SlideShare a Scribd company logo
1 of 67
แนวทางการรักษาผู้ป่ วย
ด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือด
ชนิดรับประทาน
คุณภาพของหลักฐาน (Quality of Evidence)
 ระดับ 1 หมายถึง หลักฐานที่ได้จาก systematic review ของ randomized
controlled clinical trials หรือ well designed randomized controlled clinical trial
 ระดับ 2 หมายถึง หลักฐานที่ได้จาก systemtic review ของ controlled clinical
trials หรือ well designed controlled clinical trial หรือหลักฐานที่ได้จาก การวิจัยทาง
คลินิกที่ใช้รูปแบบการวิจัยอื่นและผลการวิจัยพบประโยชน์หรือ โทษจากการปฏิบัติรักษาที่
เด่นชัดมาก (เช่น cohort study, case-control study)
 ระดับ 3 หมายถึง หลักฐานที่ได้จาก descriptive studiesหรือ controlled clinical trial
ดาเนินการยังไม่เหมาะสม
 ระดับ 4 หมายถึง หลักฐานที่ได้จากความเห็นหรือฉันทามติ ( consensus ) ของคณะ
ผู้เชี่ยวชาญและหลักฐานอื่นๆ
ระดับของคาแนะนา (Strength of Recommendation)
 ระดับ ++ หมายถึง ความมั่นใจของคาแนะนาอยู่ในระดับสูง และการ
กระทาดังกล่าวมี ประโยชน์คุ้มค่าควรทา
 ระดับ + หมายถึงความมั่นใจของคาแนะนาอยู่ในระดับปานกลาง และ
การกระทา ดังกล่าวอาจมีประโยชน์คุ้มค่าน่าทา
 ระดับ +/- หมายถึง ยังไม่มั่นใจว่าการกระทาดังกล่าวมีประโยชน์คุ้มค่า
หรือไม่การตัดสินใจกระทาหรือไม่ขึ้นอยู่กับปัจจัยอื่นๆ อาจทาหรือไม่ก็ได้
 ระดับ - หมายถึงการกระทาดังกล่าวอาจไม่มีประโยชน์คุ้มค่า หากไม่
จาเป็นไม่น่าทา
 ระดับ - - หมายถึงการกระทาดังกล่าวอาจเกิดโทษ ไม่ควรทา
Warfarin
 การค้นพบยา วอร์ฟาริน (Warfarin) เริ่มต้นเมื่อ 90 ปีที่แล้วที่อเมริกาเหนือ และ
แคนาดา พบว่าวัวที่สุขภาพแข็งแรงล้มตายจากเลือดออกภายในโดยไม่ทราบ
สาเหตุ ต่อมาภายหลังพบว่าเกิดจากการที่วัวบริโภคหญ้า sweet clover ที่ขึ้นรา
 โดยสาร coumadin ที่อยู่ตามธรรมชาติจะถูก oxidized เปลี่ยนเป็นสาร
dicoumarol ในหญ้าที่ขึ้นรา
 ในปี 1948 สารสังเคราะห์ของ dicoumarol ได้นามาใช้เป็นยาเบื่อหนู มีชื่อ
เรียกว่า Warfarin ซึ่งชื่อนี้ตั้งตามผู้ถือสิทธิบัตร
คือ Wisconsin Alumni Research Foundation (WARF) หลังจากนั้นอีก 3 ปี มี
นายทหารในประเทศสหรัฐอเมริกาพยายามจะฆ่าตัวตายโดยรับประทานยาเบื่อ
หนู แต่พบว่าไม่เสียชีวิต
 เหตุการณ์นี้ได้เป็นจุดเริ่มต้นของการค้นคว้าวิจัยในการใช้ยาวอร์ฟารินเป็นยา
ต้านการแข็งตัวของเลือด และได้มีการยอมรับการใช้ยานี้รักษาโรคในมนุษย์ใน
ปี 1954
Clotting Cascade
Vitamin K
Synthesis of
Functional
Coagulation
Factors
VII
IX
X
II
Vitamin K-Dependent Clotting Factors
Vitamin K Mechanism of Action
Warfarin
Synthesis of
Non
Functional
Coagulation
Factors
Antagonism
of
Vitamin K
Warfarin Mechanism of Action
Vitamin K
VII
IX
X
II
Warfarin Mechanism of Action
Virchow’s Triad
Warfarin
 Warfarin นามาใช้ในรูปแบบยารับประทานเพื่อป้องกันการพอกตัวของลิ่ม
เลือดเพิ่มในผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูง ซึ่งส่งผลให้หลอดเลือดตีบตันได้ทั้งใน
รูปแบบของ thrombus หรือ thromboembolism
 Warfarin เป็นยาที่มี bioavailability สูง แต่ therapeutic index แคบ
 ร้อยละ 100 ยาถูก metabolism ที่ตับ และขับออกทางไต ร้อยละ 92
 Elimination half life 2.5 วัน
 มีความสามารถจับกับ albumin ร้อยละ 99
 Warfarin ผ่านทางรกและเป็นอันตรายต่อทารกในครรภ์ แต่ไม่ผ่านทาง
น้านม และไม่สามารถผ่านเข้าน้าไขสันหลัง
 มีหลายปัจจัยที่มีผลต่อการตอบสนองต่อยา warfarin แตกต่างกันออกไป
ในแต่ละบุคคล แม้ได้รับยาในขนาดเท่ากัน
ปัจจัยที่มีผลต่อการออกฤทธิ์ของ warfarin
 ปัจจัยทางพันธุกรรม
โดยการส่งรหัสผ่าน cytochrome P450 2C9 ยีน VKORC
 ปัจจัยทางการเจ็บป่วย
 ปัจจัยทางด้านสิ่งแวดล้อม ได้แก่ ยา และอาหารที่ได้รับ
Factors affecting
เพิ่มฤทธิ์ warfarin
 รับประทานผักสีเขียวลดลง
 ภาวะ heart failure hyperthyroid ,
fever
 Hypo-albuminemia
 Diarrhea , infection
 Renal failure , hepatic dysfunction
 อายุมากกว่า 65 ปี
 น้าหนักตัวน้อย
 มะเร็ง
ลดฤทธิ์ warfarin
 รับประทานผักสีเขียวเพิ่มขึ้น
 Hypothyroid
 Current smoking
ปัจจัยอื่นๆ เช่น อยู่ในช่วงเริ่มการ
รักษา หรือ non compliance
The role of INR
Pre initiation tests
 Complete blood count including
platelets
 INR/PR and APTT
 Liver function tests , kidney function
ข้อบ่งชี้ในการใช้ยาต้านการแข็งตัวของเลือด
ชนิดรับประทาน (warfarin)
1. การรักษา deep vein thrombosis (DVT) หรือ
pulmonary embolism (PE)
คำแนะนำระดับ ++
2. การให้ยาในผู้ป่วยที่มี mechanical prosthetic heart valves
คำแนะนำระดับ ++
ข้อบ่งชี้ในการใช้ยาต้านการแข็งตัวของเลือด
ชนิดรับประทาน (warfarin)
3. การให้ยาในข้อบ่งชี้อื่นๆ
คำแนะนำระดับ ++
1. กรณี valvular atrial fibrillation (AF) ให้ยาต้านการแข็งตัวของเลือดชนิด
รับประทาน (target INR 2.0-3.0) ( คุณภำพของหลักฐำน ระดับ 1)
2. กรณี embolic stroke หรือ recurrent cerebral infarction
(target INR 2.0-3.0) (คุณภำพของหลักฐำนระดับ 2)
3. กรณี dilated cardiomyopathy with intra-cardiac thrombus
(target INR 2.0-3.0 ) (คุณภำพของหลักฐำนระดับ 2)
ระดับ INR ที่เหมาะสมในแต่ละกลุ่ม
คาแนะนาในการปรับยาและเฝ้าระวังยา
คาแนะนาในการปรับยาและเฝ้าระวังยา
การเริ่มยาต้านการแข็งตัวของเลือด
 คำแนะนำระดับ + + (คุณภำพของหลักฐำนระดับ 2 และ 3)
1. กรณีที่เป็นการรักษาภาวะไม่เร่งด่วน (เช่น chronic stable AF) เริ่ม
ขนาด 3- 5 มก./วัน ซึ่งจะได้ผลการรักษาใน 5-7 วัน หรือให้ในขนาดต่า
กว่านี้ หากมีความเสี่ยงสูงในการเกิดภาวะเลือดออก
2. กรณีที่ต้องการผลการรักษาเร็ว ให้ heparin ตามข้อบ่งชี้นั้นๆ และให้ยา
ต้านการแข็งตัวของเลือดชนิดรับประทาน 3 มก. และหยุด heparin หลังจากที่
INR อยู่ในระดับ therapeutic range ในระยะ 2 วันติดกัน
คาแนะนาในการปรับยาและเฝ้าระวังยา (INR Monitoring)
การตรวจติดตามค่าความแข็งตัวของเลือด คำแนะนำระดับ + (คุณภำพของ
หลักฐำนระดับ 2 และ 3)
1. ผู้ป่วยควรได้รับการตรวจ INR หลังจากเริ่มได้ยา 3 วัน
2. ผู้ป่วยควรได้รับการตรวจ INR ซ้าภายใน 1-2 สัปดาห์ภายหลังมีการปรับ
ขนาดยาทุกครั้ง
3. ผู้ป่วยที่ปรับขนาดยาที่แน่นอนและมีค่า INR อยู่ในช่วงเป้าหมายอย่าง
สม่าเสมอ ควรได้รับการตรวจ INR อย่างน้อยทุกๆ 4 - 6 สัปดาห์
4. ผู้ป่วยที่มีค่า INR ไม่คงที่อยู่เป็นประจา ควรได้รับการตรวจ INR
อย่างน้อยทุกๆ 2-4 สัปดาห์
กรณีระดับ INR อยู่นอกช่วงเป้าหมายการรักษา
คาแนะนาระดับ ++
1. เมื่อพบว่าค่า INR อยู่นอกช่วงเป้าหมายการรักษา ก่อนปรับเปลี่ยนขนาดยา ต้อง
หาสาเหตุก่อนเสมอ
2. การปรับขนาด warfarin ควรปรับขนาดขึ้นหรือลงครั้งละ 5 - 20% โดยคานวณ
เป็นขนาดตรวจที่ได้ต่อสัปดาห์
3. ผู้ป่วยที่มีค่า INR ต่ากว่า 1.5 ให้ปรับเพิ่มขนาด warfarin ขึ้น 10-20% ของ
ขนาดต่อสัปดาห์เดิม
4. หลีกเลี่ยงการใช้ vitamin K ชนิดรับประทานหรือทางหลอดเลือดดาในขนาดสูง
ในการแก้ภาวะ INR สูง โดยที่ไม่มีภาวะเลือดออกรุนแรง (โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน
ผู้ป่วยที่ใส่ลิ้นหัวใจเทียม) เนื่องจากอาจจะทาให้เกิด INR ต่ามาก และเกิดภาวะ
warfarin resistance ต่อเนื่องไปเป็นสัปดาห์หรือนานกว่านั้นได้
นอกจากนี้การใช้ vitamin K ทางหลอดเลือดดายังเสี่ยงต่อการเกิด
ภาวะแทรกซ้อนได้แก่ anaphylaxis
กรณีระดับ INR อยู่นอกช่วงเป้าหมายการรักษา
5. ในผู้ป่วยที่มีภาวะเลือดออกรุนแรง และมีค่า INR สูงกว่าช่วง
รักษาให้แก้ไขโดยใช้ vitamin K1 10 มก. ให้ทางหลอดเลือดดาอย่าง
ช้าๆ และให้ fresh frozen plasma หรือ recombinant factor VIIa
ทั้งนี้ขึ้นกับความรุนแรงและความเร่งด่วนของสถานการณ์ อาจ
พิจารณาให้ vitamin K ซ้าได้ทุก 12 ชั่วโมง
6. ในผู้ป่วยที่มีค่า INR สูงปานกลาง ที่ต้องการแก้ไขด้วย vitamin K
แนะนาให้บริหารยาโดยใช้วิธีการรับประทาน ไม่แนะนาให้ใช้วิธีการ
ฉีดยาใต้ผิวหนัง
แนวทางการจัดการและปรับขนาดยา
warfarin เพื่อให้ได้
INR เป้าหมาย 2 – 3
INR การจัดการและการปรับยา
< 1.5 ปรับขนาดยาเพิ่ม 10 – 20% TWD
1.5 – 1.9 ปรับขนาดยาเพิ่ม 5 – 10% TWD
2.0 – 3.0 ให้ขนาดเดิม
3.1 – 3.9 ปรับขนาดยาลง 5 – 10% TWD
4.0 – 4.9 หยุดยาในมื้อถัดไปแล้วปรับขนาดยาลง 10% TWD
5.0 – 8.9
หยุดยา 1–2 มื้อถัดไป แล้วเริ่มยาในขนาดที่ต่าลง (~20% TWD)
หลัง INR ได้ระดับ
กรณีที่ผู้ป่ วยมีความเสี่ยงต่อการ bleeding สูง ให้ Vitamin K1 1 mg
orally
>= 9 หยุดยา ให้ Vitamin K1 5 - 10 mg orally
Major bleeding with
any INR or INR > 20
หยุดยา ให้ Vitamin K1 10 mg slow IV (1 mg/min) ให้ซ้าได้ทุก 12
ช.ม.
ร่วมกับให้ FFP , rFVIIa
 ข้อผิดพลาดที่พบบ่อยในการรักษาด้วย ยา warfarin
คำแนะนำระดับ + คุณภำพของหลักฐำนระดับ 3
1. การปรับขนาดยาไม่เหมาะสม (เพิ่มขึ้นหรือลดลงเร็วเกินไป)
2. ขาดความระวังในการใช้ยาร่วม (Drug interaction)
3. ขาดการให้ความรู้ที่พอเพียงแก่ผู้ป่วย
สาเหตุการผันแปรของ INR ที่พบบ่อยในเวชปฏิบัติ
1. การดื่มแอลกอฮอลล์
2. ยาแก้ปวดคลายกล้ามเนื้อ , NSAID’s, Antibiotics
3. การติดเชื้อ
4. อุจจาระร่วง
5. กินยาผิด (ลืมกิน, กินผิดขนาด, ปรับยาเอง)
ยาเสริมฤทธิ์ยา warfarin ที่พบบ่อย
Cardiovascular Drugs
- Amiodarone, propafenone
- Fluvastatin, rosuvastatin
- Propranolol
Antibiotics
- Erythromycin, clarithromycin,
- cotrimoxazole, ciprofloxacin, cefoperazone, metronidazole
Antifungals
- Ketoconazole, itraconazole, fluconazole
Acid suppression therapy
- Cimetidine, proton-pump inhibitors
NSAIDs
รวมถึงยาในกลุ่ม Coxibs
ยาต้านฤทธิ์ยา warfarin ที่พบบ่อย
Enzyme inducers
– Rifampicin
– Phenytoin
– Carbamezepine
– Phenobarbital
– Griseofulvin
อื่นๆ
– Cholestyramine
– Sucralfate
Drug Interactions with Warfarin: Potentiation
Level of
Evidence Potentiation
Alcohol (if concomitant liver disease) amiodarone (anabolic steroids,
cimetidine,† clofibrate, cotrimoxazole, erythromycin, fluconazole, isoniazid [600
mg daily] metronidazole), miconazole, omeprazole, phenylbutazone, piroxicam,
propafenone, propranolol,† sulfinpyrazone (biphasic with later inhibition)
Acetaminophen , chloral hydrate , ciprofloxacin, dextropropoxyphene, disulfiram,
itraconazole, quinidine, phenytoin (biphasic with later inhibition), tamoxifen,
tetracycline, flu vaccine
Acetylsalicylic acid, disopyramide, fluorouracil, ifosflhamide, ketoprofen,
iovastatin, metozalone, moricizine, nalidixic acid, norfloxacin, ofloxacin,
propoxyphene, sulindac, tolmetin, topical salicylates
Cefamandole, cefazolin, gemfibrozil, heparin, indomethacin, sulfisoxazole
I
II
III
IV
†In a small number of volunteer subjects, an inhibitory drug interaction occurred.
Drug Interactions with Warfarin: Inhibition
Level of
Evidence Inhibition
Barbiturates, carbamazepine, chlordiazepoxide,
cholestyramine, griseofulvin, nafcillin, rifampin, sucralfate
Dicloxacillin
Azathioprine, cyclosporine, etretinate, trazodone
I
II
III
IV
Drug Interactions with Warfarin: No Effect
Level of
Evidence No Effect
Alcohol, antacids, atenolol, bumetadine, enoxacin,
famotidine, fluoxetine, ketorolac metoprolol, naproxen,
nizatidine, psyllium, ranitidine‡
Ibuprofen, ketoconazole
Diltiazem, tobacco, vancomycin
I
II
III
IV
คาแนะนาการใช้ยา warfarin ในผู้ป่ วย
ระยะก่อนและหลังการทาหัตถการ
คาแนะนาการใช้ยา warfarin ในผู้ป่ วย
ระยะก่อนและหลังการทาหัตถการ
 ในผู้ป่วยที่ได้รับยา warfarin และจาเป็นต้องได้รับการทาหัตถการที่มีความ
เสี่ยงในการเกิดเลือดออกจะต้องพิจารณาถึง
 ความจาเป็นในการหยุดยาwarfarin ก่อนการทาหัตถการ โดยพิจารณาความ
เสี่ยงในการเกิดเลือดออกถ้ามีการให้ยาในช่วงระยะเวลาของการทา
หัตถการเนืองจากหัตถการแต่ละชนิดมีความเสี่ยงในการเกิดเลือดออก
ต่างกัน
 ความเสี่ยงในการเกิด thromboembolic events เมื่อหยุดยา warfarin
โดยความเสี่ยงของการเกิด thromboembolic event
ในผู้ป่วยกลุ่มต่างๆ มีดังตาราง
 ความจาเป็นในการให้ bridging therapy ด้วย short - acting
anticoagulant ในขณะที่หยุดยา warfarin เพื่อลดโอกาส
เกิด thromboembolic event
คาแนะนาการใช้ยา warfarin ในผู้ป่ วย
ระยะก่อนและหลังการทาหัตถการ
คาแนะนาระดับ ++
1. ผู้ป่วยที่จาเป็นต้องหยุดยาวอร์ฟารินก่อนการทาหัตถการที่ต้องให้
ระดับ INR อยู่ในระดับ <1.5 แนะนาให้หยุดยาต้านการแข็งตัวของเลือด 4-5
วันก่อนการทาหัตถการ (คุณภาพของหลักฐานระดับ 3)
2. ในผู้ป่วยที่หยุดยาวอร์ฟาริน ให้เริ่มยาวอร์ฟาริน 12-24 ชั่วโมงหลัง
หัตถการถ้าไม่มีเลือดออก (คุณภาพของหลักฐานระดับ 3 )
3. ผู้ป่วยที่มี mechanical valve หรือ atrial fibrillation หรือ
venous thromboembolism ที่มีโอกาสสูงต่อการเกิด thromboembolism
แนะนาให้ใช้ bridging anticoagulation ขณะที่หยุดยาต้านการแข็งตัวของ
เลือด (คุณภาพของหลักฐานระดับ 3)
คาแนะนาการใช้ยา warfarin ในผู้ป่ วย
ระยะก่อนและหลังการทาหัตถการ
4. การดูแลผู้ป่วยที่ต้องทาหัตถการด้าน dental, dermatology และ
ophthalmologic : ผู้ป่วยที่ต้องทาหัตถการที่เป็น minimal dental procedures
หรือ minor dermatology procedure หรือการผ่าตัด ต้อกระจก
สามารถให้ผู้ป่วยรับประทานยาต้านการแข็งตัวของเลือด และทาหัตถการโดย
ไม่ต้องหยุดยา (คุณภาพของหลักฐานระดับ 3 )
5. ผู้ป่วยที่จาเป็นต้องได้รับการทาหัตถการที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดเลือดออก
อย่างเร่งด่วน (urgent) แนะนาให้ใช้ oral หรือ IV vitamin K 2.5-5.0 มก.
(คุณภาพของหลักฐานระดับ 3) ยกเว้นผู้ป่วยที่มีลิ้นหัวใจเทียมชนิดโลหะ
(Prostatic mechanical valve)
คำแนะนำระดับ + 
1. ผู้ป่วยที่มีค่า INR 1.5-1.9 ให้ปรับขนาด warfarin เพิ่มขึ้น 5-10% ของขนาดต่อ
สัปดาห์ หรืออาจไม่ปรับยา แต่ใช้วิธีติดตามค่า INR บ่อยขึ้น เพื่อดูแนวโน้ม
(คุณภำพของหลักฐำนระดับ 3)
2. ผู้ป่วยที่มีค่า INR ต่ากว่าช่วงรักษาและกาลังได้รับการปรับยา ควรตรวจค่า INR
บ่อยๆ อย่างน้อยทุก 2 สัปดาห์ ในช่วงปรับยาจนกว่าได้ ค่า INR ที่ต้องการ
ความถี่บ่อยขึ้นกับความเสี่ยงต่อการเกิดthromboembolic ของผู้ป่วย
หากสูง เช่น prosthetic valve หรือ malignancy ควรตรวจบ่อยขึ้น (คุณภำพของ
หลักฐำนระดับ 3)
3. ในกรณีที่ค่า INR อยู่นอกช่วงไม่มาก (1.5-2 หรือ 3-4) และไม่มีสาเหตุที่ชัดเจน
อาจยังไม่ปรับขนาดยา แต่ใช้วิธีติดตามค่า INR บ่อยๆ เพื่อดูแนวโน้มว่าจะกลับเข้าสู่
ระดับช่วงรักษาหรือไม่ การรอโดยไม่แก้ไขนี้ เหมาะสมกับผู้ป่วยที่มีปัจจัยเสี่ยงต่อ
เลือดออกและ thromboembolism ไม่สูง (คุณภำพของหลักฐำนระดับ 3)
4. ผู้ป่วยที่มีค่า INR เกินช่วงรักษาแต่ไม่เกิน 5.0 และไม่มีภาวะเลือดออก
ให้หยุดรับประทานยา 1 วัน และติดตามค่า INR จนเข้าช่วงรักษา และเริ่มใหม่
ที่ขนาดต่าลง (ลดลง 10%ของขนาดต่อสัปดาห์เดิม) (คุณภำพของหลักฐำน
ระดับ 3)
5. ผู้ป่วยที่มีค่า INR อยู่ระหว่าง 5.0 ถึง 9.0 แต่ไม่มีภาวะเลือดออกให้
หยุดรับประทานวอร์ฟาริน 2 วัน และติดตามค่า INR อย่างใกล้ชิดจนเข้าสู่ช่วง
รักษา และเริ่มใหม่ที่ขนาดต่าลง (ลดลงประมาณ 20% ของขนาดต่อสัปดาห์
เดิม) หากผู้ป่วยมีปัจจัยที่ส่งเสริมที่ทาให้เสี่ยงต่อภาวะเลือดออกง่ายอาจ
พิจารณาให้ vitamin K 1-2.5 มก. และหาก ผู้ป่วยมีความเร่งด่วนที่ต้องแก้ไข
ค่า INR เช่นต้องได้รับการผ่าตัด พิจารณาให้ vitamin K1 2.5-5 มก. เพื่อหวัง
ให้ INR กลับมาในช่วง รักษาใน 24 ชั่วโมง (คุณภำพของหลักฐำนระดับ 3)
6. ผู้ป่วยที่มีค่า INR มากกว่า 9.0 แต่ไม่มีภาวะเลือดออกให้หยุดยา
วอร์ฟาริน และให้ vitamin K 2.5-5 มก.ชนิดรับประทาน และ ติดตาม
ค่า INR อย่างใกล้ชิด โดยคาดว่าจะกลับมาอยู่ในช่วงรักษาใน 24-48ชั่วโมง
แต่หากค่า INR ยังสูงอยู่ อาจให้ vitamin K1 1-2 มก.ชนิด
รับประทานอีกครั้ง (คุณภำพของหลักฐำนระดับ 3)
CHA2DS2
CHA2DS2- VASc Score  2
แนวทางการให้ bridging anticoagulation
 คาแนะนาระดับ ++
1. ในผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงปานกลางแนะนาใช้ therapeutic dose
subcutaneous LMWH หรือ intravenous unfractionated heparin
(IV UFH) หรือ low dose subcutaneous LMWH
(แนะนาให้ therapeutic SC LMWH มากกว่า IV UFH หรือ low dose
subcutaneous LWMH เมื่อระดับ INR ต่ากว่า 2 )
แนวทางการให้ bridging anticoagulation
2. ในผู้ป่วยที่ได้ therapeutic dose SC LMWH หรือ
SC unfractionated heparin แนะนาให้หยุดยาก่อนการทาหัตถการ
12-24 ชั่วโมง โดยที่ให้ยาในขนาดครึ่งหนึ่งของขนาดปกติ
(ถ้าได้ once daily dose) ปรับให้เป็น dose เช้า และให้เฉพาะ dose
เช้าในผู้ป่วยที่ได้ bid dose
ส่วนผู้ป่วยที่ได้ IV UFH แนะนาให้หยุด UFH ประมาณ 4-6
ชั่วโมง ก่อนการทาหัตถการ
แนวทางการให้ bridging anticoagulation
3. ในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดเล็กหรือมีความเสี่ยงต่อการเกิดเลือดออกน้อย
และได้รับ therapeutic dose LMWH ใน bridging therapy
แนะนาให้เริ่ม LMWH ประมาณ 24 ชั่วโมงหลังหัตถการและเมื่อไม่มีเลือดออก
4. ในผู้ป่วยที่ได้รับผ่าตัดใหญ่หรือมีความเสี่ยงต่อการเกิดเลือดออกสูง
ควรพิจารณาให้ therapeutic dose LMWH, หรือ low dose LMWH/ UFH หลัง
การทาหัตถการ 48-72 ชั่วโมง โดยประเมินโอกาสเกิดเลือดออกก่อนเริ่มให้ยา
แนวทางการให้ bridging anticoagulation
5. หลังการทาหัตถการและเริ่มให้ยาต้านการแข็งตัวของเลือดชนิด
รับประทานควรให้ LWMH หรือ UFH จนกระทั่ง INR อยู่ในระดับ
ที่ ต้องการ 3 วัน
ห้
Signs of Warfarin Overdosage
 Any unusual bleeding:
Blood in stools or urine
Excessive menstrual bleeding
Bruising
Excessive nose bleeds/bleeding gums
Persistent oozing from superficial injuries
Bleeding from tumor, ulcer, or other lesion
Complication ของ ยาwarfarin
 Skin necrosis or gangrene
 Purple – toe syndrome
 Nuasea vomitting diarrhear anorexia fever
BM suppression allergic dermatitis MP rash
 Osteoporosis ร้อยละ 60 male
คาแนะนาการใช้ยาต้านการแข็งตัวของเลือด
ชนิดรับประทาน (warfarin)
ในผู้ป่ วยตั้งครรภ์
 ยา warfarin สามารถผ่านรกและมีผลกับทารกในครรภ์
 มี teratogenic effect และทาให้เกิดเลือดออกในทารกได้ หาก
เกิดการตั้งครรภ์และได้รับยามาตลอด
 ช่วงของการตั้งครรภ์ ทารกจะมีโอกาสเกิด warfarin embryopathy
ซึ่งมีลักษณะได้แก่ nasal hypoplasia, stippled epiphyses
ได้ร้อยละ 6.4
 โดยโอกาสจะสูงสุดถ้าได้รับยา warfarin ในระหว่างอายุครรภ์ 3
เดือนแรก
 ยาในกลุ่ม heparin และ LMWH ไม่ผ่านรกทาให้มีความปลอดภัย
ต่อลูก แต่มีโอกาสเกิด thromboembolic complication,
heparin induced osteoporosis, heparin induced
thrombocytopenia ในแม่
 การใช้ยา warfarin หรือ heparin ทาให้มีโอกาสการแท้งลูกหรือ
ลูกเสียชีวิตในครรภ์ได้ประมาณร้อยละ 20-25 ดังนั้นควรให้ผู้ป่วย
มีส่วนร่วมในการตัดสินใจและพิจารณาใช้
การให้นมบุตร
 ผู้ป่วยที่ได้รับยา warfarin หรือ UFH สามารถให้นมบุตรได้
(คำแนะนำระดับ ++, คุณภำพ ของหลักฐำนระดับ 3)
 เช่นเดียวกับผู้ป่วยที่ได้รับ LMWH
(คำแนะนำระดับ +, คุณภำพของ หลักฐำนระดับ 3)
Patient Education
หัวข้อการสอนผู้ป่ วย
1. ยาวอร์ฟารินคืออะไร ออกฤทธิ์อย่างไร
2. ทาไมท่านต้องรับประทานยาวอร์ฟาริน
3. ระยะเวลาที่ต้องรับประทานยา
4. อธิบายความหมายและเป้าหมายของค่า INR และ ความสาคัญในการตรวจ
เลือด อย่างสม่าเสมอเพื่อลดความเสี่ยงการเกิดภาวะเลือดออกหรือลิ่มเลือด
อุดตัน
5. ความสาคัญของการรับประทานยาอย่างถูกต้องสม่าเสมอตามแพทย์สั่ง
6. ข้อปฏิบัติหากลืมรับประทานยา
7. อันตรกริยาระหว่างยา (Drug interaction) อาหารเสริมและสมุนไพร
8. ชนิดอาหารที่มี vitamin K สูง และผลที่มีต่อค่า INR
9. การคุมกาเนิดและผลของวอร์ฟารินต่อทารกในครรภ์
10. อาการและอาการแสดงของภาวะเลือดออกง่าย และภาวะ ลิ่มเลือดอุดตัน
11. การติดต่อกรณีฉุกเฉิน
ยาหรือผลิตภัณฑ์ควรหลีกเลี่ยง
 ASA (ทัมใจ บูรา บวดหาย), NSAIDs, COX-2 inhibitor
 Steroid รวมถึงยาลูกกลอน
 ยาสมุนไพร (Herbal), แปะก๊วย (Gingko biloba), โสม (Ginseng)
Garlic ขิง
 อาหารเสริม: ผักสกัดอัดเม็ด คลอโรฟิลด์อัดเม็ด อัลฟาฟ่า
ชาเขียว น้ามันปลา วิตามินเอ อี วิตามินเคในขนาดสูง
มะละกอ โคเอมไซม์คิวเทน evening primrose น้าแครนเบอร์รี่
ข้อควรปฏิบัติของผู้ป่ วยที่รับประทานยาwarfarin
1. หลีกเลี่ยงการเล่นกีฬาที่มีการกระทบกระแทก
2. สวมถุงมือหากต้องใช้อุปกรณ์มีคม
3. ลด ละ เลิก การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
4. ระมัดระวังการลื่นล้ม โดยเฉพาะในผู้ป่วยสูงอายุ
5. สวมหมวกกันน็อคทุกครั้งที่ขับขี่รถจักรยานยนต์
6. หลีกเลี่ยงการนวดที่รุนแรง
7. หลีกเลี่ยงการฉีดยาเข้ากล้าม
8. แจ้งแพทย์หรือทันตแพทย์ทุกครั้งว่ารับประทานยาวอร์ฟาริน
แนวทางในการบริหารจัดการ ดูแล
 การรักษาด้วยยาต้องมีระบบการจัดการที่ดี การสื่อสาร สหสาขาวิชาชีพ
 เริ่มต้นใช้ยา warfarin 3-5 mg/day
 Follow up INR
 มาตรวจตามนัด ทุก 1-2 เดือน
 กรณีลืมทานยาและยังไม่ถึง 12 hr. ให้ทานทันที
 หากลืมทานยา ห้ามเพิ่มขนาดยาเป็น 2 เท่า
 การทาหัตถการต่างๆ
แนะนาให้หยุด ยา 5 วัน keep INR < 1.5 และควรให้ทานยาต่อภายใน 24
ชั่วโมง หลังทาหัตถการ
สาหรับผู้ป่ วย high risk ควรใช้ LMH or Heparin
แนวทางในการบริหารจัดการ ดูแล
 ต้องรับประทานยาต่อเนื่อง และเป็นเวลาเดิม หรือเมื่อท้องว่าง ห่างจากยาอื่นๆ
 หลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่ทาให้ระดับยาเปลี่ยนแปลง
 การเก็บรักษายา เก็บให้พ้นแสงและ ความชื้น
Managing Patients with High INR Values/
Minor or No Bleeding
Clinical Situation
INR >therapeutic range but <5.0,
no clinically significant bleeding,
rapid reversal not indicated for
reasons of surgical intervention
Guidelines
Lower the dose or omit the next dose; resume warfarin
therapy at a lower dose when the INR approaches desired
range
If the INR is only minimally above therapeutic range, dose
reduction may not be necessary
Patients with no additional risk factors for bleeding; omit
the next dose or two of warfarin, monitor INR more
frequently, and resume warfarin therapy at a lower dose
when the INR is in therapeutic range
Patients at increased risk of bleeding: omit the next dose
of warfarin, and give vitamin K1 (1.0 to 2.5 mg orally)
Patients requiring more rapid reversal before urgent
surgery or dental extraction: vitamin K1 (2–4 mg orally); if
the INR remains high at 24 h, an additional dose of 1–
2 mg
INR >5.0 but <9.0, no clinically
significant bleeding
Managing Patients with High INR Values/
Serious Bleeding
Clinical Situation
INR >9.0, no clinically significant
bleeding
Life-threatening bleeding or serious
warfarin overdose
Continuing warfarin therapy
indicated after high doses of
vitamin K1
Guidelines
Vitamin K1 (3–5 mg orally); closely monitor the INR; if the
INR is not substantially reduced by 24–24 h, the vitamin K1
dose can be repeated
Serious bleeding, or major warfarin overdose (e.g., INR
>20.0) requiring very rapid reversal of anticoagulant effect:
Vitamin K1 (10 mg by slow IV infusion), with fresh plasma
transfusion or prothrombin complex concentrate,
depending upon urgency; vitamin K1 injections may be
needed q12h
Prothrombin complex concentrate, with vitamin K1 (10 mg
by slow IV infusion); repeat if necessary, depending upon
the INR
Heparin, until the effects of vitamin K1 have been reversed,
and patient is responsive to warfarin
A003

More Related Content

What's hot

ยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวานยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวานUtai Sukviwatsirikul
 
การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition techno UCH
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554Utai Sukviwatsirikul
 
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1Utai Sukviwatsirikul
 
Clinical practice guidelines mild head injury
Clinical practice guidelines mild head injuryClinical practice guidelines mild head injury
Clinical practice guidelines mild head injurySiwaporn Khureerung
 
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscine
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscineความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscine
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscineAiman Sadeeyamu
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์Anissa Aromsawa
 
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนักPediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนักAiman Sadeeyamu
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันUtai Sukviwatsirikul
 
Drug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation presentDrug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation presentAuMi Pharmaza
 
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด Utai Sukviwatsirikul
 
การใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กการใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กOzone Thanasak
 
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนda priyada
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์Utai Sukviwatsirikul
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition techno UCH
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์Papawee Laonoi
 
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing studentspathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing studentsAphisit Aunbusdumberdor
 

What's hot (20)

ยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวานยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวาน
 
การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
 
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
 
Clinical practice guidelines mild head injury
Clinical practice guidelines mild head injuryClinical practice guidelines mild head injury
Clinical practice guidelines mild head injury
 
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscine
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscineความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscine
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscine
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
 
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนักPediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
 
Drug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation presentDrug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation present
 
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
 
การใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กการใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็ก
 
Sle guideline
Sle guidelineSle guideline
Sle guideline
 
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์
 
Berodual salbutamol solution
Berodual salbutamol solutionBerodual salbutamol solution
Berodual salbutamol solution
 
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing studentspathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
 
Resistor
ResistorResistor
Resistor
 

Similar to A003

Wed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.doc
Wed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.docWed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.doc
Wed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.docjiratiyarapong
 
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)Aiman Sadeeyamu
 
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงคู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการดูแลรักษาลิ้มเลือดอุดตันในปอด ในผูปวยฉุกเฉิน
แนวทางการดูแลรักษาลิ้มเลือดอุดตันในปอด ในผูปวยฉุกเฉินแนวทางการดูแลรักษาลิ้มเลือดอุดตันในปอด ในผูปวยฉุกเฉิน
แนวทางการดูแลรักษาลิ้มเลือดอุดตันในปอด ในผูปวยฉุกเฉินSociety of Thai Emergency Physicians
 
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558Utai Sukviwatsirikul
 
บทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidaseบทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidasedentyomaraj
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfporkhwan
 
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรังแนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรังUtai Sukviwatsirikul
 
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...CAPD AngThong
 
แนวทางการรักษาผู้ป่วยด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือดชนิดรับประทาน 2553
แนวทางการรักษาผู้ป่วยด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือดชนิดรับประทาน 2553แนวทางการรักษาผู้ป่วยด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือดชนิดรับประทาน 2553
แนวทางการรักษาผู้ป่วยด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือดชนิดรับประทาน 2553Utai Sukviwatsirikul
 
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)Aimmary
 
แบบตอบคำถาม Dis 2
แบบตอบคำถาม Dis 2แบบตอบคำถาม Dis 2
แบบตอบคำถาม Dis 2Techin Pha-In
 
Thai guidelines on the treatment of hypertension update 2015
Thai guidelines on the treatment of hypertension update 2015Thai guidelines on the treatment of hypertension update 2015
Thai guidelines on the treatment of hypertension update 2015Utai Sukviwatsirikul
 

Similar to A003 (20)

Wed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.doc
Wed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.docWed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.doc
Wed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.doc
 
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)
 
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงคู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
 
แนวทางการดูแลรักษาลิ้มเลือดอุดตันในปอด ในผูปวยฉุกเฉิน
แนวทางการดูแลรักษาลิ้มเลือดอุดตันในปอด ในผูปวยฉุกเฉินแนวทางการดูแลรักษาลิ้มเลือดอุดตันในปอด ในผูปวยฉุกเฉิน
แนวทางการดูแลรักษาลิ้มเลือดอุดตันในปอด ในผูปวยฉุกเฉิน
 
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
 
บทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidaseบทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidase
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
 
01 recent advance 2
01 recent advance 201 recent advance 2
01 recent advance 2
 
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
 
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรังแนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง
 
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...
 
Ppt. med error.2
Ppt. med error.2Ppt. med error.2
Ppt. med error.2
 
แนวทางการรักษาผู้ป่วยด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือดชนิดรับประทาน 2553
แนวทางการรักษาผู้ป่วยด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือดชนิดรับประทาน 2553แนวทางการรักษาผู้ป่วยด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือดชนิดรับประทาน 2553
แนวทางการรักษาผู้ป่วยด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือดชนิดรับประทาน 2553
 
Medication reconciliation slide
Medication reconciliation slideMedication reconciliation slide
Medication reconciliation slide
 
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
 
แบบตอบคำถาม Dis 2
แบบตอบคำถาม Dis 2แบบตอบคำถาม Dis 2
แบบตอบคำถาม Dis 2
 
Ckd 2009
Ckd 2009Ckd 2009
Ckd 2009
 
Pah guideline 2013
Pah guideline 2013Pah guideline 2013
Pah guideline 2013
 
Thai guidelines on the treatment of hypertension update 2015
Thai guidelines on the treatment of hypertension update 2015Thai guidelines on the treatment of hypertension update 2015
Thai guidelines on the treatment of hypertension update 2015
 
New thai hiv guideline 2010
New thai hiv guideline 2010New thai hiv guideline 2010
New thai hiv guideline 2010
 

A003

  • 2. คุณภาพของหลักฐาน (Quality of Evidence)  ระดับ 1 หมายถึง หลักฐานที่ได้จาก systematic review ของ randomized controlled clinical trials หรือ well designed randomized controlled clinical trial  ระดับ 2 หมายถึง หลักฐานที่ได้จาก systemtic review ของ controlled clinical trials หรือ well designed controlled clinical trial หรือหลักฐานที่ได้จาก การวิจัยทาง คลินิกที่ใช้รูปแบบการวิจัยอื่นและผลการวิจัยพบประโยชน์หรือ โทษจากการปฏิบัติรักษาที่ เด่นชัดมาก (เช่น cohort study, case-control study)  ระดับ 3 หมายถึง หลักฐานที่ได้จาก descriptive studiesหรือ controlled clinical trial ดาเนินการยังไม่เหมาะสม  ระดับ 4 หมายถึง หลักฐานที่ได้จากความเห็นหรือฉันทามติ ( consensus ) ของคณะ ผู้เชี่ยวชาญและหลักฐานอื่นๆ
  • 3. ระดับของคาแนะนา (Strength of Recommendation)  ระดับ ++ หมายถึง ความมั่นใจของคาแนะนาอยู่ในระดับสูง และการ กระทาดังกล่าวมี ประโยชน์คุ้มค่าควรทา  ระดับ + หมายถึงความมั่นใจของคาแนะนาอยู่ในระดับปานกลาง และ การกระทา ดังกล่าวอาจมีประโยชน์คุ้มค่าน่าทา  ระดับ +/- หมายถึง ยังไม่มั่นใจว่าการกระทาดังกล่าวมีประโยชน์คุ้มค่า หรือไม่การตัดสินใจกระทาหรือไม่ขึ้นอยู่กับปัจจัยอื่นๆ อาจทาหรือไม่ก็ได้  ระดับ - หมายถึงการกระทาดังกล่าวอาจไม่มีประโยชน์คุ้มค่า หากไม่ จาเป็นไม่น่าทา  ระดับ - - หมายถึงการกระทาดังกล่าวอาจเกิดโทษ ไม่ควรทา
  • 4. Warfarin  การค้นพบยา วอร์ฟาริน (Warfarin) เริ่มต้นเมื่อ 90 ปีที่แล้วที่อเมริกาเหนือ และ แคนาดา พบว่าวัวที่สุขภาพแข็งแรงล้มตายจากเลือดออกภายในโดยไม่ทราบ สาเหตุ ต่อมาภายหลังพบว่าเกิดจากการที่วัวบริโภคหญ้า sweet clover ที่ขึ้นรา  โดยสาร coumadin ที่อยู่ตามธรรมชาติจะถูก oxidized เปลี่ยนเป็นสาร dicoumarol ในหญ้าที่ขึ้นรา  ในปี 1948 สารสังเคราะห์ของ dicoumarol ได้นามาใช้เป็นยาเบื่อหนู มีชื่อ เรียกว่า Warfarin ซึ่งชื่อนี้ตั้งตามผู้ถือสิทธิบัตร คือ Wisconsin Alumni Research Foundation (WARF) หลังจากนั้นอีก 3 ปี มี นายทหารในประเทศสหรัฐอเมริกาพยายามจะฆ่าตัวตายโดยรับประทานยาเบื่อ หนู แต่พบว่าไม่เสียชีวิต  เหตุการณ์นี้ได้เป็นจุดเริ่มต้นของการค้นคว้าวิจัยในการใช้ยาวอร์ฟารินเป็นยา ต้านการแข็งตัวของเลือด และได้มีการยอมรับการใช้ยานี้รักษาโรคในมนุษย์ใน ปี 1954
  • 11. Warfarin  Warfarin นามาใช้ในรูปแบบยารับประทานเพื่อป้องกันการพอกตัวของลิ่ม เลือดเพิ่มในผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูง ซึ่งส่งผลให้หลอดเลือดตีบตันได้ทั้งใน รูปแบบของ thrombus หรือ thromboembolism  Warfarin เป็นยาที่มี bioavailability สูง แต่ therapeutic index แคบ  ร้อยละ 100 ยาถูก metabolism ที่ตับ และขับออกทางไต ร้อยละ 92  Elimination half life 2.5 วัน  มีความสามารถจับกับ albumin ร้อยละ 99  Warfarin ผ่านทางรกและเป็นอันตรายต่อทารกในครรภ์ แต่ไม่ผ่านทาง น้านม และไม่สามารถผ่านเข้าน้าไขสันหลัง  มีหลายปัจจัยที่มีผลต่อการตอบสนองต่อยา warfarin แตกต่างกันออกไป ในแต่ละบุคคล แม้ได้รับยาในขนาดเท่ากัน
  • 12. ปัจจัยที่มีผลต่อการออกฤทธิ์ของ warfarin  ปัจจัยทางพันธุกรรม โดยการส่งรหัสผ่าน cytochrome P450 2C9 ยีน VKORC  ปัจจัยทางการเจ็บป่วย  ปัจจัยทางด้านสิ่งแวดล้อม ได้แก่ ยา และอาหารที่ได้รับ
  • 13. Factors affecting เพิ่มฤทธิ์ warfarin  รับประทานผักสีเขียวลดลง  ภาวะ heart failure hyperthyroid , fever  Hypo-albuminemia  Diarrhea , infection  Renal failure , hepatic dysfunction  อายุมากกว่า 65 ปี  น้าหนักตัวน้อย  มะเร็ง ลดฤทธิ์ warfarin  รับประทานผักสีเขียวเพิ่มขึ้น  Hypothyroid  Current smoking ปัจจัยอื่นๆ เช่น อยู่ในช่วงเริ่มการ รักษา หรือ non compliance
  • 14.
  • 15.
  • 16. The role of INR
  • 17. Pre initiation tests  Complete blood count including platelets  INR/PR and APTT  Liver function tests , kidney function
  • 18. ข้อบ่งชี้ในการใช้ยาต้านการแข็งตัวของเลือด ชนิดรับประทาน (warfarin) 1. การรักษา deep vein thrombosis (DVT) หรือ pulmonary embolism (PE) คำแนะนำระดับ ++ 2. การให้ยาในผู้ป่วยที่มี mechanical prosthetic heart valves คำแนะนำระดับ ++
  • 19. ข้อบ่งชี้ในการใช้ยาต้านการแข็งตัวของเลือด ชนิดรับประทาน (warfarin) 3. การให้ยาในข้อบ่งชี้อื่นๆ คำแนะนำระดับ ++ 1. กรณี valvular atrial fibrillation (AF) ให้ยาต้านการแข็งตัวของเลือดชนิด รับประทาน (target INR 2.0-3.0) ( คุณภำพของหลักฐำน ระดับ 1) 2. กรณี embolic stroke หรือ recurrent cerebral infarction (target INR 2.0-3.0) (คุณภำพของหลักฐำนระดับ 2) 3. กรณี dilated cardiomyopathy with intra-cardiac thrombus (target INR 2.0-3.0 ) (คุณภำพของหลักฐำนระดับ 2)
  • 22. คาแนะนาในการปรับยาและเฝ้าระวังยา การเริ่มยาต้านการแข็งตัวของเลือด  คำแนะนำระดับ + + (คุณภำพของหลักฐำนระดับ 2 และ 3) 1. กรณีที่เป็นการรักษาภาวะไม่เร่งด่วน (เช่น chronic stable AF) เริ่ม ขนาด 3- 5 มก./วัน ซึ่งจะได้ผลการรักษาใน 5-7 วัน หรือให้ในขนาดต่า กว่านี้ หากมีความเสี่ยงสูงในการเกิดภาวะเลือดออก 2. กรณีที่ต้องการผลการรักษาเร็ว ให้ heparin ตามข้อบ่งชี้นั้นๆ และให้ยา ต้านการแข็งตัวของเลือดชนิดรับประทาน 3 มก. และหยุด heparin หลังจากที่ INR อยู่ในระดับ therapeutic range ในระยะ 2 วันติดกัน
  • 23. คาแนะนาในการปรับยาและเฝ้าระวังยา (INR Monitoring) การตรวจติดตามค่าความแข็งตัวของเลือด คำแนะนำระดับ + (คุณภำพของ หลักฐำนระดับ 2 และ 3) 1. ผู้ป่วยควรได้รับการตรวจ INR หลังจากเริ่มได้ยา 3 วัน 2. ผู้ป่วยควรได้รับการตรวจ INR ซ้าภายใน 1-2 สัปดาห์ภายหลังมีการปรับ ขนาดยาทุกครั้ง 3. ผู้ป่วยที่ปรับขนาดยาที่แน่นอนและมีค่า INR อยู่ในช่วงเป้าหมายอย่าง สม่าเสมอ ควรได้รับการตรวจ INR อย่างน้อยทุกๆ 4 - 6 สัปดาห์ 4. ผู้ป่วยที่มีค่า INR ไม่คงที่อยู่เป็นประจา ควรได้รับการตรวจ INR อย่างน้อยทุกๆ 2-4 สัปดาห์
  • 24. กรณีระดับ INR อยู่นอกช่วงเป้าหมายการรักษา คาแนะนาระดับ ++ 1. เมื่อพบว่าค่า INR อยู่นอกช่วงเป้าหมายการรักษา ก่อนปรับเปลี่ยนขนาดยา ต้อง หาสาเหตุก่อนเสมอ 2. การปรับขนาด warfarin ควรปรับขนาดขึ้นหรือลงครั้งละ 5 - 20% โดยคานวณ เป็นขนาดตรวจที่ได้ต่อสัปดาห์ 3. ผู้ป่วยที่มีค่า INR ต่ากว่า 1.5 ให้ปรับเพิ่มขนาด warfarin ขึ้น 10-20% ของ ขนาดต่อสัปดาห์เดิม 4. หลีกเลี่ยงการใช้ vitamin K ชนิดรับประทานหรือทางหลอดเลือดดาในขนาดสูง ในการแก้ภาวะ INR สูง โดยที่ไม่มีภาวะเลือดออกรุนแรง (โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน ผู้ป่วยที่ใส่ลิ้นหัวใจเทียม) เนื่องจากอาจจะทาให้เกิด INR ต่ามาก และเกิดภาวะ warfarin resistance ต่อเนื่องไปเป็นสัปดาห์หรือนานกว่านั้นได้ นอกจากนี้การใช้ vitamin K ทางหลอดเลือดดายังเสี่ยงต่อการเกิด ภาวะแทรกซ้อนได้แก่ anaphylaxis
  • 25. กรณีระดับ INR อยู่นอกช่วงเป้าหมายการรักษา 5. ในผู้ป่วยที่มีภาวะเลือดออกรุนแรง และมีค่า INR สูงกว่าช่วง รักษาให้แก้ไขโดยใช้ vitamin K1 10 มก. ให้ทางหลอดเลือดดาอย่าง ช้าๆ และให้ fresh frozen plasma หรือ recombinant factor VIIa ทั้งนี้ขึ้นกับความรุนแรงและความเร่งด่วนของสถานการณ์ อาจ พิจารณาให้ vitamin K ซ้าได้ทุก 12 ชั่วโมง 6. ในผู้ป่วยที่มีค่า INR สูงปานกลาง ที่ต้องการแก้ไขด้วย vitamin K แนะนาให้บริหารยาโดยใช้วิธีการรับประทาน ไม่แนะนาให้ใช้วิธีการ ฉีดยาใต้ผิวหนัง
  • 26. แนวทางการจัดการและปรับขนาดยา warfarin เพื่อให้ได้ INR เป้าหมาย 2 – 3 INR การจัดการและการปรับยา < 1.5 ปรับขนาดยาเพิ่ม 10 – 20% TWD 1.5 – 1.9 ปรับขนาดยาเพิ่ม 5 – 10% TWD 2.0 – 3.0 ให้ขนาดเดิม 3.1 – 3.9 ปรับขนาดยาลง 5 – 10% TWD 4.0 – 4.9 หยุดยาในมื้อถัดไปแล้วปรับขนาดยาลง 10% TWD 5.0 – 8.9 หยุดยา 1–2 มื้อถัดไป แล้วเริ่มยาในขนาดที่ต่าลง (~20% TWD) หลัง INR ได้ระดับ กรณีที่ผู้ป่ วยมีความเสี่ยงต่อการ bleeding สูง ให้ Vitamin K1 1 mg orally >= 9 หยุดยา ให้ Vitamin K1 5 - 10 mg orally Major bleeding with any INR or INR > 20 หยุดยา ให้ Vitamin K1 10 mg slow IV (1 mg/min) ให้ซ้าได้ทุก 12 ช.ม. ร่วมกับให้ FFP , rFVIIa
  • 27.
  • 28.  ข้อผิดพลาดที่พบบ่อยในการรักษาด้วย ยา warfarin คำแนะนำระดับ + คุณภำพของหลักฐำนระดับ 3 1. การปรับขนาดยาไม่เหมาะสม (เพิ่มขึ้นหรือลดลงเร็วเกินไป) 2. ขาดความระวังในการใช้ยาร่วม (Drug interaction) 3. ขาดการให้ความรู้ที่พอเพียงแก่ผู้ป่วย
  • 29. สาเหตุการผันแปรของ INR ที่พบบ่อยในเวชปฏิบัติ 1. การดื่มแอลกอฮอลล์ 2. ยาแก้ปวดคลายกล้ามเนื้อ , NSAID’s, Antibiotics 3. การติดเชื้อ 4. อุจจาระร่วง 5. กินยาผิด (ลืมกิน, กินผิดขนาด, ปรับยาเอง)
  • 30. ยาเสริมฤทธิ์ยา warfarin ที่พบบ่อย Cardiovascular Drugs - Amiodarone, propafenone - Fluvastatin, rosuvastatin - Propranolol Antibiotics - Erythromycin, clarithromycin, - cotrimoxazole, ciprofloxacin, cefoperazone, metronidazole Antifungals - Ketoconazole, itraconazole, fluconazole Acid suppression therapy - Cimetidine, proton-pump inhibitors NSAIDs รวมถึงยาในกลุ่ม Coxibs
  • 31. ยาต้านฤทธิ์ยา warfarin ที่พบบ่อย Enzyme inducers – Rifampicin – Phenytoin – Carbamezepine – Phenobarbital – Griseofulvin อื่นๆ – Cholestyramine – Sucralfate
  • 32. Drug Interactions with Warfarin: Potentiation Level of Evidence Potentiation Alcohol (if concomitant liver disease) amiodarone (anabolic steroids, cimetidine,† clofibrate, cotrimoxazole, erythromycin, fluconazole, isoniazid [600 mg daily] metronidazole), miconazole, omeprazole, phenylbutazone, piroxicam, propafenone, propranolol,† sulfinpyrazone (biphasic with later inhibition) Acetaminophen , chloral hydrate , ciprofloxacin, dextropropoxyphene, disulfiram, itraconazole, quinidine, phenytoin (biphasic with later inhibition), tamoxifen, tetracycline, flu vaccine Acetylsalicylic acid, disopyramide, fluorouracil, ifosflhamide, ketoprofen, iovastatin, metozalone, moricizine, nalidixic acid, norfloxacin, ofloxacin, propoxyphene, sulindac, tolmetin, topical salicylates Cefamandole, cefazolin, gemfibrozil, heparin, indomethacin, sulfisoxazole I II III IV †In a small number of volunteer subjects, an inhibitory drug interaction occurred.
  • 33. Drug Interactions with Warfarin: Inhibition Level of Evidence Inhibition Barbiturates, carbamazepine, chlordiazepoxide, cholestyramine, griseofulvin, nafcillin, rifampin, sucralfate Dicloxacillin Azathioprine, cyclosporine, etretinate, trazodone I II III IV
  • 34. Drug Interactions with Warfarin: No Effect Level of Evidence No Effect Alcohol, antacids, atenolol, bumetadine, enoxacin, famotidine, fluoxetine, ketorolac metoprolol, naproxen, nizatidine, psyllium, ranitidine‡ Ibuprofen, ketoconazole Diltiazem, tobacco, vancomycin I II III IV
  • 35. คาแนะนาการใช้ยา warfarin ในผู้ป่ วย ระยะก่อนและหลังการทาหัตถการ
  • 36. คาแนะนาการใช้ยา warfarin ในผู้ป่ วย ระยะก่อนและหลังการทาหัตถการ  ในผู้ป่วยที่ได้รับยา warfarin และจาเป็นต้องได้รับการทาหัตถการที่มีความ เสี่ยงในการเกิดเลือดออกจะต้องพิจารณาถึง  ความจาเป็นในการหยุดยาwarfarin ก่อนการทาหัตถการ โดยพิจารณาความ เสี่ยงในการเกิดเลือดออกถ้ามีการให้ยาในช่วงระยะเวลาของการทา หัตถการเนืองจากหัตถการแต่ละชนิดมีความเสี่ยงในการเกิดเลือดออก ต่างกัน  ความเสี่ยงในการเกิด thromboembolic events เมื่อหยุดยา warfarin โดยความเสี่ยงของการเกิด thromboembolic event ในผู้ป่วยกลุ่มต่างๆ มีดังตาราง  ความจาเป็นในการให้ bridging therapy ด้วย short - acting anticoagulant ในขณะที่หยุดยา warfarin เพื่อลดโอกาส เกิด thromboembolic event
  • 37. คาแนะนาการใช้ยา warfarin ในผู้ป่ วย ระยะก่อนและหลังการทาหัตถการ คาแนะนาระดับ ++ 1. ผู้ป่วยที่จาเป็นต้องหยุดยาวอร์ฟารินก่อนการทาหัตถการที่ต้องให้ ระดับ INR อยู่ในระดับ <1.5 แนะนาให้หยุดยาต้านการแข็งตัวของเลือด 4-5 วันก่อนการทาหัตถการ (คุณภาพของหลักฐานระดับ 3) 2. ในผู้ป่วยที่หยุดยาวอร์ฟาริน ให้เริ่มยาวอร์ฟาริน 12-24 ชั่วโมงหลัง หัตถการถ้าไม่มีเลือดออก (คุณภาพของหลักฐานระดับ 3 ) 3. ผู้ป่วยที่มี mechanical valve หรือ atrial fibrillation หรือ venous thromboembolism ที่มีโอกาสสูงต่อการเกิด thromboembolism แนะนาให้ใช้ bridging anticoagulation ขณะที่หยุดยาต้านการแข็งตัวของ เลือด (คุณภาพของหลักฐานระดับ 3)
  • 38. คาแนะนาการใช้ยา warfarin ในผู้ป่ วย ระยะก่อนและหลังการทาหัตถการ 4. การดูแลผู้ป่วยที่ต้องทาหัตถการด้าน dental, dermatology และ ophthalmologic : ผู้ป่วยที่ต้องทาหัตถการที่เป็น minimal dental procedures หรือ minor dermatology procedure หรือการผ่าตัด ต้อกระจก สามารถให้ผู้ป่วยรับประทานยาต้านการแข็งตัวของเลือด และทาหัตถการโดย ไม่ต้องหยุดยา (คุณภาพของหลักฐานระดับ 3 ) 5. ผู้ป่วยที่จาเป็นต้องได้รับการทาหัตถการที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดเลือดออก อย่างเร่งด่วน (urgent) แนะนาให้ใช้ oral หรือ IV vitamin K 2.5-5.0 มก. (คุณภาพของหลักฐานระดับ 3) ยกเว้นผู้ป่วยที่มีลิ้นหัวใจเทียมชนิดโลหะ (Prostatic mechanical valve)
  • 39.
  • 40.
  • 41. คำแนะนำระดับ +  1. ผู้ป่วยที่มีค่า INR 1.5-1.9 ให้ปรับขนาด warfarin เพิ่มขึ้น 5-10% ของขนาดต่อ สัปดาห์ หรืออาจไม่ปรับยา แต่ใช้วิธีติดตามค่า INR บ่อยขึ้น เพื่อดูแนวโน้ม (คุณภำพของหลักฐำนระดับ 3) 2. ผู้ป่วยที่มีค่า INR ต่ากว่าช่วงรักษาและกาลังได้รับการปรับยา ควรตรวจค่า INR บ่อยๆ อย่างน้อยทุก 2 สัปดาห์ ในช่วงปรับยาจนกว่าได้ ค่า INR ที่ต้องการ ความถี่บ่อยขึ้นกับความเสี่ยงต่อการเกิดthromboembolic ของผู้ป่วย หากสูง เช่น prosthetic valve หรือ malignancy ควรตรวจบ่อยขึ้น (คุณภำพของ หลักฐำนระดับ 3) 3. ในกรณีที่ค่า INR อยู่นอกช่วงไม่มาก (1.5-2 หรือ 3-4) และไม่มีสาเหตุที่ชัดเจน อาจยังไม่ปรับขนาดยา แต่ใช้วิธีติดตามค่า INR บ่อยๆ เพื่อดูแนวโน้มว่าจะกลับเข้าสู่ ระดับช่วงรักษาหรือไม่ การรอโดยไม่แก้ไขนี้ เหมาะสมกับผู้ป่วยที่มีปัจจัยเสี่ยงต่อ เลือดออกและ thromboembolism ไม่สูง (คุณภำพของหลักฐำนระดับ 3)
  • 42. 4. ผู้ป่วยที่มีค่า INR เกินช่วงรักษาแต่ไม่เกิน 5.0 และไม่มีภาวะเลือดออก ให้หยุดรับประทานยา 1 วัน และติดตามค่า INR จนเข้าช่วงรักษา และเริ่มใหม่ ที่ขนาดต่าลง (ลดลง 10%ของขนาดต่อสัปดาห์เดิม) (คุณภำพของหลักฐำน ระดับ 3) 5. ผู้ป่วยที่มีค่า INR อยู่ระหว่าง 5.0 ถึง 9.0 แต่ไม่มีภาวะเลือดออกให้ หยุดรับประทานวอร์ฟาริน 2 วัน และติดตามค่า INR อย่างใกล้ชิดจนเข้าสู่ช่วง รักษา และเริ่มใหม่ที่ขนาดต่าลง (ลดลงประมาณ 20% ของขนาดต่อสัปดาห์ เดิม) หากผู้ป่วยมีปัจจัยที่ส่งเสริมที่ทาให้เสี่ยงต่อภาวะเลือดออกง่ายอาจ พิจารณาให้ vitamin K 1-2.5 มก. และหาก ผู้ป่วยมีความเร่งด่วนที่ต้องแก้ไข ค่า INR เช่นต้องได้รับการผ่าตัด พิจารณาให้ vitamin K1 2.5-5 มก. เพื่อหวัง ให้ INR กลับมาในช่วง รักษาใน 24 ชั่วโมง (คุณภำพของหลักฐำนระดับ 3)
  • 43. 6. ผู้ป่วยที่มีค่า INR มากกว่า 9.0 แต่ไม่มีภาวะเลือดออกให้หยุดยา วอร์ฟาริน และให้ vitamin K 2.5-5 มก.ชนิดรับประทาน และ ติดตาม ค่า INR อย่างใกล้ชิด โดยคาดว่าจะกลับมาอยู่ในช่วงรักษาใน 24-48ชั่วโมง แต่หากค่า INR ยังสูงอยู่ อาจให้ vitamin K1 1-2 มก.ชนิด รับประทานอีกครั้ง (คุณภำพของหลักฐำนระดับ 3)
  • 44.
  • 47. แนวทางการให้ bridging anticoagulation  คาแนะนาระดับ ++ 1. ในผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงปานกลางแนะนาใช้ therapeutic dose subcutaneous LMWH หรือ intravenous unfractionated heparin (IV UFH) หรือ low dose subcutaneous LMWH (แนะนาให้ therapeutic SC LMWH มากกว่า IV UFH หรือ low dose subcutaneous LWMH เมื่อระดับ INR ต่ากว่า 2 )
  • 48. แนวทางการให้ bridging anticoagulation 2. ในผู้ป่วยที่ได้ therapeutic dose SC LMWH หรือ SC unfractionated heparin แนะนาให้หยุดยาก่อนการทาหัตถการ 12-24 ชั่วโมง โดยที่ให้ยาในขนาดครึ่งหนึ่งของขนาดปกติ (ถ้าได้ once daily dose) ปรับให้เป็น dose เช้า และให้เฉพาะ dose เช้าในผู้ป่วยที่ได้ bid dose ส่วนผู้ป่วยที่ได้ IV UFH แนะนาให้หยุด UFH ประมาณ 4-6 ชั่วโมง ก่อนการทาหัตถการ
  • 49. แนวทางการให้ bridging anticoagulation 3. ในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดเล็กหรือมีความเสี่ยงต่อการเกิดเลือดออกน้อย และได้รับ therapeutic dose LMWH ใน bridging therapy แนะนาให้เริ่ม LMWH ประมาณ 24 ชั่วโมงหลังหัตถการและเมื่อไม่มีเลือดออก 4. ในผู้ป่วยที่ได้รับผ่าตัดใหญ่หรือมีความเสี่ยงต่อการเกิดเลือดออกสูง ควรพิจารณาให้ therapeutic dose LMWH, หรือ low dose LMWH/ UFH หลัง การทาหัตถการ 48-72 ชั่วโมง โดยประเมินโอกาสเกิดเลือดออกก่อนเริ่มให้ยา
  • 50. แนวทางการให้ bridging anticoagulation 5. หลังการทาหัตถการและเริ่มให้ยาต้านการแข็งตัวของเลือดชนิด รับประทานควรให้ LWMH หรือ UFH จนกระทั่ง INR อยู่ในระดับ ที่ ต้องการ 3 วัน
  • 51.
  • 53. Signs of Warfarin Overdosage  Any unusual bleeding: Blood in stools or urine Excessive menstrual bleeding Bruising Excessive nose bleeds/bleeding gums Persistent oozing from superficial injuries Bleeding from tumor, ulcer, or other lesion
  • 54. Complication ของ ยาwarfarin  Skin necrosis or gangrene  Purple – toe syndrome  Nuasea vomitting diarrhear anorexia fever BM suppression allergic dermatitis MP rash  Osteoporosis ร้อยละ 60 male
  • 56.  ยา warfarin สามารถผ่านรกและมีผลกับทารกในครรภ์  มี teratogenic effect และทาให้เกิดเลือดออกในทารกได้ หาก เกิดการตั้งครรภ์และได้รับยามาตลอด  ช่วงของการตั้งครรภ์ ทารกจะมีโอกาสเกิด warfarin embryopathy ซึ่งมีลักษณะได้แก่ nasal hypoplasia, stippled epiphyses ได้ร้อยละ 6.4  โดยโอกาสจะสูงสุดถ้าได้รับยา warfarin ในระหว่างอายุครรภ์ 3 เดือนแรก
  • 57.  ยาในกลุ่ม heparin และ LMWH ไม่ผ่านรกทาให้มีความปลอดภัย ต่อลูก แต่มีโอกาสเกิด thromboembolic complication, heparin induced osteoporosis, heparin induced thrombocytopenia ในแม่  การใช้ยา warfarin หรือ heparin ทาให้มีโอกาสการแท้งลูกหรือ ลูกเสียชีวิตในครรภ์ได้ประมาณร้อยละ 20-25 ดังนั้นควรให้ผู้ป่วย มีส่วนร่วมในการตัดสินใจและพิจารณาใช้
  • 58. การให้นมบุตร  ผู้ป่วยที่ได้รับยา warfarin หรือ UFH สามารถให้นมบุตรได้ (คำแนะนำระดับ ++, คุณภำพ ของหลักฐำนระดับ 3)  เช่นเดียวกับผู้ป่วยที่ได้รับ LMWH (คำแนะนำระดับ +, คุณภำพของ หลักฐำนระดับ 3)
  • 60. หัวข้อการสอนผู้ป่ วย 1. ยาวอร์ฟารินคืออะไร ออกฤทธิ์อย่างไร 2. ทาไมท่านต้องรับประทานยาวอร์ฟาริน 3. ระยะเวลาที่ต้องรับประทานยา 4. อธิบายความหมายและเป้าหมายของค่า INR และ ความสาคัญในการตรวจ เลือด อย่างสม่าเสมอเพื่อลดความเสี่ยงการเกิดภาวะเลือดออกหรือลิ่มเลือด อุดตัน 5. ความสาคัญของการรับประทานยาอย่างถูกต้องสม่าเสมอตามแพทย์สั่ง 6. ข้อปฏิบัติหากลืมรับประทานยา 7. อันตรกริยาระหว่างยา (Drug interaction) อาหารเสริมและสมุนไพร 8. ชนิดอาหารที่มี vitamin K สูง และผลที่มีต่อค่า INR 9. การคุมกาเนิดและผลของวอร์ฟารินต่อทารกในครรภ์ 10. อาการและอาการแสดงของภาวะเลือดออกง่าย และภาวะ ลิ่มเลือดอุดตัน 11. การติดต่อกรณีฉุกเฉิน
  • 61. ยาหรือผลิตภัณฑ์ควรหลีกเลี่ยง  ASA (ทัมใจ บูรา บวดหาย), NSAIDs, COX-2 inhibitor  Steroid รวมถึงยาลูกกลอน  ยาสมุนไพร (Herbal), แปะก๊วย (Gingko biloba), โสม (Ginseng) Garlic ขิง  อาหารเสริม: ผักสกัดอัดเม็ด คลอโรฟิลด์อัดเม็ด อัลฟาฟ่า ชาเขียว น้ามันปลา วิตามินเอ อี วิตามินเคในขนาดสูง มะละกอ โคเอมไซม์คิวเทน evening primrose น้าแครนเบอร์รี่
  • 62. ข้อควรปฏิบัติของผู้ป่ วยที่รับประทานยาwarfarin 1. หลีกเลี่ยงการเล่นกีฬาที่มีการกระทบกระแทก 2. สวมถุงมือหากต้องใช้อุปกรณ์มีคม 3. ลด ละ เลิก การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ 4. ระมัดระวังการลื่นล้ม โดยเฉพาะในผู้ป่วยสูงอายุ 5. สวมหมวกกันน็อคทุกครั้งที่ขับขี่รถจักรยานยนต์ 6. หลีกเลี่ยงการนวดที่รุนแรง 7. หลีกเลี่ยงการฉีดยาเข้ากล้าม 8. แจ้งแพทย์หรือทันตแพทย์ทุกครั้งว่ารับประทานยาวอร์ฟาริน
  • 63. แนวทางในการบริหารจัดการ ดูแล  การรักษาด้วยยาต้องมีระบบการจัดการที่ดี การสื่อสาร สหสาขาวิชาชีพ  เริ่มต้นใช้ยา warfarin 3-5 mg/day  Follow up INR  มาตรวจตามนัด ทุก 1-2 เดือน  กรณีลืมทานยาและยังไม่ถึง 12 hr. ให้ทานทันที  หากลืมทานยา ห้ามเพิ่มขนาดยาเป็น 2 เท่า  การทาหัตถการต่างๆ แนะนาให้หยุด ยา 5 วัน keep INR < 1.5 และควรให้ทานยาต่อภายใน 24 ชั่วโมง หลังทาหัตถการ สาหรับผู้ป่ วย high risk ควรใช้ LMH or Heparin
  • 64. แนวทางในการบริหารจัดการ ดูแล  ต้องรับประทานยาต่อเนื่อง และเป็นเวลาเดิม หรือเมื่อท้องว่าง ห่างจากยาอื่นๆ  หลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่ทาให้ระดับยาเปลี่ยนแปลง  การเก็บรักษายา เก็บให้พ้นแสงและ ความชื้น
  • 65. Managing Patients with High INR Values/ Minor or No Bleeding Clinical Situation INR >therapeutic range but <5.0, no clinically significant bleeding, rapid reversal not indicated for reasons of surgical intervention Guidelines Lower the dose or omit the next dose; resume warfarin therapy at a lower dose when the INR approaches desired range If the INR is only minimally above therapeutic range, dose reduction may not be necessary Patients with no additional risk factors for bleeding; omit the next dose or two of warfarin, monitor INR more frequently, and resume warfarin therapy at a lower dose when the INR is in therapeutic range Patients at increased risk of bleeding: omit the next dose of warfarin, and give vitamin K1 (1.0 to 2.5 mg orally) Patients requiring more rapid reversal before urgent surgery or dental extraction: vitamin K1 (2–4 mg orally); if the INR remains high at 24 h, an additional dose of 1– 2 mg INR >5.0 but <9.0, no clinically significant bleeding
  • 66. Managing Patients with High INR Values/ Serious Bleeding Clinical Situation INR >9.0, no clinically significant bleeding Life-threatening bleeding or serious warfarin overdose Continuing warfarin therapy indicated after high doses of vitamin K1 Guidelines Vitamin K1 (3–5 mg orally); closely monitor the INR; if the INR is not substantially reduced by 24–24 h, the vitamin K1 dose can be repeated Serious bleeding, or major warfarin overdose (e.g., INR >20.0) requiring very rapid reversal of anticoagulant effect: Vitamin K1 (10 mg by slow IV infusion), with fresh plasma transfusion or prothrombin complex concentrate, depending upon urgency; vitamin K1 injections may be needed q12h Prothrombin complex concentrate, with vitamin K1 (10 mg by slow IV infusion); repeat if necessary, depending upon the INR Heparin, until the effects of vitamin K1 have been reversed, and patient is responsive to warfarin

Editor's Notes

  1. The blood coagulation process can be activated by one of two pathways, the tissue Factor pathway (formerly known as the extrinsic pathway) and the contact activation pathway (known as the intrinsic pathway). Tissue Factor binds to and activates Factor VII and the Tissue Factor/VIIa complex then activates Factor X and Factor IX to Xa and Ixa respectively. Factor X can also be converted to Xa by Ixa (in the presence of Factor VIII). The intrinsic pathway is activated when Factor XII comes in contact with a foreign surface. The resulting Factor XIIa then activates Factor XI, which in turn activates Factor IX. Factor Ixa then activates Factor X. Thus Factor Xa can be generated by activation of the tissue factor or contact activation pathways. Factor Xa then cleves prothrombin and the resulting thrombin converts fibrinogen to fibrin. Four of these clotting factors (Factors IX, VII, X and prothrombin) are Vitamin K dependent and therefore their activity is decreased by the Vitamin K antagonist, warfarin. The half-lives of these four Vitamin K dependent clotting factors are shown on this slide. Factor VII has the shortest half life of the Vitamin K dependent coagulation factors. However, for adequate anticoagulation one needs to reduce the other coagulation factors appropriately, including Factor II (prothrombin) which has a 60 hour half life. It takes several days after initiation of warfarin therapy to reduce Factor II and thus warfarin and heparin need to overlap for approximately 4–5 days when starting therapy.
  2. The four Vitamin K dependent clotting factors are synthesized in the liver.
  3. The Vitamin K dependent clotting factors are carboxylated in a reaction that is linked to the oxidation of the reduced form of the vitamin . The non carboxylated forms of these clotting factors are inactive because they cannot bind calcium. When Vitamin K is deficient, non-carboxylated prothrombin is secreted and this protein is non functional. Carboxylation of terminal glutamic acid side chains (known as the Glu to Gla conversion) allows the clotting factors to bind calcium which in turn bridges the clotting factors to phospholipid surfaces, a necessary requirement for their activity.
  4. Warfarin acts as an anticoagulant by blocking the ability of Vitamin K to carboxylate the Vitamin K dependent clotting factors, thereby reducing their coagulant activity.
  5. Warfarin works by interfering with internal recycling of oxidized Vitamin K to the reduced form. When warfarin is given, the oxidized form of Vitamin K builds up in the blood leading to a deficiency of reduced Vitamin K and a decrease in carboxylation of prothrombin. Warfarin interferes with g–carboxylation of terminal glutamic acids on the procoagulant proteins, Factors II, VII, IX, and X. g–carboxylation from the Glu to the Gla form of these proteins in a critical step in the biosynthesis of these proteins that is required their normal function in coagulation. g–carboxylation is a post-translational step that is Vitamin K dependent and linked to the oxidation of hydroquinone (the active cloting form of Vitamin K) to the Vitamin K epoxide. The reaction uses molecular oxygen for the conversion of hydroquinone to the epoxide, and CO2, for the g–carboxylation of the glutamic acid residues on the Vitamin K dependent proteins from the inactive carboxylation of the glutamic acid residues on the Vitamin K dependent proteins from the inactive Glu to the active Gla form. Under normal physiologic circumstances, Vitamin K is absorbed as the quinone form (Vitamin K1). The quinone is reduced to the hydroquinone (the reduced form), which in turn is oxidized to Vitamin K epoxide (the oxidized form). The active cofactor form of Vitamin K (hydroquinone) is then regenerated through two reduction steps. First the 2–3 epoxide is reduced to the quinone (the dietary source of Vitamin K1). This is then reduced to the hydroquinone which, when recycled to the epoxide, acts as the cofactor for the Glu to Gla conversion of the Vitamin K dependent coagulation factors by blocking both reduction steps, thereby depleting the stores of the hydroquinone form of Vitamin K.
  6. Virchow’s Triad defines the pathophysiology of thrombotic disease. Thrombosis occurs when one or more of the three components of Virchow’s Triad are present. Accordingly, thrombosis is caused by abnormalities of blood flow (stasis), abnormalities of blood vessels (endothelial injury), or abnormalities of the blood itself (a hypercoagulable state).
  7. This slide lists the various drugs that have been reported to interact with and potentate warfarin The strength of the evidence is shown in the left hand column with level I being strongest and level IV the weakest based on the study design of the report.
  8. This slide lists the various drugs and foods that have been reported to interact with and inhibit warfarin. The strength of the evidence is shown in the left hand column.
  9. This slide lists the venous drugs and foods that have been reported to have no effect on warfarin The strength of the evidence is shown in the left hand column. With excessive consumption, alcohol potentiates the effect (Slide 33), but when limited to two glasses of wine /day, it has been reported not to influence the ant/coagulant effect of warfarin.
  10. The signs of warfarin overdosage are listed on this slide. Hemorrhagic complications from warfarin therapy are more likely to occur with excessive degrees of anticoagulation, but even with an INR in the therapeutic range, bleeding can occur. Because of the likelihood of finding an underlying lesion in an individual who has gastrointestinal bleeding or significant genito-urinary bleeding in the face of therapeutic levels of anticoagulation, one is advised to consider and evaluate for underlying abnormalities predisposing to the bleeding. The return on such evaluations in the face of an excessive degree of anticoagulation diminishes, and one must use judgement whether or not to pursue an evaluation.
  11. An approach to the management of patients who are excessively over anticoagulated and either have minor bleeding or no obvious bleeding is outlined on this slide. In all cases, warfarin treatment should be interrupted the INR checked and warfarin restarted at a lower dose when the INR returns to the therapeutic range. If the INR is above 5 but below 9, oral Vitamin K, should be considered if the patient is at excessive risk of bleeding.
  12. If the INR is between 9 and 20; oral Vitamin K1 should be administered in a dose of 2.5 mg. If the INR is >20 more aggressive measures should be used. Vitamin K should be administered by slow intravenous infusion over 10 minutes in a dose of at least 5 mg, an infusion of fresh frozen plasma and hospitalization should be considered, and the hematocrit checked for hidden bleeding. If the INR is excessively out of range and dose not make sense with the recent trend in INR results in individual patients, the clinician is advised to consider the possibility of laboratory error before a dose adjustment is made. In this case, it is optimal to repeat the INR before a dose change is made to verify the results. If there is serious bleeding, the patient should be hospitalized. Vitamin K should be administered by slow intravenous infusion over 10 minutes in a dose of 5–10 mg, an infusion of fresh frozen plasma should be given Prothrombin concentrate should be considered if bleeding is life-threatening.