาโรคจะกําเริบมากเชนกัน ถาจําเปนจะตองใชก็ควรใหกินในระยะสั้นๆ แลวรีบลดขนาดลง ภายใน 2 สัปดาห ขณะที่ลดขนาดยานี้ลง อาจตองเพิ่มยาทาที่มีฤทธิ์แรงขึ้นเพื่อลดอาการกําเริบของ โรค ระยะหลังมีคนทดลองใช methylprednisolone23 ขนาดสูง 20 มก./กก./วัน ฉีดเขาทางหลอด เลือดติดตอกัน 3 วัน ในรายที่เปนรุนแรงและดื้อตอการรักษาดวยวิธีอื่น พบวาไดผลดี 5 ใน 7 ราย ไมพบผลเสียของการใชยา และไมมีการ relapse นานถึง 18 เดือน แตยังเปนการศึกษาการใชยานี้ใน ระยะแรก อาจตองมีการศึกษาเพิ่มเติมใหมากขึ้นกวานี้ 2.3 Oral psoralen photochemotherapy (Oral PUVA)22 ใชในรายเด็กโตที่มีอาการรุนแรง โดยใหกิน 8-methoxypsoralen ขนาด 0.6 มก./กก. 2 ชั่วโมงกอนการฉายแสง UVA คอยๆ เพิ่มขนาด UVA ขึ้น 0.5-2J/cm2 ตอสัปดาหจนไดขนาดประมาณ 15 J/cm2 ภายในเวลา 6 - 28 สัปดาห พบวา ไดผลดี ผื่นหายไดรอยละ 74 ไมนิยมใชในเด็ก เนื่องจากการบริหารยาลําบากและผลขางเคียงสูงใน เด็ก References : 1. Rothe MJ, Grant-Kels JM. Atopic dermatitis : An update. J Am Acad Dermatol 1996;35: 1-13. 2. Hanifin JM, Tofte SJ. Update on therapy of atopic dermatitis. J Allergy Clin Immunol 1999;104:S123-5. 3. Van Joost T, Stolz E, Muele F. Efficacy of low dose cyclosporin in severe atopic disease. Arch Dermatol 1987;123:166-7.
  • 9. 9 4. Stephens RB, Lee ML, Cooper A. Cyclosporin treatment of atopic dermatitis:five cases studies and literature rerview. Australian J Dermatol 1994;35:55-9. 5. Sepp N, Fristch PO. Can cyclosporin A induce permanent remission of atopic dermatitis. Br J Dermatol 1993;128:213-6. 6. Boguniewicz M, Jaffe HS, IzV A, et al. Recombinant gamma interferon in treatment of patients with atopic dermatitis and elevated IgE levels. Am J Med 1990;88:365-70. 7. Reinhold U, Kukel S, Brzoska J, et al. Systemic interferon-gamma treatment in severe atopic dermatitis. J am Acad Dermatol 1993;29:58-63. 8. Leung DYM, Hirsch RL, Schneider L, et al. Thymopoietin therapy reduces the clinical severity of atopic dermatitis. J Allergy Clin Immunol 1990;85927-33. 9. Kang K, Cooper KD, Vanderbark A, et al. Thymopoietin pentapeptide (TP-5) improves clinical parameters and lymphocyte subpopulations in atopic dermatitis. J Am Acad Dermatol 1983;8:327-7. 10. Happer JI, White TR, Staughton R, et al. Thymostimulin therapy for atopic eczema. Br J Dermatol 1989;119:14. 11. Harper JI, Mason UA, White TR, et al. A double-blind placebo-controlled study of Thymostimulin for the treatment of atopic eczema. Br J Dermatol 1991;125:368-72. 12. Leroy BP, Lachapelle JM, Jacquemin M, et al. Treatment of atopic dermatitis by allergen-antibody complexes: long-term clinical results and evolution of IgE antibodies. Dermatology 1992;184:271-4. 13. Latchman Y, Bungy GA, Artherton DJ, et al. The efficacy of traditional chinese herbal therapy in vitro. A model system for atopic dermatits : inhibition of CD23 expression of blood monocytes. Br J Dermatol 1995;132:529-8. 14. Sheehan MP, Atherton DJ, Norris P, et al. Oral psoralen photochemotherapy in severe childhood atopic eczema : an update. Br J Dermatol 1993;129:431-36. 15. Ruzicka T, Bieder T, Schopt E, et al. A short-term trial of tacrolimus ointment for atopic dermatitis. European tacrolimus multicenter atopic dermatitis study group. N Engl J Med 1997;337:816-21.
  • 10. 10 16. Sawada S, Suzuki G, Kawase Y, et al. Novel immunosuppressive agent, FK 506. In vitro effects on cloned T-cell activation. J Immunol 1987;139:1797-83. 17. Alaiti S, Kang S, Fiedler VC, et al. Tacrolimus (FK 506) ointment for atopic dermatitis : A phase I study in adults and children. J Am Acad Dermatol 1998;38:69-76. 18. Ruzicka T, Assmann T, Homey B. Tacrolimus : The drug for the turn of the Millennium? Arch Dermatol 1999;135:574-80. 19. Baguniewicz M, Fiedler VC, Raimer S, et al. A randomized, vehicle-controlled trial of tacrolimus ointment for treatment of atopic dermatitis in children. Pediatric tacrolimus study group. J Allergy Clin Immunol 1998;102:637-44. 20. Grassberger M, Baumruker T, Enz A, et al. A novel anti-inflammatory drug. SDZ ASM 981, for the treatment of skin diseases : in vitro pharmacology. Br J Dermatol 1991;141:264-73. 21. Van Leent EJ, Graber M, Thurston M, et al. Effectiveness of the ascomycin macrolactam SDZ ASM 981 in the topical treatment of atopic dermatitis. Arch Dermatol 1998;134:805-9. 22. Artheton DJ, Carabott F, Glover MT, et al. The role of psoralen chemotherapy (PUVA) in the treatment of severe atopic eczema in adolescence. Br J Dermatol 1988;118:791-5. 23. Galli E, Chini L, Moschese V, et al. Methylprednisolone bolus : a novel therapy for severe atopic dermatitis. Acta Pediatr 1994;83:315-7. สุจิตรา วีรวรรณ, ประไพ พงษประสิทธิ์, ศรีศุภลักษณ สิงคาลวณิช, อมรศรี ชุณหรัศมิ์, จุฬาภรณ พฤกษชาติคุณากร, วาณี วิสุทธิ์เสรีวงศ, วนิดา ลิ้มพงศานุรักษ, ศิริวรรณ วนานุกูล, มนตรี อุดมเพทายกุล, ชมนาด นวลปลอด