SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
ดาวเทียม
                  นำเสนอ
         อาจารย์ ปิยวรรณ รัตนภานุศร
                   สมำชิก
  1. นาย ภูริณัฐ วงศ์มณีโรจน์ ม.4/3 เลขที่ 26
2. นางสาว ปุญญิศา ปัญจธนศักดิ์ ม.4/3 เลขที่ 36
ดำวเทียม คืออะไร?
ดาวเทียม คือ สิ่งประดิษฐ์ที่มนุษย์คิดค้นขึ้น ที่
สามารถโคจรรอบโลก โดยอาศัยแรงดึงดูดของ
โลก ส่งผลให้สามารถโคจรรอบโลกได้ใน
ลักษณะเดียวกันกับที่ดวงจันทร์โคจรรอบโลก
และโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ วัตถุประสงค์ของ
สิ่งประดิษฐ์นี้เพื่อใช้ ทางการทหาร การสื่อสาร
การรายงานสภาพอากาศ การวิจัยทาง
วิทยาศาสตร์เช่นการสารวจทางธรณีวิทยา
สังเกตการณ์สภาพของอวกาศ โลก ดวงอาทิตย์
ดวงจันทร์ และดาวอื่นๆ รวมถึงการสังเกตวัตถุ
และดวงดาว กาแล็กซี ต่างๆ
ประวัตของดำวเทียม...
                        ิ
ดาวเทียมได้ถูกส่งขึ้นไปโคจรรอบโลกครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2500 ดาวเทียม
ดังกล่าวมีชื่อว่า "สปุตนิก (Sputnik)" โดยรัสเซียเป็นผู้ส่งขึ้นไปโคจร สปุตนิกทา
หน้าที่ตรวจสอบการแผ่รังสีของชั้นบรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟีย ในปี พ.ศ. 2501
สหรัฐได้ส่งดาวเทียมขึ้นไปโคจรบ้างมีชื่อว่า "Explorer" ทาให้รัสเซียและสหรัฐ
เป็น 2 ประเทศผู้นาทางด้านการสารวจทางอวกาศ และการแข่งขั้นกันระหว่าง
ทั้งคู่ได้เริ่มขึ้นในเวลาต่อมา




       Sputnik พ.ศ.2500                   Explorer พ.ศ.2501
ส่วนประกอบของดำวเทียม

• โครงสร้างดาวเทียม เป็นส่วนประกอบที่สาคัญมาก ต้องเลือกวัสดุที่มีน้าหนักเบา
  และต้องไม่เกิดการสั่นมากเกินที่กาหนด หากได้รับสัญญาณที่มีความถี่ หรือความ
  สูงของคลื่นมากๆ
• ระบบเครื่องยนต์ ซึ่งเรียกว่า "aerospike" อาศัยหลักการทางานคล้ายกับเครื่อง
  อัดอากาศ และปล่อยออกทางปลายท่อ ซึ่งทางานได้ดีในสภาพสุญญากาศ
• ระบบพลังงาน ทาหน้าที่ผลิตพลังงาน และกักเก็บไว้ โดยมีแผงรับพลังงาน
  แสงอาทิตย์ ไว้รับพลังงานจากแสงอาทิตย์เพื่อเปลี่ยนเป็นพลังงานไฟฟ้า แต่ใน
  บางกรณีอาจใช้พลังงานนิวเคลียร์แทน
ส่วนประกอบของดำวเทียม(ต่อ)
• ระบบควบคุมและบังคับ ประกอบด้วย คอมพิวเตอร์ที่เก็บรวมรวมข้อมูล และ
  ประมวลผลคาสั่งต่างๆ ที่ได้รับจากส่วนควบคุมบนโลก โดยมีอุปกรณ์รับส่ง
  สัญญาณ (Radar System) เพื่อใช้ในการติดต่อสื่อสาร
• ระบบสื่อสารและนาทาง มีอุปกรณ์ตรวจจับความร้อน ซึ่งจะทางาน โดย
  แผงวงจรควบคุมอัตโนมัติ
• อุปกรณ์ควบคุมระดับความสูง เพื่อรักษาระดับความสูงให้สัมพันธ์กันระหว่างพื้น
  โลก และดวงอาทิตย์ หรือเพื่อรักษาระดับให้ดาวเทียมสามารถโคจรอยู่ได้
• เครื่องมือบอกตาแหน่ง เพื่อกาหนดการเคลื่อนที่ของดาวเทียม
ดำวเทียมทำงำนอย่ำงไร

    ดาวเทียมจะถูกส่งขึ้นไปลอยอยู่ในตาแหน่ง วงโคจรค้างฟ้า และโคจรตามการ
หมุนของโลกและดาวเทียมจะมีระบบเชื้อเพลิงเพื่อควบคุมตาแหน่งให้อยู่ในตาแหน่ง
องศาที่ได้สัมปทานเอาไว้กับหน่วยงานที่ดูแลเรื่องตาแหน่งวงโคจรของดาวเทียมคือ
IFRB ( International Frequency Registration Board )
    ดาวเทียมที่ลอยอยู่บนท้องฟ้า จะทาหน้าที่เหมือนสถานีทวนสัญญาณ คือจะรับ
สั ญ ญาณที่ ยิ ง ขึ้ น มาจากสถานี ภ าคพื้ น ดิ น เรี ย กสั ญ ญาณนี้ ว่ า สั ญ ญาณขาขึ้ น หรื อ
(Uplink) รับและขยายสัญญาณพร้อมทั้งแปลงสัญญาณให้มีความถี่ต่าลงเพื่อป้องกัน
การรบกวนกันระหว่างสัญญาณขาขึ้นและส่งลงมา โดยมีจานสายอากาศทาหน้าที่รับ
และส่งสัญญาณ ส่วนสัญญาณในขาลงเรียกว่า ( Downlink )
วงโคจรของดำวเทียม
วงโคจรระยะต่า (Low Earth Orbit "LEO") : อยู่สูงจากพื้นโลกไม่เกิน 1,000 กม.
ใช้ในการสังเกตการณ์ สารวจสภาวะแวดล้อม, ถ่ายภาพ ฯลฯ
วงโคจรระยะปานกลาง (Medium Earth Orbit "MEO") : อยู่ที่ระยะความสูง
ตั้งแต่ 1,000 กม. ขึ้นไป ส่วนใหญ่ใช้ในด้านอุตุนิยมวิทยา และสามารถใช้ในการ
ติดต่อสื่อสารเฉพาะพื้นที่ได้
วงโคจรประจาที่ (Geostationary Earth Orbit "GEO") : เป็นดาวเทียมเพื่อการ
สื่อสารเป็นส่วนใหญ่ สูงเหนือจากโลกประมาณ 35,780 กม. เส้นทางโคจรอยู่ใน
แนวเส้นศูนย์สูตร ดาวเทียมจะหมุนรอบโลกด้วยความเร็วเชิงมุมเท่ากับโลกหมุนรอบ
ตัวเองทาให้ดูเหมือนลอยนิ่งอยู่เหนือจุดจุดหนึ่งบนโลกตลอดเวลา ("ดาวเทียมค้าง
ฟ้า“ หรือ “วงโคจรคลาร์ก”)
ข้อดี – ข้อเสีย
ข้อดี
• สามารถใช้ได้ในระยะยาว
• เกิดประโยชน์หลายด้าน เช่น สามารถติดต่อสื่อสารกันได้โดยสะดวกรวดเร็ว ไม่เปลื้อ
    พื้นทีติดต่อสื่อสารบนพื้นดิน
          ่
• ส่งสัญญาณได้ครอบคลุมทุกๆจุดของโลก
ข้อเสีย
• ใช้งบประมาณในการลงทุนมาก
• ต้องอาศัยการดูแล ทานุบารุงมาก
• ถ้าเกิดเหตุทางสาภาพอากาศ เช่นมีเมฆมาก อาจจะทาให้บังสัญญาณของดาวเทียม
• มีเวลาหน่วง(delay time)ในการส่งสัญญาณ
คำถำม ???
• ดาวเทียมคืออะไร?
• ดาวเทียมดวงแรกชื่ออะไร?
• บอกข้อดี และข้อเสียของการสื่อสารผ่านดาวเทียม มาอย่างละ 2 ข้อ
คำตอบ
• สิ่งประดิษฐ์ที่มนุษย์คิดค้นขึ้น ที่สามารถโคจรรอบโลก โดยอาศัยแรงดึงดูดของโลก
• Sputnik พ.ศ.2500
ข้อดี
• สามารถใช้ได้ในระยะยาว
• เกิดประโยชน์หลายด้าน เช่น สามารถติดต่อสื่อสารกันได้โดยสะดวกรวดเร็ว ไม่เปลื้อพื้นที่
    ติดต่อสื่อสารบนพื้นดิน
• ส่งสัญญาณได้ครอบคลุมทุกๆจุดของโลก
ข้อเสีย
• ใช้งบประมาณในการลงทุนมาก
• ต้องอาศัยการดูแล ทานุบารุงมาก
• ถ้าเกิดเหตุทางสาภาพอากาศ เช่นมีเมฆมาก อาจจะทาให้บังสัญญาณของดาวเทียม
• มีเวลาหน่วง(delay time)ในการส่งสัญญาณ
อ้ำงอิง
• http://pirun.kps.ku.ac.th/~b4928013/index.html
• http://www.thiagoodview.com

More Related Content

What's hot

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าThaweekoon Intharachai
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)Pinutchaya Nakchumroon
 
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า Faris Singhasena
 
ตุ๊กตาล้มลุกจริง
ตุ๊กตาล้มลุกจริงตุ๊กตาล้มลุกจริง
ตุ๊กตาล้มลุกจริงMim Kaewsiri
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานWijitta DevilTeacher
 
แรงโน้มถ่วงของโลก
แรงโน้มถ่วงของโลกแรงโน้มถ่วงของโลก
แรงโน้มถ่วงของโลกJiraporn
 
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจรWichai Likitponrak
 
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์Pat Jitta
 
โครงสร้างโลก บท1
โครงสร้างโลก บท1โครงสร้างโลก บท1
โครงสร้างโลก บท1PornPimon Kwang
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำsavokclash
 
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบบทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบJariya Jaiyot
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะPinutchaya Nakchumroon
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณีโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณีsoysuwanyuennan
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)สำเร็จ นางสีคุณ
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนKobwit Piriyawat
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวPacharee Nammon
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกTa Lattapol
 

What's hot (20)

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
 
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
 
ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า
 
ตุ๊กตาล้มลุกจริง
ตุ๊กตาล้มลุกจริงตุ๊กตาล้มลุกจริง
ตุ๊กตาล้มลุกจริง
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
 
แรงโน้มถ่วงของโลก
แรงโน้มถ่วงของโลกแรงโน้มถ่วงของโลก
แรงโน้มถ่วงของโลก
 
ชนิดของเมฆ
ชนิดของเมฆชนิดของเมฆ
ชนิดของเมฆ
 
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
 
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
 
โครงสร้างโลก บท1
โครงสร้างโลก บท1โครงสร้างโลก บท1
โครงสร้างโลก บท1
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบบทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณีโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัว
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
เส้นสนามไฟฟ้า (Electric line of force)
เส้นสนามไฟฟ้า (Electric line of force)เส้นสนามไฟฟ้า (Electric line of force)
เส้นสนามไฟฟ้า (Electric line of force)
 

Similar to ดาวเทียม(ภูริณัฐ+ปุญญิศา)403

ดาวเทียม(วิลาสินี+วีรินทร์+ชนม์นิภา)406
ดาวเทียม(วิลาสินี+วีรินทร์+ชนม์นิภา)406ดาวเทียม(วิลาสินี+วีรินทร์+ชนม์นิภา)406
ดาวเทียม(วิลาสินี+วีรินทร์+ชนม์นิภา)406Vilasinee Threerawong
 
ดาวเทียม(ธันย์ชนก+รวิสรา)406
ดาวเทียม(ธันย์ชนก+รวิสรา)406ดาวเทียม(ธันย์ชนก+รวิสรา)406
ดาวเทียม(ธันย์ชนก+รวิสรา)406Thunchanok Charoenpinyoying
 
ดาวเทียม(ถิระพัฒน์+บุญอุ้ม)401
ดาวเทียม(ถิระพัฒน์+บุญอุ้ม)401ดาวเทียม(ถิระพัฒน์+บุญอุ้ม)401
ดาวเทียม(ถิระพัฒน์+บุญอุ้ม)401Png Methakullachat
 
ดาวเทียม(โปรดปราน กฤติมา)407
ดาวเทียม(โปรดปราน กฤติมา)407ดาวเทียม(โปรดปราน กฤติมา)407
ดาวเทียม(โปรดปราน กฤติมา)407Palm Siripakorn
 
ภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายKroo Mngschool
 
ดาวเทียม กรภัทร์ ปัญญาพล404
ดาวเทียม กรภัทร์ ปัญญาพล404ดาวเทียม กรภัทร์ ปัญญาพล404
ดาวเทียม กรภัทร์ ปัญญาพล404Panyapon Janyaman
 
ดาวเทียม
ดาวเทียมดาวเทียม
ดาวเทียมWatta Poon
 
ดาวเทียม กมลชนก รุ่งรวี402
ดาวเทียม กมลชนก รุ่งรวี402ดาวเทียม กมลชนก รุ่งรวี402
ดาวเทียม กมลชนก รุ่งรวี402Kamolchanok Santhaweesuk
 
ดาวเทียม
ดาวเทียมดาวเทียม
ดาวเทียมNasri Sulaiman
 
บรรยากาศดวงอาทิตย์
บรรยากาศดวงอาทิตย์บรรยากาศดวงอาทิตย์
บรรยากาศดวงอาทิตย์Som Kamonwan
 
โลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลโลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลPa'rig Prig
 
ดาวเทียม(ธัญธร พราว)407
ดาวเทียม(ธัญธร พราว)407ดาวเทียม(ธัญธร พราว)407
ดาวเทียม(ธัญธร พราว)407Proud Meksumpun
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศTa Lattapol
 
Solar system
Solar systemSolar system
Solar systemJiraporn
 

Similar to ดาวเทียม(ภูริณัฐ+ปุญญิศา)403 (20)

ดาวเทียม(กันต์+น้ำเพชร) ๔๐๑
ดาวเทียม(กันต์+น้ำเพชร) ๔๐๑ดาวเทียม(กันต์+น้ำเพชร) ๔๐๑
ดาวเทียม(กันต์+น้ำเพชร) ๔๐๑
 
ดาวเทียม(วิลาสินี+วีรินทร์+ชนม์นิภา)406
ดาวเทียม(วิลาสินี+วีรินทร์+ชนม์นิภา)406ดาวเทียม(วิลาสินี+วีรินทร์+ชนม์นิภา)406
ดาวเทียม(วิลาสินี+วีรินทร์+ชนม์นิภา)406
 
ดาวเทียม(ธันย์ชนก+รวิสรา)406
ดาวเทียม(ธันย์ชนก+รวิสรา)406ดาวเทียม(ธันย์ชนก+รวิสรา)406
ดาวเทียม(ธันย์ชนก+รวิสรา)406
 
ดาวเทียม(ถิระพัฒน์+บุญอุ้ม)401
ดาวเทียม(ถิระพัฒน์+บุญอุ้ม)401ดาวเทียม(ถิระพัฒน์+บุญอุ้ม)401
ดาวเทียม(ถิระพัฒน์+บุญอุ้ม)401
 
ดาวเทียม(โปรดปราน กฤติมา)407
ดาวเทียม(โปรดปราน กฤติมา)407ดาวเทียม(โปรดปราน กฤติมา)407
ดาวเทียม(โปรดปราน กฤติมา)407
 
Start
StartStart
Start
 
ภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลาย
 
ดาวเทียม กรภัทร์ ปัญญาพล404
ดาวเทียม กรภัทร์ ปัญญาพล404ดาวเทียม กรภัทร์ ปัญญาพล404
ดาวเทียม กรภัทร์ ปัญญาพล404
 
ดาวเทียม
ดาวเทียมดาวเทียม
ดาวเทียม
 
Contentastrounit5
Contentastrounit5Contentastrounit5
Contentastrounit5
 
ดาวเทียม กมลชนก รุ่งรวี402
ดาวเทียม กมลชนก รุ่งรวี402ดาวเทียม กมลชนก รุ่งรวี402
ดาวเทียม กมลชนก รุ่งรวี402
 
ม611(แก้)
ม611(แก้)ม611(แก้)
ม611(แก้)
 
ดาวเทียม
ดาวเทียมดาวเทียม
ดาวเทียม
 
บรรยากาศดวงอาทิตย์
บรรยากาศดวงอาทิตย์บรรยากาศดวงอาทิตย์
บรรยากาศดวงอาทิตย์
 
ม611(แก้)
ม611(แก้)ม611(แก้)
ม611(แก้)
 
ม611(แก้)
ม611(แก้)ม611(แก้)
ม611(แก้)
 
โลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลโลกและจักรวาล
โลกและจักรวาล
 
ดาวเทียม(ธัญธร พราว)407
ดาวเทียม(ธัญธร พราว)407ดาวเทียม(ธัญธร พราว)407
ดาวเทียม(ธัญธร พราว)407
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
Solar system
Solar systemSolar system
Solar system
 

ดาวเทียม(ภูริณัฐ+ปุญญิศา)403

  • 1. ดาวเทียม นำเสนอ อาจารย์ ปิยวรรณ รัตนภานุศร สมำชิก 1. นาย ภูริณัฐ วงศ์มณีโรจน์ ม.4/3 เลขที่ 26 2. นางสาว ปุญญิศา ปัญจธนศักดิ์ ม.4/3 เลขที่ 36
  • 2. ดำวเทียม คืออะไร? ดาวเทียม คือ สิ่งประดิษฐ์ที่มนุษย์คิดค้นขึ้น ที่ สามารถโคจรรอบโลก โดยอาศัยแรงดึงดูดของ โลก ส่งผลให้สามารถโคจรรอบโลกได้ใน ลักษณะเดียวกันกับที่ดวงจันทร์โคจรรอบโลก และโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ วัตถุประสงค์ของ สิ่งประดิษฐ์นี้เพื่อใช้ ทางการทหาร การสื่อสาร การรายงานสภาพอากาศ การวิจัยทาง วิทยาศาสตร์เช่นการสารวจทางธรณีวิทยา สังเกตการณ์สภาพของอวกาศ โลก ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดาวอื่นๆ รวมถึงการสังเกตวัตถุ และดวงดาว กาแล็กซี ต่างๆ
  • 3. ประวัตของดำวเทียม... ิ ดาวเทียมได้ถูกส่งขึ้นไปโคจรรอบโลกครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2500 ดาวเทียม ดังกล่าวมีชื่อว่า "สปุตนิก (Sputnik)" โดยรัสเซียเป็นผู้ส่งขึ้นไปโคจร สปุตนิกทา หน้าที่ตรวจสอบการแผ่รังสีของชั้นบรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟีย ในปี พ.ศ. 2501 สหรัฐได้ส่งดาวเทียมขึ้นไปโคจรบ้างมีชื่อว่า "Explorer" ทาให้รัสเซียและสหรัฐ เป็น 2 ประเทศผู้นาทางด้านการสารวจทางอวกาศ และการแข่งขั้นกันระหว่าง ทั้งคู่ได้เริ่มขึ้นในเวลาต่อมา Sputnik พ.ศ.2500 Explorer พ.ศ.2501
  • 4. ส่วนประกอบของดำวเทียม • โครงสร้างดาวเทียม เป็นส่วนประกอบที่สาคัญมาก ต้องเลือกวัสดุที่มีน้าหนักเบา และต้องไม่เกิดการสั่นมากเกินที่กาหนด หากได้รับสัญญาณที่มีความถี่ หรือความ สูงของคลื่นมากๆ • ระบบเครื่องยนต์ ซึ่งเรียกว่า "aerospike" อาศัยหลักการทางานคล้ายกับเครื่อง อัดอากาศ และปล่อยออกทางปลายท่อ ซึ่งทางานได้ดีในสภาพสุญญากาศ • ระบบพลังงาน ทาหน้าที่ผลิตพลังงาน และกักเก็บไว้ โดยมีแผงรับพลังงาน แสงอาทิตย์ ไว้รับพลังงานจากแสงอาทิตย์เพื่อเปลี่ยนเป็นพลังงานไฟฟ้า แต่ใน บางกรณีอาจใช้พลังงานนิวเคลียร์แทน
  • 5. ส่วนประกอบของดำวเทียม(ต่อ) • ระบบควบคุมและบังคับ ประกอบด้วย คอมพิวเตอร์ที่เก็บรวมรวมข้อมูล และ ประมวลผลคาสั่งต่างๆ ที่ได้รับจากส่วนควบคุมบนโลก โดยมีอุปกรณ์รับส่ง สัญญาณ (Radar System) เพื่อใช้ในการติดต่อสื่อสาร • ระบบสื่อสารและนาทาง มีอุปกรณ์ตรวจจับความร้อน ซึ่งจะทางาน โดย แผงวงจรควบคุมอัตโนมัติ • อุปกรณ์ควบคุมระดับความสูง เพื่อรักษาระดับความสูงให้สัมพันธ์กันระหว่างพื้น โลก และดวงอาทิตย์ หรือเพื่อรักษาระดับให้ดาวเทียมสามารถโคจรอยู่ได้ • เครื่องมือบอกตาแหน่ง เพื่อกาหนดการเคลื่อนที่ของดาวเทียม
  • 6. ดำวเทียมทำงำนอย่ำงไร ดาวเทียมจะถูกส่งขึ้นไปลอยอยู่ในตาแหน่ง วงโคจรค้างฟ้า และโคจรตามการ หมุนของโลกและดาวเทียมจะมีระบบเชื้อเพลิงเพื่อควบคุมตาแหน่งให้อยู่ในตาแหน่ง องศาที่ได้สัมปทานเอาไว้กับหน่วยงานที่ดูแลเรื่องตาแหน่งวงโคจรของดาวเทียมคือ IFRB ( International Frequency Registration Board ) ดาวเทียมที่ลอยอยู่บนท้องฟ้า จะทาหน้าที่เหมือนสถานีทวนสัญญาณ คือจะรับ สั ญ ญาณที่ ยิ ง ขึ้ น มาจากสถานี ภ าคพื้ น ดิ น เรี ย กสั ญ ญาณนี้ ว่ า สั ญ ญาณขาขึ้ น หรื อ (Uplink) รับและขยายสัญญาณพร้อมทั้งแปลงสัญญาณให้มีความถี่ต่าลงเพื่อป้องกัน การรบกวนกันระหว่างสัญญาณขาขึ้นและส่งลงมา โดยมีจานสายอากาศทาหน้าที่รับ และส่งสัญญาณ ส่วนสัญญาณในขาลงเรียกว่า ( Downlink )
  • 7. วงโคจรของดำวเทียม วงโคจรระยะต่า (Low Earth Orbit "LEO") : อยู่สูงจากพื้นโลกไม่เกิน 1,000 กม. ใช้ในการสังเกตการณ์ สารวจสภาวะแวดล้อม, ถ่ายภาพ ฯลฯ วงโคจรระยะปานกลาง (Medium Earth Orbit "MEO") : อยู่ที่ระยะความสูง ตั้งแต่ 1,000 กม. ขึ้นไป ส่วนใหญ่ใช้ในด้านอุตุนิยมวิทยา และสามารถใช้ในการ ติดต่อสื่อสารเฉพาะพื้นที่ได้ วงโคจรประจาที่ (Geostationary Earth Orbit "GEO") : เป็นดาวเทียมเพื่อการ สื่อสารเป็นส่วนใหญ่ สูงเหนือจากโลกประมาณ 35,780 กม. เส้นทางโคจรอยู่ใน แนวเส้นศูนย์สูตร ดาวเทียมจะหมุนรอบโลกด้วยความเร็วเชิงมุมเท่ากับโลกหมุนรอบ ตัวเองทาให้ดูเหมือนลอยนิ่งอยู่เหนือจุดจุดหนึ่งบนโลกตลอดเวลา ("ดาวเทียมค้าง ฟ้า“ หรือ “วงโคจรคลาร์ก”)
  • 8. ข้อดี – ข้อเสีย ข้อดี • สามารถใช้ได้ในระยะยาว • เกิดประโยชน์หลายด้าน เช่น สามารถติดต่อสื่อสารกันได้โดยสะดวกรวดเร็ว ไม่เปลื้อ พื้นทีติดต่อสื่อสารบนพื้นดิน ่ • ส่งสัญญาณได้ครอบคลุมทุกๆจุดของโลก ข้อเสีย • ใช้งบประมาณในการลงทุนมาก • ต้องอาศัยการดูแล ทานุบารุงมาก • ถ้าเกิดเหตุทางสาภาพอากาศ เช่นมีเมฆมาก อาจจะทาให้บังสัญญาณของดาวเทียม • มีเวลาหน่วง(delay time)ในการส่งสัญญาณ
  • 9. คำถำม ??? • ดาวเทียมคืออะไร? • ดาวเทียมดวงแรกชื่ออะไร? • บอกข้อดี และข้อเสียของการสื่อสารผ่านดาวเทียม มาอย่างละ 2 ข้อ
  • 10. คำตอบ • สิ่งประดิษฐ์ที่มนุษย์คิดค้นขึ้น ที่สามารถโคจรรอบโลก โดยอาศัยแรงดึงดูดของโลก • Sputnik พ.ศ.2500 ข้อดี • สามารถใช้ได้ในระยะยาว • เกิดประโยชน์หลายด้าน เช่น สามารถติดต่อสื่อสารกันได้โดยสะดวกรวดเร็ว ไม่เปลื้อพื้นที่ ติดต่อสื่อสารบนพื้นดิน • ส่งสัญญาณได้ครอบคลุมทุกๆจุดของโลก ข้อเสีย • ใช้งบประมาณในการลงทุนมาก • ต้องอาศัยการดูแล ทานุบารุงมาก • ถ้าเกิดเหตุทางสาภาพอากาศ เช่นมีเมฆมาก อาจจะทาให้บังสัญญาณของดาวเทียม • มีเวลาหน่วง(delay time)ในการส่งสัญญาณ